การประเมินความเสี่ยงด วย...

18

Transcript of การประเมินความเสี่ยงด วย...

Page 1: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร
Page 2: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

การประเมินความเสี่ยงดวยเทคนิคการวิเคราะห

งานและการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน สวินทร พงษเกา ([email protected])

การวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย หรือที่ทุกคนรูจักในชื่อที่วา JSA (Job Safety Analysis)

นับวาเปนเครื่องมือที่สำคัญที่เจาหนาที่ความปลอดภัยทุกระดับไดนำมาใชในการคนหาอันตรายที่แฝงเรนอยู

ในแตละขั้นตอนการปฏิบัติงาน แตการที่เราจะนำงานใดมาทำการวิเคราะหนั้น มักจะมองเฉพาะงานที่มี่

อันตราย และหากเกิดความผิดพลาดจะนำมาซึ่งความเสียหายรุนแรง เชน การเสียชีวิต การบาดเจ็บ หรือ

ทรัพยสินเสียหาย อีกทั้งงานที่นำมาทำการวิเคราะห อาจเปนงานที่ไมไดบงชี้ความชัดเจนของงาน เชน

งานซอมเครื่องจักร เปนงานที่คอนขางมีขอบเขตที่กวางขวาง หากผูที่ทำการวิเคราะหไมไดระบุ บงชี้วา

เคร่ืองจักรท่ีกำลังจะทำการวิเคราะหคือเคร่ืองจักรใด ก็จะทำใหการมองอันตราย (Hazard) มีความแตกตาง

กัน อีกทั้งในการชี้บงอันตรายนั้น การชี้บงอาจไมไดทำการระบุใหชัด (Pin Point) วาอะไรคืออันตรายที่

แทจริง ก็ อาจทำใหการวิเคราะหงาน มีความคลาดเคลื่อนจากสิ่งที่ควรเปน ดังนั้นสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ควร

ใหการเอาใจใสและทำการวิเคราะหอยางเปนระบบอยางจริงจังก็จะทำใหผลของการวิเคราะหงาน นำไปสู

การชี้บงอันตราย และ การประเมินความเสี่ยงไดอยางสมบูรณ

1

Page 3: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

งาน ( Job ) ???

เรามักพูดคำวา งาน ( Job ) กันอยูตลอดเวลา และจนคุนเคยกับคำวางาน ในการบริหารงานของ

องคกรนั้น ทุกองคกรที่มีการจัดวางแผนอัตรากำลังคน ( Man Power Planning ) อาจมีการกำหนดความ

ตองการบุคลากร , คุณสมบัติของบุคลากร ( Job Specie Frication ) และภาระหนาที่ความรับผิดชอบ

( Job Description; JD) ไวแลว แตสำหรับเทคนิคการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย ( JSA ) นั้น เราจะ

ตองมีการระบุงานที่อยูในภาระหนาที่ความรับผิดชอบ ( JD ) ออกมาใหชัดเจนเปนงานๆ ตัวอยางเชน

ตำแหนงงาน ชางไฟฟา

Job description 1) วางแผนงานการซอมและบำรุงรักษาเชิงปองกันอุปกรณไฟฟาในโรงงาน

2) ถาเปนการซอมและบำรุงรักษาเชิงปองกันอุปกรณ ไฟฟาในโรงงานให เปนไป

ตามแผน

3) เก็บรวบรวมขอมูลการซอมและบำรุงรักษาอุปกรณไฟฟาตางๆอยางเปนระบบ

4) สรุปผลและรายงานการดำเนินการใหผูบังคับบัญชาทราบเปนประจำทุกส้ินเดือน

จาก Job description ของชางไฟฟาในขอท่ี 1 ถึงขอท่ี 5 จะตองมีการระบุออกมาใหชัดเจนเปนงาน

ยอยๆ ( Job/Task ) มีงานอะไรบางเพ่ือนำไปสูข้ันตอนการวิเคราะหงานเพ่ือความปลอดภัยตอไป

2

Page 4: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ทำไมจึงตองมีการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย ???

