รายงาน วิชา 102203 หลักการอาร ักขา...

Post on 04-Feb-2020

5 views 0 download

Transcript of รายงาน วิชา 102203 หลักการอาร ักขา...

วิชา 102203 หลักการอารักขาพืชรายงาน

โดย

ภาควิชาวิทยาศาสตรการเกษตรคณะเกษตรศาสตร ทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร

นางสาวนาริน เปยมะโนนางสาวธัญลักษณ ใจแกวมานางสาวดวงแกว นาคอินทรนายเฉลิมพล กันยะมีนายเฉลิมชัย ติ๊บเต็ม

มะละกอมะละกอ

มะละกอมีชื่อวิทยาศาสตรวา Carica papaya L. อยูในตระกูล Caricaceae จัดเปนไมผลลมลุก อายุสั้นระบบรากมีทั้งระบบรากแกวและรากแขนง ลําตน เปนพืชที่มีเนื้อไมออน อวบน้ํา ลําตนกลวง และไมคอยแตกกิ่งกานสาขาเหมือนไมผลชนิดอื่นดอก เจริญออกมาตรงซอกใบเหนือกานใบอาจเปนดอกเดี่ยวหรือมากกวา 1 ดอกใน 1 กานดอก ดอกมะละกอจะมีอยู 3 ชนิด

1.ดอกตัวเมีย เปนดอกที่มีขนาดใหญ2.ดอกตัวผู กานดอกจะยาว ดอกมีขนาดเลก็ กลบีดอกหลอมติดกันเปน

หลอด ออกเปนชอแตถาดอกตัวผูบนตนกะเทยกานดอกจะสั้น3.ดอกกะเทย ดอกมีขนาดปานกลาง มีกลีบดอก 5 กลีบ มีเกสรตัวผู 5

อัน และมียอดเกสรตัวเมียเปนหาแฉก

มะละกอเปนไมผลลมลุกขนาดกลาง ความสูงระหวาง 5 - 20 ฟุต ลําตนอวบน้ํา มะละกอเปนพืชปลูกงายโตเร็วใหผลเร็วใหผลไดตลอดทั้งป โดยทั่วไปมะละกอเปนพืชไมคอยมีแมลงรบกวนและปลกูไดดีในดินทั่วไป แตตองเปนดินที่มีการระบายน้ําดี น้ําไมขังแฉะและมีอินทรียวัตถุมากพอสมควร มีหนาดินลึกไมนอยกวา 1 เมตร เริ่มออกดอกเมื่ออายุ130 -150 วันหลังจากปลกูดวยเมล็ดและสามารถใหผลผลิต 3 - 4 ป ถาไมมีปญหาโรคแมลงทําลาย สามารถเก็บเกี่ยวผลดิบไดเมื่ออายุ 3 - 4 เดือน และเก็บเกี่ยวผลสุกไดเมื่ออายุ 5 - 6 เดือนหลังดอกบาน มะละกอ 1 ตน สามารถใหผลผลิต 25 - 30 กก./ป หรือ 2,966 กก./ไร น้ําหนักผลอยูระหวาง 0.7 -2.50 กก.

การเกิดโรคและวิธีควบคุมโรคของมะละกอการเกิดโรคและวิธีควบคุมโรคของมะละกอ

แอนแทรคโนส (Anthracnose)

สาเหตุของโรค เกดิจากเชือ้รา Colletotrichum gloeosporioides

ลกัษณะอาการของโรคใบ จะเปนจุดขอบแผลสีน้ําตาล เนื้อเยื่อสวนกลางจะมีสีซีดจาง

และมักจะขาดเปนรูทะลุในเวลาตอมา มักพบจุดดําเล็ก ๆ กระจายทั่วบริเวณแผล ซึ่งคือสวนขยายพันธุของเชื้อรา

ผล เห็นไดเดนชัดเมื่อเกิดกับผลสุก จะเกิดลกัษณะแผลกลมฉ่ําน้ํา และยุบลงไปในผล ตรงกลางจุดจะมีสปอรของเชื้อสีสมหรือชมพูขึ้นฟูเปนวงชั้น ๆ บริเวณแผลและแผลจะลุกลามขยายตัวไป ทําใหผลมะละกอเนาเสียในเวลารวดเร็ว โดยเฉพาะในสภาพอากาศอบอาว และมีความชื้นสูง เชื้อสาเหตุของโรคจะเขาทําลายตั้งแตระยะที่เปนผลออน และฟกตัวไมแสดงอาการของโรค แตจะปรากฏอาการของโรคเมื่อผลมะละกอสกุ

