บทที่ 2 อการเกษตร 2.1...

38
บทที2 คุณภาพน้ําเพื่อการเกษตร 2.1 ความนํา ในการเพาะปลูกพืชจําเปนตองใชน้ํา ซึ่งน้ําที่จะนํามาใชจะตองมีทั้งปริมาณและคุณภาพทีเหมาะสมกับความตองการของพืชในระยะตาง ซึ่งในที่นี้จะขอกลาวถึงเรื่องของคุณภาพของน้ํา ความสัมพันธระหวางดิน น้ํา และพืช สวนเรื่องเกี่ยวกับปริมาณน้ําที่พืชตองการนั้นจะกลาวถึงใน โอกาสตอไป เนื่องจากคุณภาพของน้ําที่นํามาใชในการเกษตรจะมีผลกระทบโดยตรงตอการลงทุน และผลผลิตที่คาดวาจะไดรับ ดังนั้นเกษตรกรจึงควรทราบเกี่ยวกับคุณภาพของน้ําเพื่อที่จะนํามาใช ในการวางแผนการใชน้ําที่มีอยูใหเหมาะสม 2.2 คุณภาพน้ํา คุณภาพน้ําที่สําคัญสําหรับการระบบการใหน้ําแบบประหยัดแกพืชที่ควรทราบ มีดังนีคุณภาพ น้ําทางกายภาพ คุณภาพน้ําทางเคมี และคุณภาพน้ําทางชีวภาพ 2.2.1 คุณภาพน้ําทางกายภาพ คุณภาพน้ําทางกายภาพจะแสดงถึงคุณสมบัติของน้ําที่สามารถสัมผัสไดดวยประสาท สัมผัสตาง ขอมูลทางกายภาพที่สําคัญคือความขุนของน้ํา อุณหภูมิของน้ํา น้ํามัน และไขมันใน น้ําที่จะมีผลตอการอุดตันของหัวจายน้ํา ความขุนของน้ําแสดงวามีสิ่งตาง เจือปนอยูโดยแขวนลอยอยูในน้ํา ซึ่งอาจเปนสาร อนินทรียตาง ไดแก ทราย ตะกอนทราย อนุภาคดินเหนียว เปนตน อุณหภูมิของน้ํา น้ําที่มีอุณหภูมิสูงทําใหกระบวนการละลายออกซิเจนในน้ําลดลง และ เปนผลกระทบตอการเจริญเติบโตของสัตวน้ํา น้ํามันและไขมันจะมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในน้ํา คือ จะขัดขวางการสังเคราะห แสงของพืชน้ํา และการเจริญเติบโตตลอดจนการแพรพันธุของสัตวน้ํา

Transcript of บทที่ 2 อการเกษตร 2.1...

Page 1: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

บทที่ 2

คุณภาพน้ําเพื่อการเกษตร

2.1 ความนํา

ในการเพาะปลูกพืชจําเปนตองใชน้ํา ซ่ึงน้ําที่จะนํามาใชจะตองมีทัง้ปริมาณและคุณภาพที่

เหมาะสมกับความตองการของพืชในระยะตาง ๆ ซ่ึงในที่นี้จะขอกลาวถึงเรื่องของคุณภาพของน้าํ

ความสัมพันธระหวางดิน น้ํา และพืช สวนเรื่องเกีย่วกับปริมาณน้ําที่พืชตองการนั้นจะกลาวถึงใน

โอกาสตอไป เนื่องจากคณุภาพของน้ําที่นํามาใชในการเกษตรจะมผีลกระทบโดยตรงตอการลงทุน

และผลผลิตที่คาดวาจะไดรับ ดังนั้นเกษตรกรจึงควรทราบเกี่ยวกับคณุภาพของน้ําเพื่อที่จะนํามาใช

ในการวางแผนการใชน้ําที่มอียูใหเหมาะสม

2.2 คุณภาพน้ํา

คุณภาพน้ําที่สําคัญสําหรับการระบบการใหน้ําแบบประหยัดแกพืชที่ควรทราบ มีดังนี้ คุณภาพ

น้ําทางกายภาพ คุณภาพน้ําทางเคมี และคุณภาพน้ําทางชีวภาพ

2.2.1 คุณภาพน้ําทางกายภาพ

คุณภาพน้ําทางกายภาพจะแสดงถึงคุณสมบัติของน้ําที่สามารถสัมผัสไดดวยประสาท

สัมผัสตาง ๆ ขอมูลทางกายภาพที่สําคัญคือความขุนของน้ํา อุณหภูมขิองน้ํา น้ํามัน และไขมันใน

น้ําที่จะมีผลตอการอุดตันของหัวจายน้ํา

ความขุนของน้ําแสดงวามีส่ิงตาง ๆ เจือปนอยูโดยแขวนลอยอยูในน้าํ ซ่ึงอาจเปนสาร

อนินทรียตาง ๆ ไดแก ทราย ตะกอนทราย อนุภาคดินเหนียว เปนตน

อุณหภูมิของน้าํ น้ําที่มีอุณหภูมิสูงทําใหกระบวนการละลายออกซิเจนในน้ําลดลง และ

เปนผลกระทบตอการเจริญเติบโตของสัตวน้ํา

น้ํามันและไขมันจะมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมในน้ํา คือ จะขัดขวางการสังเคราะห

แสงของพืชน้าํ และการเจรญิเติบโตตลอดจนการแพรพันธุของสัตวน้ํา

Page 2: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

26

2.2.2 คุณภาพน้ําทางเคมี

คุณภาพน้ําทางเคมีเปนขอมูลสําคัญสําหรับใชพิจารณาเกี่ยวกับคุณภาพของน้ํา เพื่อการ

เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว ขอมูลคุณภาพน้ําทางเคมีที่สําคัญซึ่งควรทราบ คือ pH หรือคาแสดงความ

เปนกรด/ดางของน้ํา การนําไฟฟาของน้ํา (Electrical Conductivity , EC) การหาปริมาณของสาร

หรือธาตุที่เปนดางซึ่งจะทําใหเกิดความเสยีหายแกพืช ไดแก ปริมาณของธาตุโซเดียม แคลเซยีม

และแมกนีเซียม เปนตน วาในน้ํามีสัดสวนเปนเทาไรหรอืเรียกวา “Sodium Absorbtion Ratio” หรือ

เรียกยอ ๆ วา “SAR”

นอกจากนี้ยังมสีารเคมีที่เกิดตามธรรมชาติของธรณีวิทยา เชน แคลเซียมคารบอนเนต

แคลเซียมซัลเฟต ซ่ึงอาจจับตัวกันเกิดตะกอนอุดตันหวัจายน้ําได

2.2.3 คุณภาพน้ําทางชีวภาพ

คุณภาพน้ําทางชีวภาพที่สําคัญไดแก จํานวนแบคทีเรียในน้ํา ปริมาณออกซิเจนที่ตองการ

ใชยอยสารประกอบอินทรยีดวยวิธีทางชีวภาพ (Biological Oxygen Demand , BOD) และปริมาณ

ออกซิเจนที่ตองการใชยอยสารประกอบอินทรียดวยวิธีทางเคมี (Chemical Oxygen Demand ,

COD) ซ่ึงขอมูลดังกลาวจะเปนคาชี้บอกวาน้ําเปนน้ําดหีรือน้ําเสียเหมาะจะนําไปใชเพื่อการ

เพาะปลูกรวมทั้งการอุปโภคบริโภค หรือใชในการเลี้ยงสัตวน้ําไดดีเพยีงใด

นอกจากนี้ยังมส่ิีงมีชีวิตเล็กๆ ในน้ํา เชน โปรโตซัว แบคทีเรีย แอลจี ตะไครน้ํา และ

ฟงไจ เปนตน สามารถทําใหเกิดการอุดตนัของหัวจายน้าํได

2.3 การจําแนกประเภทของน้ําเพื่อการเกษตร

ในการจําแนกประเภทของน้าํเพื่อการเกษตร สามารถจําแนกไดตามคาการนําไฟฟาของน้ํา

(Electrical Conductivity : EC) ดังแสดงในตารางที่ 2.1 การจําแนกตามคาของเกลือโซเดียมในน้ํา

(Sodium Absorbtion Ratio : SAR) ของกระทรวงเกษตร ประเทศสหรัฐอเมริกา (United State

Department of Agriculture) ดังแสดงในตารางที่ 2.2 และการจําแนกประเภทของน้ําโดยคํานึงถึง

ความสัมพันธของคา (Electrical Conductivity : EC) และ (Sodium Absorbtion Ratio : SAR) ดัง

แสดงในภาพที่ 2.1

Page 3: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

27

ตารางที่ 2.1 การจําแนกคุณภาพน้ําเพื่อการเกษตรตามความเหมาะสมของ EC

ประเภทท่ี ชั้น (Class) EC (ไมโครโมห / ซม.) การนําไปใชประโยชน

1 C1 EC x 106 = 0 – 75 ใชไดกับพืชทกุชนิด

2 C2 EC x 106 = 75 – 1750 จะเกดิปญหาดนิเค็มหากการระบายน้ําไมดีและไมมี

3 C3 EC x 106 = 1750 – 3000 ปลูกไดเฉพาะพืชที่ทนตอเกลือแรและดินทีใ่ชตองเปนดินที่ระบายน้ําไดดีพอสมควร

4 C4 EC x 106 = 3000 – 5000 ปลูกไดเฉพาะพืชที่ทนทานตอเกลือแรสูงและดินที่ใชตองระบายน้ําไดดีและมีการจดัการที่ดีดวย

5 C5 EC x 106 มากกวา 5000 ใชไดเฉพาะกรณีพิเศษเทานัน้

ตารางที่ 2.2 การจําแนกคณุภาพน้ําเพื่อการเกษตรตามความเหมาะสมของน้ําที่มีเกลือโซเดียม

(Sodium Absorbtion Ratio) หรือ SAR

ชั้น ปริมาณเกลือโซเดียมในน้ํา คา SAR การนําไปใชประโยชน

S1 โซเดียมต่ํา 0 – 10 ใชไดกับดินทกุชนิดโดยไมเปนอันตราย S2 โซเดียมปานกลาง 10 – 18 น้ําชนิดนีจ้ะทาํใหดนิเสียสําหรับพวกดิน

เหนยีวนอกจากในดนินัน้มี ยิบซ่ัม (CaSO4) อยูดวย

S3 โซเดียมสูง 18 – 26 ถาใชในการชลประทานจะเพิ่มปริมาณโซเดียมในดิน และเปนอนัตรายตอพืชและดิน ถาจะใชดินตองมกีารระบายน้ําทีด่ีและ ตองการใหน้ําเพื่อการชะลางเกลือแรใหออกจากเขตรากพชื(Leaching Requirement) ดวยสําหรับดินที่มยีิปซั่มจะไมเปนปญหา

S4 โซเดียมสูงมาก มากกวา 26

ใชไมไดกับดนิเกือบทุกชนดิยกเวนดินทีม่ีปริมาณเกลือแรต่ํา EC x 106 นอยกวา 750

และมีการเติมยิปซั่มเพื่อชวยในการระบายน้ํา

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 4: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

28

ภาพที่ 2.1 การจําแนกประเภทของน้ําเพื่อการเกษตรโดยคํานึงถึง EC และ SAR

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 5: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

29

2.4 มาตรฐานคุณภาพน้ําที่ใชในการเพาะปลูก

มาตรฐานคุณภาพน้ําทีใ่ชในการเพาะปลูก แสดงไดดังตารางที่ 2.3

ตารางที่ 2.3 มาตรฐานคุณภาพน้ําทีใ่ชในการเพาะปลูก

รายละเอียดสวนประกอบที่มีอยูในน้ํา ปริมาณที่ควรจะมีได

PH 5.0 – 9.0

อุณหภูม ิ 40 องศาเซลเซียส

สารที่มีอยูในน้ําทั้งหมด < 1,900 ppm.

คลอไรด 200 – 750 ppm.

ซัลเฟต < 960 ppm.

โบรอน 0.2 - 3.8 ppm.

การนําไฟฟา (EC) 750 -2,100 ไมโครโมห/ซม.

SAR (Sodium Absorption Ratio) < 4

RSC (Residual Sodium Carbonate) < 2.5 meq./l

SSP (Soluble Sodium Percentage) < 60 เปอรเซ็นต

แคดเมียม ตองไมมีเลย

แคลเซียม 20 - 40 ppm.

คารบอนไดออกไซด 20 - 40 ppm.

คารบอเนต < 10 ppm.

โครเมียม ตองไมมีเลย

ทองแดง < 20 ppm.

ไซยาไนต ตองไมมีเลย

ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (Dissolved Oxygen , DO) < 20 ppm.

สารแขวนลอยในน้ํา ตองไมมีเลย

แมกนีเซยีม < 20 ppm.

น้ํามัน < 5 ppm.

Page 6: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

30

ตารางที่ 2.3 มาตรฐานคุณภาพน้ําทีใ่ชในการเพาะปลูก (ตอ)

รายละเอียดสวนประกอบที่มีอยูในน้ํา ปริมาณที่ควรจะมีได

ฟนอล 0.005 - 0.020 ppm.

โซเดียม < 10 ppm.

สารละลายในน้ํา (Total Dissolved) < 1,500 ppm.

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

2.5 การวิเคราะหคุณภาพน้ํา

เนื่องจากคณุภาพของน้ําเปนสิ่งสําคัญเกี่ยวกับการปลูกพชื ดังนั้นกอนการปลูกพืชเจาของสวน

ควรทราบคุณภาพของน้ําทีต่นเองจะใชโดยการสงตัวอยางน้ําไปว ิเคราะหตามหนวยงานตาง ๆ เชน

กรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน เปนตน เมื่อหนวยงานดังกลาววิเคราะหน้ํา

แลวผูวิเคราะหก็จะแจงผลการวิเคราะหใหเจาของสวนทราบ

ตัวอยางผลการวิเคราะหน้ําที่มาจากสถานีทดลองพืชสวนกาญจนบุรีทีไ่ดสงไปใหกลุมงาน

วิเคราะหดินและน้ํา กองเกษตรเคมี กรมวชิาการเกษตร ตรวจสอบคุณภาพน้ํา ไดผลการวิเคราะหดงั

ในภาพที่ 2.2 จาการตรวจสอยคุณภาพน้ํามีคําแนะนําดังนี้

“จากผลการตรวจสอบคุณภาพน้ํา พบวา น้ํามีปฏิกิริยาเปนกรดอยางออนและมปีริมาณ

เกลือละลายอยูในระดับปานกลาง สามารถใชกับพืชไดแทบทุกชนิด จะมีผลกระทบเฉพาะกับพชืที่

มีความไวตอเกลือเทานั้น อยางไรก็ตามน้าํนี้มีปริมาณไบคารบอเนตคอนขางสูง จัดเปนน้ํากระดาง

ช่ัวคราว ควรพักน้ําเก็บไวกอนใช เพื่อใหน้ําถูกความรอนจากแสงแดดแลวเกดิการตกตะกอนจะชวย

ใหปริมาณไบคารบอเนตลดลงได”

Page 7: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

31

ภาพท

ี่ 2.2

ตัวอ

ยางผลก

ารวิเค

ราะห

ตัวอยางน้ํา

ที่มา :

ดิเรก

ทองอราม

และค

ณะ , 2

545

Page 8: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

32

2.6 ความสัมพันธระหวางดิน น้ํา และพืช

ดินและน้ํามีความสําคัญตอพืชอยางมาก เพราะดินจะเปนที่สําหรับใหรากพืชจบัยึดยนือยูให

มั่นคงและเปนแหลงสะสมธาตุอาหาร สวนน้ําก็ทําหนาที่ใหความชุมชื้นและละลายสารอาหารให

พืชดูดไปเลีย้งสวนตาง ๆ ดงันั้นจึงควรทราบถึงคุณสมบัติของดิน น้ํา และพืช ซ่ึงเปนขอมูลพื้นฐาน

ที่สําคัญในการใหน้ําแกพืช

2.6.1 คุณสมบัติของดินท่ีเก่ียวของกับความตองการน้ําของพชื

เนื่องจากดินเปรียบเสมือนถังน้ําหรือที่เกบ็น้ําโดยธรรมชาติใหแกพืชนําไปใช โดยราก

ของพืชจะดดูเอาความชื้นในดินไปใช น้ําที่เก็บไวใหพืชนําไปใชนีจ้ะอยูในชองวางระหวางเม็ดดิน

ที่เปนของแข็ง ชองวางเหลานี้ถาไมมีน้ําบรรจุอยูก็จะมีอากาศเขาไปแทนที่

2.6.1.1 องคประกอบของดนิ ดินมีองคประกอบ 4 สวน คือ อนินทรยีวัตถุ อินทรยีวัตถุ

น้ํา และ อากาศ องคประกอบของดินแตละสวนมีประโยชนตอพืช ดังนี ้

1) อนินทรียวัตถุ เปนองคประกอบสวนใหญของดิน เกดิจากการสลายของหิน และแร

ตาง ๆ ออกเปนชิ้นเล็ก ๆ ที่มีขนาดตาง ๆ กัน ดนิแตละแหงจะมีขนาดของอนินทรยีวัตถุและชนดิ

ของแรธาตุแตกตางกันขึ้นอยูกับการยอยสลายที่เกิดขึ้นของดินแตละชนิดและแรธาตุตนกําเนดิดิน

2) อินทรียวัตถุ ในดินประกอบดวยเศษซากพืชซากสัตวที่เนาเปอยแลวหรือ ที่กําลังยอย

สลายสารและที่หลงเหลือจากการยอยสลาย สารที่ไดจากการสังเคราะหของจุลินทรียดิน สารตาง ๆ

เหลานี ้ รวมเรยีกวา “ฮิวมัส” ซ่ึงเปนสารแขวนลอยสดีําหรือน้ํามีคณุสมบัติในการดูดยึดน้ําและแร

ธาตุอาหารพืชไดสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกบัสารอนินทรีย อินทรียวัตถุทําใหดินรวนโปรง มีการ

ระบายน้ําและอากาศดี เปนที่มาของธาตุอาหารพืชหลายชนิด เชน ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

และการยอยสลายซากพืชซากสัตว ทําใหไดฮิวมัสเพิ่มขึน้อีก

3) น้ํา เปนสวนประกอบสําคัญของพืช น้ํานอกจากจะเปนแหลงรวมสาร อาหารที่ราก

พืชจะดูดขึ้นมาหลอเล้ียงตนพืชแลว ยังชวยละลายธาตุอาหารในด ินใหอยูในสภาพที่พืชสามารถนํา

ไปใชได

4) อากาศ สวนที่เปนชองวางระหวางเม็ดดนิสวนที่ไมมนี้าํและเปนที่อยูของอากาศ ราก

พืชใชออกซิเจนที่มีอยูในชองอากาศของดนิเพื่อการหายใจดูดน้ําและธาตุอาหารไปใชเล้ียงลําตน กิ่ง

Page 9: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

33

กาน ใบ และผลได โดยทัว่ไปแลวอากาศในดินมีออกซิเจนนอยกวาอากาศบนดิน ดงันั้นการถายเท

อากาศของดินจึงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช ดินที่มีการถายเทอากาศนอยจะมปีริมาณคารบอน

ไดออกไซดสูงถึง 10 เปอรเซ็นต จะทําใหการทํางานของรากพืชถูกจาํกัด นอกจากนี้ออกซิเจนยังมี

ความสําคัญตอการเจริญเติบโตของจุลินทรียดินอีกดวย

สวนประกอบของดินที่เหมาะสมตอการปลูกพืชควรประกอบดวย อนินทรียวัตถุ 45

เปอรเซ็นต อินทรียวัตถุ 5 เปอรเซ็นต น้ํา 25 เปอรเซ็นต และอากาศ 25 เปอรเซ็นต

2.6.1.2 สถานะของดิน จากองคประกอบของดินดังทีก่ลาวมา สามารถแบงดินออกเปน

3 สถานะดังนี้ อินทรียวัตถุกับอนินทรียวัตถุรวมกนัเปนสวนของแขง็หรือสถานะของแข็ง ที่เหลือ

จะเปนชองวาง และชองวางเหลานั้นจะเปนที่อยูของของเหลวซึ่งเปนสถานะของน้ําหรือสารละลาย

ที่อยูในดิน และสวนที่เปนอากาศหรือ ชองวางระหวางเม็ดดินที่มไิดเปนของเหลว ซ่ึงเปนสถานะ

กาซ ดังแสดงในภาพที่ 2.3

สําหรับชองวางระหวางเม็ดดนิแบงออกเปน 3 ขนาด คือ ชองวางขนาดใหญ ชองวาง

ขนาดกลาง และชองวางขนาดเล็ก ซ่ึงมีเสนผานศูนยกลางของชองวาง และคุณสมบัติของชองวาง

แสดงในตารางที่ 2.4

ภาพที่ 2.3 สวนประกอบของดินที่เหมาะสมแกการปลูกพืชโดยปริมาตรและสถานะ

Page 10: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

34

ตารางที่ 2.4 ขนาดของชองวางภายในดิน

เสนผาศูนยกลางของชองวาง

(มิลลิเมตร) ขนาด สมบัติของชองวาง

น้ําซึมผานชองวางในดินไดงาย ชองวางเหลานี้จะ

เปนที่อยูของอากาศในดิน > 0.01 ใหญ

น้ําถูกยึดเอาไวและพืชนําน้ํามาใชประโยชนไดเมื่อ

ดินแหงชองวางนี้เปนที่อยูของอากาศ กลาง 0.0002 – 0.01

ดินดูดน้ําไดอยางเหนียวแนน พืชนําไปใชประโยชน

ไมได ชองวางนี้จะสูญเสียน้ําเมื่อดินแหงมาก เล็ก < 0.0002

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

2.6.1.3 เนื้อดิน เนื้อดนิเปนคุณสมบัติของดินแสดงถึง ความหยาบ ความละเอียดของดิน

เนื้อดิน หมายถึง สัดสวนของอนุภาคอนินทรียวัตถุของดนิโดยคุณสมบัติของดินจําแนกตามลักษณะ

ของเม็ดดินได 3 ชนิด ไดแก เม็ดทราย (Sand) เม็ดซิลทหรือทรายแปง (Silt) และเม็ดดนิเหนียว

(Clay) ในอัตราสวนตาง ๆ กัน

ดินที่มีอนภุาคของทรายเปนสวนประกอบหลักจะเรียกวา “ดินเนื้อหยาบ” และดินที่มี

อนุภาคดินเหนียวเปนสวนประกอบหลักจะเรียกวา “ดินเนื้อละเอียด” ซ่ึงสามารถในการอุมน้ําได

ดีกวาดินทราย สวนดินทรายจะใหน้ําซึมผานและมีการระบายน้ําไดด ี แต มีความสามารถในการเก็บ

อุมน้ําไวในดนิไดนอย

การแบงเนื้อดนิสามารถแบงไดละเอยีดตามวัตถุประสงคที่ตองการ โดยทั่วไปนิยมยดึถือ

ตามมาตรฐานของ 2 องคกร คือ ระบบการแบงของกระทรวงเกษตรประเทศสหรัฐอเมริกา (United

State. Department of Agriculture Scheme) และระบบสากล (International Scheme) ดังแสดง

ในตารางที่ 2.5

Page 11: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

35

ตารางที่ 2.5 การแบงกลุมอนุภาคปฐมภูมขิองดิน

ระบบของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ระบบสากล

เสนผาศูนยกลางสมมูล

(มม.)

เสนผาศูนยกลางสมมูล

(มม.) ชื่อกลุม ชื่อกลุม

ทรายหยาบมาก 2.0 - 1.0

ทรายหยาบ 1.0 - 0.5 ทรายหยาบ 2.0 – 0.2

ทรายปานกลาง 0.5 - 0.10 ทรายละเอียด 0.20 – 0.02

ทรายละเอียด 0.25 - 0.10 ทรายแปง 0.02 – 0.002

ทรายละเอียดมาก 0.10 - 0.05 ดินเหนียว เล็กกวา 0.002

ทรายแปง 0.05 - 0.002

ดินเหนียว เล็กกวา 0.002

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

ในการจําแนกเนื้อดินจึงพิจารณาจากสัดสวนของดินที่มีขนาดตาง ๆ วา มีอยูกี่เปอรเซ็นต แลวเปรียบเทยีบกับสามเหลีย่มมาตรฐาน เพื่อการจําแนกประเภทเนื้อดนิในภาพที่ 2.4

ภาพที่ 2.4 สามเหลี่ยมมาตรฐานเพื่อการจําแนกประเภทเนื้อดิน

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 12: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

36

ตัวอยางผลการวิเคราะหดินพบวา ดินนั้นประกอบดวยทราย 30 เปอรเซ็นต ทรายแปง 40 เปอรเซ็นต และดินเหนยีว 30 เปอรเซ็นต เมื่อนําไปเปรียบเทียบกับสามเหลี่ยมมาตรฐาน จะพบวา ดินชนิดนี้เปนดินประเภทดนิเหนยีว (Clay loam) หรือดินรวนปนดินเหนียว จากประเภทของดินในสามเหลี่ยมมาตรฐานซึ่งมี 12 ชนดินั้น สามารถแบงเปน 3 กลุม คือ ดนิเนื้อหยาบ ดนิรวน และดนิเนื้อละเอียด ในแตละกลุมมีขอดีและขอเสียของเนื้อดินแตละกลุม เพือ่การเขตกรรมและการจดัการน้ําแตกตางกันไป ดังแสดงในตารางที่ 2.6

ตารางที่ 2.6 ประเภทของเนื้อดิน ขอด ีและขอเสีย ของเนื้อดินแตละกลุม

ประเภทของเนื้อดิน ขอดีและขอเสียของเนื้อดนิแตละกลุม กลุมของเนื้อดิน

ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย ขอด ี ขอเสีย 1. ดินเนื้อหยาบ

1. Sand ดินทราย 1. ไถพรวนงาย 1. อุมน้ําและธาตุ อาหารไดนอย

2. Loamy sand ดินทรายรวนหรือ ดินทรายปนดนิรวน

2. ระบายน้ําไดเร็วเกินไป

2. ดินรวน 3. Sand loam ดินรวนปนทราย 1. ไถพรวนงาย 1. ธาตุอาหารถูกชะลางไดงาย

4. Loam ดินรวน 2. อุมน้ําและธาตุอาหารไดมากพอสมควร

2. ความอดมุสมบูรณของดินต่ํา

5. Silt loam ดินรวนปนซิลทหรือดินรวนปนตะกอนหรือดินรวนปนทรายแปง

3. ระบายน้ําและอากาศดีพอควร

6. Silt ทรายแปงหรือซิลทหรือตะกอน

4. เหมาะแกการปลูกพืช

7. Sandy clay loam ดินรวนเหนยีวปนทราย

Page 13: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

37

ตารางที่ 2.6 ประเภทของเนื้อดิน ขอดแีละขอเสียของเนื้อดินแตละกลุม (ตอ)

ประเภทของเนื้อดิน ขอดีและขอเสียของเนื้อดนิแตละกลุม กลุมของเนื้อดิน

ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย ขอด ี ขอเสีย

8. Clay loam ดินรวนเหนยีวหรือ

ดินรวนปนดินเหนยีว

3. ดินเนื้อ

ละเอียด

9. Silty clay ดินรวนเหนยีวปน

ทรายแปง หรือดิน

รวนเหนียวปนซิลท

หรือดินรวนเหนียว

ปนตะกอน

1. อุมน้ําและธาตุ

อาหารไดมาก

1. ระบายน้ําและ

อากาศไมด ี Loam

10. Sand clay ดินเหนียวปนทราย 2.ความอุดมสมบูรณ

ของดินสูง

2. ไถพรวนยาก

11. Silty clay ดินเหนียวปนทราย

แปงหรือดินเหนียวปน

ซิลทหรือดินเหนียว

ตะกอน

12. Clay ดินเหนียว

2.6.1.4 โครงสรางของดนิ

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

โครงสรางของดิน หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวของกับการเรียงตัวและเกาะกัน

ระหวางเม็ดดนิเปนกอนดิน ซ่ึงการจัดเรยีงตัวของอนภุาคปฐมภูมิของดินเปนอนุภาคทุติยภูมิ ซ่ึง

น ิยมเรียกวา “เม็ดดิน” (Soil Aggreagate) ปกติแลวโครงสรางของดินกําหนดจากรูปราง ขนาด

ความคงทนตอการแตกแยกของเม็ดดิน

Page 14: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

38

โครงสรางของดินจะมีผลตอการเคลื่อนที่ของน้ําและอากาศในดนิ อัตราการซึมของน้ําในดิน ตลอดจนการแผกระจายของรากพืช ดังนั้นจึงมีควรมีการปรับปรุงโครงสรางของดินในเขตรากพืชดวยการเขตกรรมอยูเสมอ

โครงสรางของดินเหมาะสมตอการปลูกพชืมักเกิดขึน้ในดินชั้นบนทีเ่คยมีการไถพรวนเปนดินที่โปรงรวนซุยเหมาะแกการเพาะปลูก ซ่ึงเกิดจากอนิทรียวัตถุ

2.6.1.5 ความโปรงและความแนนทึบของดิน ความโปรงและความแนนทบึของดิน หมายถึง ปริมาตรของชองวางที่มีอยูใน

ดินเกดิจากการยึดตัวของอนภุาคดินที่เปนของแข็ง ดินที่มีปริมาตรของชองวางมาก ถือวาเปนดินโปรง ดินที่มีปริมาตรของชองวางนอย ถือวาเปนดนิแนนทึบ

แมวาดนิที่มีความเหมาะสมตอการปลูกพชืควรมีชองวางในดิน 50 เปอรเซ็นต แตชองวางแตละขนาดมคีุณสมบัติที่แตกตางกัน สัดสวนของขนาดชองวางที่เหมาะสมคือ ชองวางขนาดใหญ : ชองวางขนาดกลาง : ชองวางขนาดเล็กเปน 5 : 4 : 1

ขนาดของชองวางจะขึน้อยูกบัขนาดของอนุภาคของดิน ปริมาณอนิทรียวัตถุในดินและโครงสรางของดิน ดินที่มีอนุภาคใหญ เชน ดินทรายจะมีชองวางขนาดใหญ แตมีปริมาตรรวมของชองวางนอย ในดินที่มีอนภุาคขนาดเล็ก เชน ดนิเหนียวจะมีขนาดของชองวางเล็ก แตมีปริมาตรรวมของชองวางมาก

การเพิ่มอินทรยีวัตถุทําใหดนิรวนซุยขึน้หรือทําใหดินโปรงขึ้น เพราะอินทรียวัตถุเปนสิ่งที่ชวยทําใหดนิจบัตัวเปนเมด็ ทําใหชองวางในดินเพิ่มขึ้น

2.6.1.6 ความลึกของดิน ดนิควรมีความลึกเพียงพอใหรากพืชเจริญเตบิโตชอนใชแทรก เขาไปในเนื้อดนิได ความลึกของดินจะมีอิทธิพลตอความสามารถในการอุมน้ําของดิน การกระจายรากพืช และการทราบถึงระดับความชื้นของดิน ทําใหสามารถกําหนดความถี่ในการใหน้ําแกพืชได ช้ันความลึกของเนื้อดินแบงออกไดดังในตารางที่ 2.7

ตารางที่ 2.7 ช้ันความลึกของเนื้อดิน

ระยะความลึก (นิ้ว) ชั้นความลึก

0 – 10 ดินตื้นมาก 10 – 20 ดินตื้น 20 – 40 ดินลึกปานกลาง 40 – 60 ดินลึก

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 15: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

39

2.6.1.7 การเรียงตัวของชั้นดิน

การเรียงตัวของชั้นดินจะมีผลตอความสามารถในการเก็บกักน้ําของดนิขึ้นอยูกับ

การเรียงตัวของขนาดอนุภาคดิน ความลึกของดิน อินทรยีวัตถุ และการจัดการที่เกี่ยวของกับดิน

2.6.2 คุณสมบัติของน้ําท่ีเก่ียวของกับความตองการน้าํของพชื

คุณสมบัติของน้ําที่เกี่ยวของกับความตองการน้ําของพืช ขึ้นอยูกับปจจยัตาง ๆ ดังนี ้

2.6.2.1 ลักษณะของน้ําในดิน โดยปกติแลวน้ําอยูในดนิไดเพราะคุณสมบัติของโมเลกุล

ของน้ําสามารถยึดติดกนัไดและสามารถเกาะติดกับผิวของสารอื่นไดด ี ถาสารที่น้ําจะเกาะติดนั้นมี

ผิวประกอบดวยอะตอมของออกซิเจน และสรางพันธะ (bond) ใหเกดิการยึดเหนีย่วระหวางโมเลกุล

ของน้ํากับผิววตัถุ เนื่องจากการที่ผิวของอนุภาคของดินมีอะตอมของออกซิเจนเรียงรายอยูโดยรอบ

นอก จึงสามารถสรางพันธะไฮโดรเจนกับโมเลกุลของน้ํา และดดูซับไวเปนชั้น ๆ โดยรอบอนภุาค

ดิน แตการดูดซับดวยแรงดูดซับ (Absorbtive force) ระหวางน้ํากับอนภุาคดินจะผันแปรกับ

ระยะหางจากผิวอนุภาค ดนิ กลาวคือ น้ําสวนที่อยูหางจากผิวอนุภาคดนิจะถกูดูดซับดวยแรงที่

นอยลงกวาสวนที่อยูใกลผิวอนุภาคดิน ดังนั้นโมเลกุลของน้ํารอบนอกนี้สามารถเคลื่อนไหวไปที่

อ่ืนไดงายกวาน้ําที่อยูช้ันใน และหากมีน้ําในดินมากขึน้ น้ําชั้นรอบนอกอนุภาคดินกจ็ะรวมตวักนัใน

ชองวางระหวางอนุภาคดินหรือชองวางระหวางเม็ดดิน

เมื่อฝนตกหรือเทน้ําลงไปในดิน น้ําจะซมึเขาไปอยูในชองวางระหวางเม็ดดินและยึด

ติดกับเม็ดดินดวยแรงยดึเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของน้ํากับเม็ดดนิ การที่จะทําใหน้าํในดินเคลื่อนที่

หรือถูกดูดออกจากดนิได ตองใชแรงมากกวาแรงยึดเหนี่ยวนี้ ขนาดของแรงที่ใชอยูในรูปของแรง

ดึงดูดขนาดตาง ๆ กัน และจะขึ้นอยูกับปริมาณความชืน้ที่มีอยูในดิน กลาวคือ ถาดินยิ่งมีความชืน้

มากเทาใดน้ําที่เกาะอยูรอบ ๆ เม็ดดนิก็จะหนามากขึ้น โมเลกุลของน้ําที่อยูหางจากเม็ดดนิจะไมได

รับอิทธิพลจากแรงยดึเหนี่ยวกับโมเลกุลของดิน ดังนั้นน้ําที่อยูหางจากเม็ดดนินี้จะถกูทําใหเคล่ือนที่

ดวยแรงดึงดดูของโลกหรือไหลไปสูเม็ดดนิที่มีน้ําเกาะตดิบางกวาไดงาย แตเมื่อความชื้นในดนิ

ลดลง แรงยึดเหนีย่วจากแรงดูดซับของดนิจะมีอิทธิพลมากขึ้น ทําใหการดูดน้ําไปจากดินจะตองใช

แรงมากขึ้น หรืออาจจะกลาวไดวา เมื่อความชื้นในดินลดลงมากเทาใดการที่จะแยกน้ําที่ดินยึดไวก็

Page 16: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

40

จะตองใชแรงดึงความชื้นมากขึ้นเทานัน้ แรงดึงความชืน้ คือ แรงที่ใชวัดความเหนยีวแนนทีด่ินยดึ

น้ําไวและเปนแรงที่จะตองใชเพื่อที่จะดูดเอาความชื้นซึ่งมักจะคดิหนวยเปนบาร (bar) หรือ

บรรยากาศ (atmosphere :Atm)

แรงดึงความชืน้ของดินมีความสัมพันธกับจํานวนความชืน้ในดนิที่พืชจะนําไปใชได

กลาวคือถาหากดินแหงจะมแีรงดึงความชืน้สูงมาก นั่นคือ พืชตองใชแรงดึงมากพอเพื่อที่จะนาํเอา

ความชื้นจากดนิไปใชได แตถาดินเปยกกจ็ะมีแรงดึงความชื้นนอยซ่ึงพืชสามารถดูดเอาความชื้นไป

ใชไดงาย

คาของแรงดึงความชื้นของดนิเหลานี้ไมไดเปนสิ่งที่แสดงถึงปริมาตรความชื้นที่มีอยูใน

ดินหรือบอกปริมาณน้ําที่จะสามารถดูดออกจากดนิได แตจะบอกถึงความยากงายที่พืชจะดูดน้ําจาก

ดินไปใชได เพราะปริมาณน้ําในดนิจะขึน้อยูกับเนื้อดนิและโครงสรางของดิน

2.6.2.2 ชนดิของน้ําในดิน หลังจากที่ทราบวาน้ําอยูในดนิไดอยางไรแตถาหากน้ําเขาไป

แทนที่อากาศจนเต็มทุกชองวางเราถือวาดนินั้นเปนดินทีอ่ิ่มตัวดวยน้ําหรืออ่ิมน้ําและน้ําที่อยูในชอง

วางนั้นทั้งหมดจะเปนปริมาตรน้ําสูงสุดที่ดินจะเก็บกักเอาไวได ถาไมมีแรงจากภายนอกมากระทํา

เราสามารถแบงชนิดของน้ําตามความสามารถของดินที่ยดึน้ําไวได 3 ชนิด ตามระดับของน้ําที่ถูก

ดินดูดยึดไวตั้งแตช้ันนอกเขาไปถึงชั้นในทีต่ิดกับเม็ดดิน ดังนี ้

1) น้ําอิสระ (Gravitational water หรือ Free water) เนื่องจากวาสสารทุก

อยางที่อยูบนผวิโลกจะถูกแรงดึงดูดของโลกกระทําอยูตลอดเวลา รวมทั้งน้ําที่ขังอยูในชองวาง

ระหวางเม็ดดนิดวย ในชองวางขนาดใหญแรงยึดเหนีย่วระหวางน้ําทีข่ังอยูตรงกลางของชองวางกับ

เม็ดดินจะนอยกวาในชองวางขนาดเล็ก ถาผลรวมของดินนอยกวาแรงดึงดูดของโลก (หรือน้ําที่

ไดรับแรงเหนีย่วร้ังจากอนภุาคดินนอยมาก)น้ํากจ็ะไหลลงสูที่ต่ํากวา น้ําที่ไหลดวยสาเหตุดังกลาวนี้

เรียกวา “น้ําอิสระ” น้ําอิสระถาหากขังอยูในดินเปนเวลานาน นอกจากจะเปนอันตรายตอพืชแลวยงั

ทําใหพืชขาดอากาศหายใจและชะลางแรธาตุอาหารพืชใหสูญเสียไปจากดิน

2) น้ําซับ (Capillary water) เปนน้ําที่เกิดขึ้นในสภาพที่เมื่อฝนหยดุตกหรือ

หยุดใหน้ําแกพืช น้ําถูกระบายสูสวนลางซึ่งใชเวลาประมาณ 24 – 48 ช่ัวโมง ในลักษณะนี้ความ

หนาแนนของน้ําที่เกาะยึดอนุภาคดนิจะถกูยึดดวยดินเตม็แตเพยีงชองวางขนาดเล็กดวยแรงดูดซับที่

Page 17: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

41

สูงมากพอที่จะตอตานแรงฉดุของแรงดึงดดูของโลกกระทําไดพอด ี ซ่ึงความชืน้ของน้ําซับเนื้อ

อนุภาคของดนิมีแรงดึงตอน้ําประมาณ 1/3 บาร และเรียกความชื้นในขณะนี้วา ”ความชื้น

ชลประทานหรือความจุความชื้นสนาม (field capacity)” สวนน้ําทีอ่ยูในชองวางขนาดใหญจะถูก

แรงดึงดูดของโลกทําใหไหลซึมออกไปและจะมีอากาศเขาทดแทนเพือ่พืชสามารถใชประโยชนใน

การหายใจ

3) น้ําเยื่อ (Hygroscopic water) เปนน้ําทีเ่กาะตดิหรือชิดกับอนภุาคของผิวดิน

และปรากฎในชั้นที่บางมากที่พืชไมสามารถนํามาใชได แรงดูดยึดอนภุาคของดินมคีาประมาณ 31

บาร

ในจํานวนน้ําในดินทั้งสามชนิดที่กลาวมานี้ น้ําที่เกี่ยวของกับการใหน้าํแกพืชมากทีสุ่ด

คือน้ําซับและน้ําอิสระ สวนน้ําเยื่อนัน้พืชไมสามารถดูดนําไปใชได

แมวาการแบงขอบเขตของชั้นระหวางน้ําในดินทั้ง 3 ชนิดที่กลาวมา ไมมีกําหนดไว

แนนอนเพราะแตละชั้นขึ้นอยูกับเนื้อดิน โครงสรางของดิน อินทรียวตัถุ อุณหภูมิ และความลึกของ

เนื้อดิน อยางไรก็ตามระดับของน้ําที่ช้ันตาง ๆ นั้นอาจเขียนแทนไดในภาพที่ 2.5 และ แสดงไดดัง

ตารางที่ 2.8

ภาพที่ 2.5 น้ําในดินและระดับความชื้นของดินที่จุดตาง ๆ

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 18: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

42

ตารางที่ 2.8 ความสัมพันธระหวางดินและน้ํา

ท่ีมา (ดิเรก ทองอราม และคณะ, 2545)

2.6.2.3 ระดับความชื้นท่ีสาํคัญของดนิ จากชนิดของน้ําในดนิดังกลาว สามารถนํามา

พิจารณาระดับความชื้นที่สําคัญภายในดินตามลักษณะของน้ําหรือความชื้นที่อยูในชองวางระหวาง

เม็ดดิน เพื่อประโยชนในการกําหนดหรือคํานวณหาปริมาณน้ําในดินทีร่ะดับความชืน้ตาง ๆ ดังนี ้

1) จุดความชืน้อิ่มน้ําหรือจุดความชืน้เมื่อดินอิ่มน้ํา (Water Saturated) เปนชัน้

ของน้ําในดนิที่เกิดขึ้นเมื่อปริมาณชองวางระหวางเม็ดดนิทั้งหมดถูกแทนที่ดวยน้ําอาจจะมีอากาศอยู

บางในชองวางขนาดเล็ก ๆ แตก็มีปริมาณนอยมาก ถาดินมีความสามารถระบายน้ําไดดีแลวปริมาณ

น้ําที่อยูในชองวางขนาดใหญก็จะเคลื่อนที่ลงไปขางลาง เน ื่องจากแรงดงึดูดของโลก

2) ความชืน้ชลประทานหรือความชื้นสนาม (Field Capacity) หมายถึงความชื้น

ที่เหลือในดนิหลังจากที่น้ําอิสระไดถูกระบายออกไปจากชองวางขนาดใหญหมดแลวหรือมีปริมาณ

น้ําสูงสุดที่ดนิสามารถอุมไวเพื่อตานทานแรงดึงดูดของโลก ในสภาพเชนนี้น้ําจะมีอยูเต็มในชองวาง

Page 19: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

43

ขนาดเล็กสวนอากาศอยูเต็มชองวางขนาดใหญ เชน ปริมาณความชื้นหลังจากที่ฝนตกหนกัหรือ

หยุดใหน้ําแลว 2 – 3 วัน เปนความชื้นชลประทานหรือความชื้นสนาม

โดยทั่วไปแลวแรงดึงดูดความชื้นที่จุความชื้นชลประทานมีคา 1/3 บาร แตคานี้เปลี่ยนไป

ตามลักษณะเนื้อดิน เชน ดนิเนื้อหยาบจะมีคาแรงดึงดูดความชื้นประมาณ 1/10 บาร และดินเหนยีว

หรือดินคอนขางเหนยีวมีคาประมาณ 0.6 บาร

ระดับความชื้นชลประทานนี้ถือวาเปนระดับสูงสุดของความชื้นในดนิที่เปนประโยชน

ตอพืช (available water) กลาวคือพืชสามารถดูดกินความชื้นในระดบันี้ได และความชื้นระดับนี้ก็

อยูในดินไดนานพอใหพืชดดูกิน ซ่ึงระดบัความชื้นที่สูงกวานี ้ เชน น้ําอิสระ รากพืชมีโอกาสดูด

น้ําไปใชประโยชนไดนอยมากจนไมถือวาเปนประโยชนตอพืชเนื่องจากระบายไปจากดินในบริเวณ

ที่มีรากพืชไดเร็ว

3) จุดเหี่ยวเฉาถาวร (Permanent Wilting Point) คือ ความชื้นในดนิเมื่อพืชไม

สามารถดูดมาใชใหเพียงพอสําหรับการคายน้ําและพืชเริม่มีการเหี่ยวเฉาอยางถาวรเรยีกวา“ความชืน้

ที่จุดเหีย่วเฉาถาวร” ระดับความชื้นที่จดุเหีย่วเฉาถาวรน ี้ถือวา เปนพิกัดลางสุดของความชื้นในดินที ่

เปนประโยชนตอพืช โดยทัว่ไปแลวคาแรงดึงดูดความชืน้เทากับ 15 บาร

อาการเหี่ยวเฉาของพืชอาจเกิดขึ้นไดหลายครั้งเปนการเหี่ยวเฉาชั่วคราวกอนทีจ่ะถึงจดุที่

พืชเหี่ยวเฉาอยางถาวร เชน การสูญเสียความชื้นจากการคายน้ํา เนื่องจากอัตราการดูดน้ําของพืช

จากดินนอยกวาอัตราการคายน้ําออกทางใบ การที่จะทราบวามีการเหี่ยวเฉาอยางถาวรหรือไมนั้น

ทําไดโดยการนําพืชที่เหีย่วเฉานั้นไปไวในหองที่มีอากาศเย็นหรือมีบรรยากาศรอบ ๆ ตนพืชที่อ่ิมตัว

ดวยไอน้ําคือมคีวามชื้นสัมพทัธของอากาศ 100 เปอรเซ็นต เปนเวลาอยางนอย 15 ช่ัวโมง แลวพืช

นั้นยังแสดงการเหี่ยวเฉาอยูแสดงวาถึงจุดทีพ่ืชเหี่ยวเฉาอยางถาวร

4) ความชืน้เมื่ออบแหง ปริมาณความชื้นในดินภายหลังถูกอบไวที่อุณหภูมิ 105 –

110 องศาเซลเซียส เปนเวลากวา 15 ช่ัวโมง จนกระทัง่ไมมีน้ําระเหยออกจากดิน ดินในสภาพนี้

มีคาแรงดึงความชื้น 10,000 บารขึ้นไป และนยิมใชน้ําหนักดินอบแหงเปนหลักสําหรับคํานวณหา

คาตาง ๆ

Page 20: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

44

2.6.2.4 ความสามารถในการอุมน้ําของดนิ ความสามารถที่ดินสามารถเก็บน้ําหรือ

อุมน้ําไวใหแกพืชดูดไปใช ระดับน้ําหรือความชื้นจะอยูระหวางระดับความชื้นในดนิที่ความชื้นชล

ประทานกับจดุเหีย่วเฉาถาวรหรือความชืน้ในสภาพที่ดนิยึดไวดวยแรงดึงความชื้นตัง้แต 1/3 - 15

บาร เปนความชื้นที่เปนประโยชนในปรมิาณสูงสุดของความชื้นที่ดนิชนิดหนึ่ง ๆ สามารถดูดยึดไว

เปนประโยชนตอพืช ความสามารถในการอุมน้ําของดินจะแตกตางกนัไปตามลักษณะโครงสราง

และลักษณะของเนื้อดิน โดยเฉพาะขนาดของชองวางระหวางเม็ดดินจะมีผลมากตอการอุมน้ําไว

ความชื้นที่เปนประโยชนตอพืชไดนี้มกัจะวัดเปนเปอรเซ็นตโดยน้ําหนักของดินแหงและ

เปอรเซ็นตโดยปริมาตร หรือเปนความลึกของน้ําตอความลึกของดิน เชน ดินรวนปนทรายมีความ

ช้ืนที่พืชนําไปใชได 1.20 มิลลิเมตรตอความลึกของดิน 1 เซ ็นติเมตร เปนตน (ชองที่ 6 ของ

ตารางที่ 2.9 ) เชน ถาปลูกพชืมีรากลึก 1.00 เมตร ดินจะสามารถอุมน้ําไวไดทัง้หมดเทากับ 1 x 120

คือ 120 มิลลิเมตร นั่นหมายถึง จํานวนน้าํหรือความชื้นที่เปนประโยชนตอพืช 120 มิลลิเมตรตอ

เนื้อดินที่ปลูกสูง 1 เมตร เปนตน

Page 21: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

45

ตารางที่ 2.9 คุณสมบัติทางกายภาพของดินที่เกีย่วกับความชื้นที่พืชนําไปใชไดหรือความชื้นที่อยูระหวางระดับความชื้นชลประทานกับจดุเหี่ยวเฉาถาวร

ความชื้นที่พืชนําไปใชได ความชื้น

ชลประทาน

ความชื้นที่จุด

เหี่ยวเฉาถาวร (มิลลิเมตรตอ

เซ็นติเมตร) ความถวง

จําเพาะปรากฎ

(As)

(เปอรเซ็นตโดย

น้ําหนักดินแหง)

(Fc)

(เปอรเซ็นตโดย

น้ําหนักดินแหง)

(Pw)

(เปอรเซ็นตโดย

น้ําหนักดินแหง)

(เปอรเซ็นตโดย

ปริมาตร) (d)

(PW)

PW =Fc-Pw

(PV)

PV=PW x As d=PW x As x D

100

เนื้อดิน

(6)=(4) x(1)xD (1) (2) (3) (4)=(2)- (3) (5) =(4) x (1)

100

1.65 9 4 5 8 0.8 1. ดินทราย

(1.55 – 1.80) (6 – 12) (2 – 6) (4 – 6) (6 – 10) (0.6 – 1.0)

2. ดินรวน 1.50 14 6 8 12 1.2

ปนทราย (1.40 – 1.60) (10 – 18) (4 – 8) (6 – 10) (9 – 15) (0.9 – 1.5)

1.40 22 10 12 17 1.7 3. ดินรวน

(1.35 – 1.50) (18 – 26) (8 – 12) (10 – 14) (14 – 20) (1.4 – 2.0)

4.ดินรวนปน

ดินเหนียว

1.35 27 13 14 19 1.9

(1.30 – 1.40) (23 – 31) (11 – 15) (12 – 16) (16 – 22) (1.6 – 2.2)

5.ดินเหนียว 1.30 31 15 16 21 2.1

ปนตะกอน (1.25 – 1.35) (27 – 35) (13 – 17) (14 – 18) (18 – 23) (1.8 – 2.3)

ทราย

1.25 35 17 18 23 2.3 6. ดินเหนียว

(1.20 – 1.30) (31 – 39) (15 – 19) (16 – 20) (20 – 35) (2.0 – 3.5)

หมายเหตุ D คือ ความลึกของชั้นดิน , คาตัวเลขในวงเลบ็เปนคาโดยประมาณ

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 22: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

46

นอกจากนี้ยังมนี้ําสวนที่พืชสามารถนําไปใชไดและใชไมไดของดินชนดิตาง ๆ แสดง

ดังในตารางที่ 2.10

ตารางที่ 2.10 ความสามารถในการอุมน้ําของดินทั้งหมดสวนที่พืชสามารถนําไปใชไดและใชไมได

ของดินชนิดตาง ๆ

ความสามารถในการอุมน้ําของดิน (มม.น้ํา/ซม.ดิน) เนื้อดิน

รวมท้ังหมด พืชนําเอาไปใชได พืชใชไมได

(1) (2) (3) (4)

ดินทราย 0.65 – 1.50 0.35 – 0.85 0.30 – 0.65

ดินรวนปนทราย 1.50 – 2.30 0.75 – 1.15 0.75 – 1.00

ดินรวน 2.30 – 3.40 1.15 – 1.70 1.15 – 1.50

ดินรวนปนตะกอนทราย 3.40 – 4.00 1.70 – 2.00 1.70 – 2.00

ดินรวนปนดินเหนยีวปนตะกอนทราย 3.60 – 4.15 1.50 – 1.80 2.10 – 2.35

ดินเหนียว 3.80 – 4.15 1.50 – 1.60 2.30 – 2.55

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

อนึ่ง คาของความสามารถในการอุมน้ําไวใหแกพืช จากตารางที่ 2.9 และตารางที่ 2.10

อาจแตกตางกนับางเล็กนอย เนื่องจากความสามารถในการอุมน้ําของดินแตละชนดิจะแตกตางกนั

ไปตามลักษณะโครงสรางและลักษณะของเนื้อดินโดยเฉพาะอยางงยิง่คือขนาดและปริมาตรของ

ชองวางระหวางเม็ดดิน ตามที่กลาวมาขางตน

2.6.2.5 ความชื้นท่ีเปนประโยชนตอพืชหรอืความชื้นท่ีพชืสามารถดดูเอาไปใชได จาก

ความสามารถในการอุมน้ําของดินที่กลาวมา น้ําในรูปของความชื้นในดินที่พืชสามารถดูดเอาไปใช

สําหรับการเจริญเติบโต ไดแก น้ําซับ ซ่ึงเปนความชื้นหรือความสามารถในการอุมน้ําไวไดของดนิ

ซ่ึงอยูระหวางความชื้นชลประทานกับจดุเหี่ยวเฉาถาวร เรียกวา “ความชื้นที่เปนประโยชนตอพืช”

Page 23: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

47

พืชสามารถใชความชื้นที่ดนิอุมไวนี้ไดทั้งหมด และเมื่อระดับความชืน้ในดนิถูกพืชใช

จนเหลือความชื้นใกลถึงจุดเหี่ยวเฉาถาวรแลวพืชอาจไดรับความเสียหายไดเพราะความชื้นในชวงนี้

จะถูกดนิดูดยดึเอาไวมากจนรากพืชไมสามารถดูดมาใชได

ดังนั้นจึงตองทําการใหน้ําเมื่อความชื้นในดินลดลงใกลถึงจุดเหี่ยวเฉาถาวร ซ่ึงเรื่องนี้

เปนเรื่องที่สําคัญตอการตัดสินใจในการกําหนดใหน้ําแกพืชมาก ซ่ึงโดยทั่วไปจะยอมใหความชืน้

ในดินลดลงประมาณ 40 ถึง 60 เปอรเซ็นต ของความชื้นที่พืชดูดเอาไปใชได ซ่ึงความชื้นในดินที่

ยอมใหลดลงกอนทําการใหน้ําครั้งตอไปเรียกวา “ความชื้นที่ยอมใหพืชดูดไปใชได” สวนความชื้น

ที่เหลือในดนิหลังจากพืชดดูเอาความชื้นไปใชไดหมดแลวเรียกวา“ความชื้นที่จดุวกิฤติ” แสดงไดดัง

ภาพที่ 2.6

ภาพที่ 2.6 ความสัมพันธระหวางความชืน้ในดนิกับการกําหนดใหน้าํแกพืช

จากหลักการทีย่อมใหความชืน้ในดนิลดลงประมาณ 40 ถึง 60 เปอรเซ็นตของความชื้น

ที่พืชดูดเอาไปใชไดนีจ้ะนําไปใชเปนเกณฑในการใหน้ําแกพืชตอไป

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 24: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

48

2.6.2.6 การตรวจสอบความชื้นในดิน จากที่กลาวมาแลววา การใหน้ําแกพืชจะตองเริม่

กระทําเมื่อความชื้นในดนิลดลงถึงจุดวิกฤติ และปริมาณน้ําที่ใหจะตองมากเพียงพอทีจ่ะใหความชืน้

ในดินเพิ่มขึ้นถึงความชื้นสนาม การที่จะทราบวาจํานวนความชื้นในดินลดลงถึงจุดวิกฤตินั้นจะตอง

ตรวจวดัความชื้นดินในเขตรากพืชเพื่อหาระดับความชืน้ในดินวามีอยูเทาใด และจะตองทําการสง

น้ําเพิ่มเปนปรมิาณเทาใดจึงจะทําใหความชื้นในดนิเพิ่มขึ้นถึงความชื้นสนามที่ตองการดังกลาว

สําหรับแนวคดิในการตรวจสอบความชื้นที่ระดับความชื้นสนาม และจุดเหี่ยวเฉาถาวร

ซ่ึงเปนระดับของความชื้นทีม่ีน้ําอยูในดินและใชเปนหลักเกณฑสําหรบักําหนดการใหน้ําแกพืชนัน้

เราสามารถหาคาความชื้นทั้ง 2 ระดับไดจากหลักการทีว่าความจุความชืน้ในสนามมแีรงดึงความชื้น

1/3 บาร โดยใชเครื่องแยกความชื้นออกจากดิน (Soil moisture extractor)

การหาระดับความชื้นในเขตรากพืชสามารถกระทําได 3 วิธี คือ การวัดความชืน้ใน

ดินโดยการชั่งน้ําหนกั การวดัความชื้นในดินโดยใชเครือ่งมือทางวิทยาศาสตร และการวัดความชื้น

ในดินโดยดูลักษณะและความรูสึกสัมผัส

1) การวัดความชื้นในดินโดยการชัง่น้ําหนกั การตรวจวัดความชืน้ของดินโดยการชั่ง

น้ําหนกั เปนวิธีหนึ่งทีจ่ะหาวาความชื้นของดินในขณะนั้นลดลงถึงจุดที่ตองการใหน้ําแลวหรือไม

การตรวจวัดทาํโดยการเก็บตวัอยางดนิที่ระดับความลึกตาง ๆ ในเขตราก และที่จุดตาง ๆ ในพืน้ที่

เพาะปลูกมาชัง่น้ําหนกัแลวอบใหแหงดวยเตาอบที่อุณหภูมิประมาณ 105 องศาเซลเซียส เปนเวลา

24 ช่ัวโมง แลวนํามาชั่งน้ําหนักอีกครั้งน้ําหนักของดนิทีห่ายไปในการชั่งทั้งสองครั้งจะเปนน้ําหนกั

ของน้ําที่อยูในขณะที่เก็บตัวอยาง

การวัดความชืน้ของดินวิธีนี ้เปนการวดัโดยตรงและใหคาถูกตองที่สุด แตมีขอเสียตรงที่

ตองใชเวลาแรงงานและเครื่องมือที่เก็บตัวอยาง ดวยเหตนุี้จึงนยิมปฏิบัติกันเฉพาะในงานที่ตองการ

ความละเอียดถูกตองจริง ๆ เชน ในงานทดลองหรืองานวจิัยเทานัน้

การหาระดับความชื้นในดินหรือน้ําในดินโดยการชั่งน้ําหนักวามีจํานวนเทาใด สามารถ

หาได 3 แบบ คือ เปอรเซ็นต ความชื้นโดยน้ําหนัก เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และเปนความลึกของ

น้ําตอความลึกของดิน ดังแสดงในตารางที่ 2.9

Page 25: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

49

2) การวัดความชื้นในดินโดยใชเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร เครื่องมือวดัความชื้นมหีลาย

แบบ แบงออกตามคุณสมบตัิของดินที่ทําการวัดหรือวิธีการวัด ดังแสดงในตารางที่ 2.11

ตารางที่ 2.11 ลักษณะการทํางานของเครื่องมือในการตรวจสอบความชื้นในดนิแบบตาง ๆ

เคร่ืองมือ หลักการตรวจวัดท่ีเก่ียวของ

การใชเทนซิโอมิเตอร (Tensiometer) แรงดึงความชืน้ในดนิ

การใชแทงวัดความชื้น (Moisture Block) แรงตานทานความชื้นในดิน

การวัดการกระจายของนิวตรอน (Neutron Moisture Meter) การเคลื่อนไหวของนิวตรอน

2.1) แบบวดัแรงดึงความชื้นของดิน (Tensiometer) โดยใหแรงดงึความชื้นของดินนี้

อยูในสภาวะสมดุลกับน้ําที่บรรจุอยูในกระเปาะพรุน ซ่ึงเมื่อรูความสัมพันธระหวางแรงดึงความชื้น

ของดินกับจํานวนความชื้นในดิน ตรงบริเวณจุดที่ตั้งเครื่องมือก็จะทราบคาจํานวนความชื้นในดิน

ที่จุดนั้นได เครื่องมือชนิดนี้เรียกวา“ เทนซิโอมิเตอร” (ภาพที่ 2.7)

เทนซิโอมิเตอรใชสําหรับวัดความชื้นในดินที่มีความชื้นคอนขางสูงคือตั้งแต - 0.8 บาร

ขึ้นไป เพราะถาหากใชกับดนิที่แหงกวานี้ อากาศในดนิจะซึมเขาไปในอุปกรณทางกระเปาะพรนุทาํ

ใหอานคาไมได

2.2) แบบวดัคณุสมบัติทางไฟฟาของแทงวดัความชื้น(Moisture Block)ซ่ึงมีความชื้น

อยูในสภาวะสมดุลกับดินบรเิวณรอบ ๆ จุดที่ฝงอยู คุณสมบัติทางไฟฟาที่วดัสวนมากเปนความ

ตานทานดังนัน้จึงตองมีเครือ่งมือวัดความตานทานประกอบดวยอุปกรณทั้งหมดรวมเรียกวา “เครื่อง

วัดความชืน้ดวยไฟฟา” สวนคาวัสดุพรุนเรยีกวา“กอนความตานทาน” ซ่ึงประกอบขึ้นดวยข้ัวไฟฟา

2 ขั้ว หุมดวยปูนปลาสเตอร พันดวยไนลอนหรือไฟเบอรกลาส ดังแสดงในภาพที่ 2.8

การใชเครื่องมือวัดความชืน้แบบนี ้ จะมีความเหมาะสมกับการใชดินที่มีความชื้น

คอนขางต่ําแตไมต่ําเกินไป จนความชื้นดินไมพอทีจ่ะเกิดความตอเนือ่งทางไฟฟาในแทงวัสดพุรุน

อยางไรก็ตามถาความชื้นสูงเกินไปหรือสูงใกลเคียง - 0.8 บาร คาการนําไฟฟาจะคงที่ จึงไมแสดง

ความแตกตางใหเห็นจากการอาน แมวาระดับความชืน้ในดินจะผันแปรไปแลวก็ตาม

Page 26: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

50

2.3) แบบวัดการกระจายของนิวตรอน (Neutron Moisture Meter) หลักการทํางานของ

เครื่องมืออาศัยหลักการที่วา “เมื่อนิวตรอนเร็ว (fast neutron) วิ่งไปกระทบนิวเคลียสของ

ไฮโดรเจนอะตอมจะเกิดการสูญเสียพลังงานและกลายเปนนิวตรอนชา (slow nutron)” ดังนั้นเมือ่

นิวตรอนที่สงออกไปกระทบเขากับไฮโดรเจนอะตอมของน้ํา ซ่ึงอยูในรูปของความชื้นในดนิจะทาํ

ใหความเร็วของนิวตรอนทีส่ะทอนมาลดลง จํานวนนิวตรอนที่สะทอนกลับมานี้สามารถวัดและ

เทียบเปนความชื้นในดนิได เครื่องมือแบบนี้เรียกวา “เครื่องวัดความชื้นดวยนวิตรอน”(ภาพที่ 2.9 )

วิธีการวัดความชื้นในดนิแบบนี้มีความสะดวกและแมนยําแตมีราคาแพง

ภาพที่ 2.7 เครื่องวัดความชื้นในดนิแบบวัดแรงดึงความชื้นโดยเทนซิโอมิเตอร

ท่ีมา (ดิเรก ทองอราม และคณะ, 2545)

Page 27: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

51

ภาพที่ 2.8 เครื่องวัดความชื้นในดนิแบบวัดดวยความตานทานไฟฟา

ท่ีมา (อภิชาต ิ อนุกูลอําไพ และคณะ, 2524)

ภาพที่ 2.9 เครื่องวัดความชืน้ในดนิแบบวดัดวยนวิตรอน

ท่ีมา (อภิชาต ิ อนุกูลอําไพ และคณะ, 2524)

Page 28: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

52

3) การวัดความชื้นในดินโดยดูลักษณะและความรูสึกสัมผัส การตรวจวัดความชืน้โดยวิธีนี้เปนวิธีเกาแกที่แพรหลาย ซ่ึงเกษตรกรสามารถทําไดดวยตวัเองเนื่องจากไมมเีครื่องมือสําหรับการตรวจสอบโดยวิธีอ่ืน โดยใชสวานเจาะดินหรือใชพล่ัวขุดดินในระดับความลึกในเขตรากพืชในพื้นที่ที่ตองการทราบมาตรวจดูโดยใชความรูสึกจากการสัมผัสดวยมือ วิธีนี้หากผูปฏิบัติมีความคุน เคยกับลักษณะของดินที่มีความชื้นในระดบัตาง ๆ ไดดีแลว ก็จะสามารถบอกไดทันทวีาดินขณะนั้นแหงพอทีจ่ะใหน้ําไดหรือไม แมวาการหาความชื้นของดินโดยวิธีนี้เปนวิธีที่ไมถูกตองนักก็ตาม แตถาหากผูปฏิบัติมีความชํานาญก็จะสามารถกําหนดการใหน้ําแกพชืไดถูกตองพอสมควร สําหรับแนวทางทีใ่ชในการตรวจสอบระดับความชื้นในดนิวามเีหลืออยูเทาใดแสดงไดดังตารางที่ 2.12

ตารางที่ 2.12 ลักษณะและความรูสึกสัมผัสของดินที่มีความชื้นที่พืชนาํไปใชไดในระดับตาง ๆ

ลักษณะและความรูสึกสัมผสั ความชื้นท่ีพชืนํา ไปใชไดท่ีมีอยู

ในดิน ดินเนื้อหยาบ

ดินเนื้อคอนขางหยาบ

ดินเนื้อปานกลาง ดินเนื้อละเอียดและละเอียดมาก

1 เปอรเซ็นต แหง รวน ไมเกาะ กันเปนกอน

แหง รวน ไมเกาะกันเปนกอน

แหงเปนผง หรือ เกาะกันเปนกอน แตบีบใหแตกเปนผงไดงาย

แหงแข็งมีรอยแตกราว บางทมีีกอนรวนเล็กๆบนผิวหนา

50 เปอรเซ็นต แหง กําใหแนน ในมือไมเปนกอน

แหง กําใหแนนในมือไมเปนกอน

คอนขางรวนแตกําใหแนนเกาะกันเปนกอน

คอนขางนุมกําใหแนนเปนกอนได

50-75 เปอรเซ็นต ดูแหง กําใหแนนในมือไมเปนกอน

กําใหแนนเปนกอนไดแตแตกงาย ไมเกาะกนั

กําเปนกอนได คอนขางเหนยีว เมื่อบีบจะลื่นเล็กนอย

กําเปนกอนใชนิ้วรีดเปนแผนบางๆได

75 เปอรเซ็นต ถึง จุดความชืน้ ชลประทาน

เกาะกันบาง กาํเปนกอนแตแตกงาย

กําเปนกอนแตแตกงาย

กําเปนกอน ออนนุมมาก ถาดินมีดนิเหนยีวมากจะลื่น

รีดเปนแผนระหวางนิ้วมือไดงายรูสึกล่ืน

จุดความชืน้ ชลประทาน

บีบไมมีน้ําออกมา เหมือน ดินเนื้อหยาบ

เหมือนดนิเนื้อหยาบ เหมือนดนิเนื้อหยาบ

เกินจดุความชืน้ ชลประทาน

สลัดในมือจะมีน้ํากระเดน็ออกมา

นวดดินจะมีน้าํออกมา

บีบจะมีน้ําออกมา เปนโคลนมีน้ําบนผิว

ท่ีมา (ดิเรก ทองอราม และคณะ, 2545)

Page 29: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

53

2.6.2.7 ลักษณะการดูดซึมน้ําและอัตราการซึมน้ําของดิน การดูดซึมน้าํของดินคือการ

เคล่ือนที่ของน้ําจากผิวดนิเขาไปในดนิตามชองวางระหวางเม็ดดินดวยแรงดึงดูดของโลก อัตราการ

ซึมของน้ําผานผิวดินตอหนึง่หนวยเวลาเรียกวา “อัตราการซึมของน้ําผานผิวดิน (Infiltration rate

หรือ Intake rate)”

การซึมซับน้ําของดินเปนขอมูลที่สําคัญในการใหน้ําแกพชื เพราะไมควรใหน้ําในอัตรา

ที่เกินกวาอัตราการซึมของน้ําผานผิวดินเพราะจะทําใหเกดิการชะลาง การไหลบาไปบนผิวดิน หรือ

การพังทลายของดิน

อัตราการซึมของน้ําผานผิวดนิขึ้นอยูกับโครงสรางของดิน เนื้อดนิ อุณหภูมิของน้ําและ

ดิน ความลึกของน้ําบนผิวดิน สภาพของผิวดิน และความชื้นของดนิที่มีอยูกอนใหน้ํา คาอัตราการ

ซึมของน้ําผานผิวดินจะมีคามากเมื่อเร่ิมตนใหน้ําเนื่องจากผิวดินยังแหงอยูจึงดดูซับน้ําเอาไวไดอยาง

รวดเร็วแตขณะที่การใหน้ํายงัคงดําเนินตอไป ดินจะเริ่มอ่ิมน้ําและคาอัตรานี้จะเริ่มลดลงจนถึงระดบั

หนึ่งซ่ึงคาเกือบจะคงที่ตลอดไปจนกวาจะหยุดใหน้ํา ดังแสดงในภาพที่ 2.10 ภาพที่ 2.10 ลักษณะการซึมซับน้ําของดิน

Page 30: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

54

ตารางที่ 2.13 ลักษณะการดดูซึมของน้ํา

การซึมซับของดิน นิ้ว/ชม.

ชามาก < 0.05

ชา 0.06 – 0.20

คอนขางชา 0.20 – 0.60

ปานกลาง 0.60 – 2.00

คอนขางเร็ว 2.00 – 6.30

เร็ว 6.30 – 20.00

เร็วมาก > 20.00

ตารางที่ 2.14 อัตราการซึมของน้ําผานผิวดิน

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

เนื้อดิน อัตราการซึมของน้ํา (มม./ชม.)

ดินทราย > 20

ดินรวนปนทราย 10 – 20

ดินรวน 5 – 10

ดินเหนียว 1 – 5

ในการใหน้ําแกพืช ถือวาเปนการเติมน้ําใหแกดินบริเวณเขตรากพืชโดยจะใชหลักการ

ที่วาน้ําที่ใหนัน้จะตองไหลลงไปในดินบริเวณรากพืชเพื่อใหรากพืชไดดูดเอาไปใชในอัตราที่ไมเกิน

กวาอัตราการซึมของน้ําผานผิวดิน ดังนัน้การเลือกอุปกรณใหน้ําแกพืช เชน การเลือกหัวมินิสปริง

เกลอรใหน้ําแกไมผลใด ๆ ก็ตามจะตองมอัีตราการใหน้าํไมเกินกวาอตัราการซึมของน้ําผานผิวดินที่

แสดงในตารางที่ 2.14 ลักษณะของดนิที่ช้ันดินบนและดินลางตางกัน จะมีลักษณะการเปยก

เนื่องจากการซึมน้ําแตกตางกนัดวย ดังแสดงในภาพที่ 2.11 และ2.12

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 31: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

55

ภาพที่ 2.11 ลักษณะการเปยกน้ําของดนิเนื้อละเอียดกับดินเนื้อหยาบ

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

ภาพที่ 2.12 ลักษณะการเปยกน้ําของดนิที่ช้ันดินบนและชั้นดินลางตางกัน

ท่ีมา : วิสุทธิ์ วีรสาร และยงยุทธ โอสถสภา, 2539

2.6.3 คุณสมบัติของพืชท่ีเก่ียวของกับความตองการน้ําของพชื

คุณสมบัติของพืชที่เกี่ยวของกับความตองการน้ําของพืชมีดังนี ้

2.6.3.1 ปริมาณการใชน้าํของพืช ปริมาณการใชน้ําของพืช(Evapotranspiration หรือ

Consumptive Use) หรือมีช่ือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “การคายระเหยน้ํา” หมายถึงปริมาณน้ําทั้งหมด

ที่สูญเสียไปจากพื้นที่เพาะปลูกสูบรรยากาศในรูปของไอน้ํา โดยการระเหยและการคายน้ํา ดังแสดง

ในภาพที่ 2.13

Page 32: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

56

ภาพท่ี 2.13 ปริมาณการใชน้ําของพืช

1) การระเหย (Evaporation , E) คือปริมาณน้ําที่ระเหยจากผิวดนิบริเวณรอบ ๆ ตนพืช จากผิวน้ําในขณะใหน้ําหรือขณะที่มีน้ําขังอยูและจากน้ําที่เกาะอยูตามใบพืช เนื่องจากการใหน้ําหรือจากฝนที่ตก

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

2) การคายน้ํา (Transpiration , T) คือปริมาณน้ําที่พชืนําไปใชจริงๆ โดยการดูดไปจากดินเพื่อนําไปใชหลอเล้ียงลําตนและสวนตางๆของพืช รวมทั้งการละลายแรธาตุอาหารในดินขึ้นไปบํารุงสวนตางๆ ของพืชแลวคายออกทางใบสูบรรยากาศ 2.6.3.2 ตัวแปรท่ีมีอิทธิพลตอการใชน้ําของพืช ปริมาณการใชน้ําของพืชจะมีปริมาณมากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกบัสภาพดินพืช สภาพภูมิอากาศรอบๆ ตนพืช และการจัดการเพาะปลูก เปนตน 1) สภาพดิน ดินทรายมีความสามารถในการเก็บกกัน้ําไวใหพืชใชไดนอยกวาดินเหนียว 2) พืช ชนิดพชื อายุ ระยะการเจริญเติบโตยอมตองการใชน้ําตางกัน 3) สภาพภูมิอากาศ สภาพภมูอิากาศรอบ ๆ ตนพืชที่สําคัญ เชน รังสีดวงอาทิตย อุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และลม เปนตัวแปรที่มีอิทธิพลทําใหการใชน้ําของพืชตางกัน 4) การจัดการเพาะปลูก การเขตกรรมตาง ๆ มีอิทธิพลทําใหการใชน้าํของพืชตางกันดวย

Page 33: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

57

ตารางที่ 2.15 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการใชน้ําของพืชภายใตลักษณะภูมอิากาศตาง ๆ

ลักษณะการใชน้ําของพืชตอวัน ภูมิอากาศ

มาก นอย แสงแดด แดดรอน คร้ึม

อุณหภูม ิ รอน เย็น

ความชื้นในอากาศ ต่ํา (แหง) สูง (ช้ืน)

ลม แรง เอื่อย

2.6.3.3 ปริมาณการใชน้าํสูงสุดของพืชแตละวัน เปนปริมาณการใชน้าํสูงสุดของพืช

เฉล่ียตอวัน ในระยะเวลาของการใหน้ําในฤดูกาลเจริญเติบโตของพืช ปกติจะอยูในชวงที่พืชเริ่มมีผลิตผล และในเวลาที่มีอุณหภูมิสูง ขอมูลนี้จะเปนประโยชนตอการวางแผนการออกแบบและการวางแผนการสงน้ํา

2.6.3.4 การดดูน้ําจากดนิของพืช พืชจะมรีากทําหนาที่ดดูน้ําจากดินเปนจํานวนมากในบริเวณใกลๆ กับปลายราก ประมาณ 4 – 5 เซนติเมตร นับจากปลายรากขึ้นมาจะมีรากขนออนเปนรากเสนเล็กละเอียดเกิดขึ้น ทําหนาที่ดดูธาตุอาหารและยึดลําตน รากเหลานีแ้ทรกอยูตามชองวางระหวางเม็ดดนิเพื่อดูดน้ําที่เกาะรอบ ๆ เม็ดดิน หรือในชองวางระหวางเม็ดดินดวยแรงออสโมซิส(osmosis)

ตารางที่ 2.16 อัตราการใชน้าํสูงสุดตอวันของพืชตาง ๆ

พืช เร่ิมใหน้ําเมื่อความชื้นดินเหลืออยู

(เปอรเซ็นต) อัตราการใชน้ําสูงสุดตอวัน (ซม.)

ขาวสาลี 40 – 50 0.4 – 0.7

ขาวโพด 40 – 50 0.4 – 0.7

ฝาย 30 – 40 0.5 – 0.7

ถ่ัวลิสง 40 – 50 0.5 – 0.7

ออย 50 – 60 0.6 – 0.7

มันฝร่ัง 65 – 75 0.7 – 0.9

ถ่ัวเบอรซีม 60 – 70 0.6 – 0.8

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 34: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

58

ขณะที่พืชดูดน้ําจากดนิขึ้นไปใชเพื่อการเจริญเติบโต ดนิในบริเวณรากพืชจะแหงและมี

แรงดึงความชืน้เพิ่มขึ้น น้ําจากบริเวณถัดไปก็จะไหลเขามาแทนที่ ซ่ึงการที่นําไหลเขามาหารากพชื

จะมีปริมาณมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับวาในบริเวณดังกลาวมีความชื้นอยูมากนอยเพยีงใด และไหล

ซึมเขามาดวยอัตราเทาใด

2.6.3.5 ความลึกของรากพืช การแผกระจายหรือความลึกของรากพืชเปนขอมูลที่สําคัญ

ยิ่งในการกําหนดปริมาณน้ําที่จะสงไปใหแกพืช ทั้งนี้เพราะตามหลักการจัดการเรื่องน้ําแลวจะสง

น้ําใหแกพืชไดไมเกนิความลึกของบริเวณรากพืช ลักษณะการแผกระจายของรากพชืแตละชนิดไม

เหมือนกนั ขึ้นอยูกับชนิดของพืช ชนดิดิน ความลึกของดิน ระดบัน้ําใตดนิ ฤดูกาลเพาะปลกู

ตลอดจนปริมาณน้ําที่ใหแกพืชในแตละครั้ง

โดยปกตแิลวรากพืชจะไมงอกออกไปในดนิที่มีความชื้นต่ํากวาจดุเหีย่วเฉาถาวร และ

รากจะไมขยายตัวต่ํากวาระดับน้ําใตดิน เพราะมีออกซิเจนและอาหารที่เปนประโยชนตอพืชนอย

สวนใหญแลวจะมีรากลึกไมเกิน 2 เมตร (ตารางที่ 2.13)

2.6.3.6 การดูดน้ําจากดนิในชั้นตาง ๆ ของพืชถาหากดินมีเนื้อดินอยางสม่ําเสมอ และมี

ความชื้นที่สามารถนําไปใชไดตลอดความลึกของรากพืชแลว พืชก็จะใชน้ําจากตอนบนของเขตราก

อยางรวดเรว็ สวนในตอนลางนั้นพืชจะดดูน้ําไปใชชากวามาก ถาแบงความลึกของเขตรากออกเปน

4 สวนเทา ๆ กัน ประมาณ 40 เปอรเซ็นต ของความชื้นที่พืชใชทั้งหมดมาจากดินในชัน้แรกนับ

จากผิวดนิลงมา 30 เปอรเซ็นต จากดินชั้นทีส่อง 20 เปอรเซ็นต จากดินชัน้ที่สามและ 10 เปอรเซ็นต

จากดินชัน้ที่ส่ี ตามลําดับ ดังแสดงในภาพที่ 2.14

ภาพที่ 2.14 การดูดน้ําจากดนิในชั้นตางๆ ของพืช

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 35: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

59

ตารางที่ 2.17 ความลึกของรากพืชชนิดตาง ๆ

ชนิด พืช ความลึกของรากพืช (เซนติเมตร)

พืชไร ขาวโพด 35 – 70 ถ่ัวเขียว 30 – 60 ถ่ัวลิสง 50 – 100 ถ่ัวเหลือง 60 – 130 ออย 60 – 125 ฝาย 100 – 180 ยาสูบ 50 – 100 ขาวฟาง 100 – 200 ขาวชนิดตางๆ 60 – 150 ทุงหญา 60 – 100 คําฝอย 90 – 180

พืชสวน กลวย 50 – 90 ไมผลประเภทสม 10 – 150 สับปะรด 30 – 60 องุน 100 – 200 สมเขียวหวาน 120 – 150 สมตางๆ 100 – 200 ทุเรียน 20 – 30 เงาะ 30 – 60 มังคุด 90 – 120 ไมผลอ่ืนๆ 100 – 200 มะเขือยาว 90 – 120 กระเทียม 50 – 60 ผักกาดหอม 50 – 60 ผักกาดกวางตุง 90 – 120 กระเจีย๊บ 90 – 120 หอม 30 – 75

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 36: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

60

ตารางที่ 2.17 ความลึกของรากพืชชนิดตางๆ (ตอ)

ชนิด พืช ความลึกของรากพืช (เซนติเมตร)

พริก 50 – 100

มะเขือเทศ 40 – 100

แตงโม 50 – 100

ถ่ัวตางๆ 76 – 170

สลัด 40 – 60

แครอท 50 – 100

มันฝร่ัง 40 – 60

มันเทศ 120 – 180

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

ตารางที่ 2.18 การใชน้ําของพืชที่อยูในบริเวณราก

บริเวณราก เปอรเซ็นตของน้ําท่ีพชืใช

25 เปอรเซ็นต สวนบน 40

25 เปอรเซ็นต สวนที่สอง 30

25 เปอรเซ็นต สวนที่สาม 20

25 เปอรเซ็นต สวนที่ส่ี 10 ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

ในการใหน้ําแบบประหยดัทีจ่ะกลาวถึงนี้จะเนนการใหน้าํแกพืชที่บริเวณเขตรากพืช

สวนบน (25 เปอรเซ็นต สวนบน) เปนหลัก

2.6.3.7 ระยะวิกฤติของพชืชนิดตาง ๆ ในระยะที่พืชตองการน้ํามากคือระยะทีพ่ืชออก

ดอกใหผลผลิต ถาชวงเวลานี้พืชขาดน้ําจะเกิดความเสียหายแกผลผลิต จึงถือวาเปนระยะวกิฤติของ

พืช ซ่ึงมีผลกระทบกระเทือนถึงขนาดผล การเกิดของเมล็ด หรือผลผลิตของพืช ชวงวิกฤติของพืช

แสดงในตารางที่ 2.19

Page 37: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

61

ตารางที่ 2.19 ชวงวกิฤติของพืชบางชนดิ

พืช ตัวอยางพืช ชวงวิกฤต ิ

พืชไร ขาวโพด ผลิดอกจนถึงติดฝก

ขาวฟาง ออกชอดอกจนถึงเมล็ดเต็ม

ถ่ัวตน ผลิดอกจนถึงออกฝก

ฝาย ผลิดอกจนถึงสมอแก

ละหุง ชวงเจริญเติบโตเต็มที ่

ออย แตกหนอและลําตนยืดตวั งา ออกดอกจนกระทั่งแก

ถ่ัวเหลือง ออกดอกจนถึงออกฝก

ถ่ัวลิสง ออกดอกจนถึงติดฝก

ทานตะวัน ออกดอก

พืชสวน กลวย ตลอดอายุโดยเฉพาะอยางยิ่งระยะของการติดผล

พืชสวน ระยะที่ผลกําลังเติบโต

ไมผลประเภทสม ผลิดอกออกผล

องุน ระยะทีเ่ถากําลังยืดตวัและออกดอกแก

พืชผัก กะหล่ําปลี เร่ิมออกดอกจนเก็บเกี่ยว

กะหล่ําดอก ตลอดฤดูกาลเพาะปลูก

แตง ผลิดอกจนถึงเก็บเกีย่ว

ถ่ัวเถา ผลิดอกออกฝก

มะเขือเทศ ผลิดอกออกผล

มันฝร่ัง เร่ิมลงหัวจนถึงเก็บเกีย่ว

พริก ออกดอกไปจนกวาผลแก

หอมหัวใหญ ระหวางเกิดหวัจนกระทั่งแก

แตงโม ออกดอกสรางผล

ท่ีมา : ดิเรก ทองอราม และคณะ , 2545

Page 38: บทที่ 2 อการเกษตร 2.1 ความนําsomsak.lru.ac.th/Site/Academics_files/lesson 2.pdf · บทที่ 2 คุณภาพน้ําเพื่

62

2.6.3.8 อายุและลักษณะทางสรีรวิทยาของพืช พืชจะใชน้ํามากนอยเพียงใดขึ้นอยูกบั

อายุและลักษณะทางสรีรวทิยา ปกติแลวพืชที่ยังเล็กและมีวงจรชวีิตส้ันจะใชน้ํานอยกวาพืชทีเ่ติบโต

และมีวงจรชีวติที่ยาวกวา นอกจากนีพ้ืชทีใ่หผลผลิตหรือผลมีน้ํามาก เชน แตงโมจะมีความตองการ

ใชน้ํามากกวาพืชที่ใหผลเปนเมล็ด อยางเชน ถ่ัวเหลือง ขาวโพด เปนตน

2.7 บทสรุป

น้ําที่จะนํามาใชในการเพาะปลูกพืชตองมีปริมาณและคุณภาพเหมาะสมกับความตองการของพืช

กลาวคือ ปริมาณน้ําตองมีปริมาณเพียงพอตอการเจริญเตบิโตตลอดอายุการเก็บเกีย่วผลผลิต ของพืช

คุณภาพของน้าํที่สําคัญ คือ คุณภาพทางเคมี เชน ความเปนกรด ดาง และความเค็ม เปนตน ซ่ึงมีผล

ตอการเจริญเตบิโตของพืชถาพืชไดรับน้ําที่มีความเปนกรดดางหรือเคม็สูงจะแสดงอาการเหี่ยวเฉา

ทางใบและลําตน ดินที่ดีนัน้ตองมีคุณสมบัติที่เปรียบเสมือนบานซึ่งเมือ่ไดเขาไปอยูอาศัยแลวมีผูอยู

อาศัยไดรับความสุขสบาย เชนเดียวกนักับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ที่อาศัยอยูในดินนัน้ไดดําเนินวัฏจกัรชีวติ

ตามธรรมชาติ ดังนั้นดินจะตองมีความอุดมสมบูรณอันประกอบดวย อินทรียวัตถุ อนินทรียวัตถุ

มีความรวนซุย มีชองวางระหวางเมด็ดนิ เกิดการแลกเปลี่ยนอากาศที่มกีาซตาง ๆ เชน ออกซิเจน

ไนโตรเจน และคารบอนไดออกไซด เปนตน ดนิที่เหมาะกับการปลกูพืชนอกจากจะมีคุณสมบัติ

ดังกลาวแลวยงัตองมีความสามารถในการอุมน้ําไวไดดีดวยเพื่อใหพืชสามารถดูดสารอาหารไปเลี้ยง

ลําตน กิ่ง กานใบ และผลใหเจริญเติบโตได ดังนั้นดินจะตองไมแนนทึบเกนิไปจนทําใหรากพชื

ชอนไชแทรกเขาไปในดิน ไมได

2.8 คําถามทายบท

1) น้ําเพื่อการเกษตรควรมีคณุสมบัติอยางไร

2) องคประกอบของดินมีอะไรบาง

3) ดินที่เหมาะกับการเพาะปลูกพืชควรมลัีกษณะอยางไร

4) พืชใชน้ําไดอยางไร

5) ความชื้นชลประทานคืออะไร

6) จุดวิกฤติของพืชคืออะไร

7) จงอธิบายลักษณะของเขตรากพืช

8) พืชแตละชนิดมีความตองการน้ําแตกตางกันอยางไร

9) จงอธิบายคณุสมบัติของพืชที่มีตอความตองการน้ําของพืช