เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter...

23
บทที3 เครื่องจักร 3.1 ความนํา เครื่องจักรที่ใชกับงานชางเกษตร สวนใหญเปนเครื่องจักรที่ใชในการปรับแตงวัสดุใหไดรูปรางตาม ตองการ เชน การตัด การเจาะรู การพับ การทําใหชิ้นงานมีรูปทรงกลม ทรงกระบอก ทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงสี่เหลี่ยมผืนผา เปนตน เครื่องจักรที่ใช ไดแก เครื่องตัดโลหะแผน เครื่องพับโลหะแผน เครื่องมวน โลหะแผน เครื่องขึ้นขอบโลหะแผน เครื่องกลึงสําหรับงานไมและงานโลหะ และเครื่องไส เปนตน บทนีจะเนนถึงเครื่องจักรที่ใชกับโลหะ เพื่อใหสามารถใชงานไดอยางถูกตอง 3.2 เครื่องจักรที่ใชในงานโลหะแผนบาง งานโลหะแผน จําเปนตองใชเครื่องจักรเพื่อชวยในการปรับแตงใหมีขนาดและรูปทรงตาง ตาม ตองการ เครื่องจักรที่ใชกับงานโลหะแผนบางมีหลายชนิดดังนี3.2.1 เครื่องตัดโลหะแผนบาง เครื่องตัดโลหะแผนบาง เปนเครื่องจักรที่ใชสําหรับตัดโลหะแผนบางที่มีความหนาไมเกิน 1 มิลลิเมตร การตัดเปนการตัดตามแนวเสนตรงที่มีลักษณะเปนมุมฉาก สี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือสี่เหลี่ยมผืนผา วัสดุที่ใชตัดเปนเหล็กชนิดเหล็กอาบสังกะสี แผนอลูมิเนียม แผนทองเหลือง แผนทองแดง ตนกําลังที่ใชใน การตัดโลหะแผนมีชนิดใชเทาเหยียบและใชมอเตอรไฟฟา ภาพที3.1 เครื่องตัดโลหะแผนชนิดใชเทาเหยียบ

Transcript of เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter...

Page 1: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

บทที่ 3 เครื่องจักร

3.1 ความนํา

เครื่องจักรที่ใชกับงานชางเกษตร สวนใหญเปนเครือ่งจักรที่ใชในการปรับแตงวสัดุใหไดรูปรางตาม

ตองการ เชน การตัด การเจาะรู การพับ การทําใหช้ินงานมีรูปทรงกลม ทรงกระบอก ทรงสี่เหล่ียมจัตุรัส

ทรงสี่เหล่ียมผืนผา เปนตน เครื่องจักรที่ใช ไดแก เครื่องตัดโลหะแผน เครื่องพับโลหะแผน เครื่องมวน

โลหะแผน เครื่องขึ้นขอบโลหะแผน เครือ่งกลึงสําหรับงานไมและงานโลหะ และเครื่องไส เปนตน บทนี้

จะเนนถึงเครื่องจักรที่ใชกับโลหะ เพื่อใหสามารถใชงานไดอยางถูกตอง 3.2 เครื่องจกัรท่ีใชในงานโลหะแผนบาง

งานโลหะแผน จําเปนตองใชเครื่องจักรเพื่อชวยในการปรับแตงใหมีขนาดและรปูทรงตาง ๆ ตาม

ตองการ เครื่องจักรที่ใชกับงานโลหะแผนบางมีหลายชนดิดังนี ้

3.2.1 เคร่ืองตดัโลหะแผนบาง เครื่องตัดโลหะแผนบาง เปนเครื่องจักรที่ใชสําหรับตดัโลหะแผนบางที่มีความหนาไมเกนิ 1

มิลลิเมตร การตัดเปนการตดัตามแนวเสนตรงที่มีลักษณะเปนมุมฉาก ส่ีเหล่ียมจัตรัุส หรือส่ีเหล่ียมผืนผา

วัสดุที่ใชตดัเปนเหล็กชนดิเหล็กอาบสังกะสี แผนอลูมิเนียม แผนทองเหลือง แผนทองแดง ตนกําลังที่ใชใน

การตัดโลหะแผนมีชนิดใชเทาเหยยีบและใชมอเตอรไฟฟา

ภาพที่ 3.1 เครื่องตัดโลหะแผนชนิดใชเทาเหยยีบ

Page 2: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

60

ภาพที่ 3.2 เครื่องตัดโลหะแผนชนิดใชมอเตอรไฟฟา

3.2.2 เคร่ืองพับโลหะแผนบาง เครื่องพับโลหะแผนบาง เปนเครื่องจักรที่ใชสําหรับพบัโลหะแผนบางที่มีความหนาไมเกนิ 1

มิลลิเมตร ช้ินสวนของเครื่องประกอบดวยฐานเครื่องที่ทําจากเหลก็หลอ และเหล็กแผนพับ ทํางานโดยการ

โยกคันโยกเหล็กพับใหพับโลหะแผนตามมุมที่ตองการ เชน พับมุมแหลม พับมุมฉาก พับงอเกี่ยวตะเขบ็

การโยกเหล็กพับมีชนิดใชมอืโยกและใชมอเตอรไฟฟา

ภาพที่ 3.3 เครื่องพับโลหะแผนชนิดใชมอืโยก

Page 3: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

61

ภาพที่ 3.4 เครื่องพับโลหะแผนชนิดใชมอเตอรไฟฟา

3.2.3 เคร่ืองมวนโลหะแผนบาง เครื่องมวนโลหะแผนบาง เปนเครื่องจักรที่ใชสําหรับมวนโลหะแผนบางที่มีความหนาไมเกิน 1.5

มิลลิเมตร หรือ 1.75 มิลลิเมตร ช้ินสวนเครื่องประกอบดวยฐานเครือ่ง ลูกกลิ้งตัวบน ลูกกลิ้งตวัลาง และ

ลูกกลิ้งตัวหลัง สามารถมวนโลหะใหมีรูปรางทรงกระบอก ใหมีรัศมีระยะตาง ๆ ได โดยการปรับลูกกลิ้งตัว

หลังขึ้นลง เพือ่ปรับรัศมี การมวนโลหะทาํโดยการหมนุลูกกล้ิงโดยใชมือหมุนหรือมอเตอรไฟฟา

ภาพที่ 3.5 เครื่องมวนโลหะแผนชนดิใชมือหมุน

Page 4: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

62

ภาพที่ 3.6 เครื่องมวนโลหะแผนชนดิใชมอเตอรไฟฟา

3.2.4 เคร่ืองขึ้นรูปโลหะแผน เครื่องขึ้นรูปโลหะแผน เปนเครื่องจักรที่ใชสําหรับขึ้นรูปโลหะแผนบาง ใหมีรูปทรงตาง ๆ ที่มี

ลักษณะเปนผิวโคง เครื่องขึ้นรูปโลหะแผนจะมีลักษณะและหลักการทํางานเหมือนกัน คือ มีลูกกลิ้งคูหนึ่งที่เปนตัวขึน้รูปลักษณะตางๆ กัน มีสกรูปรับระยะระหวางลูกกล้ิง มีเกจสําหรับตั้งระยะหางขอบและมีมือหมุน โดยหมนุเฟองที่อยูภายในเครื่องใหหมุนลูกกลิ้งอีกตอหนึ่ง เครื่องขึ้นรูปมีหลายลักษณะ จะเรียกชื่อตามลักษณะงานดงัตอไปนี ้

3.2.4.1 เคร่ืองเทอรนนิ่ง (Turning Machine) ใชสําหรับงานรูปทรงกระบอก แผนโลหะวงกลม เพื่อข้ึนขอบเขาขอบลวด หรือเพื่อเพิ่มความแข็งแรงโดยใหมีลักษณะเปนลอน

ภาพที่ 3.7 เครื่องเทอรนนิ่ง

Page 5: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

63

3.2.4.2 เคร่ืองเบอรร่ิง (Burring Machine) ใชสําหรับทําตะเข็บขอบกนกระปอง มีลักษณะเหมือนเทอรนนิ่ง แตขอบจะคมกวา (เทอรนนิ่งขอบจะโคงมน)

ภาพที่ 3.8 เครื่องเบอรร่ิง

3.2.4.3 เคร่ืองครีมปง (Crimping Machine) ใชสําหรบัทําจีบยน เพือ่ใหลดขนาดทอลงสําหรับสวมกับทอที่มขีนาดเทากนัหรือเพิ่มความแข็งแรงใหช้ินงาน

ภาพที่ 3.9 เครื่องครีมปง

Page 6: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

64

3.2.4.4 เคร่ืองไวรร่ิง (Wiring Machine) ใชสําหรับเขาขอบลวด เปนการใชที่ลําดับขั้นการ

ทํางานตอจากเครื่องเทอรนนิ่ง เพื่อใหขอบโลหะติดแนนกับเสนลวด

ภาพที่ 3.10 เครื่องไวรร่ิง

3.2.4.5 เคร่ืองเซ็ทติ้งดาวน (Setting down Machine) ใชสําหรับกดหรือบีบ ตะเขบ็ หรือขอบ

ตาง ๆ ใหสนิทแนบแนน เชน ตะเข็บหรือขอบกนกระปอง เปนตน ลักษณะการใชงาน ใชตอจากเครื่อง

เบอรร่ิง

ภาพที่ 3.11 เครื่องเซ็ทติ้งดาวน

Page 7: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

65

3.2.4.6 เคร่ืองดับเบิ้ลซีม (Double seam Machine) ใชสําหรับบีบหรือกดตะเข็บที่ผานขั้นตอน

ของเครื่องเซ็ทติ้งดาวนเพื่อใหตะเข็บแนนเรียบรอยไมยน จากการพับแบบ Single seam เปน Double seam

ของกนกระปอง

ภาพที่ 3.12 เครื่องดับเบิ้ลซีม

3.3 เครื่องกลึง (Lathe) เครื่องกลึง เปนเครื่องจักรทีน่ิยมใชงานมานาน ใชสําหรบักลึงวัสดุใหมีรูปทรงกระบอกและมีลวดลาย

ตาง ๆ ใชในการทําเกลียว เพื่อผลิตช้ินสวนเครื่องกล ใหมีขนาด และรูปรางตามตองการ เครื่องกลึงมีแบบ

ตาง ๆ ใหเลือกใชหลายแบบดวยกัน เชน เครื่องกลึงแบบเอ็นยิ่น (Engine Lathe) เครื่องกลึงแบบตั้งโตะ

(Bench Lathe) เครื่องกลึงแบบตั้งพื้น (Precision Lathe) และ เครื่องกลึงแนวตั้ง (Vertical Turret Lathe) เปน

ตน ปจจุบันมกีารนําเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรมาใชกับเครื่องกลึง ทําใหเครื่องกลึงมีความสามารถในการ

ทํางานไดมากขึ้น มีความถกูตอง ละเอยีด เที่ยงตรง และไดมาตรฐาน ชวยลดเวลาในการทํางาน ลดการ

ส้ินเปลืองวัสด ุและตนทนุการผลิตลงได

เครื่องกลึงที่นิยมใชงาน สวนใหญจะเปนประเภทเอน็ยิน่ มีโครงสรางที่ทําดวยเหล็กหลอมีน้ําหนกั

มากและความแข็งแรงสูง เพือ่ปองกันการสั่นสะเทือนขณะใชงาน

Page 8: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

66

ภาพที่ 3.13 เครื่องกลึงเอ็นยิ่น

ภาพที่ 3.14 เครื่องกลึงอัตโนมัติควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร

3.3.1 สวนประกอบของเครื่องกลึง

เครื่องกลึง มีสวนประกอบทีสํ่าคัญดังนี้

3.3.1.1 สะพานแทนเคร่ือง (Bed) เปนรางเลื่อน สําหรับใหชุดแทนเลื่อนไปมาได ทําดวย

เหล็กหลอหรือเหล็กเหนียว ระหวางรางเลื่อนจะมีครีบเสริมความแข็งแรง ผิวของสะพานแทนเครือ่งจะผาน

การชุบแข็งและเจยีรนัย มีการขูดผิวเพื่อใหน้ํามันจับเปนฟลมบาง ๆ เพื่อทําการหลอล่ืนและลดการเสียดสี

ของสายพานกบัชุดแทนเล่ือน

Page 9: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

67

3.3.1.2 หัวเคร่ือง (Head Stock) เปนทีต่ิดตั้งชุดเพลาหัวเครื่อง (Spindle) โดยยึดกับโครง

เครื่องมีแบริ่งรองรับเพลาหัวเครื่องเปนเพลากลวง เพื่อใหสอดช้ินงานที่มีความยาวมากผานเพลาเครื่องได ที่

หัวเครื่องจะมชุีดเฟองทด เพื่อปรับเปลี่ยนความเร็วรอบการทํางาน ปกติการเปลี่ยนความเร็วรอบจะเปลี่ยน

ไดไมนอยกวา 8 ระดับความเร็วรอบ มีความเร็วอยูระหวาง 45 รอบตอนาที (RPM) ถึง 2,000 รอบตอนาที

เฟองทดจะผานการชุบแข็งเพื่อตานทานการสึกหรอ และจะมีระบบหลอล่ืนเฟอง โดยใชปมน้ํามนั และทอ

สงน้ํามันไปยังจุดที่ตองการหลอล่ืน

3.3.1.3 ระบบปอน (Feed mechanism) เปนระบบที่ใชในการปอนอัตราการกลึง ลักษณะเปน

ชุดเฟองทด จากหัวเครื่องสงกําลังยังชุดเฟองเปลี่ยน สามารถปรับอัตราการกลึงตามแนวยาว และตามแนว

ขวาง มีความหยาบ ละเอยีด ไมนอยกวา 10 ขั้น การปรับเปลี่ยนการกลึงเกลียวทัง้ระบบเมตริกและระบบ

อังกฤษ

3.3.1.4 ชุดแทนเลื่อน (Carriage) เปนสวนประกอบทีใ่ชควบคมุ และรองรับเครื่องมือตัด ใช

เคล่ือนอุปกรณเครื่องมือตัดใหเล่ือนตามแนวยาว และแนวขวางกับสะพานแทนเครื่อง ชุดแทนเครื่อง

ประกอบดวยอุปกรณตาง ๆ ดังนี ้

1) อาน (Saddle) เปนชุดรองรับที่เล่ือนไปมาบนราง

2) ชุดกลองเฟอง(Apron) ประกอบดวยชุดสงกําลังที่ใชมือหมุนขับเคลื่อนชุดเฟองหรือ

ใชสวนประกอบของเครื่องกลึงสงกําลังขับ

3) ชุดปอนมีดตามขวาง (Cross slide) เปนชุดเลื่อนปอนมีดกลึงเขา-ออก ตามแนวขวาง

เพื่อปาดหนา

4) ชุดปอนมดีตามแนวยาว (Compound rest) เปนชุดเคลื่อนมีดกลึงตามแนวยาว

สามารถปรับมุมได

5) ปอมมีด (Tool post) เปนชุดจับมีดกลึงเพื่อใชกลึงงาน

3.3.1.5 ชุดศนูยทายเครื่อง (Tail Stock) เปนอุปกรณจับศูนยดานทายแทน ประกอบดวย

ปลอกเพลา (Spindle) สามารถเลื่อนเขาออกได และนําอุปกรณอ่ืนมาประกอบได เชน ศูนยเปน ศูนยตาย

ดอกสวานกานเรียว

Page 10: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

68

ภาพที่ 3.15 สวนประกอบทีสํ่าคัญของเครื่องกลึง

3.3.2 อุปกรณประกอบของเครื่องกลึง

เครื่องกลึง จะตองมีอุปกรณที่ใชประกอบในการปฏิบัติงานดังนี ้3.3.2.1 หัวจับ (Chuck) เปนอุปกรณที่ใชในการจับชิ้นงาน มีรูปรางตาง ๆ หวัจับเครื่องกลึงมี

2 ชนิด คือ หัวจับชนดิ 3 จบัฟนพรอม (A Three-Jaw Universal Geared Scroll Chuck) และหวัจบัชนิด 4 จับฟนอิสระ (A Four-Jaw Independent Chuck) หวัจับทั้ง 2 ชนิดทําหนาที่จบัชิ้นงานกลึง ซ่ึงหัวจับชนิด 3 จับฟนพรอมสามารถจับชิ้นงานไดรวดเรว็ และสามารถจับชิ้นงานที่มีรูปรางกลม สามเหลี่ยมและหกเหลี่ยม สวนหัวจับชนิด 4 จับฟนอิสระ สามารถจับชิ้นงานไดทกุรูปแบบ

ภาพที่ 3.16 หัวจับชนดิ 3 จับฟนพรอม

Page 11: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

69

ภาพที่ 3.17 หัวจับชนดิ 4 จบัฟนอิสระ

3.3.2.2 หนาจานพา (Face plate) เปนอุปกรณจับศูนยช้ินงานที่ประกอบเขากับเพลาหัวเครื่อง

หนาจานพามหีลายแบบดวยกัน ไดแก หนาจานพาแบบมีรอง หนาจานพาแบบมีเดอืย และ หนาจานพาแบบ

มีฝาครอบ

ภาพที่ 3.18 หนาจานพา

3.3.2.3 หวงพา (Lathe dog) เปนอุปกรณจับยดึทรงกระบอกเพื่อใชจับงานยนัศนูยหวัทาย

หวงพามีอยู 2 แบบ คอื หวงพาแบบขางอ และหวงพาแบบใหสกรูหวัฝง

ภาพที่ 3.19 หวงพา

Page 12: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

70

3.3.2.4 ศูนยทายแทนแบบศนูยตาย (Dead center) เปนอุปกรณจับยึดช้ินงานแบบยนัศูนยหัว

ทาย ทําใหช้ินงานแกวงนอยลง มีลักษณะตาง ๆ ไดแก ยันศูนยตาย ยนัศูนยแบบผาครึ่ง ยันศูนยจบัทอ และ

ยันศูนยรองงานแบบทรงกระบอก เปนตน

ภาพที่ 3.20 ศนูยทายแทน

3.3.2.5 ปอมมีด (Tool post) เปนอุปกรณจบัยึดมีดกลึง เพื่อกลึงชิ้นงาน ปอมมีดมีหลายแบบ

ดัวยกัน เชน แบบปรับความสูงมีดโดยใชล่ิมโคง แบบใชสลักเกลียวปรับแรงกด แบบจับยึดมดีไดดามเดยีว

และแบบ 4 จบั เปนตน

ภาพที่ 3.21 ปอมมีด

Page 13: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

71

3.3.2.6 กันสะทาน (Steady rest) เปนอุปกรณพิเศษ ใชสําหรับจับงานตรงกลางกรณีมช้ิีนงาน

ที่มีความยาวมาก เนื่องจากชิน้งานที่ยาวมาก จะมกีารแอนตัวและสปริงตัวขณะกลึง จึงตองจับประคอง

ช้ินงาน ตัวกันสะทานที่นยิมใช ไดแก กนัสะทานแบบยดึอยูกับที่ และกันสะทานแบบเคลื่อนที่

ภาพที่ 3.22 กนัสะทาน

3.3.2.7 มีดกลึง (Tool bits) ใชสําหรับตัดชิ้นงาน จะตองมีคุณสมบัติที่ดี คือมีความแขง็

เหนยีว ทนความรอนสูง สึกหรอไดยาก วสัดุที่ทํามีดกลงึไดแก เหล็กทําเครื่องมือคารบอนธรรมดา (Cabon

steel) มีสวนผสมคารบอน 0.5 – 1.5 เปอรเซ็นต คงความแข็งไดถึงอุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียส เหล็กทํา

เครื่องมือเหล็กรอบสูง (High Speed steel) คงความแขง็ไดถึงอุณหภมูิ 600 องศาเซลเซียส สามารถกลึงงาน

ที่ความเร็วรอบสูงได เหล็กโลหะแข็ง (Carbide tip) เปนวัสดุพวกทงัสเตนคารไบด โดยท่ัวไปเรียกวา “มีด

เล็บ” คงความแข็งไดถึงอุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียส สามารถกลึงเหล็กแข็งที่มีความเร็วรอบสูงได มีดเล็บ

ทําดวยเพชรและเซรามิค เปนมีดเล็บที่มีความแข็งมากทีสุ่ด

ภาพที่ 3.23 มดีกลึง

Page 14: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

72

3.3.3 การใชงานเครื่องกลึง เครื่องกลึงเปนอุปกรณที่สรางสําหรับผลิตชิ้นสวนตาง ๆ วัสดุที่นํามาใชงาน ไดแก เหล็ก

ทองแดง ทองเหลือง และอโลหะ เชน ไม พลาสติก ลักษณะงานทีใ่ชเครื่องกลึงผลิต ไดแก งานกลึงปอก (Straight turning) งานกลึงปาดหนา (Facing) การกลึงขึ้นรูป (Forming) งานกลึงเซาะรอง (Necking) งานกลึงเรียว (Taper turning) งานควาน (Boring) งานกลึงลอกแบบ (Copy turning) งานกลึงเกลียว (Threading) งานพิมพลาย (Knurling) และงานกลึงตดัชิน้งาน (Parting) เปนตน

ภาพที่ 3.24 การใชงานเครื่องกลึง

Page 15: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

73

3.4 เครื่องไส (Shaping Machine) เครื่องไส เปนเครื่องจักรที่ใชลดขนาดชิ้นงานใหมีรูปทรงตาง ๆ เชน งานไสรองล่ิม งานไสรองหาง

เหยีย่ว และงานไสเฟองตรง เปนตน การทํางานของเครื่องไสเกิดขึ้นระหวางมีดไสกับชิ้นงาน ตัวมีดไสจะเคลื่อนทีท่ําการตัดเฉือนผิวงานออกใหเปนรูปรางตามตองการ กอนที่จะทําการไสเตรียมมีดสําหรับงานไสตามลักษณะงาน การไสผิวงานเรียบปอมมีดจะตัง้ฉากกับผิวงาน แตสําหรับการไสผิวเอียงสามารถที่จะทําการปรับหัวไสใหไดมมุตามองศาที่กาํหนดใหหรือจะทําการปรับฟอรมมีดใหเหมาะสมกับงาน ขอควรระวังคือ ขณะทําการไสชิ้นงานไมควรยืนตรงหนาเครื่องไส เพราะจะเกดิอันตรายจากเศษโลหะที่กระเดน็และปองกันความปลอดภยัที่เกิดจากการงดัของชิ้นงาน เครื่องไสแบงชนิดออกไดดงันี้

3.4.1 เคร่ืองไสนอน (Shaper)

เครื่องไสนอน หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “เครื่องไสชวงสั้น” เปนเครื่องไสที่นิยมใชกนัมาก มีการ

ทํางานโดยมดีไสจะเคลื่อนทีเ่ขาหาชิ้นงานที่ยึดติดกับปากกา โดยท่ีมดีไสเคลื่อนที่ไปขางหนาจะเปนจังหวะ

การทํางาน ทําการตัดชิ้นงาน สวนจังหวะถอยหลังจะเปนจังหวะปลอย มีดไสจะไมสัมผัสชิ้นงาน

ภาพที่ 3.25 เครื่องไสชวงสั้น

3.4.2 เคร่ืองไสชวงยาว (Planer)

เครื่องไสชวงยาว เปนเครื่องไสที่รูปรางคลายกับเครื่องไสนอน แตจะแตกตางกันทีช้ิ่นงานและ

โตะงานจะเคลือ่นที่ไปพรอมกัน สวนมดีไสจะอยูกับที่ เหมาะสําหรับการไสงานที่มขีนาดใหญ

Page 16: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

74

ภาพที่ 3.26 เครื่องไสชวงยาว

3.4.3 เคร่ืองไสแนวดิ่ง (Slotting machine)

เครื่องไสแนวดิ่ง เปนเครื่องไสที่มีการทํางานโดยมีดไสจะเคลื่อนที่ขึน้ลงในแนวดิง่ โตะงาน

สามารถหมุนไดรอบตัว สวนใหญจะใชงานไสรองล่ิมของเฟองรองสปายภายในร ู

ภาพที่ 3.27 เครื่องไสแนวดิง่

Page 17: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

75

3.5 เครื่องกัด (Milling machine) เครื่องกัด เปนเครื่องจักรที่ใชในการปรับแตงชิ้นงานใหมีรูปทรงตาง ๆ เชน งานกดัรองล่ิม งานกัดเฟอง

ลักษณะตาง ๆ งานผายปากรู งานปาดหนาชิ้น งานประกบฉาก งานทําแมพิมพโลหะ งานทําแมพิมพ

พลาสติก งานเซาะรอง งานเจาะ และงานควาน เปนตน

3.5.1 ชนิดของเครื่องกัด

เครื่องกัดแบงออกได 3 ชนดิไดแก เครื่องกัดแบบเขา เครื่องกัดแบบผลิต และเครื่องกัดแบบพิเศษ

3.5.1.1 เคร่ืองกัดแบบเขา (Knee Milling machine) เปนเครื่องกัดที่ทําการกดัช้ินงานไดทั้ง

แนวนอนและแนวดิ่ง ซ่ึงมีลักษณะการใชงานจะใชอยู 3 แบบ ดังนี ้

1) เคร่ืองกัดแนวนอน (Horizontal milling machine) เปนเครื่องกัดที่มีดกัดอยูใน

แนวนอนสําหรับใชกัดผิวของชิ้นงานเปนกดัผิวแนวราบ บา ขอบ และกดัเปนเฟองไดดวย

ภาพที่ 3.28 เครื่องกัดแนวนอน

2) เคร่ืองกัดแนวตั้ง (Vertical Milling machine) เปนเครื่องกัดที่มดีกัดอยูในแนวตั้ง

สําหรับใชกัดช้ินงาน แบบกดัรองตรง รองโคง รองเปนบา ขอบ รองหัวตัวที รองยาวตามขนาด และรองยาว

ตลอดชิ้นงาน เปนตน

Page 18: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

76

ภาพที่ 3.29 เครื่องกัดแนวตัง้

3) เคร่ืองกัดเอนกประสงค (Universal Milling machine) เปนเครื่องกัดที่มีดกัดอยูใน

แนวนอนและแนวตั้ง สมารถกัดชิ้นงานไดรูปรางตาง ๆ ตามตองการ

ภาพที่ 3.30 เครื่องกัดเอนกประสงค

Page 19: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

77

3.5.1.2 เคร่ืองกัดแบบผลติ (Bed type) เปนเครื่องกัดที่ใชสําหรับชิ้นงานที่มีความยาวมากหรือมีการกัดชิ้นงานที่ตอเนื่อง และชิ้นงานมจีํานวนมาก สวนมากใชในการผลิตช้ินสวนอุปกรณอะไหลที่ใชงานอยูเสมอ

ภาพที่ 3.31 เครื่องกัดแบบผลิต

3.5.1.3 เคร่ืองกัดแบบพิเศษ (CNC Milling machine) เปนเครื่องกัดที่ออกแบบเพือ่ใชงานพิเศษ

ภายในขอบเขตที่จํากัดโดยเฉพาะ ซ่ึงถาใชปฏิบัติงานที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะชิน้งาน จะมีประสิทธิภาพสูง

กวาเครื่องกดัแบบอื่น ๆ เครื่องกัดแบบพิเศษแบงออกได 3 แบบดวยกัน คือ เครื่องกัดชนดิลอกแบบ

เครื่องกัดควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร และเครื่องกัดเครื่องมือ

ภาพที่ 3.32 เครื่องกัดแบบพิเศษ

Page 20: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

78

3.5.2 อุปกรณประกอบเครื่องกัดแนวนอน

เครื่องกัดแนวนอน จะตองมอุีปกรณที่ใชประกอบในการปฏิบัติงานดังนี้

3.5.2.1 แกนเพลายึดมีดกัด (Arbor) เปนเพลาสําหรับจับยึดมดีกลัด เพื่อทําการตดัเฉือนงานบน

เครื่องกัด

ภาพที่ 3.33 แกนเพลายดึมีดกัด

3.5.2.2 ปากกาจับงาน (Machine Vice) เปนอุปกรณจับยึดชิ้นงานบนเครื่องกัด มีหลายแบบ เชน

ปากกาแบบหมุนไดรอบตัว ปากกาปรับมุมแนวดิ่ง ปากกาหมนุไดและปรับมุมได ปากกาจับงานขนาดยาว

โดยใชปากจับ 2 ชุด ปากกา 3 ชุด เปนตน

ภาพที่ 3.34 ปากกาจับงาน

3.5.2.3 แทนจับงาน (Rotary Table) เปนแทนจับงานทีใ่ชรวมกับอุปกรณจับยึดงานแบบตาง ๆ

โดยเอาระบบหัวแบงเขามาใชรวมดวย

ภาพที่ 3.35 แทนจับงาน

Page 21: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

79

3.5.2.4 ชุดจับดอกกัด (Collet Holder) ใชสําหรับจับยดึดอกกดัและดอกสวานขนาดตาง ๆ มีขนาดตั้งแต 4-20 มิลลิเมตร

ภาพที่ 3.36 ชุดจับดอกกัด

3.5.2.5 หัวแบง (Dividing Head) เปนชุดประกอบบนเครื่องกัดใชแบงชิ้นงานในลักษณะตาง ๆ ตามที่ตองการใหมีจํานวนดานเทา ๆ กัน เชน จับและกัดงาน 6 เหล่ียม กัดชิ้นงานทรงกระบอก กดัชิ้นงานทําเฟอง เปนตน

ภาพที่ 3.37 หวัแบง

3.5.2.6 อุปกรณจับยึด (Clamping) เปนอปุกรณที่ใชในการจับยึดชิน้งานขนาดใหญที่ไมสามารถ

จับดวยปากกาได มีหลายรูปแบบ เชน Plain clamp, Step clamp, Fork clamp, Adjustable cranked clamp

เปนตน

ภาพที่ 3.38 อุปกรณจับยึด

Page 22: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

80

3.5.2.7 มีดกัด (Cutter) ทําจากวัสดุประเภทเหล็กรอบสูง (High Speed Steel) เพื่อใหเกิดความ

แข็งแรงในการตัดเฉือนชิ้นงาน มีดกัดที่มใีชงานมีหลายชนิด เชน มีดกดังานรองเลื้อย มีดกัดนอนและกัดขาง

มีดกัดรองดานราบและดานขาง มีดกัดแบบเลื่อยวงเดือน มีดกดัมุมเดีย่ว มดีกัดคมตดัคู มีดกดัโคงเวา มีดกัด

โคงนูน เปนตน

ภาพที่ 3.39 มดีกัด

3.6 แขนกล (Robot Arm) ในปจจุบันนีเ้ทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกสในเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของเราอยางมาก ซ่ึง

มีการพัฒนาตัง้แตอดีตที่เปนชวงปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีการใชเครื่องจกัรไอน้ําแทนแรงงานคนอยางแทจริง

เนื่องจากการใชแรงงานคนมคีวามไมแนนอน ทั้งในดานคาแรงงานและผลงานที่ไดรับ ซ่ึงไมสามารถ

กําหนดแนนอนได ดังนั้นในยุคตอ ๆ มาก็ไดมีการพัฒนาเครื่องจักรที่จะมาแทนแรงงานคน จนถึงปจจุบันได

มีการพัฒนาเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพสูง ไดผลงานที่มีความประณีต แมนยํา เที่ยงตรง สามารถทํางานได

หลายรูปแบบ และเปนเครื่องจักรที่สามารถทํางานไดเองโดยอัตโนมัต ิ

Page 23: เครื่ั องจกร - somsak.lru.ac.thsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/chapter 3.pdf · 62 ภาพที่ 3.6 เคร ื่วนโลหะแผองม

81

ภาพที่ 3.40 แขนกลที่ใชในการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม

3.7 สรุป เครื่องจักรกล เปนเครื่องมอืที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีมาจากตางประเทศ เปนที่ทราบและยอมรับกันวา

ประเทศเยอรมนัเปนผูนําดานเทคโนโลยีเครื่องจักรกล เนือ่งจากมีความรูดานเทคโนโลยีและทรัพยากรดาน

แรโลหะที่มีคณุสมบัติในการผลิต เครื่องจักรกลใชสําหรับการปฏิบัติงานในการตกแตงวัสดุตาง ๆ ใหมี

รูปรางตามตองการ การใชงานเครื่องจักรแตละชนดิจะมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ถูกตอง ผูใชงานจะตอง

ศึกษาขอมูลจากคูมือการใชงาน (Manaul) ใหละเอยีด และฝกฝนการใชงานใหเกดิความชํานาญ และควรมี

ความระมัดระวังในการใชงาน เพื่อปองกนัไมใหเครื่องจักรเสียหายจากการใชงานโดยรูเทาไมถึงการณ ซ่ึง

เมื่อเครื่องจักรชํารุดเสียหาย บางครั้งจําเปนตองสงซอมหรือส่ังซ้ืออะไหลจากตางประเทศ ผูปฏิบัติงานเมื่อ

จะใชงานเครื่องจักรควรแตงกายใหรัดกุมและระมัดระวังอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นไดเมื่อเครื่องจักรทํางาน