การแพรระบาดเชื้อราจะแพรกระจายจากแหลงเพาะเชื้อตามผล กิ่งกานที่เปนโรค โดยลมฝนและเขาทําลายผลออน โดยสปอรของเชื้อจะงอก และแทงเขาสูผิวผลไดโดยไมตองมีบาดแผลเกิดขึน้ และเจริญฟกตัวอยูที่เนื้อเยื่อบริเวณใตสวนผิวผลมะละกอ จนผลเริ่มสุกจึงจะเกิดอาการของโรค

การปองกนักําจดั1.เก็บทําลายใบแหงที่รวงหลน โดยเผาทําลาย เพื่อตัดตนตอของ

การระบาดของเชื้อโรค 2.มะละกอที่ปลกูเพื่อขายผลสุก ควรจะฉีดพนสารปองกันกําจัดเชื้อ

รา เชน carbendazim หรือ mancozeb ทุกระยะ 14-20 วัน ตั้งแตระยะแทงชอดอก หรือเริ่มติดผล โดยเฉพาะถาอยูในชวงอากาศอบอาวและความชื้นสูง

3.จุมผลมะละกอในน้ํารอนที่อุณหภูมิ 48 องศาเซลเซียส เปนเวลา 20 นาที แลวลดอุณหภูมิใหเย็นลงหลังจุมในน้ํารอน จะชวยลดปญหาการเกิดโรคนี้กับผลสุกได

ใบจุดเนื่องจากโรคแอนใบจุดเนื่องจากโรคแอนแทรคโนสแทรคโนส

จุดแอนจุดแอนแทรคแทรคโนโนสบนสบนผลผล

ใบดางจดุวงแหวนสาเหตุของโรค เกดิจากเชือ้ไวรัส Papaya ringspot virus (PRV)

ลกัษณะอาการของโรคเชื้อเขาทําลายไดทุกระยะการเจริญเติบโตของมะละกอ

ระยะตนกลา เชื้อเขาทําลายจะทําใหตนแคระแกร็น ใบดางเหลือง บิดเบีย้วเสียรูป ใบจะหงิกงอ เรียวเล็กเหมือนหางหนู ถาเปนรุนแรงใบ จะเหลือแคเสนใบดูเหมือนเสนดาย และตนกลาอาจตายไดหรือไมเจริญเติบโต ในตนที่โตแลว ใบมีอาการดาง บิดเบี้ยว หงิกงอ ยอดและใบมีสีเหลืองกวาตนที่ไมเปนโรค และจะสังเกตเห็นลักษณะจุดหรือทางยาวสีเขียวเขม ดูช้ําตามกานใบ ลําตน การติดผลจะไมดีหรือไมติดเลย

ผล มะละกอ อาจบิดเบีย้ว มีจุดลกัษณะเปนวงแหวน ทั่วทั้งผล เนื้อบริเวณที่เปนจุดวงแหวนมักจะเปนไตแข็ง มีรสขม ถาเปน รุนแรงแผลเหลานี้จะมีลักษณะคลายสะเก็ด หรือหูดนูนขึ้นมา บนผิวของผลจะขรุขระ ตนที่เปนโรคในระยะออกดอก จะทําใหติดผลไมดี และผลที่ไดจะมีจุดวงแหวนเห็นไดชัด นอกจากนี้ดอกในรุนตอ ๆ ไปก็จะรวง ไมติดผล

การแพรระบาดของโรคโรคนี้สามารถแพรระบาดไปไดโดยมีเพลี้ยออนหลายชนิดเปนพาหะ

เชน เพลี้ยออนถั่ว เพลี้ยออนยาสูบ และโดยเฉพาะเพลี้ยออนฝายที่พาหะสําคัญที่แพรระบาดของโรคนี้ โดยเพลี้ยออนจะดูดน้ําเลี้ยงจากตนเปนโรค เชื้อไวรัสจะติดอยูกับสวนปากแมลง และเมื่อบินหรือยายไปดูดน้าํเลี้ยงจากตนมะละกอที่ไมเปนโรค ก็จะถายเชื้อไวรัส การถายทอดโรคนี้ใชเวลาสั้นมาก โดยดูดจากตนเปนโรคประมาณ 10-30 วินาที ก็สามารถถายโรคไปยังตนอื่นได ภายหลังมะละกอไดรับเชื้อไวรัสแลวประมาณ 15-30 วินาที ก็จะแสดงอาการของโรคใหเห็น

