105534 การอนุรัักษ...

Post on 10-Feb-2018

226 views 2 download

Transcript of 105534 การอนุรัักษ...

การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ 105534 105534

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

จรัณธรจรัณธร บุญญานุภาพบุญญานุภาพคณะเกษตรศาสตรคณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลกพิษณุโลก

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ ไดถือกําเนิดขึ้นอันเนื่องจากประชาคมโลกมีความกังวลถึงอัตราการทําลายความหลากหลายทางชีวภาพไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในระยะหลายศตวรรษที่ผานมานี้ จึงเกิดมีความตระหนักวารัฐบาลทั่วโลกควรจะมีการดําเนินการอยางพรอมเพรียงกัน เพื่อใหหลักประกันวาจะอนุรักษชนิดพันธุและระบบนิเวศของโลกไว

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

• หลักการของอนุสัญญาระดับโลก (world convention) ถูกกําหนดขึ้นมาเพื่อวางพันธกรณีทั่วไปสําหรับการสงวนรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและเพื่อใหกรอบนโยบายที่สอดคลองกนัในการดําเนินกิจกรรมในอนาคต

• ความคิดนี้ไดรับการริเริ่มจากสหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ (InternationalUnion of conservation or Nature and Natural Resources: IUCN ) ที่ไดจัดทํารางฉบับสุดทายขึ้นเสร็จสมบูรณ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1989

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพหลักการของขอเสนอของสหภาพฯ (IUCN) ไดเนน 3 ประเด็น คือ

• พันธกรณีทั่วไปสําหรับทุกประเทศ เพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ

• หลักการของการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมปาโดยเสรี• หลักการซึ่งคาใชจายในการอนุรักษตองมีการแบงปนอยางเทาเทยีมโดยทุกชาติ

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

คณะกรรมาธิการโลกวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (World Commission on Environment and Development) ไดเสนอในรายงาน “อนาคตของเรารวมกัน” (“Our Common Future”) ดังนี้วา

“รัฐบาลทั้งหลายควรศึกษาถึงความเปนไปไดที่จะจัดทําอนุสัญญาเกี่ยวกับชนิดพันธุ (species convention) ที่มีเจตจํานงคและขอบเขตคลายอนุสัญญาวาดวยกฎหมายทะเลและอนุสัญญาระหว างประเทศอื่นๆ ซึ่งสะท อนถึงหลักการทรัพยากรสากล อนุสัญญาเกี่ยวกับชนิดพันธุ จักตองเชื่อมโยงหลักการของชนิดพันธุและการแปรปรวนทางพันธุกรรมวาเปน มรดกรวม (common heritage)”

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ• อนุสัญญาฯ เริ่มมีการลงนามรับรอง ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ในระหวางวันที่ 5-14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) โดย 157 ประเทศ

• ประเทศไทยเปนภาคีอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2547 โดยดําเนินการในเรื่อง การเผยแพรความรูและความตระหนักเกีย่วกับความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ

• ในปจจุบัน อนุสัญญาฯ มุงเนนที่กิจกรรมดาน1. การดําเนินงานอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ2. การใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน3. การแบงปนผลประโยชนที่เกิดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรมอยางยุติธรรมและเทาเทียม

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

“อนุ สัญญาว าดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ไดใหคํ ามั่นสัญญาทางกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ, การเงิน, การเขาถึงเทคโนโลยี การถายทอดเทคโนโลยี และการแบ งปนผลประโยชนซึ่งนับวาเปนเครื่องมือในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในอนาคตอนุสัญญาฯ มีวัตถุประสงคทั้งทางดานการอนุรักษและการพัฒนา และยังมีการเชื่อมโยงอยางเหนียวแนนระหวางความตองการของประชาชนและการอนุรักษ”

• สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนหนวยงานประสานงานกลางของอนุสัญญาฯ ในประเทศไทย

หลักการและขอบเขตของอนสุัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชวีภาพเปนเพียงเครื่องมอืนาํไปสูความสําเร็จตามเปาหมาย ขึน้อยูกับแตละประเทศวาจะใชเครื่องมือนี้อยางไร

• เปนความหวงใยรวมกนัของมวลมนษุยชาติ

การอนุรักษความหลากหลายทางชวีภาพเปนความหวงใยรวมกันของมวลมนุษยชาติ

หลักการและขอบเขตของอนสุัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

• เนนการอนรุักษความหลากหลายทางชวีภาพ

1. โ ด ย ก า ร เ ข าถึงทรัพยากรพันธุกรรมอยางเหมาะสมและโดยการถายทอดเทคโนโลยีที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม คํานึงถึงสิทธิทั้งปวงเหนือทรัพยากรและเทคโนโลยี

2. โดยการสนับสนุนทนุอยางเหมาะสม

หลักการและขอบเขตของอนสุัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

• ยืนยนัอาํนาจอธปิไตยเหนือทรัพยากร

ภาคีมีสิทธิในอํานาจอธิปไตยที่จะใชทรัพยากรของตนตามนโยบาย

สิ่งแวดลอมของแตละประเทศ และตามความรับผิดชอบของประเทศ

โดยไมทํ าใหเกิดความเสียหายแกสิ่งแวดลอมของประเทศอื่น

หลักการและขอบเขตของอนสุัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

• ขอบเขตครอบคลมุทุกกระบวนการและกจิกรรม

ทุกกระบวนการและกิจกรรม ซึ่งมีหรอืมีแนวโนม วามผีลกระทบสําคัญตอการอนรุักษและการใชประโยชนความหลากหลายทางชวีภาพอยางยั่งยืน

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรา 1 – วัตถุประสงค

• การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ, การใชประโยชนองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ และการแบงปนผลประโยชนอยางยุติธรรมและเทาเทยีมในการใชทรัพยากรพันธุกรรม ทั้งนี้ โดยการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมอยางเหมาะสม, การถายทอดเทคโนโลยีที่เกีย่วของอยางเหมาะสม และโดยการสนับสนุนอยางเหมาะสม

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรา 2 – การใชศัพท

ใหคํานิยามแกคําสําคัญ เชน การอนุรักษในถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติการใชประโยชนอยางยั่งยืน ประเทศซึ่งเปนแหลงกําเนิดทรัพยากรพันธุกรรมและประเทศซึ่งจัดหาใหทรัพยากรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพในนิยามใหรวมถึง “ความหลากหลายในชนิดพันธุ ระหวางชนิดพันธุและของระบบนิเวศ”

