อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan...

36
อุตุนิยมวิทยาเบื้องตน

Transcript of อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan...

Page 1: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุตุนิยมวิทยาเบื้องตน

Page 2: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุตุนิยมวิทยาเบื้องตน

• ความหมายของอุตุนิยมวิทยา• ภมูิอากาศ (climate)• บรรยากาศ• อุณหภูมิ• มวลอากาศและลม• ฝน เมฆ และความชื้นในอากาศ• แผนที่อากาศ

Page 3: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ความหมายของอุตนุยิมวิทยา (Meteorology)

–อุตุ (ส.) = ฤดู นิยม (ส.) = การกําหนด–อุตุนิยมวทิยา คือ วิทยาศาสตรของบรรยากาศและปรากฏการณตาง ๆ ของอากาศ เชน ฝน พายุ ฟารอง ฟาแลบ เปนตน อุตุนิยมวทิยาเปนวิชาสาขาหนึ่งของวิชาภูมิฟสิกส (geophysics) การศึกษาอุตุนิยมวิทยาตองอาศัยวิชาคํานวณฟสิกส และขอมูลที่ไดจากการตรวจอากาศตามระดับตางๆ บนพื้นดินและตามบริเวณตาง ๆ ของโลก

Page 4: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

กาลอากาศ(Weather)

• ลมฟาอากาศ• ปรากฏการณ หรือลกัษณะอากาศปจจบุนั หรือในระยะเวลาใกล ๆ

Page 5: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุตุนิยมวิทยาไดนามิก

• การศึกษาอุตนุิยมวิทยาไดนามิกตองอาศัย การศึกษากฎและทฤษฎีกลศาสตรของของเหลว (fluid mechanics of hydrodynamic) เพื่อที่จะนํามาอธิบายพฤติการณของบรรยากาศ ในขณะนั้น และเพื่อการพยากรณอากาศลวงหนา

Page 6: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุตุนิยมวิทยาแผนที่อากาศ

• การศึกษาอุตนุิยมวิทยาแผนที่อากาศ อาศัยการศึกษาขอมูลตรวจอากาศจากบริเวณกวาง เพื่อที่จะทราบสภาวะของบรรยากาศ และเพื่อการพยากรณอากาศลวงหนาเชนกนั

Page 7: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุตุฯไดนามิก vs อุตุฯแผนที่อากาศ

• หรืออาจกลาวไดวาอุตุนยิมวิทยาไดนามิก เปนการศึกษาดานทฤษฎี สวนอุตนุิยมวิทยาแผนที่อากาศ เปนการศึกษา ลกัษณะของอากาศในปจจบุันหรือประจําวัน ซึง่เรียกวา " กาลอากาศ"

Page 8: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ภูมิอากาศ(Climate)

• ภูมิอากาศ หมายถึงการศึกษาสภาพของบรรยากาศ ลมฟาอากาศ หรืออากาศประจําถิ่นของบริเวณใดบริเวณหนึ่ง เพื่อที่จะนําไปชวยในการพยากรณอากาศ และนําไปใชเปนประโยชนในกิจการตาง ๆ จากคําอธิบายนี้ จะเห็นไดวา ภูมิอากาศก็คือผลเฉลี่ยระยะยาวของอุณหภูมิ ฝน ลม และ”สารประกอบอุตนุิยมวิทยา”อื่น ๆ ของกาลอากาศนั่นเอง

Page 9: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

กาลอากาศ vs ภมูิอากาศ

• หรืออาจจะกลาวไดวา กาลอากาศ คือพฤติการณหรือปรากฏการณของกาลอากาศปจจุบัน สวนภูมิอากาศเปนผลเฉลี่ยของกาลอากาศปจจุบนั สวนภูมิอากาศเปนผลเฉลี่ยของกาลอากาศในระยะยาว (ตามธรรมดาตั้งแต ๓๐ หรือ ๓๕ ปขึน้ไป) ตัวอยางเชน วันนี้กาลอากาศของกรุงเทพมหานครมีฝนตก สวนกรุงเทพมหานครนั้น อยูในภูมิอากาศของโซนรอนและชื้น เปนตน