การปองกนัและกาํจัด1.สิ่งที่ตองปฏิบัติคือ ตองทําลายตนที่ติดเชื้อโรคนี้ ที่แสดงอาการอยางแน

ชัดกอน โดยการเผาหรือฝงในดินใหลึก 2.ปลูกมะละกอพันธุที่ทนทานตอโรคนี้ เชน ปากชอง1, แขกดํา,ทาพระ 3.บริเวณปลูกมะละกอควรกําจัดวัชพืชใหหมด เพื่อปองกันไมใหเปนที่อยู

อาศัยของพวกเพลี้ยออน และควรปลูกหางจากพืชตระกูลแตง 4.การปลกูพืชอาหารเพลี้ยออน เชน ขาวโพด ถั่ว กลวย รอบแปลงปลูก

มะละกอ โดยเฉพาะดานเหนือลม เพื่อเปนกบัดักใหเพลี้ยออนเขาดูดกนิ และสูญเสียการถายเชื้อไวรัสเขาสูมะละกอ

5.การสรางภูมิคุมกันโดยการปลูกวัคซีนใหกับมะละกอ

โรคใบดางวงแหวนโรคใบดางวงแหวน มะละกอมะละกอ

ลักษณะจุดวงแหวนบนผลมะละกอลักษณะจุดวงแหวนบนผลมะละกอ

โรคใบจดุ สาเหตุของโรค เกดิจากเชือ้รา Cercospora papayae และ Corynespora sp.

ลกัษณะอาการของโรคใบ ถาเกดิจากเชื้อรา Cercospora papayae จะเปนจุดสี

ขาวอมเทาเปนวงๆ มีรูปรางไมแนนอน ใบที่เปนโรคมาก ๆ จะเหลืองและแหงตาย

ถาเกิดจากเชื้อรา Corynespora sp. จะเปนจุดสีขาวกระจัดกระจายบนใบ ใบซีดเหลืองและรวง

ผล ที่เปนโรคนี้จะเกิดจุดเล็ก ๆ มีลักษณะฉ่ําน้ํา มีสีดําและจะขยายตัวกวางออก เนื้อเยื่อใตผิวของผลจะมีลักษณะแข็ง แตไมมีการเนาเกิดขึ้น

การปองกนัและกาํจัดพนดวยแมนโคเซปหรือสารพวกที่มีทองแดงประกอบอยู เชน โคไซด คูปราวิต หรือ ฟงกูราน

โรคใบจุดเนื่องจากเชื้อราโรคใบจุดเนื่องจากเชื้อรา CercosporaCercospora spsp..

โรคใบจุดเนื่องจากเชื้อราโรคใบจุดเนื่องจากเชื้อรา CorynesporaCorynespora spsp

ผลจุดดําผลจุดดํา

โรคราแปง (Powdery mildew)

สาเหตุของโรคเชื้อรา Oidium caricae F. Noack.

ลกัษณะอาการของโรคใบ แสดงอาการจุดซีดเหลือง เกิดกระจัดกระจายบนใบ จุดมักขยายโตเปน

จุดกลมและลุกลามเชื่อมกัน พบกลุมเชื้อราสีขาวดานใตใบ และเมื่อระบาดมากจะปรากฎดานบนใบ

กลา มักซีดเหลืองใบรวงไดงาย เชื้อราแปงจะระบาดเจริญคลุมกานใบออน และคลุมทั่วใบยอดและคลุมผลมะละกอ

ผล มีจุดขาวลุกลามคลุมทั่วทั้งผล ทําใหผลมีผิวตกกระและชะงักการเติบโต พบระบาดรุนแรงในสภาพที่มีอากาศเย็น

การแพรระบาดเชื้อราพักตัวอยูกับตนมะละกอ แพรระบาดทางลม เมื่อมีความชื้นสูง

สรางสปอรในสภาพอากาศที่เย็นจึงพบระบาดรุนแรงในที่สูง

การปองกนัและกําจดัโดยการฉีดพนสารปองกันกําจัดเชื้อราชนิดที่ใชผลดกีับราแปง เชน

กํามะถัน แมนโคเซปหรือสารดูดซึมชนิดใหม เชน ไตรอะไดมิฟอน มีขอแนะนําใหผสมสารจับใบในการฉีดพนทุกครั้ง เพื่อทําใหประสิทธิภาพในการควบคุมโรคสูงขึ้น

ราแปงใตใบราแปงใตใบ

ราแปงบนผลราแปงบนผล

ไรแดง ชื่อวิทยาศาสตร Eutetranychus africanus (Tucker)