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรา 2 – การใชศัพท

ความหลากหลายทางชีวภาพ : การมีความผิดแผกแตกตางระหวางสิ่งมีชีวิตจากทุกแหลงรวมถึง, นอกเหนือจากสิ่งอื่นแลว, ระบบนิเวศทางบก, ทางทะเลและทางน้ําอื่นๆ และการประกอบรวมทางนิเวศ ซึ่งสิ่งมีชีวิตเปนสวนหนึ่งในนั้นดวยในการนี้รวมถึงความหลากหลายภายในชนิดพันธุ, ระหวางชนิดพันธุและของระบบนิเวศ สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรา 2 – การใชศัพททรัพยากรชีวภาพ : หมายรวมทั้งทรัพยากรพันธุกรรม, สิ่งมีชีวิตหรือสวนใดๆ ของสิ่งมีชีวิต, ประชากร, หรือองคประกอบที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตของระบบนิเวศ ซึ่งมีประโยชนหรือคุณคาตามความเปนจริงและตามศักยภาพตอมนุษยชาติ

ระบบนิเวศ : ระบบรวมอันซับซอนซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ประกอบดวยชุมนุมประชากรพืช, สัตวและจุลินทรียกับสภาพแวดลอมที่ไมมีชีวิตซึ่งอยูรวมกัน แบบมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน รวมกันเปนหนวยที่มีบทบาทหนาที่

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรา 2 – การใชศัพท

การใชประโยชนอยางยั่งยืน : การใชองคประกอบความหลากหลายทางชีวภาพในวิถีทางและดวยอัตราที่ไมนําไปสูการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพในระยะยาว, ทั้งนี้โดยธํารงรักษาศักยภาพความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อสนองความตองการและความปรารถนาของคนรุนปจจุบันและในอนาคต

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรา 3 – หลักการ

เปนการยืนยันอํานาจอธิปไตยของประเทศใดๆ ที่จะใชทรัพยากรของตนเองใหสอดคลองกบันโยบายสิ่งแวดลอมของประเทศนั้น อันเปนหลักการจากปฎิญญาสตอคโฮลม (Stockholm Declaration) เปนการยืนยันความรับผิดชอบของประเทศใดๆ ที่จะใหหลกัประกันวากจิกรรมซึ่งอยูในขอบเขตอํานาจรับผิดชอบของการควบคุม จะไมนํ าความเสียหายมาสูสภาพแวดลอมในที่ใดก็ตาม

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 4 – ขอบเขตอํานาจหนาที่กําหนดขอบเขตการดําเนินการตามพันธกรณีสืบเนื่องจากอนุสัญญาฯ

1) ภายในบริเวณที่อยูในขอบเขตอํานาจหนาที่ของชาตินั้น2) กิจกรรมภายใตการควบคุมดําเนินการภายในขอบเขตอํานาจของชาติ

นั้น หรือกิจกรรมที่นอกขอบเขตอํานาจของชาตินั้นเหนือขอบเขตอํานาจรับผิดชอบของชาติใดๆ ในการนี้หมายความวาประเทศนั้นๆ ไมมีพันธะผูกพันสืบเนื่องจากอนุสัญญาฯ ในการดําเนินกิจกรรมภายใต การควบคุมของชาติตน แตมีพันธะกับกิจกรรมที่อยูในขอบเขตอํานาจของประเทศอื่น

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 5 – ความรวมมือ

เปนขอกาํหนดโดยทั่วไปใหภาคีรวมมือกนั โดยเฉพาะอยางยิ่งที่เกี่ยวของกบับริเวณนอกเหนือขอบเขตอํานาจของชาตินั้น

โดยแตละภาคีจักตองดําเนินการ, ใหมากที่สุดเทาที่เปนไปไดและเทาที่เหมาะสม, รวมมือกับภาคีอื่น ๆ, โดยตรงหรือ, ในกรณีที่เหมาะสม,โดยผานองคการระหวางประเทศที่มีสมรรถภาพ

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 6 – มาตรการทั่วไป

เรียกรองใหแตละภาคีวางมาตรการ แผนการ และโปรแกรมระดับชาติ เพื่ออนุรักษและใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืน และยังไดเรียกรองใหมีการผสานการอนุ รักษ และการใช ประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืนเขากับแผนและนโยบายดานอื่นๆ

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 7 – การจําแนกระบุและการติดตามตรวจสอบ

แตละภาคีมีพันธะที่จะตองจําแนก องคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพที่สําคัญในการอนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืนจะตองชี้ใหเห็นการคุกคามที่มีตอความหลากหลายทางชีวภาพ และจะตองติดตามตรวจสอบการคุกคามนั้น

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 8 –การอนุรักษในถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติวางมาตรการหลักในการอนุรักษในถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ ซึ่งจะตองดําเนินการโดยแตละภาคีในทองถิ่นของตน มาตรการนี้รวมถึง

• การจัดตั้งระบบพื้นที่คุมครองหรือพื้นที่ซึ่งตองการดําเนินการดวยมาตรการ พิเศษ

• ควบคุมดูแล หรือจัดการ ทรัพยากรชีวภาพที่มีความสําคัญในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อ เป นหลักประกันใหแกการอนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืน (ในการนี้หมายความวา แหลงปริมาณสํารองของสัตวนํ้ า ป าธรรมชาติดั้งเดิม, ดิ น ฯ ล ฯ ต องไดรับการควบคุมดูแลเพื่อเปนหลักประกันแกการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ)

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 8 –การอนุรักษในถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ

• ฟนฟรูะบบนิเวศที่เสื่อมโทรม และสงเสริมการทํานุบํารุงชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม

• วางกฎหมายคุมครองชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม

• ปองกันการนําชนิดพันธุจากตางถิ่นตางประเทศเขามาปลอย

• สนับสนุนและธํ ารงรักษา การดํ าเนินการที่เกี่ยวของของชุมชนทองถิ่น

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 9 – การอนุรักษนอกถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติภ า คี แ ต ละประเทศมีพันธะผูกพันที่จะตองสนับสนุนการอนุรักษนอกถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ “เหนืออื่นใดเพื่อวัตถุประสงคในการดําเนินงานควบคูไปกับการอนุรักษในถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ” และเพื่อสนับสนุนการจัดตั้งสิ่งอํานวยความสะดวกในประเทศซึ่งเปนถิ่นกําเนิด โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศกําลังพัฒนา

ในการนี้ตองมีการควบคุมดูแลการดํ าเนินการรวบรวมสะสมชนิดพันธุและมีการสนบัสนุนการรวมมือทางการเงิน

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 10 – การใชประโยชนอยางยั่งยืน

วางมาตรการหลายประการ ซึ่งจะต องดําเนินการโดยภาคี เพื่อส งเสริมการใชประโยชนองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน

ในการนี้ รวมทั้งการเชื่อมประสานนโยบายการใชประโยชนอยางยั่งยืน กับการตัดสินใจดําเนินงานดานตางๆ และในการหลีกเลี่ยงหรือลดผลกระทบตอความหลากหลายทางชีวภาพ

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 11 – แรงจูงใจ

เรียกรองใหแตละภาครีับเอามาตรการซึ่งเปนแรงจูงใจในการอนรุักษ

และใชประโยชนความหลากหลายทางชวีภาพอยางยัง่ยืนมาปฏิบตัิ

โดยนาํเอามาตรการที่เหมาะสมทางดานเศรษฐกิจและสังคมมาใช

สรุปเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมาตรา 12 – การวิจัยและการฝกอบรม ; มาตรา 13 - การใหการศกึษาและความตระหนักแกสาธารณชน

มาตรา 12 กําหนดใหแตละภาคพีัฒนาสมรรถนะในการวจิัยและการฝกอบรม โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศกาํลงัพัฒนา

มาตรา 13 สนับสนุนใหดําเนนิการใหการศกึษาและโปรแกรมเสริมสรางจิตสํานกึแกสาธารณชน

อนสุัญญาวาดวยความหลากหลายอนสุัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพทางชีวภาพมาตราที่มาตราที่ 1313--2222

สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม คณะเกษตรศาสตรฯ มหาวิทยาลัยนเรศวรจติรดา รังษีโรจนสมบัติ 49060401

มาตรามาตรา 13 13 การใหการศึกษาและการตระหนักการใหการศึกษาและการตระหนักแกสาธารณชนแกสาธารณชน

1.1. สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดความเขาใจในการอนุรักษความสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดความเขาใจในการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพหลากหลายทางชีวภาพ การถายทอดเผยแพรผานสื่อการศึกษาการถายทอดเผยแพรผานสื่อการศึกษา

2.2. รวมมือกับรัฐอื่นรวมมือกับรัฐอื่น ๆๆ และองคการระหวางประเทศในการพัฒนาและองคการระหวางประเทศในการพัฒนาสื่อการศึกษาเพื่อสรางความตระหนักในการอนุรักษสื่อการศึกษาเพื่อสรางความตระหนักในการอนุรกัษ และการใชและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน

มาตรามาตรา 14 14 การประเมนิผลกระทบและการลดการประเมนิผลกระทบและการลดผลกระทบเสียหายผลกระทบเสียหาย

1. 1. แตละภาคีตองดําเนินการดังนี้แตละภาคีตองดําเนินการดังนี้-- นําระเบียบวิธีการที่เหมาะสมเขาไปใชประเมินผลกระทบนําระเบียบวิธีการที่เหมาะสมเขาไปใชประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมสิ่งแวดลอม ของโครงการตางของโครงการตาง ๆๆ ซึ่งมีแนวโนมที่จะมีผลซึ่งมีแนวโนมที่จะมีผลเสียหายตอความหลากหลายทางชีวภาพเสียหายตอความหลากหลายทางชีวภาพ

-- นําการจัดการที่เหมาะสมเขาไปใชเพื่อเปนหลักประกันวานําการจัดการที่เหมาะสมเขาไปใชเพื่อเปนหลักประกันวาแนวโนมที่จะมีความเสียหายตอความหลากหลายทางชีวภาพแนวโนมที่จะมีความเสียหายตอความหลากหลายทางชีวภาพไดรับการพิจารณาทันการณไดรับการพิจารณาทันการณ

มาตรามาตรา 14 14 การประเมนิผลกระทบและการลดการประเมนิผลกระทบและการลดผลกระทบเสียหายผลกระทบเสียหาย

-- สงเสริมสงเสริม แลกเปลี่ยนขอมูลแลกเปลี่ยนขอมูล การดําเนินงานรวมกันการดําเนินงานรวมกัน แบบทวภิาคีแบบทวภิาคี หรือหรือพหุภาคีเกี่ยวกับแนวโนมความเสียหายความหลากหลายทางชีวภาพพหุภาคีเกี่ยวกับแนวโนมความเสียหายความหลากหลายทางชีวภาพ

-- กรณทีี่มคีวามเสียหายเกิดขึ้นกรณทีี่มคีวามเสียหายเกิดขึ้น แจงรัฐทีม่ีแนวโนมจะไดรับผลความแจงรัฐทีม่ีแนวโนมจะไดรับผลความเสียหายและเริ่มปฏิบัติการปองกันหรือลดความเสียหายเสียหายและเริ่มปฏิบัติการปองกันหรือลดความเสียหาย

มาตรามาตรา 14 14 การประเมนิผลกระทบและการลดการประเมนิผลกระทบและการลดผลกระทบเสียหายผลกระทบเสียหาย

-- สงเสริมการดําเนินงานและความรวมมอืระหวางประเทศในการสงเสริมการดําเนินงานและความรวมมอืระหวางประเทศในการตอบสนองตอความเสียหายความหลากหลายทางชีวภาพตอบสนองตอความเสียหายความหลากหลายทางชีวภาพ

2. 2. สมัชชาภาคีตองตรวจสอบสมัชชาภาคีตองตรวจสอบ รับผิดชอบรับผิดชอบ และการแกไขปญหาและการแกไขปญหา การฟนฟูใหคืนสภาพเดิมและการชดเชยความเสียหายตอความการฟนฟูใหคืนสภาพเดิมและการชดเชยความเสียหายตอความหลากหลายทางชีวภาพหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรามาตรา 15 15 การเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรม

-- อํานาจในการกําหนดการเขาถึงทรพัยากรพันธุกรรมขึ้นอยูกับอํานาจในการกําหนดการเขาถึงทรพัยากรพันธุกรรมขึ้นอยูกับรัฐบาลแหงชาติและอยูภายใตกฎระเบียบของชาตินั้นรัฐบาลแหงชาติและอยูภายใตกฎระเบียบของชาตินั้น ๆๆ

-- แตละภาคีตองพยายามสรางเงื่อนไขเพื่อเอื้ออํานวยในการเขาถึงแตละภาคีตองพยายามสรางเงื่อนไขเพื่อเอื้ออํานวยในการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมทรัพยากรพันธุกรรม สําหรับการใชประโยชนอยางเหมาะสมตอสําหรับการใชประโยชนอยางเหมาะสมตอสิ่งแวดลอมสิ่งแวดลอม

มาตรามาตรา 15 15 การเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรม

-- ทรัพยากรพันธุกรรมทรัพยากรพันธุกรรม เปนเฉพาะทรัพยากรซึ่งถูกจัดหาใหโดยภาคีเปนเฉพาะทรัพยากรซึ่งถูกจัดหาใหโดยภาคีซึ่งเปนประเทศซึ่งเปนประเทศ ถิ่นกําเนิดของทรพัยากรหรือโดยภาคีซึ่งไดรับถิ่นกําเนิดของทรพัยากรหรือโดยภาคีซึ่งไดรับ ทรัพยากรพันธุกรรมนั้นมาโดยสอดคลองกับอนุสัญญาฉบับนี้ทรัพยากรพันธุกรรมนั้นมาโดยสอดคลองกับอนุสัญญาฉบับนี้

-- ในกรณีที่ไดรับอนุญาตในกรณีที่ไดรับอนุญาต ตองอยูภายใตเงื่อนไขที่ไดรับการตกลงตองอยูภายใตเงื่อนไขที่ไดรับการตกลงรวมกันรวมกัน และอยูภายใตและอยูภายใต ขอกําหนดของมาตรานี้ขอกําหนดของมาตรานี้

มาตรามาตรา 15 15 การเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรม

-- การเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมตองอยูภายใตการเห็นชอบที่ไดแจงการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมตองอยูภายใตการเห็นชอบที่ไดแจงลวงหนาของภาคีลวงหนาของภาคี ซึ่งใหทรพัยากรนั้นซึ่งใหทรพัยากรนั้น

-- แตละภาคีตองพยายามที่จะจัดทําแตละภาคีตองพยายามที่จะจัดทํา และดําเนินการวิจัยทางและดําเนินการวิจัยทางวิทยาศาสตรวิทยาศาสตร ซึ่งใชทรพัยากรพันธุกรรมซึ่งใชทรพัยากรพันธุกรรม ที่ภาคีอื่นที่ภาคีอื่น ๆๆ จัดหาใหจัดหาให

มาตรามาตรา 15 15 การเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรม

-- แตละภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมายแตละภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมาย หรือนโยบายโดยผานหรือนโยบายโดยผานกลไกการเงินกลไกการเงิน โดยผลของการวิจัยและการพัฒนาโดยผลของการวิจัยและการพัฒนา ผลประโยชนที่ไดผลประโยชนที่ไดจากการใชประโยชนทรัพยากรพันธุกรรมจากการใชประโยชนทรัพยากรพันธุกรรม ทางการพาณิชยกับภาคีทางการพาณิชยกับภาคี ตองอยูภายใตเงื่อนไขที่ไดรับการตกลงรวมกันตองอยูภายใตเงื่อนไขที่ไดรับการตกลงรวมกัน

มาตรามาตรา 16 16 การเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยีการเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยี

-- ตระหนักในการเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยีชีวภาพระหวางตระหนักในการเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยีชีวภาพระหวาง ภาคีภาคี เพื่อถายทอดไปยังภาคีอื่นเพื่อถายทอดไปยังภาคีอื่น ซึ่งเกี่ยวของกับการอนุรักษและซึ่งเกี่ยวของกับการอนุรักษและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน

-- การเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยีใหแกประเทศกําลังพัฒนาการเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยีใหแกประเทศกําลังพัฒนาตองถูกจัดใหและเอื้ออํานวยภายใตเงื่อนไขที่ยุติธรรมและเปนที่ตองถูกจัดใหและเอื้ออํานวยภายใตเงื่อนไขที่ยุติธรรมและเปนที่พึงพอใจที่สุดพึงพอใจที่สุด

มาตรามาตรา 16 16 การเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยีการเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยี

-- แตละภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมายแตละภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมาย ภายใตการตกลงภายใตการตกลงรวมกันและรวมถงึเทคโนโลยีซึ่งถูกคุมครองโดยสิทธิบัตรและสิทธิรวมกันและรวมถงึเทคโนโลยีซึ่งถูกคุมครองโดยสิทธิบัตรและสิทธิทรพัยสินทางปญญาทรพัยสินทางปญญา

-- แตละภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมายแตละภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมาย ดวยจุดมุงหมายวาดวยจุดมุงหมายวา ภาคเอกชนตองเอื้ออํานวยในการเขาถึงภาคเอกชนตองเอื้ออํานวยในการเขาถึง การพัฒนารวมกันการพัฒนารวมกัน และและการถายทอดเทคโนโลยีการถายทอดเทคโนโลยี

มาตรามาตรา 16 16 การเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยีการเขาถึงและการถายทอดเทคโนโลยี

-- ตระหนักวาสิทธิบัตรและสิทธิทรพัยสินทางปญญาตระหนักวาสิทธิบัตรและสิทธิทรพัยสินทางปญญา อาจมีอิทธิพลอาจมีอิทธิพล ตอการดําเนินการตามอนุสัญญาตอการดําเนินการตามอนุสัญญา ตองใหความรวมมือในกฎระเบียบตองใหความรวมมือในกฎระเบียบแหงชาติและกฎหมายระหวางประเทศแหงชาติและกฎหมายระหวางประเทศ เพื่อเปนหลักประกันวาจะเพื่อเปนหลักประกันวาจะไดรับการสนับสนุนและไมขัดแยงตอวัตถุประสงคของอนุสัญญาไดรับการสนับสนุนและไมขัดแยงตอวัตถุประสงคของอนุสัญญา

มาตรามาตรา 17 17 การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร

-- ภาคีตองเอื้ออํานวยในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารจากทุกแหลงของภาคีตองเอื้ออํานวยในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารจากทุกแหลงของ รัฐทีส่ามารถจัดหาขอมูลใหไดรัฐทีส่ามารถจัดหาขอมูลใหได ซึ่งเกี่ยวของกับการอนุรักษและการใชซึ่งเกี่ยวของกับการอนุรักษและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน

-- การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ผลการวิจัยทางวิชาการผลการวิจัยทางวิชาการ วิทยาศาสตรวิทยาศาสตรสังคมเศรษฐกิจสังคมเศรษฐกิจ การสํารวจการสํารวจ ความรูพิเศษเฉพาะความรูพิเศษเฉพาะ ความรูพืน้บานและความรูพืน้บานและความรูที่สืบทอดมาตามประเพณีความรูที่สืบทอดมาตามประเพณี

มาตรามาตรา 18 18 ความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตรความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตร

-- ภาคีตองสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศทางวิชาการภาคีตองสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศทางวิชาการและวิทยาศาสตรในสาขาการอนุรักษและวิทยาศาสตรในสาขาการอนุรักษ และการใชประโยชนและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ

-- แตละภาคีตองสงเสริมความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตรแตละภาคีตองสงเสริมความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตรกับภาคีอื่นกับภาคีอื่น โดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนาในการอนุวัติอนุสัญญาโดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนาในการอนุวัติอนุสัญญาโดยดําเนินการตามนโยบายแหงชาติในการสงเสริมความรวมมือโดยดําเนินการตามนโยบายแหงชาติในการสงเสริมความรวมมือ