Page 10: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ภูมอิากาศ

• ภูมิอากาศ คือ ผลสรุปหรือผลเฉลี่ยระยะยาวของสภาพอากาศหรือกาลอากาศจากระยะเวลานานประมาณ ๓๐ หรือ ๓๕ ปขึ้นไป

• ภูมิอากาศของบริเวณใดจะรอนหรือเย็น จะแหงแลงหรือชุมชื้นนั้น ขึ้นอยูกบัเหตุผลหลายประการ

Page 11: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ปจจัยทีม่ีผลตอภูมอิากาศ1. ความเขมของรังสีจากดวงอาทิตยซึ่งก็ขึ้นอยูกบัละติจูด คือ ใน

บริเวณใกลเสนศูนยสูตรยอมไดรับความรอนมากกวาที่บรเิวณขั้วโลก

2. บริเวณนัน้อยูใกลพื้นน้าํหรือผนืแผนดนิ บริเวณที่อยูใกลพื้นน้ําหรือทะเลจะมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอย สวนบริเวณที่อยูลึกเขาไปในแผนดนิ อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงไดมาก

3. ความสูงของพื้นที ่บริเวณที่อยูสูงยอมจะเย็นกวาบริเวณที่ต่ํากวา

4. ทิศทางของกระแสลมและกระแสน้ํา ทั้งสองอยางนี้เปนสิ่งที่บังคับอุณหภูมิใหรอนหรอืเยน็ได

5. เทือกเขา ซึ่งสามารถกัน้อากาศรอนหรือเยน็ไมใหผานไดนอกจากนี้ดานรบัลมของภูเขาจะมีฝนตกมากกวาบริเวณดานอับลม

6. เสนทางเดินของพายุ จะทําใหฝนตกชุกตามบริเวณนัน้ๆ มาก

Page 12: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

1. ความเขมของรงัสจีากดวงอาทิตย

• ขึน้อยูกบัละตจิูด คือ ในบริเวณใกลเสนศูนยสูตรยอมไดรับความรอนมากกวาที่บริเวณขั้วโลก

Page 13: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

2. ความใกลไกลจากแหลงน้าํ

• บริเวณนั้นอยูใกลพื้นน้ําหรือผืนแผนดนิ บริเวณที่อยูใกลพืน้น้าํหรือทะเลจะมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเพียงเลก็นอย สวนบริเวณที่อยูลึกเขาไปในแผนดิน อุณหภูมิจะเปลีย่นแปลงไดมาก

Page 14: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

3. ความสูงของพื้นที่

• บริเวณที่อยูสูงยอมจะเย็นกวาบริเวณที่ต่ํากวา

Page 15: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

4. ทิศทางของกระแสลมและกระแสน้ํา

• ทิศทางของกระแสลมและกระแสน้ํา ทั้งสองอยางนี้เปนสิ่งที่บงัคับอณุหภูมิใหรอนหรือเย็นได

Page 16: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

5. เทือกเขา

• เทือกเขา ซึ่งสามารถกัน้อากาศรอนหรือเย็นไมใหผานไดนอกจากนี้ดานรับลมของภูเขาจะมีฝนตกมากกวาบริเวณดานอบัลม

Page 17: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

6. เสนทางเดินของพายุ

• เสนทางเดินของพายุ จะทําใหฝนตกชุกตามบริเวณนั้นๆ มาก

Page 18: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ชนิดของภูมิอากาศ

1. ภูมอิากาศฝนในโซนรอน มีฝนตกชกุ เชนบริเวณประเทศไทย

2. ภูมอิากาศแหง มีฝนตกนอยมาก เชนในทะเลทราย หรือบริเวณที่สงู ๆ บางแหง

3. ภูมอิากาศอบอุนและชุมชืน้ เกิดขึน้ในบริเวณทีม่ีอากาศอบอุนและชืน้ แตไมหนาวจัดนัก

4. ภูมอิากาศชุมชืน้และเย็นจัด เปนภมูอิากาศที่มอีากาศเย็นมาก มคีวามชืน้พอสมควร และตามปามักจะมีหมิะปกคลุมเปนเวลานานหลายเดือน