ลกัษณะการทําลายไรแดงเปนแมลงศัตรูมะละกอประเภทปากดูด โดย ไรแดงจะดูดน้ํา

เลี้ยงอยูใตผิวใบมะละกอ ขนาดของตัวเลก็มาก ตัวแกจะเปนสีแดงหรืออมชมพูหรือสีเหลือง อาศัยอยูใตใบพืช เมื่อพลิกใบดูอาจจะเห็นสีขาวคลุมอยู เมื่อไรแดงระบาดมาก ใบมะละกอเปนสีเหลืองซีด ตอมาเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล แหงและรวงไปในที่สุด ผลมะละกอที่ถกูไรแดงดูดน้ําเลีย้ง จะเปลี่ยนเปนสีเทาหรือสีเหลือง และจะแกกอนกําหนด รสชาติไมหวานเหมือนการสุกตามปกติ ไรแดงเขาทําลายตนมะละกอตลอดทั้งป โดยเฉพาะฤดูหนาวและฤดูรอนจะพบมากที่สุด ฤดูฝนพบบางแตไมมาก

การปองกนัและกําจดัพนดวยเคลเทน ประมาณ 0.5 กิโลกรัมตอพื้นที่ปลกู 1 ไร

หรือ อะคาร 0.5 กก. ตอน้ํา 230 ลิตรตอพื้นที่ปลกู 1 ไร โดยพยายามสลับการใชชนิดของสารเคมี เพราะปองกันไรแดงตานทานยาฆาแมลงศัตรูธรรมชาติศัตรูธรรมชาติที่สําคัญของไรแดงคือ ไรตัวห้ํา แมงมุม ดวงเตา

โรครากปมสาเหตุของโรค เกดิจากไสเดอืนฝอยรากปม Meloidogyny spp.

ลกัษณะอาการของโรครากฝอย ไสเดือนฝอยรากปม จะเขาทําลายสวนของรากฝอย ทําให

เกิดปุมปมบริเวณรากฝอยมากมาย ซึ่งมีผลทําใหการเจริญเติบโตของมะละกอชะงัก

ระยะตนกลา มะละกอจะชะงักการเจริญ ใบจะเล็กเหลืองคลายขาดอาหาร และแสดงอาการเหี่ยวในชวงที่มีอากาศรอน

มะละกอตนโต ความรุนแรงของโรครากปม ขึ้นอยูกับปริมาณไสเดือนฝอยในดิน มะละกอที่ปลูกในดินทราย รวนปนทราย จะแสดงอาการรุนแรงกวาในดินรวนหรือดินเหนียว ตนมักแสดงอาการใบเหลอืง ดอก ผลไมสมบูรณ และทําใหระบบรากไมแข็งแรง มีรากนอย เปนเหตุใหตนลมงาย เมื่อถูกลมพัดแรง และเปนชองทางใหเชื้อราสาเหตุโรคโคนเนาและรากเนาเขาทําลายไดงาย

การแพรระบาดติดไปกบัดินที่ใชเพาะกลา หรืออยูในดินแปลงปลูกพืช และเขา

ทําลายพืชไดโดยตรง โดยไมตองมีบาดแผลการปองกนักําจดั

รองกนหลุมปลูกที่เตรียมดินดวยสารคารโบฟูราน เชน ฟูราดาน 20 กรัม/หลุม จะชวยลดความเสียหายจากโรคนี้

อาการรากปมที่เกิดจากไสเดือนฝอยรากปมอาการรากปมที่เกิดจากไสเดือนฝอยรากปม

เพลี้ยแปง (Mealybug)

ชื่อวิทยาศาสตร Pseudococcus sp.

รูปรางลักษณะเพลี้ยแปงเปนแมลงที่อยูในตระกูลเดียวกันกับเพลี้ยหอย

(Coccidae) เพลี้ยแปงแบงออกเปน 2 พวก คือ เพลี้ยแปงหางสั้น และเพลี้ยแปงหางยาว ลักษณะตัวเพลี้ยมีขนาดเลก็ และมีสีขาว เพราะถูกสารขี้ผึ้ง ซึ่งขับออกมาคลุมตัวเพลี้ยไว และมีขาออนเจริญออกมารอบตัวทําใหเคลื่อนที่ไปมาไดแตชา

ลักษณะการทําลายเพลี้ยแปงชอบดูดน้ําเลีย้งจากสวนที่ออนของลําตน ซึ่งรวมไปถึง

ผลและใบดวย

การปองกันและกําจัดการปองกันและกําจัดเพลี้ยแปง เพียงแตใชน้ําพนใหถูกตัวอยางแรง

เพลี้ยแปงก็จะหลุดจากตนมะละกอสําหรับการใชสารเคมีสามารถใชมาลาไธออน 0.5 กิโลกรัมหรือไดอะซินอน 200 กรัมหรือทริไธออน 200กรัมผสมกับน้ํา 450 ลิตรพนทุก 3-4 สัปดาหตอครั้ง

