ปัจจัยในกิริยากิตก์

8
ปจจัยในกิริยากิตก ปจจัย กาล สําเนียง วาจก ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกัมมวาจก ก. กิตปจจัย ๑. อนฺต ปจจุบัน อยู , เมื่อ - ลงปจจัยประจําหมวดธาตุกอน - ธาตุนอกจาก ๘ หมวด ใหลง อ เอ ย เณ ปจจัย - ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ - เฉพาะธาตุหมวด ทิวฺ สุ กี คหฺ ให ลงปจจัยประจําหมวดธาตุกอน แลวลง ณาเป ปุงลิงค : แจกอยาง ปุริส บางครั้งแจกอยาง ภวนฺต อิตถีลิงค : ลง อี แลว แจกอยาง นารี นปุงสกลิงค : แจกอยาง กุล ๒. ตวนฺตุ อดีต แลว, ครั้น...แลว - ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ - ธาตุ ๒ ตัวขึ้นไป ใหลบที่สุดธาตุ แลวซอน ตฺ - ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ - ลง ณฺย หรือ ณาปย ปจจัย ประจําวาจกกอน ปุงลิงค นปุงสกลิงค : ภควนฺตุ อิตถีลิงค : แปลง นฺตุ เปน ตฺ ลง อี แลวแจก อยาง นารี ๓. ตาวี อดีต แลว, ครั้น...แลว - ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ - ธาตุ ๒ ตัวขึ้นไป ใหลบที่สุดธาตุ แลวซอน ตฺ - ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ - ลง ณฺย หรือ ณาปย ปจจัย ประจําวาจกกอน ปุงลิงค : แจกอยาง เสฏฐี อิตถีลิงค : ลง อินี ปจจัย แลวแจกอยาง นารี นปุงสกลิงค : รัสสะ อี เปน อิ แลวแจกอยาง อกฺขิ

Transcript of ปัจจัยในกิริยากิตก์

Page 1: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัยในกิริยากิตก

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ก. กิตปจจัย

๑. อนฺต ปจจุบัน อยู , เม่ือ - ลงปจจัยประจําหมวดธาตุกอน

- ธาตุนอกจาก ๘ หมวด ใหลง อ

เอ ย เณ ปจจัย

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- เฉพาะธาตุหมวด ทิวฺ สุ กี คหฺ ให

ลงปจจัยประจําหมวดธาตุกอน

แลวลง ณาเป

ปุงลิงค : แจกอยาง

ปุริส

บางครั้งแจกอยาง

ภวนฺต

อิตถีลิงค : ลง อี แลว

แจกอยาง นารี

นปงุสกลิงค : แจกอยาง

กุล

๒. ตวนฺตุ อดีต แลว,

ครั้น...แลว

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ธาตุ ๒ ตัวขึ้นไป ใหลบที่สุดธาตุ

แลวซอน ตฺ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ลง ณฺย หรือ ณาปย ปจจัย

ประจําวาจกกอน

ปุงลิงค – นปุงสกลิงค :

ภควนฺตุ

อิตถีลิงค : แปลง นฺตุ

เปน ตฺ ลง อี แลวแจก

อยาง นารี

๓. ตาวี อดีต แลว,

ครั้น...แลว

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ธาตุ ๒ ตัวขึ้นไป ใหลบที่สุดธาตุ

แลวซอน ตฺ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ลง ณฺย หรือ ณาปย ปจจัย

ประจําวาจกกอน

ปุงลิงค : แจกอยาง

เสฏฐี

อิตถีลิงค : ลง อินี

ปจจัย แลวแจกอยาง

นารี

นปุงสกลิงค : รัสสะ อี

เปน อิ แลวแจกอยาง

อกฺขิ

Page 2: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกตัตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ข. กิจจปจจัย

๑. อนีย บอก

ความ

จําเปน

พึง - ลงเฉพาะสกัมมธาตุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ธาตุมี มฺ, รฺ เปนที่สุด แปลง น

แหง อนีย เปน ณ

- ลงเฉพาะอกัมมธาตุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- บทปลง เปน นปุงสกลิงค เอก.

- ลงเฉพาะสกัมมธาตุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ลง ณาเป ปจจัยประจําวาจก

ปุงลิงค : แจกอยาง

ปุริส

อิตถีลิงค : แจกอยาง

กฺญา

นปุงสกลิงค : แจกอยาง

กุล

๒. ตพฺพ บอก

ความ

จําเปน

พึง - ลงเฉพาะสกัมมธาตุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ธาตุตัวเดียว มี อา เปนที่สุด ลง

ตพฺพ ไดเลย

- ธาตุตัวเดียว มี อิ อี เปนที่สุด

แปลง อิ อี เปน เอ เอา เอ เปน

อย แลวลง อิ อาคม

- ธาตุตัวเดียว มี อุ อู เปนที่สุด

แปลง อุ อู เปน โอ เอา โอ เปน

อว แลวลง อิ อาคม

- ธาตุมี มฺ เปนที่สุด ลบที่สุดธาตุ

แลวซอน นฺ เปน นฺตพฺพ

- ธาตุมี สฺ เปนที่สุด ลบที่สุดธาตุ

แลวแปลง ตพฺพ เปน ฏฐพฺพ

- ธาตุมี ธฺ, ภฺ เปนที่สุด ลบที่สุด

ธาตุ แลวแปลง ตพฺพ เปน ทฺธพฺพ

- ธาตุ ๒ ตัวขึ้นไป ลบที่สุดธาตุ

แลวซอน ตฺ

- ลงเฉพาะอกัมมธาตุ

- ลง อิ อาคม ทายธาตุ

- บทปลง เปน นปุงสกลิงค เอก.

- ลงเฉพาะสกัมมธาตุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ลง เณ ณาเป ปจจัยประจําวาจก

- ธาตุหมวด ทิวฺ สุ กี คหฺ ใหลง

ปจจัยประจําหมวดธาตุกอน แลว

ลง ณาเป ปจจัย

ปุงลิงค : แจกอยาง

ปุริส

อิตถีลิงค : ลง อา แลว

แจกอยาง กฺญา

นปุงสกลิงค : แจกอยาง

กุล

Page 3: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ข. กิจจปจจัย (ตอ)

๒. ตพฺพ

(ตอ)

- ธาตุ ๒ ตัวขึ้นไป ไมแปลง จะ

คงไว ใหลง อิ อาคม ทายธาตุ

- เฉพาะหมวด กี ธาตุ ใหลง นา

ปจจัยประจําหมวดธาตุกอน

Page 4: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ค. กิตกิจจปจจัย

๑. มาน ปจจุบัน เม่ือ, อยู - ลงปจจัยประจําหมวดธาตุกอน

- ธาตุนอกแบบ ใหลงปจจัยประจํา

วาจกกอน แลวลง อ หรือ ย คั่น

- บางครั้ง แปลง มาน เปน อาน

- ลง ย ปจจัย อิ อาคม หนา ย

- ถาแปลง ย กับที่สุดธาตุ ไมตอง

ลง อิ อาคม

- ไมพบที่ใช มาน ปจจัย - ลง ณฺย ณาปย ปจจัยกอน - ลงปจจัยประจําหมวดธาตุกอน

- ลง ณาเป ปจจัย และ ย ปจจัย

ทั้ง อิ อาคม หนา ย มีรูปเปน

อาปย

ปุงลิงค : แจกอยาง

ปุริส

อิตถีลิงค : ลง อา แลว

แจกอยาง กฺญา

นปุงสกลิงค : แจกอยาง

กุล

๒. ต อดีต แลว - ลงหลังอกัมมธาต ุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ธาตุมี นฺ, มฺ, รฺ เปนที่สุด ลบที่สุด

ธาตุ คงไวแต ต ปจจัย

- ธาตุมี อา เปนที่สุด ลง อิ ปจจัย

คง ต ปจจัยไว

- ธาตุมี จฺ, ชฺ, ปฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

ตฺต

- ธาตุมี ทฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

นฺน (หรือแปลง ต ปจจัย เปน นฺน

แลวลบที่สุดธาตุ)

- ธาตุมี ธฺ, ภฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

ทฺธ

- ธาตุมี มฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

อนฺต

- ลงหลังสกัมมธาตุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ลงหลังอกัมมธาต ุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- บทปลง เปน นปุงสกลิงค เอก.

- ลงหลังอกัมมธาต ุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ไมพบที่ใช

- ลงหลังสกัมมธาตุ

- ไมตองลงปจจัยประจําหมวดธาตุ

- ลง เณ ณาเป ปจจัยประจําวาจก

และ อิ อาคม ไมตองลง ย ปจจัย

ปุงลิงค : แจกอยาง

ปุริส

อิตถีลิงค : ลง อา แลว

แจกอยาง กฺญา

นปุงสกลิงค : แจกอยาง

กุล

Page 5: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ค. กิตกิจจปจจัย (ตอ)

๒. ต

(ตอ)

- ธาตุมี รฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

ณฺณ

- ธาตุมี สฺ, ฉฺ, ชฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

ฏฐ

- ธาตุมี หฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

ฬฺห

- ธาตุมี ชฺ, ฺช เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

คฺค

- ธาตุมี สฺ เปนที่สุด แปลง ต

ปจจัย กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน

กฺก หรือ กฺข ไดบาง

- ลงหลัง ปจฺ ธาตุ แปลง ต ปจจัย

กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน กฺก

- ลงหลัง ฑหฺ ธาตุ แปลง ต ปจจัย

กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน ฑฺฒ

- ลงหลัง กรฺ ธาตุ ที่มี อภิ, ปริ,

ปุร, อุป, สํ อุปสัคบทหนา แปลง

กรฺ เปน ขรฺ ไดบาง แลวลบ รฺ เสีย

- แปลง ต ปจจัย เปน น หรือ ณ

ไดบาง

Page 6: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ค. กิตกิจจปจจัย (ตอ)

๓. ตูนาทิ-

ปจจัย

ไดแก

ตูน

ตฺวา

ตฺวาน

อดีต แลว,

ครั้น...แลว

(เปนอัพยย-

ปจจัย

แจกวิภัตติ

ไมได)

- ใชไดทั้งสกัมมธาตุ และอกัมม

ธาตุ

- มีอํานาจทํานองเดียวกับ ต

ปจจัย

- ลงหลังธาตุตัวเดียว ใหคงธาตุ

และปจจัยไว

- ลงหลังธาตุ ๒ ตัว ถาคงธาตุและ

ปจจัยไว ตองลง อิ อาคม ทายธาตุ

- ถามีอุปสัคอยูหนา ใหแปลง

ตูนาทิปจจัย เปน อาย

- ธาตุมี มฺ เปนที่สุด และมีอุปสัค

นําหนา แปลงตูนาทิปจจัย เปน ย

แลวแปลง ย กับพยัญชนะที่สุด

ธาตุ เปน มฺม

- ธาตุมี ทฺ เปนที่สุด และมีอุปสัค

นําหนา แปลงตูนาทิปจจัย เปน ย

แลวแปลง ย กับพยัญชนะที่สุด

ธาตุ เปน ชฺช

- ธาตุมี ธฺ, ภฺ เปนที่สุด แปลง

ตูนาทิปจจัย เปน ย แลวแปลง ย

กับพยัญชนะที่สุดธาตุ เปน ทฺธา

หรือ พฺภ

- ธาตุมี หฺ เปนที่สุด แปลง

พยัญชนะที่สุดธาตุกับ ย เปน ยฺห

- ลง ย ปจจัย ทั้ง อิ อาคม หนา ย - ลง เณ ณย ณาเป ณาปย กอน

เฉพาะที่ลง ณย และ ณาปย ตอง

ลง อิ อาคม

- ธาตุหมวด ทิวฺ สุ กี และ คหฺ ให

ลงปจจัยประจําหมวดธาตุกอน จึง

ลงปจจัยประจําวาจก

Page 7: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ค. กิตกิจจปจจัย (ตอ)

๓. ตูนาทิ-

ปจจัย

(ตอ)

- เฉพาะ ทิสฺ ธาตุ แปลง ตฺวา เปน

สฺวา แปลง ตฺวาน เปน สฺวาน

- ธาตุตัวเดียวมี อิ อี เปนที่สุด ให

แปลงเปน อย

- ธาตุตัวเดียวมี อุ อู เปนที่สุด ให

แปลงเปน อว

- กรณีคงธาตุไวอยางเดิมไมแปลง

นิยมใชแต ตฺวา เชน สุตฺวา

- ถาจะคงธาตุไว ใหลงปจจัย

ประจําหมวดธาตุของตน แลวลง อิ

อาคม และตูนาทิปจจัย

- ศัพทตอไปน้ี ลง ตฺวา ปจจัย

แปลง ตฺวา เปน ย แลวเอา ย กับ

อิ ธาตุ (ถึง, เปนไป) เปนรูปพิเศษ

อนุ+(อิ ธาตุ+ย)+อาย = อนฺวาย

ป+(อิ ธาตุ+ย)+เอจฺจ = เปจฺจ

ปฏิ+(อิ ธาตุ+ย)+อิจฺจ = ปฏิจฺจ

- ธาตุมี มฺ, นฺ เปนที่สุด ใหแปลง

ที่สุดธาตุ เปน นฺ

- ธาตุบางตัวมีอุปสัคเปนบทหนา

ใหแปลงไดเปนพิเศษ ดังน้ี

ก. ตฺวา เปน อา

ปฏิ+สํ+ขา+ตฺวา=ปฏิสงฺขา

น+อา+ปุจฺฉฺ+ตฺวา=อนาปุจฺฉา

Page 8: ปัจจัยในกิริยากิตก์

ปจจัย กาล สําเนียง วาจก

ลิงค กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก เหตุกมัมวาจก

ค. กิตกิจจปจจัย (ตอ)

๓. ตูนาทิ-

ปจจัย

(ตอ)

ข. ตฺวา เปน ยาน

สํ+อว/โอ+อิกฺขฺ+อิ+ตฺวา=

สมฺเวกฺขิยาน

ค. ตฺวา เปน อิย

น+ปฏิ+อว/โอ+อิกฺขฺ+ตฺวา=

อปจฺจเวกฺขิย

ง. ตฺวา เปน ตุง แลวแปลง ตุง เปน

ฏุง

อภิ+หรฺ+ตฺวา=อภิหฏุง