5. ภูมอิากาศขั้วโลก เปนภมูอิากาศที่มอีากาศเย็นจัดใกลบริเวณขั้วโลก และสวนมากหิมะปกคลุมอยูตลอดเวลา

Page 19: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ภูมอิากาศของประเทศไทย

• การแบงภูมิประเทศตามภูมิอากาศ เพื่อความสะดวกในทางอุตุนิยมวิทยาจึงไดแบงภูมิประเทศของประเทศไทยออกเปน ๕ ภาค ตามลักษณะการผันแปรของภูมิอากาศดังนี้คือ – ภาคเหนอื – ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื – ภาคกลาง – ภาคตะวันออก และ– ภาคใต

Page 20: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ลกัษณะภูมิอากาศทั่วไปขึ้นอยูกบัมรสุม

• ฤดมูรสุมตะวันตกเฉียงใต • ฤดมูรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 21: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต

• ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมไปจนถึงกลางเดือนตุลาคม จะมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งมีแหลงกําเนิดในมหาสมุทรอนิเดียลมนี้เปนลมที่รอนและชุมชื้น (มีไอน้ํามาก) เมื่อพัดเขาสูประเทศไทยจะทําใหมีเมฆมากและมีฝนตกเกือบทั่วไป โดยเฉพาะตามบริเวณชายฝงและเทือกเขาดานรับลมจะมีฝนมากกวาบริเวณอื่น

Page 22: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

• เริ่มประมาณกลางเดือนตลุาคมไปจนถึงกลางเดือนกมุภาพันธุ จะมีลมมรสมุตะวันออกเฉียงเหนอืพัดเขาสูประเทศไทย ลมนีม้ีแหลงกําเนิดในประเทศจีน มีคุณสมบัตหินาวเย็นและคอนขางแหง (มีไอน้ํานอย) ดังนัน้เมือ่พัดเขาสูประเทศไทยจึงทําใหประเทศไทยจึงทําใหอากาศในระยะนีห้นาวเย็นเกอืบทัว่ไป และทองฟาจะคอนขางโปรงเปนสวนมาก เวนแตทางฝงตะวันออกของภาคใตทองฟาจะมเีมฆมากเนือ่งจากลมมรสมุตะวันออกเฉียงเหนอืนี ้เมือ่ผานนานน้ําในบริเวณอาวไทยกจ็ะรับเอาไอน้ําไว จึงทําใหอากาศมีความชุมชืน้มาก และเมือ่ลมนี้พัดเขาสูฝงตะวันออกของภาคใตอากาศจะลอยสูงขึน้และเย็นลง ทาํใหเกิดเมฆและฝนขึ้น

Page 23: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฤดูกาล ประเทศไทยตอนบน

• เมื่อพิจารณาตามลักษณะอุตุนิยมวิทยาแลวสามารถแบงฤดูกาลของประเทศไทยออกเปน ๓ ฤดู ดังนี้คือ – ฤดูฝน – ฤดูหนาว – ฤดูรอน

Page 24: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฤดูฝน

– เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมไปจนถึงกลางเดือนตุลาคม (ประมาณ ๕ เดือน) ทั้งนี้จะเห็นชัดเจนในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใตฝงตะวันตก

Page 25: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฤดูหนาว

• เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤศจิกายน ไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธุ (ประมาณ ๓ เดือน) ซึ่งเปนระยะที่อากาศในประเทศไทยจะหนาวเย็นเกือบทัว่ไปเวนแตทางภาคใต อากาศไมคอยหนาวเย็นนัก และฝงตะวันออกของภาคใตมีฝนตกชุกโดยเฉพาะตั้งแตจังหวัดสุราษฎรธานีลงไป นับวาเปนฤดฝูนของภาคใต

Page 26: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฤดูรอน

• เริ่มตั้งแตกลางเดือนกมุภาพันธุไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม (ประมาณ ๓ เดือน) ซึ่งเปนระยะที่มีอากาศรอนโดยทั่วไป และจะรอนมากที่สุดในเดือนเมษายน

Page 27: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุณหภูมิ ประเทศไทย

อุณหภูมิ ประเทศไทยอาจแบงออกเปน ๒ อาณาเขตอยางกวาง ๆ คือ

• ประเทศไทยตอนบนไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกสวนอีกอาณาเขตหนึ่งคือ