มาตรามาตรา 18 18 ความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตรความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตร

-- สมัชชาภาคีในการประชุมครั้งแรกตองกําหนดวาจะจัดตั้งกลไกสมัชชาภาคีในการประชุมครั้งแรกตองกําหนดวาจะจัดตั้งกลไกการเผยแพรขอมลูขาวสารและเทคนิคอยางไรการเผยแพรขอมลูขาวสารและเทคนิคอยางไร เพื่อสงเสริมและเพื่อสงเสริมและเอื้ออํานวยแกความรวมมอืทางวิชาการและวิทยาศาสตรเอื้ออํานวยแกความรวมมอืทางวิชาการและวิทยาศาสตร

-- ภาคีตองภาคีตองโดยสอดคลองกฎหมายและนโยบายของชาติโดยสอดคลองกฎหมายและนโยบายของชาติ สนับสนุนสนับสนุนและจัดทําวิธีการสําหรับความรวมมือเพื่อการพัฒนาและการใชและจัดทําวิธีการสําหรับความรวมมือเพื่อการพัฒนาและการใชเทคโนโลยีเทคโนโลยี รวมทั้งรวมทั้ง เทคโนโลยีพื้นบานเทคโนโลยีพื้นบาน

มาตรามาตรา 18 18 ความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตรความรวมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตร

-- ภายใตความตกลงรวมกันภายใตความตกลงรวมกัน ภาคีตองสงเสริมการจัดตั้งโปรแกรมภาคีตองสงเสริมการจัดตั้งโปรแกรมการวิจัยรวมและการดําเนินกิจการรวมในการพัฒนาเทคโนโลยีการวิจัยรวมและการดําเนินกิจการรวมในการพัฒนาเทคโนโลยีที่ที่เกี่ยวของกับวตัถุประสงคของอนุสัญญาเกี่ยวของกับวตัถุประสงคของอนุสัญญา

มาตรามาตรา 19 19 การควบคุมดูแลเทคโนโลยีชีวภาพและการควบคุมดูแลเทคโนโลยีชีวภาพและการจัดสรรผลประโยชนการจัดสรรผลประโยชน

-- ภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมายภาคีตองดําเนินมาตรการทางกฎหมาย เพื่อที่ภาคีจะเขามามีสวนเพื่อที่ภาคีจะเขามามีสวนรวมอยางมีประสิทธิผลในกิจกรรมการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพรวมอยางมีประสิทธิผลในกิจกรรมการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพ

-- แตละภาคีตองดําเนินมาตรการแตละภาคีตองดําเนินมาตรการ ที่เปนไปไดในทางปฏิบัติที่เปนไปไดในทางปฏิบัติ เพื่อเพื่อสงเสริมและกระตุนใหภาคีสงเสริมและกระตุนใหภาคี ไดเขาถึงผลลัพธและผลประโยชนไดเขาถึงผลลัพธและผลประโยชนที่ไดจากเทคโนโลยีชีวภาพที่ไดจากเทคโนโลยีชีวภาพ

มาตรามาตรา 19 19 การควบคุมดูแลเทคโนโลยีชีวภาพและการควบคุมดูแลเทคโนโลยีชีวภาพและการจัดสรรผลประโยชนการจัดสรรผลประโยชน

-- ภาคีตองพิจารณาถึงความจําเปนที่จะตองมพีิธีสารและรปูแบบภาคีตองพิจารณาถึงความจําเปนที่จะตองมพีิธีสารและรปูแบบของพิธีสารของพิธีสาร โดยจัดวางระเบียบโดยจัดวางระเบียบ วิธีการที่เหมาะสมวิธีการที่เหมาะสม

-- แตละภาคีตองดําเนินงานโดยตรงหรือโดยมอบหมายใหบุคคลทางแตละภาคีตองดําเนินงานโดยตรงหรือโดยมอบหมายใหบุคคลทางดานกฎหมายดานกฎหมาย ดําเนินงานเกี่ยวกับจัดหาสิ่งมีชีวติดําเนินงานเกี่ยวกับจัดหาสิ่งมีชีวติ ใหมีขอมูลเกี่ยวกับใหมีขอมูลเกี่ยวกับการใชประโยชนและกฎระเบียบความปลอดภัยการใชประโยชนและกฎระเบียบความปลอดภัย

มาตรามาตรา 20 20 ทรัพยากรการเงินทรัพยากรการเงิน

-- แตละภาคีดําเนินการเพื่อใหแตละภาคีดําเนินการเพื่อให โดยสอดคลองกับสมรรถภาพของตนโดยสอดคลองกับสมรรถภาพของตนการสนับสนุนทางการเงินและแรงจูงใจสําหรับกิจกรรมในชาติการสนับสนุนทางการเงินและแรงจูงใจสําหรับกิจกรรมในชาติ

-- ภาคีประเทศที่พัฒนาแลวภาคีประเทศที่พัฒนาแลว จัดหาทรพัยากรการเงินจัดหาทรพัยากรการเงิน เพื่ออํานวยใหเพื่ออํานวยใหภาคีประเทศที่กําลังพัฒนาไดชําระคาใชจายที่เพิ่มขึ้นครบเต็มภาคีประเทศที่กําลังพัฒนาไดชําระคาใชจายที่เพิ่มขึ้นครบเต็มจํานวนตามที่ไดตกลงไวจํานวนตามที่ไดตกลงไว

มาตรามาตรา 20 20 ทรัพยากรการเงินทรัพยากรการเงิน

-- ภาคีของประเทศพัฒนาแลวภาคีของประเทศพัฒนาแลว และภาคีของประเทศกําลังพัฒนาใชและภาคีของประเทศกําลังพัฒนาใชทรพัยากรการเงินทรพัยากรการเงิน ใหเปนประโยชนการดําเนินการตามอนุสัญญาฉบับนี้ใหเปนประโยชนการดําเนินการตามอนุสัญญาฉบับนี้

-- ขอบเขตภาคีของประเทศกําลังพัฒนาจะดําเนินการอยางมีประสิทธิผลขอบเขตภาคีของประเทศกําลังพัฒนาจะดําเนินการอยางมีประสิทธิผล จะขึ้นอยูกับการดําเนินงานของภาคีประเทศพัฒนาแลวจะขึ้นอยูกับการดําเนินงานของภาคีประเทศพัฒนาแลว ที่เกี่ยวของกับที่เกี่ยวของกับ ทรัพยากรการเงินและการถายทอดเทคโนโลยีทรัพยากรการเงินและการถายทอดเทคโนโลยี