ความสำเร็จขององคกร จะเกิดขึ้นไดจากความสำเร็จของแตละงานที่อยูในแตละหนวยงานในองคกร

ในแตละองคกรจะมี Work System ที่มีความคลายคลึงกันโดนมีจุดเริ่มตนจากการนำเอาความตองการของ

ลูกคา ( Customer need ) มาเปนจุดเริ่มตนของการออกแบบผลิตภัณฑ / งาน และทำการผลิตใหได

ตามความตองการดังกลาว กอนนำไปสงมอบใหลูกคาโดยมีการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ อยางตอเน่ือง

ในแตละระบบก็จะมีการออกแบบหนวยงานขึ้นมาทำงานรับผิดชอบ เชน ในกระบวนการผลิต ก็จะ

มีหนวยงาน เชน

1) ฝายผลิต ทำหนาที่ในการผลิตสินคาตามความตองการของลูกคาและตามแบบที่กำหนด

2) ฝายจัดซื้อและพัสดุ ทำหนาที่ในการจัดซื้อวัตถุดิบและทรัพยากร ที่จำเปนในการผลิต

3) ฝายทรัพยากรมนุษย ทำหนาที่ในการหาบุคลากร ที่มีศักยภาพและทำการพัฒนาใหมีความ

สามารถอยางสม่ำเสมอเพื่อทำการผลิต

จากตัวอยางขางตนจะเห็นวา ในแตละฝายที่ไดกำหนดขึ้นมา ก็จะสอดคลองกับกระบวนการที่มี

ความจำเปนตอการผลิต ใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา ซึ่งหากงานตางๆที่แตละฝายรับผิดชอบ

ไมบรรลุเปาหมายตามที่กำหนด ก็จะสงผลตอความลมเหลวขององคกร และหนึ่งในปจจัยที่กอใหเกิดความ

ลมเหลวไดนั้น คือ ความเสียงที่อาจทำใหอุบัติเหตุ ซึ่งจะนำไปสูความเสียหายที่รายแรงได

3

Page 5: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

ในการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย เพื่อนำไปสูการประเมินความเสี่ยง นั้น เปนการดำเนินการ

ตามวงจร PDCA ( Plan Do Check Act ) โดยแบงขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 1 ระบุงานใหชัดเจน

ในขั้นตอนนี้จะตองมีการระบุงาน ( Job ) ใหชัดเจน โดยงานที่ควรจะนำมาทำการวิเคราะห ควร

มีลักษณะดังนี้

(1) งานที่เคยมีการเกิดอุบัติเหตุบอย โดยพิจารณาจากสถิติของการเกิดอุบัติเหตุที่ผานมา

(2) งานที่มีศักยภาพความสูญเสียสูง ( High Potentiate Job) งานที่มีศักยภาพความสูญเสียสูง อาจ

เปนงานที่ในอดีต ยังไมเคยเกิดอุบัติเหตุ แตถางานดังกลาวเกิดความผิดพลาดขึ้นมาแลวก็จะทำใหเกิดเปน

อุบัติเหตุที่มีความรายแรงได เชน งานที่ทำงานกับไฟฟาแรงสูง , งานที่มีการปนปายบนที่สูง เปนตน

(3) เปนงานใหญที่ยังไมเคยทำมากอน เราควรทำการวิเคราะหเพอความปลอดภัย เพื่อทำการชี้บง

อันตรายที่ซอนเรนอยูในแตละขั้นตอนอยางละเอียด

4

Page 6: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

ขั้นตอนที่ 2 แยกขั้นตอนในแตละงาน

ในขั้นตอนนี้ เราจะตองแยกขั้นตอนออกมาเปนขั้นๆใหชัดเจน โดยในแตละขั้นตอนที่แยกออกมานั้น

ไมควรหยาบหรือละเอียดจนเกินไป ซึ่งจะมีจำนวนขั้นตอนอยูเทาใดนั้น อาจกำหนดใหตายตัวลงไปไมได

สำหรับประสบการณของผู เขียนขั ้นตอนควรมีไมนอยกวา 5 ขั ้นตอนและ ไมควรเกิน 15 ขั ้นตอน

(ไมใชมาตรฐาน) ถามีข้ันตอนนอยเกินไป จะทำใหไมสามารถบงช้ีอันตรายไดอยางชัดเจน ( Pin Point Hagard )

แตหากมีข้ันตอนยาวมากเกินไป เม่ือเรานำผลการวิเคราะหเพ่ือความปลอดภัยไปสูการปฏิบัติ โดยกำหนดเปน

มาตรฐานงานไว ก็อาจทำใหผูปฏิบัติงานที่ตองปฏิบัติตามในแตละขั้นตอนเกิดความสับสนได

ในมุมมองของผูเขียน ในการแยกข้ันตอนน้ัน สามารถแบงการทำงานไดเปน 3 ชวง ( Phase) ใหญๆ คือ

ชวงที่ 1 เปนการเตรียมงานในขั้นตอนนี้ควรมีขั้นตอนยอยอยูระหวาง 2 – 3 ขั้นตอน

ชวงที่ 2 เปนการปฏิบัติงานจริงในขั ้นตอนนี้จะเปนขั ้นตอนหลักของการทำงาน ควรมีขั ้นตอนยอย

อยูระหวาง 6 – 10 ขั้นตอน

ชวงที่ 3 เปนขั้นตอนปดงาน ในขั้นตอนนี้เปนการดำเนินการเมื่องานหลักเสร็จสิ้นควรมีขั้นตอนยอยอยู

ระหวาง 2 – 3 ขั้นตอน

5

Page 7: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

ปจจัยจากคน

1. ความสามารถทางรางกาย /สรีระวิทยาไมเหมาะสมหรือไมเพียงพอ

1.1. ความสูงไมเหมาะสม , น้ำหนักไมเหมาะสม , ขนาดไมเหมาะสม , ไมแข็งแรง , ระยะไมเหมาะสม เปนตน

1.2. รางกายถูกจำกัดความเคลื่อนไหว

1.3. ความสามารถในการรับน้ำหนักของรางกายมีจำกัด

1.4. ไวตอการสัมผัสหรือโรคภูมิแพ

1.5. ไวตอความรูสึกอยางมาก (อุณหภูมิ , เสียง เปนตน)

1.6. สายตาไมดี

1.7. ความสามารถในการไดยินไมดี

1.8. ขาดความรูสึกอื่นๆ ( การสัมผัส , ลิ้มรส , ไดกลิ่น ,ความสมดุล )

1.9. ระบบการหายใจไมดี

1.10. ทุพพลภาพหรือพิการอยางถาวร

1.11. ทุพพลภาพชั่วคราว

6

Page 8: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

ปจจัยจากคน

2. สภาพจิตใจ อารมณไมเหมาะสม / ไมเพียงพอ

2.1. ความกลัวและความหวาดกลัว

2.2. รูสึกสับสนวุนวาย

2.3. มีอาการปวยทางจิต

2.4. ระดับไหวพริบไมเหมาะสม

2.5. ไมสามารถที่จะเรียนรู / ทำความเขาใจ

2.6. การตัดสินใจไมดี

2.7. การประสานงานไมดี

2.8. ปฏิกิริยาโตตอบชา

2.9. ความสามารถในการใชเครื่องจักร / เครื่องมือต่ำ

2.10. ความสามารถในการเรียนรูต่ำ

2.11. ความจำไมดี (ขี้ลืม)

3. รางกายไดรับความกดดัน / ความเครียด

3.1. บาดเจ็บหรือปวย

3.2. เกิดความลาจากการทำงานหนัก หรือระยะเวลา

ขณะทำงานนาน

3.3. เกิดความลาจากการพักผอนไมเพียงพอ

3.4. เกิดความลาจากการใชประสาทสัมผัสมากเกินไป

3.5. การสัมผัสสิ่งที่เปนอันตรายตอสุขภาพ

3.6. การสัมผัสอุณหภูมิรอนหรือเย็นจัด

3.7. ขาดหรือไดรับออกซิเจนไมเพียงพอ

3.8. การเปลี่ยนแปลงความดันบรรยากาศ

3.9. ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว

3.10. น้ำตาลในเลือดไมเพียงพอ

7

Page 9: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

ปจจัยจากคน

4. มีความเครียดทางจิตใจ

4.1. ใชอารมณมากเกินไป

4.2. เกิดความลาจากการตั้งใจทำงานหนักหรือเรงทำงาน

4.3. ปริมาณงานที่จะตองตัดสินใจมากเกินไป

4.4. งานประจำ , ทำงานซ้ำๆ ตองคอยเฝาระวังอยาง

รอบคอบ

4.5. งานที่ตองการเอาใจใสและความเขาใจเปนอยางดี

4.6. กิจกรรมที่ทำใหเสียเวลา

4.7. สับสนกับการสั่งการหรือความตองการ

4.8. ขัดแยงกับการสั่งการหรือความตองการ

4.9. เกิดความกังวลกับปญหา

4.10. ผิดหวัง

4.11. มีอาการปวยทางจิต

5. ขาดความรู

5.1. ขาดประสบการณ

5.2. การปฐมนิเทศไมเพียงพอ

5.3. การฝกอบรมเบื้องตนไมเพียงพอ

5.4. การอบรมทบทวนไมทันเหตุการณ

5.5. ไดรับการแนะนำอยางไมถูกตอง

6. ขาดทักษะ / ความชำนาญ

6.1. ขอแนะนำเบื้องตนไมเพียงพอ

6.2. การฝกหัดไมเพียงพอ

6.3. นานๆจะปฏิบัติสักครั้ง

6.4. ขาดผูฝกสอน / ชี้แนะ

6.5. การทบทวนไมเพียงพอ

8

Page 10: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

ปจจัยจากคน

7. ขาดแรงจูงใจหรือแรงจูงใจไมเหมาะสม

7.1. วิธีการใหรางวัลไมเหมาะสม

7.2. ทำโทษในสิ่งที่ไมสมควรลงโทษ

7.3. ขาดแรงจูงใจ

7.4. มีความคับแคนใจมากเกินไป

7.5. มีความกาวราวที่ไมเหมาะสม

7.6. มาตรการที่ไมเหมาะสมควรประหยัดเวลาและแรงงาน

7.7. วิธีการไมเหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงความไมสะดวก

7.8. ความพยายามไมสมควรเพื่อดึงดูดความสนใจ

7.9. ขาดการลงโทษทางวินัย

7.10. ความกดดัน

7.11. ตัวอยางการปฏิบัติของหัวหนาไมเหมาะสม

7.12. การรับแจงขอมูลจากพนักงานไมเพียงพอ

7.13. การชักจูงใหปฏิบัติในสิ่งที่ควรปฏิบัติไมเพียงพอ

7.14. แรงจูงใจในการผลิตไมเหมาะสม

9

Page 11: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

(2) เครื่องจักร / อุปกรณ / เครื่องมือ ( Equipment )

อันตรายที่แฝงเรนอยูในเครื่องจักร , อุปกรณ และเครื่องมือ นั้นเปนอันตรายที่สามารถชี้บงไดชัดเจน

เชน ในสวนของเครื่องจักรที่มีการหมุน เชน เฟอง , สายพาน ถาเอาอวัยวะไปถูกก็จะทำใหเกิดอันตราย เชน

บาด , ตัดขาด ได หรือเครื่องจักรที่ใชกระแสไฟฟามาเปนแหลงพลังงาน หากเกิดการรั่วไหลของกระแสไฟฟา

ก็จะทำใหเกิดไฟฟาดูดได เปนตน ในการชี้บงอันตรายที่แฝงเรนในเครื่องจักร / อุปกรณ / เครื่องมือ

ควรทำการชี้บงอันตรายใหชัดเจน ( Pinpoint Hagard ) เพื่อที่จะนำอันตรายที่ไดมาทำการประเมินความ

เสี่ยงอยางเหมาะสม และผลการประเมินจะมีความชัดเจน

(3) วัสดุ ( Material )

วัสดุ นับวาเปนแหลงอันตรายที่สำคัญและอันตรายที่แฝงเรนในวัสดุ ในบางอยางอาจสามารถมองใหไดดวย

ตา เชน วัสดุที่เปนแผนเหล็ก เราก็มองเห็นอันตรายจากสภาพแผนเหล็ก เชน ความคม , มุมแหลมของ

แผนเหล็ก เปนตน แตในวัสดุบางประเภทเชน สารเคมีที่ใชในการผลิต เราอาจจะตองอาศัยขอมูลพิเศษ

เชน MSDS (Material Safety data sheet) หรือ SDB (Safety data sheet) เพื่อชี้บงอันตรายที่แฝงเรน

(4) สภาพแวดลอม (Environment)

เปนแหลงอันตรายที่อยูลอมรอบงานทุกงาน เชน เสียงดัง , ความรอน , ความเย็น , ความสั่นสะเทือน ฯลฯ

และครอบคลุมไปถึงมลพิษที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน เชน งานเขื่อน กอใหเกิดไอโลหะ ( Fume ) ตอผู

ปฏิบัติงานที่สูดดมเขาไปในระบบทางเดินหายใจ ก็อาจจะไดรับอันตราย เปนตน

10

Page 12: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินความเสี่ยง

หลังจากที่ไดอันตรายตางๆ จากการคนหาอันตรายที่แฝงเรนในแตละขั้นตอน จากแหลงตางๆใน

ขั้นตอนที่ 3 มาแลวนั้นก็จะทำอันตรายตางๆไปทำการประเมิน คาความเสี่ยง ในการที่จะสามารถทำการ

ประเมินความเสี่ยงไดนั้น เราจะตองมีการเลือก / กำหนดการที่ใชในการประเมินความเสี่ยง ทั้งในการ

ประเมินความเสี่ยงจะเปนผลรวมของความรุนแรงและโอกาสในการเกิดเหตุการณ

ในการประเมินความเสี่ยง จะตองมีการเลือกหรือกำหนดเกณฑที่จะใชซึ่ง จะขอยกตัวอยางเกณฑที่

ใชในการประเมินความเสี่ยงอยางงาย

ความเสี่ยง ( Risk ) = ความรุนแรง ( Severity × โอกาสในการเกิดเหตุการณ ( probability)

11

Page 13: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

12

เกณฑประเมินความเสี่ยง

1) เกณฑประเมินคาความรุนแรงและโอกาส

*สามารถปรับคาตัวเลขความเสียหายของทรัพยสินไดตามความเหมาะสม*

Page 14: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

13

เกณฑประเมินความเสี่ยง

2) Matrix ของความเสี่ยง (ผลรวมของความรุนแรงและโอกาส

3) การพิจารณาลำดับความเสี่ยง

ความรุนแรง ( Severity)

Page 15: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

14

ขั้นตอนที่ 5 กำหนดวิธีการแกไขปองกัน

เมื่อผานขั้นตอนที่ 4 และพบวา อันตรายใดที่มีผลการประเมินความเสี่ยงที่อยูในระดับปานกลาง

ขึ้นไป จะตองมีการกำหนดวิธีการแกไขปองกัน อาจมีหลายวิธีการและอาจไมสามารถใชวิธีการใดวิธีหนึ่ง

เทาน้ัน ในบางครั้งจำเปนที่ตองมีการใชวิธีการหลายวิธีควบคูกัน ซึ่งวิธีการอาจแบงหลักๆได 3 แนวทาง

(1) ใชวิธีการทางวิศวกรรม ( Engineering )

เชน การออกแบบ Safe Guard ครอบสวนอันตรายของเครื่องจักร เพื่อปองกันอันตราย , การติด

ตั้งระบบลดแรงดัน กรณีอุปกรณมีความดันผิดปกติ เปนตน

(2) ใชวิธีการใหการศึกษา อบรมใหความรู ( Education )

(3) ใชวิธีการบังคับ ควบคุม (Enforcement )

Page 16: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

15

ขั้นตอนที่ 6 นำมาจัดทำเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ในการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีแนวทางการจัดทำดังนี้

1. เราจะเริ่มโดยชี้ใหเห็นถึงวัตถุประสงคและความสำคัญของงานนี้

2. อธิบายใหเห็นถึงขั้นตอนการดำเนินงานทีละขั้น

3. อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติในเชิงบวก โดยอธิบายวา “ อะไรควรทำ”มากกวา “หามทำ”

4. ปรับปรุงใหเกิดความเขาใจ จดจำ และปฏิบัติไดตรงกันอีกครั้งหนึ่งโดยการหาเหตุผลใหกับคำวา

“ทำไม” ซึ่งถือวาเปนสิ่งสำคัญของขั้นตอนนี้

5. จัดพิมพลงในแบบฟอรมท่ีงายและเหมาะสม ขอกำหนดการทำงานเปนเคร่ืองมือเบ้ืองตนสำหรับการ

เรียนการสอน ดังนั้นจึงตองชัดเจน รวบรัด ถูกตอง และสมบูรณสิ่งที่ชี้ใหเห็นขางตน มิไดหมาย

ความวา งานทุกอยางสามารถนำมาจัดทำขอกำหนดการทำงาน หรือควรที่จะนำมาจัดทำขอ

กำหนดการทำงาน แตมีเฉพาะบางงานเทานั้นที่ควรจะจัดทำขอกำหนดการทำงาน เชน งานเกี่ยว

กับการคา งานฝมือ งานซอมบำรุง และงานขนยายวัสดุ ซึ่งจะมีขั้นตอนการทำงานในแตละครั้งไม

แตกตางกันมากนัก สวนงานที่ใหความสำคัญกับผลสำเร็จขั้นสุดทาย โดยตองการชี้ใหทราบวา

“ อะไรคือสิ่งสำคัญ” และ “ทำอยางไรจึงจะบรรลุเปาหมาย” นั้นควรจัดทำเปนขอควรบังคับ

(Practices)จะเหมาะสมและมีประโยชนมาก เพราะดีกวาการปลอยใหผูปฏิบัติงานแตละคนตัดสินใจเอง

Page 17: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

16

แนวทางในการจัดเตรียม “ ขอควรปฏิบัติ” ที่เหมาะสม

1. ชี้แจงแนวทางการแกไข การปฏิบัติ ( Performance ) ในเชิงบวก รวมทั้งบอกใหทราบถึงกฎ และ

ระเบียบที่สำคัญดวย

2. ในบางครั้งไมควรจำกัดเพียงงานเฉพาะ (Specific Task) แตพิจารณาเรื ่องวิธีการปฏิบัติงาน

(Work Activity) ใหกวางและระเอียดขึ้นดวย เชน การใชรอยวงเดือน การเขาที่อับอากาศ การขนยายวัตถุ

ระเบิดและการล็อคอุปกรณ (Lock Out Equipment)

3. จะตองมีประโยชนตอผูปฏิบัติงานที่ตองทำงานหลายอยางแตนานๆทำครั้ง หรือมีประโยชนตอการ

ปฏิบัติงานพิเศษบางอยาง ท่ีไมสามารถทำตามขอกำหนดการทำงานได เน่ืองจากแนวทางการปฏิบัติงานน้ัน