ลักษณะการทาํลายของเพลี้ยแปงลักษณะการทาํลายของเพลี้ยแปง

โรครากเนาและโคนเนา (Root and foot rot)

สาเหตุของโรค เกดิจากเชือ้รา Pythium aphanidermatum (Edson) Fitz และ Phytophthora palmivora (E.J. Butter) E.J. Butter

ลกัษณะอาการของโรคในระยะตนกลา จะเกิดกับตนกลาออน ทําใหสวนของลําตนบริเวณ

ผิวดินมีลักษณะฉ่ําน้ําแลวยุบเปนแถบ ๆ และตายในที่สุด (ลักษณะอาการเนาคอดิน) ถาเปนมาก ตนจะหักพับบริเวณโคนตนหรือเหี่ยวตาย

ในตนโตแลว จะมีอาการเนารอบ ๆ ลําตนเปนสีน้ําตาลหรือสีดํา มีกลิ่นเหม็น รอยเนาอาจจะขยายตัวขึ้นดานบนของลําตนหรือขยายลงสวนราก ทําใหรากเนาดวย มีสีน้ําตาล

โรคที่เกิดกับมะละกอตนโต มักพบในแปลงที่ดินมีการระบายน้ําไมดี โดยเชื้อราจะเขาทําลายรากแขนงและลุกลามไปยังรากแกว และระบบรากทั้งตน ทําใหรากเนาเปอยเปนสีน้ําตาลหลุดขาดไดงาย ตนแคระแกรน ใบเหลือง กานใบลูลง และหลุดรวงไดงาย ตนมะละกอจะเหลือใบยอดเปนกระจุกและตายในที่สุด บริเวณโคนตนจะเนาชุมน้ํา มีสีน้ําตาลเยิ้มออกมา และตนจะหักลมพับบริเวณโคนตนไดงาย โรคโคนเนาและรากเนาของมะละกอตนโต โดยทั่วไปจะเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora

การแพรระบาดเชื้อราพิเที่ยม และไฟทอพทอรา เปนเชื้อราที่แพรกระจายในดิน

ที่มีน้ําขัง หรือระบายน้ําไมดี โดยเชื้อราจะสรางสปอรซึ่งวายไปตามน้ําไดและเขาทําลายที่รากฝอยและลุกลาม ตอไป

การปองกันและกําจัด1.ในสวนที่มีโรคนี้ระบาด ควรปลูกพืชอื่นทดแทน การปลูกซ้ําที่จะทําใหการระบาดของโรคมากขึ้น ตนที่เปนโรคตองถอนและเผาทิ้งทันที

2.การเตรียมแปลงปลูก ตองระบายน้ําไดดี ไมมีน้ําขังแฉะ ควรเพาะกลากลางแดดจะทําใหตนกลาแข็งแรง

3.คลุกเมล็ดกอนปลูกดวยสารฆาเชื้อรา เชนmetalaxylจะชวยควบคุมโรค 4.การควบคุมโรครากเนาและโคนเนาในแปลงปลูกที่มีประวัติการเกิดโรคและ

การปลูกทดแทน โดยขุดดินบริเวณตนที่ตายออกใหเปนหลุมขนาดเสนผาศูนยกลาง 30 ซม. แลวนําดินจากแหลงที่ไมเคยปลูกมะละกอหรือดินจากบริเวณที่ไมเปนโรคมาใสแทน ซึ่งวิธีนี้เปนการเพิ่มจุลินทรียที่ยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรค และยังทําใหดินโปรงไมขังน้ํา ลดปญหาโรคนี้ได

ตนมะละกอโคนเนาแสดงเสนใยฟูสีขาวตนมะละกอโคนเนาแสดงเสนใยฟูสีขาว

ผูจัดทําผูจัดทํานาย เฉลิมชัย ติ๊บเต็ม รหัสนิสิต 50164535นาย เฉลิมพล กันยะมี รหัสนิสิต 50164542น.ส. ดวงแกว นาคอินทร รหัสนิสิต 50164566น.ส. ธัญลักษณ ใจแกวมา รหัสนิสิต 50164573น.ส. นาริน เปยมะโน รหัสนิสิต 50164603

คณะเกษตรศาสตร ทรพัยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม