บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th ·...

47
บทที1 บทนํา 1. ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา แผนยุทธศาสตรการพัฒนา หมายความวา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นทีกําหนดยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมาย เพื่อการพัฒนาในอนาคตโดยสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการบริหารราชการแผนดิน ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด อําเภอ และแผนชุมชน (อางถึงใน ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนา ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น .. 2548 ขอ 4) การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเปนกระบวนการกําหนดทิศทางในอนาคตขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยกําหนดสภาพการณที่ตองบรรลุและแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางรอบดาน และเปนระบบ ทั้งนี้จะตองสอดคลองกับศักยภาพของทองถิ่น และปญหา/ความตองการของประชาชนในทองถิ่นดวย ซึ่งการ จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีนั้น ดําเนินการอยูบนพื้นฐานของการรวบรวม และการวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปนระบบ ทั้งนี้เพื่อใหแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนตําบล เทพกระษัตรี สามารถนําไปสูการแกไขปญหาและสนองตอบความตองการของประชาชนในทองถิ่นไดอยางแทจริง 2. วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. เพื่อเปนกรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบล 2. เพื่อแสดงถึงแนวทางการพัฒนาที่สามารถนําไปสูการแกไขปญหาและสนองตอบความตองการของ ประชาชนไดอยางแทจริง 3. เพื่อเปนแผนแมบทในการจัดทําแผนพัฒนาสามปขององคการบริหารสวนตําบล 3. ขอบเขตในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลเปนไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น .. 2548 2. การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาไดคํานึงบทบาทอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล ตาม พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล .. 2537 แกไขเพิ ่มเติมฉบับที5 .. 2546 พระราชบัญญัติ กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น .. 2542 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย .. 2550 และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวของ 3. นอกจากนีในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ไดนําเอากรอบทิศทางการพัฒนาของประเทศ จังหวัด อําเภอ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตจังหวัด และผูบริหารทองถิ่นเปนแนวทางการพัฒนา

Transcript of บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th ·...

Page 1: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

บทที่ 1 บทนํา

1. ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา แผนยุทธศาสตรการพัฒนา หมายความวา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีกําหนดยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคตโดยสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการบริหารราชการแผนดิน ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด อําเภอ และแผนชุมชน (อางถึงใน ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ขอ 4)

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเปนกระบวนการกําหนดทิศทางในอนาคตขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยกําหนดสภาพการณท่ีตองบรรลุและแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปนระบบ ท้ังน้ีจะตองสอดคลองกับศักยภาพของทองถิ่น และปญหา/ความตองการของประชาชนในทองถิ่นดวย ซึ่งการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีน้ัน ดําเนินการอยูบนพื้นฐานของการรวบรวมและการวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปนระบบ ท้ังน้ีเพื่อใหแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนตําบลเทพกระษัตรี สามารถนําไปสูการแกไขปญหาและสนองตอบความตองการของประชาชนในทองถิ่นไดอยางแทจริง

2. วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. เพื่อเปนกรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบล 2. เพื่อแสดงถึงแนวทางการพัฒนาท่ีสามารถนําไปสูการแกไขปญหาและสนองตอบความตองการของ ประชาชนไดอยางแทจริง 3. เพื่อเปนแผนแมบทในการจัดทําแผนพัฒนาสามปขององคการบริหารสวนตําบล 3. ขอบเขตในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลเปนไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 2. การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาไดคํานึงบทบาทอํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนตําบล ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และกฎหมายอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของ 3. นอกจากน้ี ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ไดนําเอากรอบทิศทางการพัฒนาของประเทศ จังหวัด อําเภอ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตจังหวัด และผูบริหารทองถิ่นเปนแนวทางการพัฒนา

Page 2: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

4. กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

5. ขั้นตอนในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี ไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2553 - 2557 โดยยึดถือหลักปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ขอ 16 โดยมีขั้นตอนดังน้ี 1. คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นจัดประชุมประชาคมทองถิ่น สวนราชการและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของ เพื่อแจงแนวทางการพัฒนาทองถิ่น รับทราบปญหา ความตองการ ประเด็นการพัฒนา และประเด็นท่ีเกี่ยวของตลอดจนความชวยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี เพื่อนํามากําหนดแนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรการ

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น พ.ศ. 2548

พรบ.สภาตําบลและองคการบรหิารสวนตําบล พ.ศ. 2537 แกไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับปจจุบัน

แผนยุทธศาสตรการพัฒนา (พ.ศ. 2553-2557)

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542

แ ผ น พั ฒ น าเ ศ รษฐกิ จ แ ล ะสั งคมแห ง ช าติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550- 2554)

นโยบายของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ยุทธศาสตรการพั ฒ น า ก ลุ มจังหวัด/จังหวัดภู เ ก็ ต (พ .ศ . 2553-2556)

ยุ ท ธ ศ า ส ต รพัฒนา อํ า เภอถล า ง (พ .ศ . 2553-2556)

ยุทธศาสตรการพัฒนาของ อปท. ใ น เ ข ต จั ง ห วั ดภู เ ก็ ต ( พ . ศ . 2553-2556)

นโยบายผูบริหาร อบต.

Page 3: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

พัฒนา โดยใหนําขอมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาจากหนวยงานตาง ๆ และขอมูลในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น รวบรวมแนวทางและขอมูล นํามาวิเคราะหเพื่อจัดทํารางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาแลวเสนอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น 3. คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นพิจารณารางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเพื่อเสนอผูบริหารทองถิ่น 4. ผูบริหารทองถิ่นเสนอรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาตอสภาองคการบริหารสวนตําบลเพื่อใหความเห็นชอบ 5. เม่ือสภาองคการบริหารสวนตําบลใหความเห็นชอบแลวใหผูบริหารทองถิ่นพิจารณาอนุมัติและประกาศใช

แผนภูมิแสดงขั้นตอนในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

6. ประโยชนของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. องคการบริหารสวนตําบลมีกรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนา 2. องคการบริหารสวนตําบลมีแนวทางการพัฒนาท่ีชัดเจนสามารถนําไปสูการแกไขปญหาและสนองตอบความตองการของประชาชนไดอยางแทจริง 3. องคการบริหารสวนตําบลมีแผนแมบทในการจัดทําแผนพัฒนาสามป

สภาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี เห็นชอบในรางแผนพัฒนายุทธศาสตรการพัฒนา (พ.ศ. 2553 - 2557) ในการประชุมสภาฯ สมัยสามัญที่ 2 ประจําป 2552 เม่ือวันท่ี 1 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2552

จึงประกาศใชแผนยุทธศาสตรการพัฒนา (พ.ศ. 2553 - 2557) ณ วันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วาท่ี ร.ต. ...................................

(สมภพ กอนแกว) นายกองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี

คณะกรรมการพัฒนาฯจั ดประชุมประชาคมทองถิ่นเพื่อรับทราบปญหา/ความตองการ จากหนวยงานตาง ๆ

คณะกรรมการพัฒนาฯพิ จ า ร ณ า ร า ง แ ผ นยุทธศาสตรฯเพื่อเสนอผูบริหารทองถิ่น

คณะกรรมการสนับสนุน รวบรวมแนวทางและขอมูล นํามาวิเคราะหเพื่อจัดทํารางแผนยุทธศาสตรเพื่อเสนอตอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น

ผู บ ริ ห ารท องถิ่ นพิ จ ารณาอนุมัติและประกาศใช

ผูบริหารทองถิ่นเสนอรางแผนยุ ท ธ ศ า ส ต ร ฯ ต อ ส ภ า ฯ เพื่อใหความเห็นชอบ

Page 4: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก
Page 5: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

บทที่ 2 สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี

องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี ไดจัดต้ังตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 ตามประกาศกระทรวงไทย เรื่อง จัดต้ังองคการบริหารสวนตําบล เม่ือวันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2538 เปนหนวยการปกครองสวนทองถิ่นในเขตอําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

1. สภาพทั่วไป 1.1 ลักษณะที่ต้ัง

องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีเน้ือท่ีประมาณ 49,078.40 ไร หรือประมาณ 78.40 ตารางกิโลเมตร ต้ังอยูทางทิศเหนือของจังหวัดภูเก็ต อยูหางจากตัวจังหวัดประมาณ 19 กิโลเมตร และหางจากอําเภอถลาง 1 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอ ดังน้ี

ทิศเหนือ ติดตอกับ ทะเลอันดามันและตําบลไมขาว ทิศใต ติดตอกับ ตําบลศรีสุนทร ทิศตะวันออก ติดตอกับ เทือกเขาพระแทวและตําบลปาคลอก ทิศตะวันตก ติดตอกับ ตําบลเชิงทะเลและตําบลสาคู

1.2 ประชากร ในเขตองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีประชากรตามทะเบียนราษฎร ณ วันท่ี 31 มกราคม 2552 ประชากร 12,434 คน เปนชาย 6,185 คน และหญิง 6,249 คน ครัวเรือนท้ังหมด 5,062 ครัวเรือน ซึ่งจําแนกไดดังน้ี

จํานวนประชากร หมูท่ี จํานวนครัวเรอืน ชาย หญิง รวม

1 บานโคกแซะ 59 28 24 52 2 บานแขนน 308 341 337 678 3 บานพรุจําปา 224 311 299 610 4 บานดอน 1,136 1,498 1,574 3,072 5 บานเมืองใหม 1,001 856 916 1,772 6 บานแหลมทราย 314 302 293 595 7 บานนาใน 283 267 280 547 8 บานพรุสมภาร 766 1,452 1,426 2,878 9 บานปาครองชีพ 583 539 563 1,102 10 บานทามะพราว 242 199 192 391 11 บานควน 143 230 211 441

รวม 5,059 6,023 6,115 12,138 ท่ีมา : สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (ท่ีวาการอําเภอถลาง)

Page 6: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

จํานวนหมูบาน 11 หมูบาน 1.3.1 จํานวนหมูบานในเขตองคการบริหารสวนตําบลเต็มท้ังหมูบาน มี 7 หมูบาน ไดแก

หมูท่ี 4 บานดอน หมูท่ี 5 บานเมืองใหม หมูท่ี 6 บานแหลมทราย หมูท่ี 8 บานพรุสมภาร หมูท่ี 9 บานปาครองชีพ หมูท่ี 10 บานทามะพราว หมูท่ี 11 บานควน

1.3.2 จํานวนหมูบานในเขตองคการบริหารสวนตําบลบางสวนมี 4 หมูบาน ไดแก หมูท่ี 1 บานเคียน (กลุมบานโคกแซะและบานบางปู) หมูท่ี 2 บานแขนน หมูท่ี 3 บานเหรียง หมูท่ี 7 บานนาใน (กลุมบานบางตาก)

2. ดานโครงสรางพ้ืนฐาน 2.1 การคมนาคม

การคมนาคมในเขตองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีถนนสายหลัก 1 สาย คือ ถนนสายเทพกระษัตรี (ถนนสาย 402) ตัดผานท่ีวาการอําเภอถลางเปนถนนลาดยางตลอดสายนอกจากนั้นเปนถนนตามหมูบาน ซึ่งเปนถนนลาดยางและคอนกรีตเสริมเหล็ก ประมาณรอยละ 70 เชน ถนนสายปาครองชีพ ถนนสายเมืองใหม – ปาคลอก พรุสมภาร - บานเหรียง เปนตน

2.2 การประปา การประปา มีระบบประปาหมูบานที่เปนของตัวเองและรับจากการถายโอนจากหนวยงานราชการอื่น ดังน้ี

ขอมูลประปาหมูบาน รายชื่อหมูบาน จํานวน (แหง) ครัวเรือน

หมูที่ 1 บานโคกแซะ 1 9 หมูที่ 2 บานแขนน 1 44 หมูที่ 3 บานเหรียง 1 83 หมูที่ 4 บานดอน 1 52 หมูที่ 5 บานเมืองใหม 1 125 หมูที่ 6 บานแหลมทราย 1 7 หมูที่ 7 บานนาใน 2 125 หมูที่ 8 บานพรุสมภาร 2 44 หมูที่ 9 บานปาครองชีพ 3 124

Page 7: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ขอมูลประปาหมูบาน (ตอ)

รายชื่อหมูบาน จํานวน (แหง) ครัวเรือน หมูที่ 10 บานทามะพราว 2 39 หมูที่ 11 บานควน 1 -

รวม 16 652 ท่ีมา : งานจัดเก็บรายได สวนการคลัง

2.3 ไฟฟา จํานวนครัวเรือนท่ีใชไฟฟา 5,062 ครัวเรือน โดยมีไฟฟาเขาถงึครอบคลุม 11 หมูบาน ไฟฟาสาธารณะ (ไฟฟาสวาง) ครอบคลุมถนนทุกสายในเขตองคการบริหารสวนตําบล

2.4 การสือ่สาร องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีหอกระจายขาวและระบบเสียงตามสาย จํานวน 10 หมูบาน ดังน้ี

รายชื่อหมูบาน หอกระจายขาว (แหง) เสียงตามสาย (แหง) หมูท่ี 2 บานแขนน 1 - หมูท่ี 3 บานเหรียง 1 - หมูท่ี 4 บานดอน 1 1 หมูท่ี 5 บานเมืองใหม 1 - หมูท่ี 6 บานแหลมทราย - 1 หมูท่ี 7 บานนาใน 1 1 หมูท่ี 8 บานพรุสมภาร 1 1 หมูท่ี 9 บานปาครองชีพ 1 - หมูท่ี 10 บานทามะพราว 1 - หมูท่ี 11 บานควน 1 - ท่ีมา : ขอมูลจากสวนโยธา

3. ดานเศรษฐกิจ 3.1 โครงสรางทางเศรษฐกิจ

3.1.1 อาชีพ อาชีพหลัก ทําสวนยางพารา อาชีพรอง รับจาง,คาขาย,เลี้ยงสัตว,เกษตรกรรม ฯลฯ

Page 8: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

3.1.2 รายได (ขอมูลจาก จปฐ.ป 2548) ประชาชนที่อาศัยอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีรายไดเฉลี่ยไมตํ่ากวา 25,000.-บาทตอปตอคน หมูที ่ ชื่อหมูบาน รายไดเฉลี่ยตอคนตอป (บาท) 1 บานเคยีน

(กลุมบานโคกแซะและบานบางป)ู 20,000

2 บานแขนน 30,568.87 3 บานเหรยีง 35,195.87 4 บานดอน 42,735.28 5 บานเมืองใหม 30,937.36 6 บานแหลมทราย 30,624.66 7 บานนาใน 24,491.38 8 บานพรุสมภาร 27,492.22 9 บานปาครองชีพ 34,151.22 10 บานทามะพราว 28,920.62 11 บานควน 28,476.59

ท่ีมา : -ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2548

3.1.3 หนวยธุรกิจในเขต อบต. ปมนํ้ามัน จํานวน 1 แหง โรงงานอุตสาหกรรม จํานวน 1 แหง สนามกอลฟบลแูคนยอน จํานวน 1 แหง รานคุณแมจู จํานวน 1 แหง

3.1.4 สถานที่ทองเที่ยว นํ้าตก (นํ้าตกโตนไทร) จํานวน 1 แหง สวนปาบางขนุน จํานวน 1 แหง ชายหาดบานแหลมทราย จํานวน 1 แหง ปาชายเลนบานทามะพราว จํานวน 1 แหง

3.1.5 การปศุสตัว ลักษณะการประกอบการปศุสตัวสวนใหญเปนการเลี้ยงไวบรโิภคภายในครัวเรือนเพียงเล็กนอยเทาน้ัน

ไดแก ไก เปด หมู เปดเทศ ไกพื้นเมือง เปนตน 3.1.6 กลุมอาชีพ/กลุมองคกรในชุมชน/พลังมวลชน

กลุมจักสานพชืกก หมูท่ี 8 กลุมผลิตภัณฑกุงมังกรสตาฟ หมูท่ี 9

Page 9: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

กลุมทําผาบาติก หมูท่ี 6,7,9,10 กลุมกองทุนหมูบาน 11 หมูบาน กลุมวิสาหกจิชมุชนนมแพะอัครดิษฐ กลุมกองทุนสวสัดิการเงินออมตําบลเทพกระษัตรี อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน จํานวน 68 คน อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุตําบลเทพกระษัตรี จํานวน 31 คน อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรอืน จํานวน 32 คน

4. ดานสังคม 4.1 ทองถิ่นอื่นในตําบล เทศบาลตําบลเทพกระษัตรี

4.2 สวนราชการในเขตองคการบริหารสวนตาํบล สวนปาบางขนุน เขตหามลาสัตวปาเขาพระแทว สถานีพัฒนาและสงเสริมการอนุรักษสัตวปาเขาพระแทว สถานีเพาะชํากลาไมภูเก็ต ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรภูเกต็ วิทยาลัยเทคนิคถลาง โรงเรียนเมืองถลาง โรงเรียนบานปาครองชีพ โรงเรียนวัดเมืองใหม โรงเรียนบานแหลมทราย โรงเรียนบานพรุจําปา โรงเรียนวัดเทพกระษัตร ี สถานีตํารวจทางหลวง

4.3 ศาสนา - ผูนับถือศาสนาพุทธ รอยละ 85 ของจํานวนประชากรทั้งหมดและนับถือศาสนาอื่น รอยละ 15 ของประชากรทั้งหมด - วัด จํานวน 3 แหง ไดแก

วัดแขนน ต้ังอยูหมูท่ี 2 วัดเทพกระษัตรี (วัดบานดอน) ต้ังอยูหมูท่ี 4 วัดเมืองใหม ต้ังอยูหมูท่ี 5 - มัสยิด จํานวน 2 แหง ไดแก

มัสยิดบานแหลมทราย ต้ังอยูหมูท่ี 6

Page 10: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

มัสยิดบานพรุสมภาร ต้ังอยูหมูท่ี 8 - โบสถ จํานวน 1 แหง ไดแก โบสถคริสต หมูท่ี 8 - ศาลเจา จํานวน 3 แหง ไดแก ศาลเจาบานดอน

ศาลเจาบานปาครองชีพ ศาลเจาบานทามะพราว

4.4 ประเพณี/วัฒนธรรม ประเพณี/วัฒนธรรมทองถิ่นท่ีสําคัญ ไดแก 1. ประเพณีถือศีลกินผัก ขึ้น 1 คํ่า เดือน 11 ถึง 9 คํ่า เดือน 11 ของทุกป องคการบริหารสวนตําบลรวมกับ

ประชาชนผูมีจิตศรัทธาและศาลเจาในเขตพื้นท่ีรวมถือศีลกินอาหารที่ไมมีเน้ือสัตว และผักตองหามทุกประเภท พรอมต้ังจิตอธิษฐานชําระรางกายและจิตใจใหบริสุทธิ์ในชวงเทศกาล 9 วัน 9 คืน

2. ประเพณีลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 12 องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีรวมกับชุมชนและโรงเรียนรวมจัดกิจกรรมประเพณีลอยกระทงโดยมีกิจกรรมการแสดงบนเวที การประกวดกระทง หนูนอยนพมาศและนํากระทงไปลอยตามแมนํ้าลําคลองเพื่อขอขมาตอพระแมคงคา 3. ประเพณีวันสงกรานต เดือนเมษายน ของทุกป องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีรวมกับสวนราชการและกลุมพลังมวลชนในพื้นท่ีจัดกิจกรรมรดน้ําดําหัวผูสูงอายุ และสนธิกําลังกับตํารวจ โรงพยาบาลและสถานศึกษาบริการอํานวยความสะดวกชวงเทศกาล 4. เทศกาลตรุษจีน ตรงกับวันแรกของเดือนท่ี 1 หรือ 2 หรือ 3 ทางจันทรคติ กิจกรรมโดยสังเขป ชวงเชามีการไหวเทพเจา และชวงบายจะมีการไหวบรรพบุรุษ

5. ไหวเทวดา ประมาณเดือนมีนาคม กิจกรรมโดยสังเขป ไหวและบวงสรวงเหลาเทวดา 6. วันสารทไทย (เดือนสิบ) เดือนกันยายน ของทุกป กิจกรรมโดยสังเขป ทําบุญตักบาตร อุทิศสวน

กุศลใหกับบรรพบุรุษ 7. วันเขาพรรษา เดือนกรกฎาคม ของทุกป องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีรวมกับโรงเรียนและวัดใน

เขตพื้นท่ี จัดกิจกรรมแหเทียนพรรษาเขาวัด เขาวัดฟงธรรม 8. เทศกาลถือศีลอด ประมาณเดือนตุลาคม ของทุกป องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีรวมกับมัสยิด

ศูนยการเรียนการสอนศาสนาอิสลามและชาวมุสลิมในเขตพื้นท่ีรวมกันถือศีลอดเปนระยะเวลาประมาณ 1 เดือน 9. พิธีสมโภชนศาลเจาแมหลักเมือง ทุกวันท่ี 5 เดือนมีนาคมของทุกป ประชาชนในพื้นท่ีรวมจัดงานสมโภชน

ศาสเจาแมหลักเมืองเพื่อแสดงออกถึงความเคารพสักระ 10. พิธีสดุดีวีรชนผูกลาเมืองถลาง ชวงตนเดือนมีนาคม องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีรวมกับสวน

ราชการ ภาคเอกชนและประชาชนรวมจัดกิจกรรมระลึกบรรพชนผูกลา เชน พิธีบวงสรวงบรรพชนผูกลาเมืองถลาง พิธีวางพวงมาลา ณ อนุสาวรียสี่แยกทาเรือ การแขงขันกีฬาบนเสนทางสายประวัติศาสตร การแสดงละครอิงประวัติศาสตรแสง สี เสียง

4.5 การศึกษา สถานศึกษาที่ต้ังอยูในเขต อบต.เทพกระษัตรี มีท้ังหมด 10 แหง มีรายชื่อ ดังน้ี

• ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 2 แหง

Page 11: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

- โครงการจัดการศึกษาปฐมวัย อนุบาล 3 ขวบ ขององคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตร ี(ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานพรุจําปา)

- ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดอน (ไดรับการถายโอนจากพัฒนาชุมชน)

• โรงเรียนอนุบาลเอกชน 1 แหง - โรงเรียนถลางวทิยา

• โรงเรียนประถมศึกษา 5 แหง - โรงเรียนบานปาครองชีพ - โรงเรียนวัดเมืองใหม - โรงเรียนแหลมทราย - โรงเรียนบานพรุจาํปา - โรงเรียนวัดเทพกระษัตร ี

• โรงเรียนมัธยมศึกษา 2 แหง - โรงเรียนเมืองถลาง - วิทยาลัยเทคนิคถลาง

ตารางแสดงขอมูลจํานวนนักเรียนในเขตพื้นท่ี ปงบประมาณ พ.ศ. 2551 -2552

จํานวนนักเรียน (คน) สถานศึกษา ป 2551 ป 2552

ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานพรุจําปา 31 27 ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดอน 35 31 โรงเรียนบานปาครองชีพ 103 101 โรงเรียนบานแหลมทราย 55 57 โรงเรียนวัดเทพกระษัตร ี 424 424 โรงเรียนวัดเมืองใหม 189 194 โรงเรียนบานพรุจําปา 274 274

รวม 1,111 1,108 ท่ีมา : สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (หมายเหตุ ขอมูล ณ วันท่ี 17 มกราคม 2552)

4.6 กีฬา นนัทนาการ/พักผอน - สนามกีฬาอเนกประสงค จํานวน 4 แหง

4.7 การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีอาคารปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1 หลัง ต้ังอยูท่ี หมูท่ี 8

(บานมุดดอกขาว) ซึ่งดําเนินการกอสรางเสร็จเม่ือป 2552 มีรถบรรทุกนํ้าอเนกประสงค จํานวน 1 คัน จัดซื้อเม่ือ พ.ศ.2547 และอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน จํานวน 32 คน

Page 12: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

4.8 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน - สถานีตํารวจทางหลวง จํานวน 1 แหง

5. ดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาต ิ 5.1 แหลงน้ํา

- ลํานํ้า,ลําหวย จํานวน 5 สาย - บึง,หนองและอื่น ๆ จํานวน 2 แหง 5.2 ปริมาณขยะในเขตองคการบริหารสวนตาํบล ในรอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2548 - มีนาคม 2549)

ปริมาณขยะที่จัดเก็บได (ตัน) เดือน รถบรรทุกขยะ หมายเลข 80 - 5066 รถบรรทุกขยะ หมายเลข 80 - 6492

ตุลาคม 2548 62.57 77.70 พฤศจิกายน 2548 62.42 77.59 ธันวาคม 2548 58.34 70.4 มกราคม 2549 59.56 76.62 กุมภาพันธ 2549 59.56 76.62 มีนาคม 2549 54.9 80.80

รวม 357.35 459.73 องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี กําจัดขยะโดยวิธีนําไปเผาในเตาเผาขยะของเทศบาลนครภูเก็ตโดย

ตองเสียคาใชจายใหกับเทศบาลนครภูเก็ต ท้ังน้ีเน่ืองจากองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี ยังไมมีสถานที่ท้ิงขยะเปนของตนเอง

6. ดานการเมอืง - การบริหาร 6.1 โครงสรางและอตัรากําลังในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตร ี

องคการบริหารขององคการบรหิารสวนตาํบลเทพกระษัตรี ประกอบดวย 1. ฝายนิติบัญญัติ มีสภาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี ทําหนาท่ีนิติบัญญัติและควบคุมฝายบริหาร ประกอบดวยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกต้ังจากประชาชนในทองถิ่น จํานวน 22 คน ซึ่งอยูในตําแหนงคราวละ 4 ป สภาองคการบริหารสวนตําบล มีประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล รองประธานสภาองคการบริหารสวนตําบลและเลขานุการสภาองคการบริหารสวนตําบล ซึ่งนายอําเภอแตงตั้งจากสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล 2. ฝายบริหาร มีนายกองคการบริหารสวนตําบลมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทําหนาท่ีบริหารกิจการขององคการบริหารสวนตําบลตามกฎหมาย มีผูชวยผูบริหาร ในตําแหนงรองนายกองคการบริหารสวนตําบล 2 คน และเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล 1 คน ท้ังน้ี มีปลัดองคการบริหารสวนตําบลเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานประจําท่ัวไปขององคการบริหารสวนตําบล

Page 13: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ผูบริหารและสภาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี ยุคปจจุบัน ประกอบดวย

ผูบริหาร วาท่ี ร.ต. สมภพ กอนแกว นายกองคการบริหารสวนตําบล

นายวีระ เครือพานิช รองนายกองคการบริหารสวนตําบล นายชัยยศ ขาวสวัสด์ิกลุ รองนายกองคการบริหารสวนตําบล นางประไพ ตันสกล ุ เลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล

สภาองคการบรหิารสวนตาํบล นายสทิธิชัย ทองเกลี้ยง ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล (ส.อบต. หมูท่ี 6) นางสาวดารณีย หลักเลิศ รองประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล (ส.อบต. หมูท่ี 11) นายภควัฒน พันธทิพย เลขานุการสภาองคการบริหารสวนตําบล (ส.อบต. หมูท่ี 8) นายสามารถ ศรีรัตน สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 1 นางลํายวน มุทรพัฒน สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตาํบล หมูท่ี 1 นายบุญจบ รัตนสิทธิ์ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 2 นายทวีศักด์ิ ทวีทัน สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 2 นายสรศักด์ิ พรหมบุตร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 3 นางวันเพ็ญ แซเต๋ียว สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 3 นายวีระชัย เจริญศิลป สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 4 นายสิทธิชัย จนัทวัฒน สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 4 นายสุชาติ จําเริญวงศ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 5 นางสาวเตือนใจ สุขบรรจง สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 5 นายสุธรรม สัสดีเดช สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 6 นายสมคิด แซตอง สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 7 นายจําลอง สงวนทรัพย สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 7 นายไพโรจน บุญสพ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 8 นายภควัฒน พันธทิพย สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 8 นายโสภณ รายาสกุล สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 9

นางสาวจันทนา แซหนา สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 9 นางวนิดา ลือสกุล สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 10 นายธนิต กะรนรักษ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 10

นายสมศักด์ิ วิเศษสิงห สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล หมูท่ี 11

Page 14: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

สวนการบริหารขององคการบรหิารสวนตาํบลเทพกระษัตรี

โครงสรางและการแยงสวนการบริหารขององคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีอัตรากําลังเจาหนาท่ีท้ังสิ้น 61 อัตรา แยกได ดังน้ี

- พนักงานสวนตําบล จํานวน 20 อัตรา - ลูกจางประจํา จํานวน 6 อัตรา - พนักงานจาง จํานวน 35 อัตรา

องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีกําหนดโครงสรางสวนราชการภายในขององคการบริหารสวนตามแผนอัตรากําลัง 3 ป พ.ศ. 2552 – 2554 โดยคํานึงถึงบทบาทหนาท่ีตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 ประกอบพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม จนถึงฉบับปจจุบัน ไดกําหนดภารกิจดานโครงสรางพื้นฐาน ดานการสงเสริมคุณภาพชีวิต ดานการจัดระเบียบชุมชน สังคมและรักษาความสงบเรียบรอย ดานการวางแผน การสงเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการทองเที่ยว ดานการบริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น ดังตอไปนี้

ฝายนิติบัญญัติ (22 คน)

ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล รองประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล เลขานุการสภาองคการบริหารสวนตําบล สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล

ฝายบริหาร (4 คน)

นายกองคการบริหารสวนตําบล รองนายกองคการบริหารสวนตําบล คนที่ 1 รองนายกองคการบริหารสวนตําบล คนที่ 2 เลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล

สํานักงานปลัด (19 อัตรา)

สวนโยธา (10 อัตรา)

สวนการสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม (10 อัตรา)

ฝายประจํา

สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (10 อัตรา)

ปลัดองคการบรหิารสวนตาํบล

รองปลัดองคการบริหารสวนตาํบล

สวนการคลงั (10 อัตรา)

Page 15: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

1. สํานกังานปลัด อบต. แบงสวนราชการภายในออกเปน 11 งาน ดังนี ้

1) งานบริหารทั่วไป 2) งานบริหารงานบุคคล 3) งานนโยบายและแผน 4) งานงบประมาณ 5) งานสวัสดิการสังคม 6) งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 7) งานกฎหมายและคดี 8) งานกิจการสภา 9) งานสงเสริมการเกษตร 10) งานกิจการประปา 11) งานประชาสัมพันธ

2. สวนการคลังแบงสวนราชการภายในออกเปน 5 งาน ดังนี ้1) งานการเงิน 2) งานบัญชี 3) งานพัฒนาและจัดเก็บรายได 4) งานทะเบียนทรัพยสินและพสัดุ 5) งานแผนที่ภาษีและทรัพยสิน

3. สวนโยธาแบงสวนราชการภายในออกเปน 4 งาน ดังนี ้1) งานกอสราง 2) งานออกแบบและควบคุมอาคาร 3) งานผังเมือง 4) งานสาธารณูปโภค

4. สวนสาธารณสขุและสิ่งแวดลอมแบงสวนราชการภายในออกเปน 6 งาน ดังนี ้1) งานอนามัยและสิ่งแวดลอม 2) งานควบคุมและจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม 3) งานสงเสริมสุขภาพสาธารณสุข 4) งานรักษาความสะอาด 5) งานบริการสาธารณสุข 6) งานควบคุมโรค

5. สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมแบงสวนราชการภายในออกเปน 3 งาน ดังนี ้1) งานบริหารการศึกษา 2) งานสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3) งานกิจการโรงเรียน

Page 16: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

6.2 การคลังทองถิน่

- การบริหารรายรับในปงบประมาณที่ผานมา เปรียบเทียบยอนหลัง 3 ป - การบริหารรายจายในปงบประมาณที่ผานมา เปรียบเทียบยอนหลัง 3 ป

ป พ.ศ.

รายการ ป พ.ศ.2550 ป พ.ศ.2551 ป พ.ศ.2552

รายรับ 41,418,410.07 56,904,604.40 46,168,000 รายจาย 31,505,906.43 38,146,552.46 46,105,483

6.3 การอํานวยการเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินและสวัสดิการของประชาชน 6.3.1 บทบาท/การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมทางการเมืองและการบริหารองคการบริหารสวน

ตําบลเทพกระษัตรี ไดดําเนินการเลือกต้ังนายกองคการบริหารสวนตําบลและสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี เม่ือวันท่ี 7 ตุลาคม 2550 ดังน้ี

ผลการใชสิทธิลงคะแนนเลอืกต้ังนายกองคการบริหารสวนตาํบลเทพกระษัตรี เขตเลือกต้ัง หนวยเลอืกต้ัง จํานวนผูมีสิทธิเลือกต้ัง จํานวนผูมาใชสทิธิเลือกต้ัง

1 1 27 16 2 1 456 338 3 1 458 349 4 1,2,3 1,997 1,478 5 1,2 1,206 748 6 1 390 326 7 1 305 197 8 1,2,3 1,748 1,226 9 1 623 464 10 1 273 197 11 1 271 192

รวมผูมีสิทธิเลือกต้ัง 7,754 5,531 ผูมาใชสิทธิเลอืกต้ัง 5,531 คิดเปนรอยละของผูมาใชสิทธิ 71.33 บัตรเสีย 437 บัตรเสียคิดเปนรอยละของบัตรทั้งหมด 7.9 บัตรไมลงคะแนน 221 บัตรไมลงคะแนนคิดเปนรอยละ 4 ท่ีมา : ศูนยประสานงานการเลือกต้ังนายกองคการบริหารสวนตําบลและสมาชกิสภาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี

Page 17: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ผลการใชสิทธิลงคะแนนเลอืกต้ังสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี

เขตเลือกต้ัง หนวยเลอืกต้ัง จํานวนผูมีสิทธิเลือกต้ัง จํานวนผูมาใชสทิธิเลือกต้ัง 1 1 27 16 2 1 450 333 3 1 458 349 4 1,2,3 1,994 1,483 5 1,2 1,206 748 6 1 389 325 7 1 304 197 8 1,2,3 1,743 1,223 9 1 616 462 10 1 273 197 11 1 271 192

รวมผูมีสิทธิเลือกต้ัง 7,731 5,525 ผูมาใชสิทธิเลอืกต้ัง 5,525 คิดเปนรอยละของผูมาใชสิทธิ 71.47 บัตรเสีย 88 บัตรเสียคิดเปนรอยละของบัตรทั้งหมด 1.6 บัตรไมลงคะแนน 222 บัตรไมลงคะแนนคิดเปนรอยละ 4.03 ท่ีมา : ศูนยประสานงานการเลือกต้ังนายกองคการบริหารสวนตําบลและสมาชกิสภาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี

6.3.2 การอํานวยการเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินและสวสัดิการของประชาชน องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี รวมกับสถานีตําบลภูธรอําเภอถลาง และสถานีตํารวจทางหลวงอํานวยความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนรวมกัน

7. สรุปผลการพัฒนาทองถิ่นในระยะที่ผานมา แยกตามยุทธศาสตรการพัฒนา ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการเมืองการบริหาร มุงเนนการพัฒนาดานการบริหารจัดการองคกรที่ดี โดยการ พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรโดยการสงบุคลากรเขาศึกษาตอหลักสูตรปริญญาตรีและปริญญาโทในโครงการความรวมมือระหวางกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกับมหาวิทยาลัยขอนแกน นอกจากน้ีสงบุคลากรเขารับการฝกอบรมเฉพาะตําแหนงของสถาบันพัฒนาบุคลากรทองถิ่นของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น นอกจากนี้สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในทางการเมืองทุกระดับ และบริการประชาชนดวยความเปนธรรม สะดวก รวดเร็ว สมํ่าเสมอ การจัดเก็บรายไดเพิ่มมากขึ้น ตลอดจนสามารถปรับปรุงระบบการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลใหมีประสิทธิภาพท้ังดานอาคารสถานที่และจัดหาวัสดุอุปกรณ

Page 18: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคม มุงแกไขปญหาดานคุณภาพชีวิตของประชาชนผูยากไร ผูสูงอายุ ผูพิการ

และผูปวยโรคเอดส ใหดีขึ้น สงเสริมระบบการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ท้ังดานอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณการเรียนการสอน สามารถแกไขปญหาดานสาธารณสุขไดเปนท่ีนาพอใจ ตลอดจนสงเสริมการกีฬาของชุมชนไดเปนอยางดี 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพ้ืนฐาน มุงแกปญหาที่สําคัญ คือ การขาดแคลนน้ําด่ืมนํ้าใชในชวงฤดูแลง ปญหาถนน คูระบายน้ําไมเพียงพอและไมไดมาตรฐาน โดยผลของการนําแผนพัฒนาไปปฏิบัติสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนในพื้นท่ี

4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจและการทองเที่ยว มุงแกไขปญหาความยากจนตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีการสนับสนุนและสงเสริมการรวมกลุมอาชีพ การดําเนินงาน อบต.เคลื่อนท่ี มหกรรมคาราวานและโครงการแกไขปญหาความยากจน โดยรวมกับสวนราชการ ภาคเอกชนและประชาชนในพื้นท่ี

5. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสิ่งแวดลอม ใหความสําคัญกับเยาวชนในการสรางจิตสํานึกและความตระหนักในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สรุประดับความสําเร็จของโครงการที่ปรากฏตามแผนพัฒนาสามปกับที่ไดรับอนุมัติงบประมาณ (5 ป ยอนหลัง) แผนพัฒนาสามป 2552 – 2554

ท่ีมา : รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามป พ.ศ. 2552 - 2554

ยุทธศาสตร จํานวนโครงการที่

ปรากฏ ตามแผนพัฒนา

จํานวนโครงการที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

จํานวนงบประมาณ ที่ปรากฏ

แผนพัฒนา

จํานวนงบประมาณ ที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

ดานเศรษฐกิจและการทองเที่ยว

15 2 13.33 1,562,500 213,000 13.63

ดานสังคม 100 54 54 20,794,040 14,375,624 69.13 ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

6 4 66.67 1,420,000 1,270,000 89.44

ดานโครงสรางพ้ืนฐาน 13 4 30.77 10,227,000 2,732,000 26.58 ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 1 50 80,000 15,000 18.75 ดานการเมืองการปกครอง 50 26 52 13,125,300 7,675,800 58.48

รวม 186 91 48.92 47,208,840 26,281,424 55.67

Page 19: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

แผนพัฒนาสามป 2550 – 2552

ยุทธศาสตร จํานวนโครงการที่

ปรากฏ ตามแผนพัฒนา

จํานวนโครงการที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

จํานวนงบประมาณ ที่ปรากฏ

แผนพัฒนา

จํานวนงบประมาณ ที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

ดานเศรษฐกิจและการทองเที่ยว

34 5 14.70 237,081,150 698,900 0.29

ดานสังคม 79 45 56.96 13,842,040 12,300,676 88.86 ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

10 7 70 3,400,000 3,400,400 100

ดานโครงสรางพ้ืนฐาน 64 31 48.44 109,782,320 15,534,637 14.15 ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 0 0 140,000 - - ดานการเมืองการปกครอง 52 21 40.38 16,220,593 7,021,190 43.28

รวม 242 109 45.04 380,466,103 38,955,803 10.24 ท่ีมา : รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามป พ.ศ. 2550 - 2552

แผนพัฒนาสามป 2549 – 2551

ยุทธศาสตร จํานวนโครงการที่

ปรากฏ ตามแผนพัฒนา

จํานวนโครงการที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

จํานวนงบประมาณ ที่ปรากฏ

แผนพัฒนา

จํานวนงบประมาณ ที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

ดานโครงสรางพ้ืนฐาน 126 9 7.14 172,246,540 3,664,600 2.13 ดานเศรษฐกิจ 22 3 13.64 4,522,250 326,000 7.21 ดานสังคม 94 34 36.17 717,767,657 2,995,200 0.42 ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

18 2 11.11 3,490,000 110,000 3.15

ดานการทองเที่ยว 11 1 9.09 2,726,000 689,000 25.27 ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 1 33.33 5,130,000 15,000 0.29 ดานการเมืองการบริหาร 51 21 41.18 24,956,000 22,639,250 90.71

รวม 325 71 21.85 930,838,447 30,439,050 3.27 ท่ีมา : รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามป พ.ศ. 2549 - 2551

Page 20: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

แผนพัฒนาสามป 2548 – 2550

ยุทธศาสตร จํานวนโครงการที่

ปรากฏ ตามแผนพัฒนา

จํานวนโครงการที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

จํานวนงบประมาณ ที่ปรากฏ

แผนพัฒนา

จํานวนงบประมาณ ที่ไดรับอนุมัติ

คิดเปน รอยละ

ดานโครงสรางพ้ืนฐาน 76 64 84.21 103,784,413 17,109,626 16.49 ดานเศรษฐกิจ 13 1 7.69 979,500 50,000 5.10 ดานสังคม 72 17 23.61 10,270,100 340,500 3.31 ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

12 5 41.67 2,780,000 307,320 11.05

ดานการทองเที่ยว 8 2 25 1,220,000 545,100 0.44 ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 - - 5,100,000 - - ดานการเมืองการบริหาร 39 15 38.46 18,795,000 5,623,890 24.60

รวม 222 104 46.85 142,332,063 23,976,436 16.85 ท่ีมา : รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามป พ.ศ. 2548 - 2550

Page 21: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

บทที่ 3 การวิเคราะหศักยภาพการพัฒนาทองถิ่น

3.1 หลักและแนวคิดในการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น 3.1.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ใหความสําคัญกับการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยกําหนดกรอบความเปนอิสระในการปกครองตนเอง ตามเจตนารมณของประชาชนและความเปนอิสระในการกําหนดนโยบายการปกครอง การบริหาร การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอํานาจหนาท่ีของตนเองโดยเฉพาะ หมวด 5 สวนที่ 10 แนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน มาตรา 87 รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน ดังตอไปนี้ (1) สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น (2) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการจัดทําบริการสาธารณะ (3) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับในรูปแบบองคกรทางวิชาชีพหรือตามสาขาอาชีพท่ีหลากหลาย (4) สงเสริมใหประชาชนมีความเขมแข็งในทางการเมือง และจัดใหมีกําหมายจัดต้ังกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองเพื่อชวยเหลือการดําเนินกิจกรรมสาธารณะของชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดําเนินการของกลุมประชาชนที่รวมตัวกันในลักษณะเครือขายทุกรูปแบบใหสามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอความตองการของชุมชนในพื้นท่ี (5) สงเสริมและใหการศึกษาแกประชาชนเกี่ยวกับการพัฒนาการเมืองและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนไดใชสิทธิเลือกต้ังโดยสุจริตและเที่ยงธรรม การมีสวนรวมของประชาชนตามมาตรานี้ตองคํานึงถึงสัดสวนของหญิงและชายที่ใกลเคียงกัน หมวด 15 การปกครองทองถิ่น มาตรา 281 ภายใตบังคับมาตรา 1 รัฐจะตองใหความเปนอิสระแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น และสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนหนวยงานหลักในการจัดทําบริการสาธารณะ และมีสวนรวมในกรตัดสินใจแกไขปญหาในพื้นท่ี ทองถิ่นใดมีลักษณะที่จะปกครองตนเองได ยอมมีสิทธิจัดต้ังเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ท้ังน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา 283 องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีอํานาจหนาท่ีโดยทั่วไปในการดูแลและจัดทําบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่น และยอมมีความเปนอิสระในการกําหนดนโยบาย การบริหาร การจัดบริการสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอํานาจหนาท่ีของตนเองโดยเฉพาะ โดยตองคํานึงถึงความสอดคลองกับการพัฒนาของจังหวัดและประเทศเปนสวนรวมดวย

Page 22: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมไดรับการสงเสริมและสนับสนุนใหมีความเขมแข็งในการบริหารงานไดโดยอิสระและตอบสนองตอความตองการของประชาชนในทองถิ่นไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาระบบการคลังทองถิ่นใหจัดบริการสาธารณะไดโดยครบถวนตามอํานาจหนาท่ี จัดต้ังหรือรวมกันจัดต้ังองคการเพื่อการจัดทําบริการสาธารณะตามอํานาจหนาท่ี เพื่อใหเกิดความคุมคาเปนประโยชน และใหบริการประชาชนอยางทั่วถึง มาตรา 289 องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีอํานาจหนาท่ีบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีสิทธิท่ีจะจัดการศึกษาอบรม และการฝกอาชีพตามความเหมาะสมและความตองการภายในทองถิ่นน้ัน และเขาไปมีสวนรวมในการจัดการศึกษาอบรมของรัฐ โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับมาตรฐานและระบบการศึกษาของชาติ การจัดการศึกษาอบรมภายในทองถิ่นตามวรรคสอง องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองคํานึงถึงการบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นดวย มาตรา 290 องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีอํานาจหนาท่ีสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมตามท่ีกฎหมายบัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึ่งอยางนอยตองมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ (1) การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมท่ีอยูในเขตพื้นท่ี (2) การเขาไปมีสวนรวมในการบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยูนอกเขตพื้นท่ี เฉพาะในกรณีท่ีอาจกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นท่ีของตน (3) การมีสวนรวมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมในนอกเขตพื้นท่ีซึ่งอาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นท่ี (4) การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น 3.1.2 พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติสภาตาํบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 กําหนดอํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนตําบล ดังน้ี มาตรา 66 องคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาท่ีในการพัฒนาตําบลท้ังในดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม มาตรา 67 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบล มีหนาท่ีตองทําในเขตองคการบริหารสวนตําบล ดังตอไปนี้ (1) จัดใหมีและบาํรุงรักษาทางน้ําและทางบก (2) รักษาความสะอาดของถนน ทางนํ้า ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (3) ปองกันและระงับโรคติดตอ (4) ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (5) สงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (6) สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุและผูพกิาร (7) คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม

Page 23: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

(8) บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น (9) ปฏิบัติหนาท่ีอื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรใหตามความจําเปนและสมควรและไดกําหนดอํานาจหนาท่ีของสภาองคการบริหารสวนตําบลและนายกองคการบริหารสวนตําบล ดังน้ี มาตรา 46 สภาองคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาท่ีในการใหความเห็นชอบแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล เพื่อเปนแนวทางในการบริหารกิจการขององคการบริหารสวนตําบลและควบคุมการปฏิบัติงานของนายกองคการบริหารสวนตําบลใหเปนไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล มาตรา 59 นายกองคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาท่ีในการกําหนดนโยบายโดยไมขัดตอกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล ขอบัญญัติ ระเบียบ และขอบังคับของทางราชการ

3.1.3 พระราชบัญญติักําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 การกําหนดอํานาจและหนาท่ีในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 กําหนดใหองคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจและหนาท่ีในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง (1) การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นของตนเอง 3.1.4 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 กําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามป โดยมีองคกรการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นประกอบดวย คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นและคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพฒันาทองถิ่น 3.2 การพัฒนาตามนโยบายชาติ จังหวัด และผูบริหารทองถิ่น 3.2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 – 2554)

วิสัยทัศนประเทศไทย มุงพัฒนาสู "สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนําความรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ สิ่งแวดลอมมีคุณภาพและทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยูภายใตระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดํารงไวซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และอยูในประชาคมโลกไดอยางมีศักด์ิศรี" พันธกิจ เพื่อใหการพัฒนาประเทศในระยะเแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มุงสู "สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน" ภายใตแนวปฏิบัติของ "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" เห็นควรกําหนดพันธกิจของการพัฒนาประเทศ ดังน้ี 1. พัฒนาคนใหมีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรูอยางเทาทัน มีสุขภาพท่ีดี อยูในครอบครัวที่อบอุน ชุมชนท่ีเขมแข็งแข็ง พึ่งตนเองได 2. เสริมสรางเศรษฐกิจใหมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม มุงปรับโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถแขงขันได

Page 24: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

3. ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอม สรางความสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืน 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการประเทศใหเกิดธรรมาภิบาลภายใตระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มุงสรางกลไกและกฎระเบียบที่เอื้อตอการกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาสูภาคี

ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ใหความสําคัญกับ

1.1 การพัฒนาคนใหมีคุณธรรมนําความรู เกิดภูมิคุมกัน 1.2 การเสริมสรางสภาวะคนไทยใหมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ และอยูสภาพแวดลอมท่ีนาอยู 1.3 การเสริมสรางคนไทยใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติสุข

2. ยุทธศาสตรการสรางความเข็มแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนฐานรากท่ีม่ันคงของประเทศ ใหความสําคัญกับ

2.1 การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเขมแข็ง 2.2 การสรางความมั่งคงของเศรษฐกิจชุมชน 2.3 การเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการอยูรวมกันกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสันติ

และเกื้อกูล 3. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน ใหความสําคัญกับการปรับโครงสรางการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพและคุณคาของสินคาและบริการบนฐานความรูและความเปนไทย

3.1 การสรางภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจ 3.2 การสนับสนุนใหเกิดการแขงขันที่เปนธรรมและการกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาอยางเปน

ธรรม 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ใหความสําคัญกับ 4.1 การรักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ 4.2 การสรางสภาพแวดลอมท่ีดีเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและการพัฒนาที่ยั่งยืน 4.3 การพัฒนาคุณภาพความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปญญาทองถิ่น 5. ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ มุงเสริมสรางความเปนธรรมในสังคมอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญกับ 5.1 การเสริมสรางและพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย และธรรมาภิบาลใหเปนสวนหนึ่งของวิถีการดําเนินชีวิตในสังคมไทย 5.2 เสริมสรางความเขมแข็งของภาคประชาชนใหสามารถเขารวมในการบริหารจัดการประเทศ 5.3 สรางภาคราชการที่มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล เนนการบริการแทนการกํากับควบคุมและทํางานรวมกับหุนสวนการพัฒนา 5.4 การกระจายอํานาจการบริหารจัดการประเทศสูภูมิภาค ทองถิ่น และชุมชนเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง 5.5 สงเสริมภาคธุรกิจเอกชนในเกิดความเขมแข็ง สุจริตและมีธรรมาภิบาล

Page 25: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

5.6 การปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบ และขั้นตอน กระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อสรางความสมดุลในการจัดสรรประโยชนจากการพัฒนา 5.7 การรักษาและเสริมสรางความมั่นคงเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการประเทศสูดุลยภาพและความยั่งยืน

3.2.2 นโยบายของรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี 1. นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก 1.1 การสรางความเชื่อม่ันและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่อใหเกิดความเชื่อม่ันแกภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค 1.2 การรักษาและเพิ่มรายไดของประชาชน 1.3 การลดภาระคาครองชีพของประชาชน

2. นโยบายความมั่นคงของรัฐ 2.1 ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยใหมีความม่ันคงในการเปนศูนยรวมจิตใจและความรักสามัคคีของคนในชาติ โดยการสรางจิตสํานึกใหมีความจงรักภักดี เทิดทูน ปกปองสถาบันพระมหากษัตริย รวมทั้งปองกันอยางจริงจังมิใหมีการลวงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ

2.2 เสริมสรางและพัฒนาศักยภาพการปองกันประเทศใหมีความพรอมในการรักษาเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดน รวมทั้งการคุมครองผลประโยชนของชาติ

2.3 เสริมสรางสันติภาพของการอยูรวมกันกับประเทศเพื่อนบาน มุงเนนการแกไขปญหาความขัดแยงดวยการเจรจาโดยสันติวิธี ใหความสําคัญกับการสํารวจและการปกปนเขตแดนกับประทศเพื่อนบานอยางถูกตองตามขอตกลงและสนธิสัญญา

2.4 แกไขปญหาผูหลบหนีเขาเมืองทั้งระบบไมใหมีผลกระทบตอความมั่นคง รวมทั้งการแกไขปญหาสถานะและสิทธิของบุคคลท่ีชัดเจนบนความสมดุลระหวางการดูแลสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลกับการรักษาความมั่นคงของชาติ

2.5 เสริมสรางศักยภาพในการจัดการกับปญหาภัยคุกคามขามชาติ โดยใหความสําคัญแกการพัฒนาระบบและกลไกตาง ๆ ใหพรอมท่ีจะปองกันและแกไขปญหาการกอการรายและอาชญากรรมขามชาติทุกรูปแบบ

3. นโยบายสังคมและคุณภาพ 3.1 นโยบายการศึกษา

ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ สงเสริมใหภาคเอกชนมีสวนรวมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ พัฒนาครู อาจารยและบุคลากรทางการศึกษา จัดใหทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาฟรี 15 ป ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาสูความเปนเลิศ ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนใหกูยืมเพื่อการศึกษา สงเสริมใหเด็ก เยาวชน และประชาชนใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสรางสรรคอยางชาญฉลาด และเรงรัดการลงทุนดานการศึกษาและการเรียนรูอยางบูรณาการ

Page 26: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

3.2 นโยบายแรงงาน ดําเนินการใหแรงงานทั้งในและนอกระบบไดรับการคุมครองตามมาตรฐานแรงงานไทย ปฏิรูประบบประกันสังคมใหมีความเขมแข็งม่ันคง พัฒนาและฝกอบรมแรงงานทุกระดับใหมีความรูและทักษะฝมือ สงเสริมใหแรงงานไทยไปทํางานตางประเทศอยางมีศักด์ิศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี สนับสนุนสวัสดิการดานแรงงาน จัดระบบการจางงานแรงงานตางดาวใหสอดคลองกับความตองการของภาคการผลิต สงเสริมการมีงานทําของผูสูงอายุและคนพิการ 3.3 นโยบายดานสาธารณสุข สนับสนุนการดําเนินการตามแนวทางของกฎหมายสุขภาพแหงชาติ สรางขีดความสามารถในการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรค วินิจฉัยและดูแลรักษาพยาบาลอยางเปนระบบ ปรับปรุงระบบบริการดานสาธารณสุข ลงทุนผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข ปรับปรุงระเบียบเพื่อใหมีรายไดจากเงินเดือนและคาตอบแทนอื่น ผลักดันการขับเคลื่อนใหประเทศไทยเปนศูนยกลางดานสุขภาพและการรักษาพยาบาลระดับนานาชาติ 3.4 นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม สงเสริมการทํานุบํารุงและรักษาศิลปวัฒนธรรมไทย เสริมสรางบทบาทสถาบันครอบครัวรวมกับสถาบันทางศาสนา สนับสนุนการใชภูมิปญญาทองถิ่น สงเสริมการปรับปรุงองคกรและกลไกที่รับผิดชอบดานศาสนาเพื่อใหการบริหารจัดการ สงเสริม ทํานุบํารุงศาสนามีความเปนเอกภาพ 3.5 นโยบายสวสัดิการสังคมและความมั่นคงของมนุษย แกไขปญหาความยากจน ปรับโครงสรางหนี้ภาคประชาชน เรงรัดปรับปรุงแกไขปญหาคุณภาพการอยูอาศัย สรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในกลุมผูสูงอายุ ใหความสําคัญในการคุมครองผูบริโภคในทุกมิติ สงเสริมความเสมอภาคระหวางชายหญิง ขจัดการกระทําความรุนแรง เรงรัดการแกไขปญหายาเสพติดอยางเปนระบบ เพิ่มประสิทธิภาพการแกไขปญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 3.6 นโยบายการกีฬาและนนัทนาการ เสริมสรางโอกาสใหประชาชนทุกกลุมออกกําลังกายและเลนกีฬา พัฒนากีฬาสูความเปนเลิศ โดยจัดต้ังศูนยฝกกีฬาแหงชาติ สงเสริมกีฬาไทยใหเปนท่ีรูจักอยางกวางขวาง ปรับปรุงระบบบริหารจัดการดานการกีฬา ปรับปรุงกฎหมายการกีฬาและที่เกี่ยวของ 4. นโยบายเศรษฐกิจ 4.1 นโยบายการบริหารเศรษฐกิจมหภาค สนับสนุนใหเศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตอยางมีเสถียรภาพ พัฒนาตลาดทุนและระบบสถาบันการเงินใหเขมแข็ง สงเสริมและรักษาวินัยการคลัง ปรับปรุงโครงสรางภาษีและการจัดเก็บภาษี กําหนดกรอบการลงทุนภาครัฐ 4.2 นโยบายปรับโครงสรางเศรษฐกิจ ภาคเกษตร เรงรัดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร สงเสริมอาชีพและขยายโอกาสการทําประมง พัฒนาศักยภาพสินคาปศุสัตว ดูแลเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรและตลาดสินคาเกษตร เรงรัดการจัดหาแหลงนํ้าใหท่ัวถึง พัฒนาภาคเกษตรใหมีความเขมแข็ง แกไขปญหาหนี้สิน ฟนฟูอาชีพและความเปนอยูของเกษตรกร

Page 27: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ภาคอุตสาหกรรม สรางความแข็งแกรงและความสามารถในการแขงขันในตลาดโลกใหกับอุตสาหกรรมไทย รวมมือกับภาคเอกชนในการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานสินคาใหทัดเทียมและล้ําหนาในระดับสากล สรางความเขมแข็งใหกับอุตสาหกรรมและขนาดยอม จัดต้ังเขตพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคการทองเที่ยวและบริการ ขยายฐานภาคบริการในโครงสรางการผลิตของประเทศ พัฒนาแหลงทองเที่ยวทั้งของรัฐและเอกชน พัฒนามาตรฐานบริการดานการทองเที่ยว พัฒนาดานการตลาดและประชาสัมพันธ ปรับปรุงแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว การตลาด การคาและการลงทุน สงเสริมระบบการคาเสรีและเปนธรรม ขยายตลาดสินคาและบริการสงออกของไทย ใชประโยชนจากขอตกลงเขตการคาเสรี ปรับปรุงมาตรการบริหารการนําเขา ปรับปรุงประสิทธิภาพและจัดระบบการอํานวยความสะดวกทางการคาและการลงทุนชายแดน ปรับปรุงและเรงรัดกระบวนการพิจารณาอุทธรณเรื่องภาษี 4.3 นโยบายการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ ขยายการใหบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชนใหกระจายไปสูภูมิภาคอยางทั่วถึง พัฒนาระบบการคมนาคมขนสงและโลจิสติกสอยางบูรณาการ พัฒนาโครงขายระบบไฟฟาขนสงมวลชน พัฒนาโครงขายรถไฟทางคูท่ัวประเทศ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตที่เกี่ยวของดานการขนสง 4.4 นโยบายพลังงาน พัฒนาพลังงานใหประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองไดมากขึ้น สงเสริมการอนุรักษและประหยัดพลังงาน ใหความสําคัญตอสิ่งแวดลอมภายใตกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน 4.5 นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พัฒนาโครงขายสื่อสารโทรคมนาคมพื้นฐานใหครอบคลุมท่ัวประเทศ พัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5.1 คุมครองและอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง รวมทั้งฟนฟูอุทยานทางทะเลอยางเปนระบบ 5.2 คุมครองและฟนฟูพื้นท่ีอนุรักษท่ีมีความสําคัญเชิงระบบนิเวศ 5.3 จัดใหมีระบบการปองกัน รวมทั้งเตือนภัยและบรรเทาความเดือดรอนแกผูประสบภัยธรรมชาติ 5.4 ควบคุมและลดปริมาณของเสียท่ีกลายมาเปนมลพิษทั้งในรูปขยะ ขยะอันตราย มลพิษทางอากาศ กลิ่นเสียง และน้ําเสีย 5.5 พัฒนาองคความรูในการบริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5.6 ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 6. นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจยัและนวัตกรรม 6.1 สงเสริมและสนับสนุนโครงการวิจัยตามแนวพระราชดําร ิ

Page 28: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

6.2 เรงรัดผลิตบุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและบุคลากรดานการวิจัยใหสามารถตอบสนองความตองการของภาคการผลิต 6.3 ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนาของประเทศ 7. นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ 7.1 พัฒนาความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบานในทุกมิติและทุกระดับ 7.2 สงเสริมความรวมมือเพื่อสรางความแข็งแกรงของอาเซียนในวาระที่ไทยดํารงตําแหนงประธานอาเซียน 7.3 สงเสริมความรวมมืออยางใกลชิดกับประเทศมุสลิมและองคกรมุสลิมระหวางประเทศ 7.4 กระชับความรวมมือและความเปนหุนสวนทางยุทธศาสตรกับประเทศที่มีบทบาทสําคัญของโลกและประเทศคูคาของไทยในภูมิภาคตาง ๆ 7.5 สงเสริมการมีบทบาทรวมกับประชาคมโลก ในเรื่องการกําหนดบรรทัดฐานระหวางประเทศโดยเฉพาะเรื่องการคาสินคาเกษตร 7.6 สนับสนุนการเขารวมในขอตกลงระหวางประเทศทั้งทวิภาคีและพหุภาคีท่ีเปนประโยชนตอประเทศ 7.7 สงเสริมการรับรูและความเขาใจของประชาชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในโลกที่มีผลกระทบตอประเทศไทย 7.8 สรางความเชื่อม่ันของตางประเทศตอประเทศไทยและการเขาถึงระดับประชาชน โดยสงเสริมความเขาใจที่ถูกตองและความเชื่อม่ันของนานาประเทศ 7.9 คุมครองและสงเสริมสิทธิและผลประโยชนของคนไทย แรงงานไทย และภาคธุรกิจเอกชนไทยในตางประเทศ และสนับสนุนการสรางความเขมแข็งใหแกชุมชนไทยในตางประเทศ 8. นโยบายการบริหารกิจการบานเมอืงที่ดี 8.1 ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผนดิน สนับสนุนการกระจายอํานาจทางการคลังสูทองถิ่น สนับสนุนการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหยึดหลักธรรมาภิบาลและปรับระบบการทํางานใหมีประสิทธิภาพ ปรับบทบาทและภารกิจการบริหารราชการระหวางราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่นใหชัดเจน ไมซ้ําซอน บูรณาการความเชื่อมโยงของการบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาคโดยสนับสนุนการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการผานกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัดที่สอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตรระดับชาติและระดับภาค ตลอดจนเชื่อมโยงกับแผนขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและแผนชุมชน สนับสนุนใหมีการบริหารทองถิ่นรูปแบบพิเศษใหสอดรับกับระดับการพัฒนา 8.2 กฎหมายและการยุติธรรม ปรับปรุงแกไขกฎหมายและกฎระเบียบที่ลาสมัย พัฒนากระบวนการยุติธรรมใหมีระบบการอํานวยความยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพ 8.3 สื่อและการรับรูขอมูลขาวสาร สงเสริมการมีสวนรวมของภาคประชาชนในกระบวนการยติุธรรมใหมากขึ้น เปดโอกาสใหประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารสาธารณะจากทางราชการ ปรับปรุงกลไกการสื่อสารภาครัฐใหดํารงบทบาทสื่อเพื่อประโยชนสาธารณะและสรางความสมานฉันทในชาติ

Page 29: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

3.2.3 ยุทธศาสตรการพัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิน่

“เปนองคกรที่มีสมรรถนะสูงในการสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกในการพัฒนาประเทศไดอยางยั่งยืน” พันธกิจ 1. พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง

2. สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ระดับจังหวัดและตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจากภาคีเครือขาย

3. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถทํางานแบบมืออาชีพโดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

4. พัฒนาระบบการบริหารงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพ 5. สงเสริมและพัฒนาระบบบริหารจัดการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีศักยภาพในการจัดบริการ

สาธารณะภายใตหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 6. พัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการติดตามประเมินผลการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ใหมีประสิทธิภาพ 7. สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น มีศักยภาพในการพฒันาคุณภาพคน ใหคนไทยทุกคน ไดรับการพัฒนาในทุกมิติ ท้ังทางรางกาย จิตใจ ความรู ความสามารถ ทักษะประกอบอาชีพและความมั่นคงในการดํารงชีวิต เพื่อนําไปสูความเขมแข็งของครอบครัว ชุมชนและสังคมไทย

8. สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการ พัฒนาการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศไดอยางยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 1: การยกระดับขีดความสามารถของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหมี สมรรถนะสูง

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2: การเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นในการพฒันาประเทศ

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3: การสรางและใชภาคีเครือขายในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น

3.2.4 แผนพัฒนาจังหวัดภูเก็ต 4 ป พ.ศ. 2553 – 2556 วิสัยทัศนจังหวัดภูเก็ต

“ ศูนยกลางการทองเที่ยวทางทะเลระดับโลกมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีเอกลักษณวฒันธรรมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืน” พันธกิจ (Mission)

1. เสริมสรางและพัฒนาฟนฟแูหลงทองเทีย่ว โครงสรางพื้นฐาน ภาคบริการสูมาตรฐานสากล 2. สงเสริมการคาและการลงทุนในจังหวัด รวมถึงดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เสริมสรางความเข็มแข็งของครอบครัว/ชุมชน สูความเปนสังคมที่มีความสุขอยางยั่งยืน

Page 30: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

4. พัฒนาคุณภาพชีวิตและมาตรฐานการใหบริการสุขภาพสูมาตรฐานสากล รวมทั้งการพัฒนาระบบการเฝาระวังควบคุมโรคและภัยทางสุขภาพ

5. สรางความมั่นคงภายในจังหวัดภายใตการบูรณาการขององคกรภาครัฐและภาคประชาชน 6. ฟนฟูดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสูความสมดุลและยั่งยืน 7. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสูความเปนเลิศเพื่อสรางความพึงพอใจและความเชื่อม่ันใหกับ

ประชาชนและผูรับบริการ 8. การขยายผลโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ และโครงการภูมิปญญาแหงแผนดินขยายผลสูปวงชน

ชาวไทย 9. สงเสริมประเพณี วัฒนธรรมทองถิ่นใหมีเอกลักษณอยางยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 1 ศูนยกลางการทองเที่ยวทางทะเลระดบัโลก เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : การเปนศูนยกลางการทองเที่ยวทางทะเลระดับโลก กลยุทธหลัก 1. สงเสริมพัฒนาแหลงทองเที่ยวธรรมชาติ การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น

เพื่อสรางมูลคาใหกับการทองเที่ยวสูความยั่งยืน 2. ปรับโครงสรางพื้นฐานใหมีคุณภาพสูมาตรฐานสากลและเขาถึงแหลงทองเที่ยว 3. ยกระดับมาตรฐานดานการบริการและธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว รวมทั้งบุคลากรดานการทองเที่ยว

สูมาตรฐานสากล

4. สงเสริมการตลาดทั้งในและตางประเทศ เพื่อสรางภาพลักษณการทองเที่ยวของจังหวัด 5. สรางความเชื่อม่ันในความปลอดภัยในเรื่องธรณีพิบัติภัย การกอการรายสากล และความปลอดภัยในชีวิต

และทรัพยสิน 6. สงเสริมการพัฒนาสินคาและผลิตภัณฑทางการทองเที่ยว โดยเนน Mice, Health and Service,

International Medical Service, Health Tourism, Spa, OTOP, Marina 7. สรางความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานทั้งระดับทวิภาคีและพหุภาคี ตามแผน IMT-GT เชื่อมโยงดาน

เศรษฐกิจ การคา การลงทุน การทองเที่ยว การขนสงทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2 คุณภาพชีวิตที่ดี มีเอกลักษณวัฒนธรรม เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : ยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของประชาชน และคงไวซึ่งเอกลักษณ

วัฒนธรรมที่ดีงามของทองถิ่น กลยุทธหลัก 1. เพิ่มรายได ลดรายจาย ขยายโอกาส ในอาชีพอยางยั่งยืนใหแกประชาชน 2. สรางหลักประกันและคุมครองสทิธิทางสังคมที่มีคุณภาพและเปนธรรม 3. เสริมสรางครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง และสงเสริมบทบาทการมีสวนรวมทุกภาคสวนสูความเปนสังคม

ท่ีมีความสุขอยางยั่งยืน 4. สงเสริมการเรียนรู สืบสานศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร สรางเอกลักษณท่ียั่งยืน

Page 31: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

5. สงเสริมสุขภาพสูคุณภาพชีวิต และยกระดับมาตรฐานการใหบริการสุขภาพสูมาตรฐานสากล รวมทั้งพัฒนาระบบการเฝาระวังโรค และภัยทางสุขภาพ

6. สงเสริมการเรียนรูตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาที่ยั่งยนื เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : การบริหารจัดการและใชประโยชนจากทรัพยากรและสิง่แวดลอม

สูความสมดุลและยั่งยืน กลยุทธหลัก 1. การขยายผลการดําเนินงานตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ 2. สงวน คุมครอง อนุรักษ การใชประโยชนและฟนฟูสภาพปาและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อรักษาความสมดุล

ระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติอยางตอเน่ืองและยั่งยืน 3. ควบคุมคุณภาพสิงแวดลอมเพื่อลดผลกระทบคุณภาพชีวิต 4. การบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบ 5. การพัฒนาภูเก็ตเปนเมืองนาอยู นาเที่ยว

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 4 การพัฒนาระบบบริหารงานใหมีความเปนเลิศ เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร : พัฒนาระบบการบริหารจัดการหนวยงานภาครัฐสูความเปนเลิศ และสราง

ความพึงพอใจใหกับประชาชนและผูรับบริการ กลยุทธหลัก 1. พัฒนาระบบการทํางานของภาครัฐใหมีความโปรงใส รวดเร็ว ถูกตอง เปนธรรม 2. ใชเทคโนโลยแีละการสนเทศพัฒนาระบบการทํางานใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. เสริมสรางธรรมาภิบาลและการมีสวนรวมในการบริหารจัดการทุกระดับ เพือ่สรางการอยูรวมกนัอยางสันติสุข

ของทุกภาคสวนในสังคม 4. พัฒนาขีดความสมรรถนะของบุคลากรและองคกรใหอยูในเกณฑมาตรฐานที่สามารถยอมรับได

3.2.5 ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด (ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง) วิสัยทัศนกลุมจังหวัด

“ศูนยกลางการทองเที่ยวทางทะเลระดับโลก เปนประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจสูนานาชาติ”

พันธกิจ 1. พัฒนาและฟนฟูแหลงทองเทีย่วสูความยั่งยืน รวมทั้งโครงขายคมนาคมเชื่อมโยงรองรับ

การทองเที่ยว 2. สรางความเชื่อม่ันในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 3. สรางเศรษฐกิจใหสมดุลเชื่อมโยงการคากับตางประเทศ 4. พัฒนามาตรฐานคุณภาพชีวิตและมาตรฐานการใหบริการสขุภาพสูมาตรฐานสากล 5. ฟนฟู ดูแล และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสูความสมดุลของระบบนิเวศนอยางยั่งยืน

Page 32: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ยุทธศาสตรท่ี 1 : การพัฒนาสิ่งดึงดูดใจและผลิตภัณฑการทองเที่ยวอันดามันให เชื่อมโยงและเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน (Product/Supply)

กลยุทธ 1.1 พัฒนาและจัดการกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันใหเปนแหลงทองเที่ยวที่ไดมาตรฐานระดับสากล (Destination Development)

1) พัฒนาแหลงทองเที่ยวที่เชื่อมโยงดานวัฒนธรรม ธรรมชาติ และเกษตร 2) พัฒนามาตรฐานดานความปลอดภัย 3) สรางมาตรฐานดานการทองเที่ยวอันดามัน 4) พัฒนากิจกรรมการทองเที่ยวอันดามัน 5) พัฒนาสุนทรียศาสตรและความรูสึกแตกตางของการทองเที่ยวอันดามันกับแหลงทองเที่ยวอื่น ๆเชน การ

สรางเสนหของอันดามัน 6) เรงสรางมาตรการการควบคุมจํานวนนักทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวใหไดมาตรฐาน ตามความสามารถ

ทางการรองรับของแหลงทองเที่ยว เชน การจัดการดานสิ่งแวดลอม 7) พัฒนากลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันใหเปนเมืองทองเที่ยวที่มีความสะดวกดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร (ICT) 8) พัฒนาแหลงทองเที่ยวและผลิตภัณฑการทองเที่ยวใหมๆ ตามความตองการของนักทองเที่ยว เชน

แหลงทองเที่ยวแบบสปา การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การจัดประชุมและแสดงสินคา นํ้าพุรอน กีฬา และมารีนา 9) พัฒนาสินคาของที่ระลึกท่ีสะทอนความเปนอันดามันใหตรงกับความตองการของนักทองเที่ยว 10) สนับสนุนการจัดต้ังเขตเศรษฐกิจพิเศษดานการทองเที่ยวกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน 11) เรงสรางปจจัยพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกที่เชื่อมโยงกับการทองเที่ยวในกลุมประเทศเพื่อน

บาน 12) สนับสนุนการพัฒนากลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันใหมีปจจัยพื้นฐานและสังคมที่สงบสขุ

1.2 การสรางการเชื่อมโยงการทองเทีย่วกลุมจงัหวัดภาคใตฝงอันดามัน (Tourism Cluster Linkage) 1) เรงพัฒนาความเชื่อมโยงดานระบบการคมนาคมขนสงสําหรับการทองเที่ยว 2) เรงสรางความเชื่อมโยงของแหลงทองเที่ยวภายในกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน 3) เรงสรางความเชื่อมโยงของโปรแกรมการทองเที่ยวกลุมจงัหวัดภาคใตฝงอันดามัน

1.3 การสนับสนุนฐานการผลิตสําหรับภาคการทองเที่ยวของกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน (Supporting Base for Tourism Cluster)

1) สนับสนุนมาตรฐานคุณภาพอาหาร เพื่อตอบสนองตออุตสาหกรรมการทองเที่ยวอันดามัน 2) เรงพัฒนาคุณภาพสินคาเกษตรและสมุนไพร เพื่อตอบสนองอุตสาหกรรมการทองเที่ยว 3) สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานสินคาหน่ึงตําบลหนึ่งผลิตภัณฑใหเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมการทองเทีย่ว

โดยใชอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเปนตลาดสินคาหลัก

Page 33: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ยุทธศาสตรท่ี 2 : การพัฒนาการตลาดการทองเที่ยวเชิงบูรณาการเพื่อรักษาฐานนักทองเที่ยวเดิมและเพิ่มปริมาณนักทองเที่ยวคุณภาพ (Marketing/Demand)

กลยุทธ 2.1 เรงสรางจุดยืนผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวของกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันรวมกัน (Product Positioning) 2.2 เรงสรางภาพลักษณเชิงบวกทางการทองเที่ยวตอประชาคมโลก (Re-Branding) 2.3 สนับสนุนการสรางกลยุทธทางการตลาดเพื่อรักษาฐานนักทองเที่ยวเดิม 2.4 พัฒนากลยทุธทางการตลาดที่สามารถเจาะกลุมนักทองเที่ยวคุณภาพ 2.5 สนับสนุนการประชาสัมพันธการทองเที่ยวของกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน โดยการจัด Road show และเทศกาลสงเสริมการทองเที่ยวใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.6 สนับสนุนการดําเนินการตลาดการทองเที่ยวแบบพันธมิตรกับกลุมประเทศเพื่อนบาน ยุทธศาสตรท่ี 3 : การพัฒนากลไกการจัดการการทองเที่ยวกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันรวมกัน (Product/Supply)

กลยุทธ 3.1 เรงพัฒนาคุณภาพบุคลากรใหมีมาตรฐาน เพื่อตอบสนองตอการเจริญเตบิโตของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในกลุม

จังหวัดภาคใตฝงอันดามัน 3.2 เรงพัฒนาศักยภาพองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถวางแผน การจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

ท่ีวางอยูบนฐานทรัพยากรและภูมิปญญาอันดามัน 3.3 พัฒนาชุมชนอันดามันสูการเปนเจาบานที่ดี 3.4 สนับสนุนการสรางศูนยพัฒนา จัดการ และตรวจสอบการพัฒนาการทองเที่ยวกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดา

มัน 3.5 สงเสริมการสรางเครือขายการทองเที่ยวอันดามัน เพื่อสรางความรูสึกการเปนเจาของรวมกัน 3.6 สรางเครือขายการจัดการความรูทางการทองเที่ยวกับกลุมประเทศเพื่อนบานและประเทศคูคาสําคัญ 3.7 เรงพัฒนาฐานเศรษฐกิจหลักของกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน เพื่อสนับสนุนใหมีภาวะ

เศรษฐกิจที่เอื้อตอการพัฒนาดานการทองเที่ยว 3.2.6 แผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอถลาง (พ.ศ. 2553 – 2556) วิสัยทัศน “เมืองประวัติศาสตร ธรรมชาติเลิศล้ํา ฟนฟูวัฒนธรรม สังคมสันติสุข” พันธกิจ 1. เสริมสรางและพัฒนา ฟนฟูแหลงประวัติศาสตรของเมืองถลางเพื่อยกยอยเชิดชูเปนอนุสรณแกคนรุนหลัง และพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว 2. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติทุกประเภทใหมีคุณภาพและมาตรฐานเพื่อรองรับ นักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางชาติ

Page 34: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

3. เสริมสรางความเขมแข็งของครอบครัว/ชุมชน สูความเปนสังคมท่ีมีความสุขบนพื้นฐานประเพณีวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย 4. ปองกันฟนฟูดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสูความสมดุลและยั่งยืน 5. สรางความเชื่อม่ันในการดูแลรักษาความปลอดภัยและความสงบเรียบรอยท้ังชาวไทยและชาวตางชาติบนพื้นฐานของกฎหมายที่เทาเทียมกัน 6. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใหไดมาตรฐานบนพื้นฐานของกฎหมายและสิทธิมนุษยชน 7. พัฒนาคุณภาพและการบริหารจัดการภาครัฐใหไดมาตรฐานเพื่อสรางความพึงพอใจและความเชื่อม่ันใหกับประชาชนและผูรับบริการ ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 1 พัฒนาเมืองประวัติศาสตรและแหลงทองเที่ยว กลยุทธ

1. สงเสริมพัฒนาสถานที่ทางประวัติศาสตร แหลงทองเที่ยวธรรมชาติ การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และการเกษตร ศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อสรางรายได และมูลคาใหกับการทองเที่ยวสูความยั่งยืน 2. ยกระดับมาตรฐานดานการบริการ และธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวรวมทั้งบุคลากรสูมาตรฐานสากล 3. ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานใหมีคุณภาพและมาตรฐานและเขาถึงแหลงทองเที่ยว 4. สงเสริมการตลาดเพื่อสรางภาพลักษณการทองเที่ยวของอําเภอ 5. สงเสริมการพัฒนาอาชีพและสินคา ผลิตภัณฑทางการทองเที่ยว 6. สรางความเชื่อม่ันในความปลอดภัยทุกดาน

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2 คุณภาพชีวิตที่ดี มีเอกลักษณ ประเพณีและวัฒนธรรม กลยุทธ 1. เพิ่มรายได ลดรายจาย ขยายโอกาส ในอาชีพอยางยั่งยืนใหแกประชาชน 2. สรางหลักประกัน และคุมครองสิทธิทางสังคมที่มีคุณภาพและเปนธรรม 3. สงเสริมการเรียนรู สืบสานศิลปวัฒนธรรม ประเพณีสรางเอกลักษณท่ียั่งยืน 4. สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใหไดมาตรฐานตามที่กฎหมายและสิทธิมนุษยชนกําหนดไว 5. สงเสริมการเรียนรูตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบรอย 1. การเสริมสรางจิตสํานึกของประชาชนและผูประกอบการในการปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมอันดี 2. การบูรณาการ การทํางานในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทุกรูปแบบ 3. การเสริมสรางเอกภาพในการรักษาความสงบเรียบรอยของฝายปกครอง 4. การเสริมสรางความรวมมือของสหอาสาสมัครฝายปกครองในการรักษาความสงบเรียบรอย

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 4 การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. สงวน คุมครอง ฟนฟู อนุรักษ สภาพปาและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อรักษาความสมดุลระบบนิเวศน และสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติอยางตอเน่ืองและยั่งยืน 2. ควบคุม คุณภาพสิ่งแวดลอมเพื่อลดผลกระทบตอคุณภาพชีวิต

Page 35: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

3. การบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบ 4. การพัฒนาอําเภอถลางใหเปนเมืองนาอยู นาเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 5 การพัฒนาการบริหาร 1. การสรางจิตสํานึกและการพัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากรผูใหบริการ 2. การพัฒนากระบวนการใหบริการ 3. การพัฒนาสถานที่และภูมิทัศนในการใหบริการ

3.2.7 ยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตจังหวัดภูเก็ต (พ.ศ. 2553 – 2556)

วิสัยทัศน “องคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดภูเก็ตบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล บริการประทับใจ เมืองนาอยูคูคุณธรรม” ยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาดานการเมืองและการบริหาร 1. สงเสริมความเขมแข็งและการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาทองถิ่น 2. พัฒนาประสิทธิภาพในการแกไขปญหาและการบริการประชาชน 3. สงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและเสรีภาพของประชาชน 4. พัฒนาบุคลากรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใชและสถานที่ปฏิบัติงาน ยุทธศาสตรท่ี 2 การพัฒนาดานการทองเที่ยว เศรษฐกิจ พาณิชยและอุตสาหกรรม 1. สงเสริมสนับสนุนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษสิ่งแวดลอม วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น 2. สงเสริมการยกระดับมาตรฐานดานบริการและธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวสรางความประทับใจแกนักทองเที่ยวและผูมาเยือนภูเก็ต 3. พัฒนาแหลงทองเที่ยวและสรางเครือขายการทองเที่ยวในชุมชน 4. สนับสนุนการพฒันาบุคลากรดานการทองเที่ยว เศรษฐกิจ พาณิชยและอุตสาหกรรม 5. สงเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธดานการทองเที่ยว เศรษฐกิจ พาณิชยและอุตสาหกรรม ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาดานการศึกษา 1. สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา 2. สงเสริมสนับสนุน การศึกษาเรียนรูตามความสนใจและความจําเปนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. สงเสริมใหเด็ก เยาวชนและประชาชนสามารถใชภาษาตางประเทศในการติดตอสื่อสาร 4. สงเสริมใหบุคลากรดานการศึกษาไดรับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 5. สนับสนุนการเรียนรูคูคุณธรรม รวมกับสถาบันทางศาสนา 6. สงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาดานการศึกษา ยุทธศาสตรท่ี 4 การพัฒนาดานสาธารณสุข 1. พัฒนาสถานีอนามัยและสถานบริการสาธารณสุขใหมีคุณภาพมาตรฐานเพื่อบริการประชาชน 2. สงเสริม สนับสนุน การดูแลสุขภาพอนามัยและชวยเหลือผูปวยในชุมชน 3. การปองกันและรักษาโรคแกประชาชน

Page 36: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ยุทธศาสตรท่ี 5 การพัฒนาดานคุณภาพชีวิต 1. สงเสริมสนับสนุน คุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผูสูงอายุ คนพิการและดอยโอกาส 2. สงเสริมสนับสนุนการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินและปองกันปญหายาเสพติด 3. สงเสริมการพัฒนาและอนุรักษจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอันดีงามของจังหวัดภูเก็ต 4. สนับสนุนการศึกษาอบรมและฝกอาชีพเพื่อเสริมความเขมแข็งของชุมชน 5. สงเสริมการทํานุบํารุงศาสนา และจริยธรรม 6. สงเสริมสนับสนุน ดานการกีฬาและนันทนาการ ยุทธศาสตรท่ี 6 การพัฒนาดานโครงสรางพ้ืนฐาน

1. สงเสริมสนับสนุน การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการใหสอดคลองกับความจําเปนและความตองการของประชาชน

2. สนับสนุนการปรับปรุงและกอสรางถนน ทางระบายน้ํา สะพน ทาเทียบเรือและโครงสรางพื้นฐานที่จําเปน 3. พัฒนาระบบขนสงมวลชนและวิศวกรรมจราจร เพื่อรองรับการคมนาคมภายในจังหวัด 4. สงเสริมการพัฒนาและดูแลรักษาแหลงนํ้าธรรมชาติเพื่อใหมีนํ้าสะอาดเพียงพอตอการอุปโภคบริโภค ยุทธศาสตรท่ี 7 การพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. สงเสริมสนับสนุนใหมีระบบการกําจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจร 2. สนับสนุนการปองกันและบําบัดมลพิษสิ่งแวดลอม 3. ดูแลรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4. สรางจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5. สงเสริมสนับสนุน การสรางสวนสาธารณะ สวนสุขภาพและสถานที่พักผอนหยอนใจ

ยุทธศาสตรท่ี 8 การพัฒนาดานเทคโนโลยี 1. สงเสริมสนับสนุน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการรักษาความปลอดภัย และแกไขปญหาจราจร 2. สงเสริมสนับสนุนใหมีระบบเครือขายอินเตอรเน็ตภายในจังหวัด 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 4. พัฒนาความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหกับบุคลากรของทองถิ่นและประชาชนในจังหวัด 5. สนับสนุนใหมีศูนยการเรียนรูชุมชน โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.2.7 นโยบายผูบริหารทองถิ่น (แถลงตอสภาฯ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550) 1. นโยบายการพัฒนาดานเศรษฐกิจและการทองเที่ยว

1.1 สงเสริมและพัฒนากลุมอาชีพของประชาชนในเขตองคการบริหารสวนตําบล 1.2 สงเสริมและพัฒนาสินคาผลิตภัณฑชุมชนในเขตองคการบริหารสวนตําบลตลอดจนสนับสนุนและ

สงเสริมผลิตภัณฑชุมชน 1.3 สงเสริมและพัฒนาศูนยสินคาชุมชนในเขตองคการบริหารสวนตําบลตลอดจนสนับสนุนการจัดต้ัง

กองทุนสวัสดิการชุมชน เพื่อเปนแหลงเงินทุนหมุนเวียน และเปนสวัสดิการแกประชาชน 1.4 สงเสริมแลพัฒนาสถานที่ทองเที่ยวภายในเขตองคการบริหารสวนตําบล

Page 37: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

1.5 สงเสริมและพัฒนาบูรณะฟนฟูสถานที่สําคัญทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร ในเขตองคการบริหารสวนตําบล ตลอดจนฟนฟูสถานที่ประวัติศาสตรทุกแหงในเขตพื้นท่ีเพื่อใหนักทองเที่ยวไดตามรอยประวัติศาสตร

1.6 สงเสริมและสนับสนุนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษในเขตองคการบริหารสวนตําบล 1.7 สงเสริมและสนับสนุนใหชุมชนมีรายไดตอครัวเรือนเพิ่มขึ้น

2. นโยบายการพัฒนาดานสังคม 2.1 สงเสริมดานสุขภาพอนามัยและการปองกันโรคของประชาชน 2.2 สงเสริมและพัฒนายกระดับมาตรฐานการศึกษาในโรงเรียน 2.3 สงเสริมดานศาสนาทุกศาสนา ท้ังวัด มัสยิด ศาลเจา ตลอดจนกิจกรรมชวงถือศีลอดของพี่นองมุสลิม

อนุรักษวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นและภูมิปญญาทองถิ่นใหดํารงสืบไป 2.4 สงเสริมกิจกรรมและนันทนาการ สนับสนุนการออกกําลังกาย การกีฬาประเภทตาง ๆ ใหแกเยาวชน

และประชาชน 2.5 สงเสริมสวัสดิการสังคมแกประชาชน ผูดอยโอกาส ผูสูงอายุ และผูพิการ 2.6 สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาใหแกเด็ก และเยาวชนสามารถใช

ภาษาในการสื่อสารอยางนอย 2 ภาษา 2.7 สงเสริมและสนับสนุนการรักษาความสงบเรียบรอย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

3. นโยบายการพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3.1 สงเสริมและสนับสนุนใหเยาวชน ประชาชน ในเขตองคการบริหารสวนตําบลมีจิตสํานึกและตระหนักใน

การชวยกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3.2 สงเสริมและสนับสนุนในการปองกันและบําบัดมลพิษ ขยะ นํ้าเสียและสิ่งแวดลอมตลอดจนการ

ปรับปรุงภูมิทัศนถนนหนทาง เพื่อความสวยงามและความสะดวกปลอดภัยแกประชาชน

4. นโยบายการพัฒนาดานโครงสรางพ้ืนฐาน 4.1 สงเสริมและสนับสนุนในการกอสราง ปรับปรุง บํารุงรักษาถนน สะพาน คูระบายนํ้าและทาเทียบเรือในพื้นท่ี

4.2 สงเสริมและพัฒนาระบบการจราจร ไฟฟาแสงสวาง ใหครอบคลุมในพื้นท่ี 4.3 สงเสริมพัฒนาระบบแหลงนํ้าและระบบการสงนํ้า เพื่อใหประชาชนในเขตองคการบริหารสวนตําบลไดมี

นํ้าด่ืมนํ้าใชอยางทั่วถึงทุกครัวเรือน 4.4 สงเสริมและพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการสื่อสารใหครอบคลุมในพื้นท่ี 5. นโยบายการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 สงเสริมและพัฒนาศูนยคอมพิวเตอรประจําตําบล 5.2 สงเสริมการพัฒนาความรูและทักษะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชกับระบบงานในองคกร

6. นโยบายการพัฒนาดานการเมืองการบริหาร 6.1 สงเสริมและพัฒนาบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลใหมีศักยภาพ และประสิทธิภาพในการ

บริหารงานและการใหบริการประชาชน

Page 38: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

6.2 สงเสริมปรับปรุงและพัฒนาการจัดเก็บรายไดและการนํามาใชในการพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 6.3 สงเสริมปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือเคร่ืองใชขององคการบริหารสวนตําบลใหมีประสิทธิภาพและ

ศักยภาพในการปฏิบัติงานและในการใหบริการประชาชนในเขตพื้นท่ี 6.4 สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลใน

ทุก ๆ ดาน 6.5 สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรม ภารกิจของประชาชนในเขตพื้นท่ีใหสอดคลองกับความตองการของ

ชุมชนอยางแทจริง 6.6 สงเสริมการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการองคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีดี 6.7 สงเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข

3.2 ปจจัยและสถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอการพัฒนา ผลการวิเคราะหปญหาและความตองการของประชาชนในทองถิ่นตามประเด็นการพัฒนาทองถิ่น ดานการเมืองการบริหาร องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนเนนการใหบริการประชาชนดวยความเปนธรรม สะดวก รวดเร็วและสม่ําเสมอ ตลอดจนปรับปรุงระบบการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลใหมีประสิทธิภาพทั้งดานอาคารสถานที่และจัดหาวัสดุอุปกรณ การจัดระบบการทํางานเพื่อใหมีประสิทธิภาพตอผูท่ีเขามาใชบริการ

ดานสังคม มุงแกไขปญหาดานคุณภาพชีวิตของประชาชนผูยากไร ผูสูงอายุ ผูพิการและผูปวยเอดสใหไดรับการชวยเหลืออยางทั่วถึงและเปนธรรม นอกจากน้ีองคการบริหารสวนตําบลมุงสงเสริมระบบการจัดการศึกษาในโรงเรียน และแกไขปญหาดานสาธารณสุข ตลอดจนความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยมีการจัดโครงการตาง ๆ เพื่อใหสอดคลองและแกปญหาดานทางดานสังคมเพื่อชวยเหลือประชาชนที่ประสบปญหา ดานโครงสรางพ้ืนฐาน แมวาพื้นท่ีสวนใหญขององคการบริหารสวนตําบลจะไดรับการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานอยางครอบคลุมทุกหมูบาน แตปญหาการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานไมไดคุณภาพและมาตรฐานก็ยังมีอยู ซึ่งเปนปญหาสําคัญที่ตองไดรับการแกไข โดยเฉพาะปญหาระบบประปา และแหลงนํ้าท่ีสําคัญของตําบล

ดานเศรษฐกิจและการทองเที่ยว พื้นท่ีสวนใหญขององคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีเปนพื้นขนาดใหญมี 11 หมูบาน พื้นท่ีสวนมากจะเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรมและรับจางทําใหมีรายไดจากภาคธุรกิจคอนขางนอย ดานการทองเที่ยวยังไมคอยเปนท่ีรูจักนักเม่ือเทียบกับแหลงทองเที่ยวตามฝงอันดามัน องคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรีมีนโยบายมุงเนนการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร โดยจะพัฒนาสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรใหเปนท่ีรูจักของนักทองเที่ยว รวมถึงการทองเที่ยวเกษตรเชิงอนุรักษ ซึ่งจะทําใหชุมชนทองถิ่นมีรายไดจากการทองเที่ยวถอืเปนการกระตุนเศรษฐกิจของตําบลอีกทางหนึ่ง ด านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม ใน เขตพื้ น ท่ี ขององคการบริหารส วนตํ าบล มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีสําคัญหลายอยาง ซึ่งแตละอยางลวนมีคุณคาตอชุมชน พื้นท่ีบางสวนใชเปนแหลงทํามาหากินของคนในชุมชนซึ่งพื้นท่ีเหลาน้ีมีความจําเปนตองไดรับการฟนฟูดานสิ่งแวดลอมเน่ืองจากปจจุบันไดเสื่อมโทรมอันเน่ืองมาจากขาดการดูแลที่เหมาะสม