มาตรามาตรา 20 20 ทรัพยากรการเงินทรัพยากรการเงิน

-- ภาคีตองคํานึงถึงความตองการและสถานการณพิเศษของประเทศภาคีตองคํานึงถึงความตองการและสถานการณพิเศษของประเทศ ที่พฒันาลาหลังที่พฒันาลาหลัง ในการดําเนินกิจกรรมของประเทศในการดําเนินกิจกรรมของประเทศ เกี่ยวกับการเกี่ยวกับการสนับสนุนทุนและการถายทอดเทคโนโลยีสนับสนุนทุนและการถายทอดเทคโนโลยี

-- ภาคีตองพิจารณาสถานภาพพิเศษภาคีตองพิจารณาสถานภาพพิเศษ จากความหลากหลายทางจากความหลากหลายทางชีวภาพที่มคีวามเปนอิสระทั้งในดานการกระจายตัวและทาํเลที่ตั้งชีวภาพที่มคีวามเปนอิสระทั้งในดานการกระจายตัวและทาํเลที่ตั้ง ซึ่งเกิดในภาคีประเทศกําลังพัฒนาซึ่งเกิดในภาคีประเทศกําลังพัฒนา

มาตรามาตรา 20 20 ทรัพยากรการเงินทรัพยากรการเงิน

-- ควรพจิารณาดวยถึงสถานการณพิเศษของประเทศกําลังพัฒนาควรพจิารณาดวยถึงสถานการณพิเศษของประเทศกําลังพัฒนา รวมถึงประเทศที่มีสภาพแวดลอมเปราะบางที่สุดรวมถึงประเทศที่มีสภาพแวดลอมเปราะบางที่สุด เชนเชน ประเทศประเทศในเขตทะเลทรายและกึ่งทะเลทรายในเขตทะเลทรายและกึ่งทะเลทราย,, พื้นที่ชายฝงและภูเขาพื้นที่ชายฝงและภูเขา

มาตรามาตรา 21 21 กลไกการเงินกลไกการเงิน

-- ตองมีกลไกสําหรับขอกําหนดของทรพัยากรการเงินแกภาคีตองมีกลไกสําหรับขอกําหนดของทรพัยากรการเงินแกภาคีประเทศกําลังพัฒนาประเทศกําลังพัฒนา ตามความมุงหมายของอนุสัญญาฉบับนี้ตามความมุงหมายของอนุสัญญาฉบับนี้ บนพืน้ฐานของการใหเปลาหรือใหแบบผอนปรนบนพืน้ฐานของการใหเปลาหรือใหแบบผอนปรน

-- สมัชชาภาคีตองกําหนดนโยบายสมัชชาภาคีตองกําหนดนโยบาย กลยุทธของโปรแกรมกลยุทธของโปรแกรม เชนเดียวกับกฎเกณฑโดยละเอียดและแนวทางความเหมาะสมเชนเดียวกับกฎเกณฑโดยละเอียดและแนวทางความเหมาะสมในการเขาถึงและการใชประโยชนทรัพยากรการเงินในการเขาถึงและการใชประโยชนทรัพยากรการเงิน

มาตรามาตรา 21 21 กลไกการเงินกลไกการเงิน

-- สมัชชาภาคีสมัชชาภาคี ตองพจิารณาทบทวนประสิทธิผลของกลไกตองพจิารณาทบทวนประสิทธิผลของกลไก ที่ไดจัดตั้งที่ไดจัดตั้งขึ้นภายในมาตรานี้ขึ้นภายในมาตรานี้ ซึ่งรวมถึงกฎเกณฑและแนวทางมีผลบังคบัใชและซึ่งรวมถึงกฎเกณฑและแนวทางมีผลบังคบัใชและตอจากนั้นดวยความสม่ําเสมอตอจากนั้นดวยความสม่ําเสมอ

-- ภาคีตองพิจารณาเสริมสรางระบบการเงินที่มอียูในปจจุบันภาคีตองพิจารณาเสรมิสรางระบบการเงินที่มอียูในปจจุบัน เพื่อเพื่อสนับสนุนใหทรพัยากรการเงินสําหรับการอนุรักษและใชประโยชนสนับสนุนใหทรพัยากรการเงินสําหรับการอนุรักษและใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน

มาตรามาตรา 22 22 ความสมัพันธกับอนสุัญญาระหวางความสมัพันธกับอนสุัญญาระหวางประเทศอื่นประเทศอื่น ๆๆ

-- บทบญัญัติของอนุสัญญาฉบับนี้บทบญัญัติของอนุสัญญาฉบับนี้ จะไมมีผลตอสิทธิและขอผูกพันจะไมมีผลตอสิทธิและขอผูกพันของภาคีใดของภาคีใด อันเกิดจากความตกลงระหวางประเทศใดอันเกิดจากความตกลงระหวางประเทศใด ๆๆ ที่มีอยูแลวที่มีอยูแลว

-- ภาคีตองดําเนินการตามอนุสัญญาฉบับนี้ภาคีตองดาํเนินการตามอนุสัญญาฉบับนี้ ในเรื่องที่เกี่ยวของกับในเรื่องที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมทางทะเลสิ่งแวดลอมทางทะเล โดยสอดคลองกับสิทธิและขอผูกพันของรัฐโดยสอดคลองกับสิทธิและขอผูกพันของรัฐ ที่อยูภายใตกฎหมายทางทะเลที่อยูภายใตกฎหมายทางทะเล

มาตรา 23 สมัชชาภาคี

1 จัดตั้งใหมีการประชุมครั้งแรกโดยผูอํานวยการบริหารโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติเปนผูเรียกระดมภายในไมเกินหนึ่งปหลังจากอนุสัญญาฉบับนี้ มีผลบังคับใช และตองมีการประชุมอยางสม่ําเสมอ

2 การประชุมพิเศษตองมีขึ้นในเวลาอื่นๆที่สมาชิกเห็นวาจําเปนทั้งนี้ กําหนดใหดําเนินการภายในหกเดอืนหลังจากที่ภาคีไดรับทราบจากสํานักเลขาธิการ

3 การประชุมสมาชิกตองไดรับมติเห็นชอบและยอมรับกฎเกณฑของขั้นตอนวิธีการสําหรับการประชุมเองและสําหรับคณะกรรมการ ในการประชุมสามัญจะตองมีการรับรองงบประมาณเพื่อนําไปใชตามชวงระยะหนึ่ง จนกวาการประชุมสามัญครั้งตอไปจะมาถึง

มาตรา 23 สมัชชาภาคี (ตอ)

4 สมัชชาภาคีจะตองควบคุมการพิจารณาทบทวนการดําเนินการตามอนุสัญญา และเพื่อจุดมุงหมายจะตองทําดังนี้

ก) กําหนดรูปแบบ และชวงระยะในการถายทอดขอมูลที่ภาคีจะตองเสนอตามมาตรา 26 และพิจารณาขอมูลนั้นเชนเดียวกับรายงานซึ่งคณะกรรมการใดๆ เปนผูเสนอ

ข) พิจารณาทบทวนขอเสนอแนะทางวิทยาศาสตร,วิชาการและเทคโนโลยีเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเสนอโดยสอดคลองกับมาตรา 25

ค) พิจารณาและยอมรับ , หากเปนที่ตองการ , พิธีสารมาใชโดยสอดคลองกับมาตรา 28

ง) พิจารณาและยอมรับ , หากเปนที่ตองการ , ขอแกไขปรับปรุงอนุสัญญาฉบับนี้ และภาคผนวกมาใช, โดยสอดคลองกับมาตรา 29 และ 30

จ) พิจารณาขอแกไขปรับปรุงในพิธีสารใด ๆ เชนเดียวกันกับในภาคผนวกใด ๆ นอกจากนั้น, และ, หากตัดสินใจดังนั้น, เสนอแนะการยอมรับ ตอภาคีของพิธีสารที่เกี่ยวของ

ฉ) พิจารณาและยอมรับ, หากเปนที่ตองการ, ภาคผนวกเพิ่มเติมแกอนุสัญญาฉบับนี้มาใช, โดยสอดคลองกับมาตรา 30

ช) จัดตั้งคณะกรรมการดังกลาว,โดยเฉพาะเพื่อใหขอเสนอแนะทางวิทยาศาสตรและวิชาการ หากดูเสมือนวามีความจําเปนเพื่อการดําเนินการตามอนุสัญญาฉบับนี้

ซ) ติดตอประสานงาน, ผานสํานักเลขาธิการ, กับองคกรบริหารสําหรับอนุสัญญาตาง ๆ ทีเ่กีย่วกับประเด็นตาง ๆ ที่ครอบคลุมในอนุสัญญาฉบับนี้ โดยพิจารณาถึงการวางรูปแบบความรวมมือระหวางองคกรดังกลาว, และ

ฌ) พิจารณาและดําเนินกิจกรรมเพิ่มเติมใด ๆ ทีอ่าจจําเปนเพื่อใหบรรลุความมุงหมายของอนุสัญญาฉบับนี้ ตามประสบการณที่ไดรับจากการดําเนินงานของอนุสัญญา

5. หนวยงานอื่นๆที่ไมใชสมาชิกในอนุสัญญาฉบับนี้ หาก 1 ใน3 ของสมาชิกไมคัดคาน สามารถสงผูแทนเขาสังเกตการณในการประชุมสมัชชาภาคีที่เกี่ยวของกับการอนุรักษและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพได แตตองแจงใหสํานักเลขาธิการทราบความปรารถนาในการเขาสังเกตการณในการประชุมสมัชชาภาคีครั้งนั้นดวย

มาตรา 24 สํานกัเลขาธิการ1 สํานักเลขาธิการที่จัดตั้งขึ้นจะตองมีบทบาทหนาที่ดังนี้

ก) เพื่อจัดและใหบริการสําหรับการประชุมของสมัชชาภาคีดังกําหนดในมาตรา 23

ข) เพื่อปฏิบัติหนาที่ ตามที่ไดรับมอบหมายจากพิธีสารใด ๆ ค) เพื่อเตรียมรายงาน เกี่ยวกับการบริหารตามภาระหนาที่ของตนภายใต

อนุสัญญาฉบับนี้ และเสนอรายงานนั้นตอสมัชชาภาคีง) เพื่อประสานงานกับองคการระหวางประเทศอื่นที่เกี่ยวของและ,

โดยเฉพาะเขาดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารและการทําสัญญา ซึ่งอาจจําเปนในการแบงเบาภาระหนาที่ของตนอยางมีประสิทธิผล และ

จ) เพื่อปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ซึ่งอาจไดรับมอบหมายจากสมัชชาภาคี

มาตรา 24 สํานกัเลขาธิการ (ตอ)2 ในการประชุมสามัญครั้งแรก, สมัชชาภาคีจักตองแตงตั้ง

สํ านัก เลขาธิการจากองคการระหว างประเทศ ซึ่ งมีสมรรถนะที่จะดําเนินงานได ซึ่งไดแสดงความจํานงที่จะทําหนาที่สํานักเลขาธิการภายใตอนุสัญญาฉบับนี้

มาตรา 25 คณะที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร, วิชาการแลเทคโนโลยี1 คณะกรรมการตามขอกําหนดเพื่อใหคําปรึกษาทางวิทยาศาสตร,วิชาการ

และเทคโนโลยี , ไดรับการจัดตั้งขึ้นเพื่อชวยสมัชชาภาคี , และเทาที่เหมาะสม, คณะกรรมการนี้จะเปดใหสมาชิกทั้งหมดมีสวนรวมและจะดําเนินการแบบสหวิชา คณะกรรมการนี้จะประกอบดวยผูแทนรัฐบาลที่มีสมรรถนะในสาขาที่เกี่ยวของกับวิชาการเฉพาะดาน คณะกรรมการนี้จะรายงานตอที่ประชุมเปนระยะเกี่ยวกับทุกแงมุมในการดําเนินงานของตน

2 ภายใตอํานาจที่สอดคลองกับแนวทางที่ไดวางไวโดยสมัชชาภาคีและตามคํารองขอคณะนี้จะตองก) เสนอการศึกษาทางวิทยาศาสตรและวิชาการเกีย่วกับสถานภาพความ

หลากหลายทางชวีภาพ

ข) เตรียมการศึกษาทางวิทยาศาสตรและวิชาการเกี่ยวกับผลของมาตรการประเภทตาง ๆ ที่ดําเนนิการโดยสอดคลองกับขอกําหนดของอนุสัญญา

ค) จาํแนกระบุเทคโนโลยีซึ่งริเริ่มสรางสรรค, เทคโนโลยีมีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีสุดยอดและเคล็ดลับความรูเกี่ยวกับการอนุรักษและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนและแนะนําเกี่ยวกับวิถีทางและรูปแบบการสงเสริมการพัฒนา และ/หรือการถายทอดเทคโนโลยีดังกลาว

ง) ใหคําแนะนาํเกี่ยวกบัโปรแกรมทางวิทยาศาสตรและความรวมมือระหวางประเทศในการวิจัยและการพัฒนาเกี่ยวกับการอนุรักษและการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืน, และ

จ) ตอบสนองตอคําถามทางวิทยาศาสตร, วิชาการ, เทคโนโลยีและวิธีการ ซึ่งสมัชชาภาคี และคณะกรรมการของสมัชชาภาคีอาจจะเสนอตอหนวย