• ประเทศไทยตอนลาง ไดแกภาคใตทั้งหมด

Page 28: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุณหภูมปิระเทศไทยตอนบน

• พื้นทีส่วนใหญเปนผนืแผนดนิ มีสวนที่ติดกับฝงทะเลบางเล็กนอยทางตอนใต และเนือ่งจากเปนอาณาเขตที่อยูในเขตโซนรอน ดงันัน้อณุหภูมิของอากาศจึงอยูในเกณฑสูงเกือบทั่วไป เวนแตทางบริเวณที่อยูใกลทะเล ระดับอุณหภูมิในตอนบายจะลดลงบางเนือ่งจากมีลมทางทะเลพัดเขามา

• ระดับอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยในตอนบายสําหรับประเทศไทยตอนบนนัน้จะเปลี่ยนอยูในระหวาง ๓๓ องศา ซ. ถึง ๓๘ องศา ซ. แตในเดอืนเมษายนซึ่งเปนเดอืนทีร่อนที่สุดใสรอบปนัน้ อุณหภูมิสูงสุดจะอยูในระดับสูงมาก เชน เมื่อวนัที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๐๓ อุณหภูมิสูงสุดที่จังหวัดอุตรดิตถขึ้นถึง ๔๔.๕ องศา ซ. แตที่กรุงเทพมหานคร อณุหภูมิสูงสุดวัดได ๓๙.๙ องศา ซ. เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๔๘๔

• สวนพิสัยประจําวัน (ความแตกตางระหวางอุณหภูมิต่ําที่สุดและสูงที่สุด) ของประเทศไทยตอนบนในชวงฤดูรอนจะอยูระหวาง ๘ องศา ซ. ถึง ๑๒ องศา ซ. ดังนัน้อณุหภูมิต่ําสุดจึงมีคาประมาณดังนี้

Page 29: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

อุณหภมูิในประเทศไทยตอนลางหรอืภาคใต

• ระดับอณุหภูมิตลอดทั้งปไมสูจะมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากเปนบริเวณที่ติดกับทะเลทั้งสองฝง ระดับอณุหภูมิที่สูงเกินไปหรือต่ําเกินไปนั้นไมคอยปรากฏ ความแตกตางประจําวันของอุณหภูมิต่ําที่สุดและสูงที่สุดของบริเวณนี้มีคาประมาณ ๑๑.๐ องศา ซ. กลาวคืออุณหภูมิต่ําสุดในตอนเชาจะมีประมาณ ๒๒.๐ องศา ซ. และอุณหภูมิสูงสุดในตอนบายจะมีคาประมาณ ๓๒.๐ องศา ซ. สําหรับอณุหภูมิที่สูงที่สุดนั้นสูงถึง ๓๙.๐ องศา ซ. ที่อําเภอบานดอน สุราษฎรธานี เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๔๙๒ และอุณหภูมิต่ําที่สุดวัดได ๑๓.๐ องศา ซ. ที่จังหวัดชุมพรเมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๖

Page 30: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฝนในประเทศไทย

ในการพิจารณาในประเทศไทยนั้น อาจแบงออกเปน ๒ อาณาเขต เชน เดียวกับอณุหภมูิ คือ

• ฝนในประเทศไทยตอนบน• ฝนในบรเิวณประเทศไทยตอนลางหรือภาคใต

Page 31: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฝนในปรเทศไทยตอนบน

• ฝนในประเทศไทยตอนบน ตลอดฤดูหนาวหรือฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในบริเวณประเทศไทยตอนบนจะมีอากาศคอนขางแหงแลงทั่วไป เนื่องจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทีพ่ัดเขามานั้นไดผานผืนแผนดินเปนสวนมาก เนื่องจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดเขามานั้น ไดผานผืนแผนดินเปนสวนมาก ประกอบกบัมีความหนาวเย็นดวยจึงทําใหในชวงฤดูนี้ไมคอยมฝีน

Page 32: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ฝนในบริเวณประเทศไทยตอนลางหรอืภาคใต