Page 39: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ผลการวิเคราะหศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตของทองถิ่น จุดแข็ง 1. เปนพื้นท่ีท่ีมีความสําคัญทางประวัติศาสตรของชุมชนทองถิ่น 2. มีการบูรณาการทางวัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่นท่ีเปนเอกลักษณ 3. พื้นท่ีสวนใหญเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม 4. มีถนนสายหลักตัดผานพื้นท่ีตําบล จุดออน 1. พื้นท่ีบางสวนขาดแคลนสาธารณูปโภคพื้นฐานและยังไมไดมาตรฐาน 2. ขาดแคลนที่ดินสาธารณะประโยชน 3. พื้นท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจนอย 4. หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของใหความสําคัญกับประวัติศาสตรทองถิ่นนอย โอกาส 1. เปนศูนยรวมวัฒนธรรม ประเพณีท่ีเปนเอกลักษณ และประวัติศาสตรทองถิ่น 2. เปนแหลงรองรับการขยายฐานการทองเที่ยวและยกระดับมาตรฐานกิจกรรมและบริการใหทัดเทียมภาคเอกชน ขอจํากัด 1. มีจํานวนประชากรแฝงเพิ่มจํานวนมากขึ้น 2. ทรัพยากรนํ้ามีอยูจํากัด 3. รายไดของประชากรในพื้นท่ีเปนไปตามฤดูกาล

Page 40: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

บทที่ 4 วิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา

4.1 วิสัยทัศนในการพัฒนาทองถิ่น “มีความเปนเลิศทางการบริหาร ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สูตําบลเขมแข็ง” 4.2 พันธกิจ 1. พัฒนาการบริหารจัดการภายในองคการบริหารสวนตําบลใหมีประสิทธิภาพตอบสนองความตองการของชุมชน ตลอดจนสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาพื้นท่ี 2. มุงเนนใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการศึกษา มีอาชีพม่ันคง เด็ก สตรี คนชราและผูดอยโอกาสไดการดูแลเอาใจใส ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 3. พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานในทุก ๆ ดานใหเทาเทียมกันในทุกพื้นท่ี

4. สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดแหลงเรียนรูดานประวัติศาสตรของชุมชนทองถิ่น และดํารงไวซึ่งความเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น 5. คุมครองดูและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหนาอยูและพัฒนาใหเปนสถานที่ทองเที่ยวสําคัญของตําบล 4.3 จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา 1. การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น และมีชองทางในการรับรูขาวสารที่เพิ่มขึ้นตอบสนองตอความตองการ 2. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการศึกษา มีอาชีพท่ีม่ันคง และประชาชนผูดอยโอกาสไดรับการเอาใจใสดูแลอยางทั่วถึง 3. ประชาชนมีความเทาเทียมกันดานโอกาสในการเขาถึงสาธารณูปโภค 4. มีการสืบสาน วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และเผยแพรประวัติศาสตรของชุมชนใหเปนท่ีรูจัก 5. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีความอุดมสมบูรณ

Page 41: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

4.3 จุดมุงหมายเพื่อพัฒนาทองถิ่น

เปาหมาย จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน ป 53 - 57 ป 53 ป 54 ป 55 ป 56 ป 57

1. การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น และมีชองทางในการรับรูขาวสารที่เพิ่มขึน้ตอบสนองตอความตองการ

1. รอยละของประชาชนที่มาติดตองานไดรับความพึงพอใจเพิ่มขึ้น 2. จํานวนเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติงานที่มีความพรอมเพิ่มขึ้น 3. รอยละของราษฎรที่มีชองทางในการรับรูขอมูลขาวสาร

1. ประชาชนที่ไดรับความพึงพอใจรอยละ 50 2. เครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติงานที่มีความพรอมประมาณรอยละ 60 ของจํานวนเครื่องมือเครื่องใชทั้งหมด 3. ราษฎรไดรับขอมูลขาวสารรอยละ 70

75%

90%

95%

55%

70%

75%

60%

75%

80%

65%

80%

85%

70%

85%

90%

75%

90%

95%

2. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการศึกษา มีอาชีพที่มั่นคง และประชาชนผูดอยโอกาสไดรับการเอาใจใสดูแลอยางทั่วถึง

1. รอยละของนักเรียนที่ศึกษาตอระดับปริญญาตรี 2. รอยละของครัวเรือนที่มีรายไดและงานทําเพิ่มขึ้น

1. นักเรียนที่ศึกษาตอระดับปริญญาตรีรอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด 2. ครัวเรือนที่มีรายไดและงานทํา รอยละ 60

80%

85%

72%

65%

74%

70%

76%

75%

78%

80%

80%

85%

3. รอยละของผูดอยโอกาสที่ไดรับการชวยเหลือจากรฐัเพิ่มขึ้น

3. ผูดอยโอกาสที่ไดรับการชวยเหลือจากรัฐ รอยละ 60

90% 70% 75% 80% 85% 90%

Page 42: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

เปาหมาย จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน

ป 53 - 57 ป 53 ป 54 ป 55 ป 56 ป 57 3. ประชาชนมีความเทาเทียมกันดานโอกาสในการเขาถึงสาธารณูปโภค

1. รอยละของครัวเรือนที่มีการคมนาคมสะดวกและปลอดภัย 2. รอยละของประชาชนที่มีความปลอดภัยในการใชเสนทางจราจร 3. รอยละของครัวเรือนที่มีน้ําอุปโภคบริโภค 4. รอยละของครัวเรือนที่มีโทรศัพทบานและโทรศัพทสาธารณะใช

1. ครัวเรือนที่มีการคมนาคมสะดวกขึ้น มีรอยละ 60 ของครวัเรือนทั้งหมด 2. ประชาชนมีความปลอดภัยในการใชเสนทางจราจร รอยละ 60 ของประชากรทั้งหมด 3. ครัวเรือนมีน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค รอยละ 70 ของครัวเรือนทั้งหมด 4. ครัวเรือนที่มีโทรศัพทบานและโทรศัพทสาธารณะใช รอยละ 60

90%

90%

95%

74%

70%

65%

75%

66%

75%

75%

80%

68%

80%

80%

85%

70%

85%

85%

90%

72%

90%

90%

95%

74%

4. มีการสืบสาน วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และเผยแพรประวัติศาสตรของชุมชนใหเปนที่รูจัก

1. รอยละของประเพณี วัฒนธรรมทองถิ่นที่ไดรับการฟนฟู 2. รอยละของประชาชนที่เขารมโครงการดานการอนุรักษ วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น

1. ประเพณี วัฒนธรรมทองถิ่นที่ไดรับการฟนฟูแลวรอยละ 60 2. ประชาชนที่เขารวมโครงการดานการอนุรักษ วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ประมาณ รอยละ 60 ของประชาชนทั้งหมด

75%

90%

55%

70%

60%

75%

65%

80%

70%

85%

75%

90%

5. ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอมมีความอุดมสมบูรณ

1. รอยละของประชาชนที่มีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1. ประชาชนที่มีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอมรอยละ 60 ของประชาชนทั้งหมด

85% 65% 70% 75% 80% 85%

Page 43: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก
Page 44: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

บทที่ 5 ยุทธศาสตรการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาทองถิ่น

ยุทธศาสตรการพัฒนา แนวทางการพัฒนา หนวยงานที่รับผิดชอบ

1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการเมืองการบริหาร 1.1 ปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร สํานักงานปลัด 1.2 ปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานองคกรใหมีความเปนเลิศเพิ่ม

ประสิทธิภาพการบริการประชาชน ทุกสวนราชการ

1.3 ปรับปรุงและพัฒนารายได สวนการคลงั 1.4 ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใชและสถานที่ปฏิบัติงาน ทุกสวนราชการ 1.5 พัฒนาความรูและทักษะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชกับ

ระบบงานในองคกร สํานักงานปลัด

1.6 พัฒนาและสงเสริมศูนยคอมพิวเตอรประจําตําบล สํานักงานปลัด 1.7 สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล ทุกสวนราชการ 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคม 2.1 ปองกันและสงเสริมสขุภาพอนามัยของประชาชน สวนสาธารณสขุและสิง่แวดลอม 2.2 สงเสริมการศึกษา สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.3 พัฒนาและยกระดับมาตรฐานการศึกษา สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.4 สงเสริมการอนุรักษ ศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.5 สงเสริมกิจกรรมและนันทนาการ สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.6 สงเสริมสวสัดิการสังคม สํานักงานปลัด 2.7 สงเสริมการรักษาความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิตและ

ทรัพยสิน สํานักงานปลัด

Page 45: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ยุทธศาสตรการพัฒนา แนวทางการพัฒนา หนวยงานที่รับผิดชอบ 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน 3.1 กอสราง ปรบัปรุง บํารุงรักษา ถนน สะพาน คูระบายน้ําและทาเทียบเรือ สวนโยธา 3.2 พัฒนาระบบจราจรและขยายเขตไฟฟา สวนโยธา 3.3 พัฒนาระบบแหลงน้ํา สวนโยธา 3.4 พัฒนาระบบการสื่อสารและโทรคมนาคม สวนโยธา 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจและการทองเที่ยว 4.1 พัฒนาและสงเสริมอาชีพ สํานักงานปลัด 4.2 พัฒนาสินคาและผลิตภัณฑชุมชน (OTOP) ใหมีมาตรฐาน สํานักงานปลัด 4.3 พัฒนาและสงเสริมศูนยสินคาชุมชน สํานักงานปลัด 4.4 พัฒนาสถานที่ทองเที่ยวภายในตําบล สํานักงานปลัด 4.5 บูรณะ ฟนฟูสถานที่สําคัญทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร สวนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4.6 จัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษแบบหมูบาน สํานักงานปลัด 5. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5.1 สรางจิตสํานึกและความตระหนักในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม สวนสาธารณสขุและสิง่แวดลอม

5.2 การบําบัดและฟนฟ ู สวนสาธารณสขุและสิง่แวดลอม 5.3 ปรับปรุงภูมิทัศน สวนสาธารณสขุและสิง่แวดลอม

Page 46: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

บทที่ 6 การนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่นไปสูการปฏิบัติและการติดตามประเมินผล

6.1 องคกรรับผดิชอบในการตดิตามและประเมินผล ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ขอ 28 กําหนดใหมีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาทองถิ่น ซึ่งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองปและอาจไดรับการคัดเลือกอีกได เพื่อปฏิบัติใหเปนไปตามระเบียบกฎหมายกําหนด องคการบริหารสวนตําบลเทพไดออกคําสั่งที่ 005/2551 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี ลงวันท่ี 2 มกราคม 2551 ประกอบดวย

(1) นายสมคิด แซตอง สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล กรรมการ (2) นายสุรศักด์ิ พรหมบุตร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล กรรมการ (3) นางสาวเตือนใจ สุขบรรจง สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล กรรมการ (4) นางสุทธิกุล รัตนาคณนุตานนท ผูแทนประชาคมทองถิ่น กรรมการ (5) นายสมนึก ชลกิจ ผูแทนประชาคมทองถิ่น กรรมการ

(6) นายเชาวลิต กลอมเกลา ผูอํานวยการโรงเรียนวัดเทพกระษัตรี กรรมการ (7) นายอานนท แกวบํารุง รักษาการในตําแหนงผูอํานวยการโรงพยาบาลถลาง กรรมการ (8) นายสิงหทอง อุกกุฏานนท ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ (9) นายสาคร เย็นจิตร ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ

(10) นายพรศักด์ิ สวัสดิเวช หัวหนาสวนการคลัง กรรมการ (11) นายวุฒธิ เพ็ญศรี หัวหนาสํานักงานปลัด กรรมการ

ใหคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลเทพกระษัตรี มีอํานาจหนาท่ี ดังน้ี (1) กําหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (2) ดําเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (3) รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งไดจากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อใหผูบริหารทองถิ่นเสนอตอสภาทองถิ่น คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาใหประชาชนในทองถิ่นทราบโดยทั่วกันอยางนอยปละหนึ่งครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของทุกป ท้ังน้ีใหปดประกาศโดยเปดเผยไมนอยกวาสามสิบวัน (4) แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อชวยปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร

6.2 วิธีการติดตามและประเมินผล องคการบริหารสวนตําบลเทพไดนําระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนและประเมินผลการใชจายงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (E-PLAN) มาประกอบการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล โดยชวงระยะเวลาในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล คือ ระหวาง 1 ตุลาคม ของปหน่ึง ถึงวันท่ี 30 กันยายน ของปถัดไป โดยถือปฏิบัติตามหนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นดวนที่สุด ท่ี มท 0810.5/ว 2329

Page 47: บทที่ 1 บทนำ - thepkrasattri.go.th · พรบ.สภาตําบลและองค การบริหารส วนตําบล พ.ศ. 2537 แก

ลงวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2551 เปนแนวทางในการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ซึ่งมีขอบเขตการติดตามและประเมินผล ดังน้ี

- วิสัยทัศนองคการบริหารสวนตําบล - พันธกิจองคการบริหารสวนตําบล - ยุทธศาสตรการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล - การวางแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล - การจัดทํางบประงบประมาณ - การใชจายงบประมาณ - ผลการดําเนินงานอื่น ๆ