แตกตางจากสถานการณปกติอยางมาก

4. ขอแนะนำ “ขอควรปฏิบัติในการทำงาน” ควรจะกลาวถึงเรื่องตางๆหรือมีลักษณะดังนี้

1. จูงใจ โดยอธิบายใหผูปฏิบัติงานทราบวา ทำไมผูปฏิบัติงานจึงควรปฏิบัติใหสอดคลองการ

ปฏิบัติงาน (Standard Practice) เช่ือมโยงใหเขาเห็นถึงประโยชนท่ีเขาจะไดรับ และสรางความภูมิใจใหแกเขา

2. แหลงที่มาของปญหาในแตละเรื่อง โดยชี้ใหเห็นถึง จุดที่อาจทำใหเกิดปญหาขึ้น และบอก

วาสิ่งใดควรใหความเอาใจใสเปนพิเศษ

3. เครื่องแตงกายและอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล จะบอกใหทราบถึงเครื่องแตงกาย

และอุปกรณที่ตองการใชเปนพิเศษ โดยบอกเงื่อนไขของความตองการนั้นพรอมเหตุผลที่จำเปนตองใช

4. เครื่องมือและอุปกรณเศษ โดยกระตุนใหมีการใชการดปองกันอันตราย (Guard) แผนกั้น

สวิทช กุญแจล็อค (Lock) และอุปกรณฉุกเฉินอยางเหมาะสม

Page 18: การประเมินความเสี่ยงด วย ......งานและการจ ดทำมาตรฐานการปฏ บ ต งาน สว นทร

ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

และการประเมินความเสี่ยง

17

ขั้นตอนที่ 7 การนำไปสูการปฏิบัติจริง

ขอกำหนดการทำงานและขอควรปฏิบัติ เปนเครื่องมือการบริหารเพื่อใหคำแนะนำที่เหมาะสมที่สุด

ในปจจุบัน เพราะสามารถนำไปใชในกิจกรรมตางๆไดถึง 7ประเภท ดังนี้

1. การปฐมนิเทศพนักงาน (Employee Orientation) สิ่งแรกที่พนักงานใหมตองการทราบก็คือ

“งานอะไรที่เขาตองทำ” เอกสารขอกำหนดการทำงาน และขอควรปฏิบัติ จะมีประโยชนในการอธิบายใหเขา

เขาใจในสิ่งนี้ โดยเราอาจจะสงเอกสารนี้ใหเขาศึกษากอนที่จะเริ่มอธิบายหรือสอนงานก็ได

2. การสอนงาน (Proper Task Instruction) ขอกำหนดการทำงานและขอควรปฏิบัติที่เขียนขึ้นจะมี

คาอยางมากสำหรับหัวหนางานบรรลุวัตถุประสงคตามหนาที่ความรับผิดชอบพื้นฐาน ในเรื่องการสอนใหผู

ปฏิบัติงานทราบวา “เขาจะทำงานใหเหมาะสมไดอยางไร” ทั้งในเรื่องความถูกตอง รวดเร็ว ความชอบธรรม

และความปลอดภัย

3. การสังเกตการณทำงานตามแผนงาน (Planned Task Observation) ขอกำหนดการทำงานและ

ขอปฏิบัติที่เขียนขึ้น สามารถทำใหหัวหนางาน วิเคราะหการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงานอยางเปนระบบ เพื่อ

ใหทราบวา การปฏิบัติของพนักงานเหมาะสมเพียงใดเมื่อเทียบกับมาตรฐานที่จำเปน

4. การส่ือสารระหวางบุคคล (Coaching and Tipping) ขอกำหนดการทำงานและขอควรปฏิบัติท่ีเขียน

ขึ้นจะเปนแหลงขอมูลวิธีการปฏิบัติงานแหลงใหม สำหรับหัวหนางานที่จะนำไปใชเพื่อกระตุนพนักงานใน

ระหวางการพูดคุยกัน หรือในระหวางการฝกอบรม