มีฝนตกตลอดทั้งป • ในฤดูมรสุมตะวันออกเฉยีงเหนือซึง่เปนฤดูทีป่ระเทศไทยตอนบนแหงแลงทัว่ไปนั้น ทางภาคใตจะมีฝนตกชกุหนาแนน โดยเฉพาะทางฝงทะเลดานตะวันออก ซึง่ไดแกจังหวัดชมุพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี และนราธิวาส โดยเฉพาะในเดือนพฤศจิกายนและธนัวาคมจะมีฝนมากกวาในเดอืนอืน่ ๆ

• เดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคมอาจมีพายุหมุนจากทะเลจีนใตเคลื่อนเขาสูฝงทะเลแถบนี้ไดอีกดวย

• สําหรับฝงทะเลดานตะวันตกซึง่มีจังหวัดระนอง พงังา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตลู ฝนจะเริม่ตกใน ฤดูมรสุมตะวันตกเฉยีงใต คือ ตั้งแตเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคม

Page 33: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

พายหุมุนโซนรอนหรอืพายไุซโคลนในโซนรอนที่เขาสูไทย

• สําหรับประเทศไทยไมคอยจะไดรับความกระทบกระเทือนจากพายุหมุนที่มีกําลังแรงขนาดพายุไตฝุน เพราะมีเทือกเขาในประเทศเวียดนามและลาวเปนกําแพงกั้นไว

• จํานวนพายุหมุนในโซนรอนที่เขาสูประเทศไทยในปหนึ่ง ๆ เฉลี่ยประมาณ ๓ ลูก และจะเริ่มมีโอกาสเขาสูประเทศไทยไดตั้งแตเดือนพฤษภาคมจนกระทั่งถึงเดือนธันวาคม

Page 34: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ชวงเสี่ยงตอพายุหมุนโซนรอน• ชวงที่พายุหมุนในโซนรอนมโีอกาสเขาสูประเทศไทยไดมากที่สุดนัน้จะตกประมาณระหวางเดือนกันยายนและตุลาคม โดยจะมโีอกาสถึงรอยละ ๒๙ ในเดอืนกันยายน และรอยละ ๓๔ ในเดือนตุลาคม

• สวนในเดอืนอืน่ ๆ นั้นมโีอกาสที่จะเขาสูประเทศไทยตอนบนเปนสวนมาก

• ในระยะเดือนตลุาคมและพฤศจิกายนพายุหมนุจะมีกําลังคอนขางแรงอยูในเกณฑพายุโซนรอน เนือ่งจากพายุเหลานี้ยังมกีําลังพรอมมูลไมไดเสียกําลังในการปะทะขอบฝงและเทอืกเขา ดังนัน้เมือ่เขาอาวไทยจึงเปนอนัตรายอยางยิ่ง เพราะอาจทําลายเรือตาง ๆ หรืออาคารบานเรอืนทีอ่ยูตามชายฝงรวมทัง้การทําใหเกดิน้ําทวมโดยฉับพลันไดอีกดวย

Page 35: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ชวงทีค่วามรุนแรงสงู

• ในระยะเดือนตุลาคมและพฤศจิกายนพายุหมุนจะมีกําลังคอนขางแรงอยูในเกณฑพายุโซนรอน เนื่องจากพายุเหลานี้ยังมีกําลังพรอมมูลไมไดเสียกําลังในการปะทะขอบฝงและเทือกเขา ดังนั้นเมื่อเขาอาวไทยจึงเปนอันตรายอยางยิ่ง เพราะอาจทาํลายเรือตาง ๆ หรืออาคารบานเรือนที่อยูตามชายฝงรวมทั้งการทําใหเกิดน้ําทวมโดยฉับพลันไดอีกดวย

Page 36: อุตุนิิทยาเบยมวองตื้ น - Naresuan Universityconf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/101302/01.pdf · 2006-09-01 · อุตุนิิทยาเบยมวองตื้

ทบทวนสิ่งทีไ่ดเรียนในชั่วโมงนี้

• ความหมายของอุตุนิยมวิทยา• ภูมิอากาศ (climate)

– ปจจัยที่มผีลตอภูมอิากาศ– ภูมิอากาศแบบตางๆ– ภูมิอากาศของประเทศไทย