3. บทบาทหนาที่,ขอบเขตในการรับมอบอํานาจ, การจัดระบบและการปฏิบัติงานของคณะกรรมการนี้อาจจะไดรับการเพิ่มเติมในรายละเอยีดโดยสมัชชาภาคี

มาตรา 26 รายงานแตละภาคีจะตองเสนอตอสมัชชาภาคี, เปนระยะตามที่สมัชชาภาคีกําหนด จะรายงานเกี่ยวกับมาตรการซึ่งไดดําเนินไปเพื่อปฏิบัติตามขอกําหนดของอนุสัญญา และประสิทธิผลของมาตรการนั้นเพื่อจะบรรลุวัตถุประสงคของอนุสัญญาฉบับนี้

มาตรา 27 การยุติขอพิพาท1 ในกรณีที่มีขอพิพาทระหวางภาคีเกี่ยวกับการตีความและการใชอนุสัญญา

ฉบับนี้ ภาคีที่เกี่ยวของจะตองหาขอยุติโดยการเจรจา2 หากภาคีที่เกี่ยวของไมสามารถตกลงกันไดโดยการเจรจา ภาคีนั้นอาจ

รวมกันหาความชวยเหลือหรือเรียกรองใหมีการไกลเกลี่ยจากบุคคลที่สาม 3 เมื่อใหสัตยาบัน, ยอมรับ, เห็นชอบอนุสัญญาฉบับนี้, หรือในเวลาใด

ภายหลังจากนั้น รัฐหนึ่ง ๆ หรือองคการผสานทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค อาจแถลงการณเปนลายลักษณอักษรกับผูรับมอบเกี่ยวกับขอพิพาทที่มิไดรับการแกไข, โดยสอดคลองกับวรรค 1 หรือวรรค 2 ขางตนวายอมรับรูปแบบการยุติขอพิพาทประการใดประการหนึ่งหรือทั้งสองประการดังตอไปนี้, อันเปนการบีบบังคับ,

มาตรา 27 การยตุขิอพิพาท (ตอ)ก) การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ โดยสอดคลองกับขั้นตอนวิธีการที่ไดวาง

ไวในสวน 1 ของภาคผนวก 2 ข) เสนอขอพิพาทตอศาลโลกใหตัดสิน

4 หากภาคีที่มีขอพิพาทไมไดสอดคลองหรือยอมรับขั้นตอนวิธีการเดยีวกนัหรือขั้นตอนวิธีการอื่นๆ ภาคีนัน้จะตองเสนอขอพิพาทตอคณะกรรมการไกลเกลีย่ขอพิจารณาใหตัดสิน โดยสอดคลองกับสวน 2 ภาคผนวก 2 เวนแตวาภาคีนัน้จะตกลงเปนประการอื่น

5 บทบัญญัติของมาตรานี้จกันําไปใชกับพธิีสารใด ๆ ก็ได ยกเวนแตวาไดกําหนดไวในพธิีสารที่เกีย่วของแลว

มาตรา 28 การรับรองพิธีสาร

1 ภาคีจะตองรวมมือในการจัดทําและรับรองพิธีสารของอนุสัญญาฉบับนี้

2 พิธีสารจะตองไดรับการรับรองในการประชุมสมัชชาภาคี

3 สํานักเลขาธิการจะตองจัดสงเนื้อหาของพิธีสารใด ๆ ที่ไดรับการเสนอขึ้นมาใหแกภาคีภายในหกเดือนกอนการประชุมนั้น

มาตรา 29 การแกไขอนุสัญญา หรือพิธีสาร

1 ภาคีใด ๆ อาจเสนอขอแกไขสําหรับอนุสัญญาฉบับนี้ ภาคีใด ๆ ของพิธีสารอาจเสนอขอแกไข สําหรับพิธีสารนั้น ๆ

2 ขอแกไขในอนุสัญญาฉบับนี้จะตองไดรับการรับรองในที่ประชุมของสมัชชาภาคี เนื้อหาของขอแกไขใด ๆจะตองถูกสงใหแกภาคีของสัญญาที่เปนปญหานั้น ๆ โดยสํานักเลขาธิการอยางนอยหกเดือนกอนการประชุม เพื่อรับรองขอแกไขดังกลาว สํานักเลขาธิการจะตองสงขอแกไขที่เสนอขึ้นมานั้นใหแกผูลงนามในอนุสัญญาฉบับนี้ เพื่อทราบดวย

มาตรา 29 การแกไขอนุสัญญา หรือพิธีสาร (ตอ)3 ภาคีจะตองใชความพยายามทุกวิถีทางที่จะใหมีการตกลง

เกี่ยวกับขอแกไขที่เสนอขึ้นมาในอนุสัญญาฉบับนี้โดยการขอความเห็นชอบจากทุกฝาย หากความพยายามทั้งหมดในการขอความเห็นชอบไดถูกใชหมดสิ้นแลวหรือไมไดมีการตกลงขอแกไขนั้นจะตองไดรับการรับรองโดยเสียงสวนใหญ ตั้งแต 2 ใน3 เสียงขึ้นไปจากภาคีที่เปนปญหานั้น ที่มาประชุมและลงคะแนนเสียง และผูรับมอบจักตองเสนอขอแกไขนั้นแกภาคีทั้งหลายเพื่อการใหสัตยาบัน, การยอมรับ หรือการเห็นชอบ

มาตรา 29 การแกไขอนุสัญญา หรือพิธีสาร (ตอ)4 การใหสัตยาบัน, การยอมรับหรือการเห็นชอบแกขอแกไขจะตอง

แจงแกผูรับมอบหมายใหดูแลรักษาเปนลายลักษณอักษร ขอแกไขซึ่งไดรับการรับรองโดยสอดคลองกับวรรค 3 ขางตน จะมีผลบังคับใชระหวางภาคีซึ่งไดยอมรับขอแกไขนั้น ทั้งนี้ในวันที่90หลังจากที่ไดสงมอบสัตยาบันสาร, สารยอมรับ หรือสารเห็นชอบโดยอยางนอยสองในสามของภาคีของอนุสัญญาฉบับนี้ หรือภาคีของพิธีสารที่เกี่ยวของตามหลักการเชนนี้ ขอแกไขดังกลาวจะมีผลบังคับใชสําหรับภาคีอื่นในวันที่เกาสิบหลังจากที่ภาคีนั้นไดสงมอบสัตยาบันสาร, สารยอมรับหรือสารเห็นชอบตอขอแกไขนั้นแลว

มาตรา 29 การแกไขอนุสัญญา หรือพิธีสาร (ตอ)

5 ตามความมุงหมายของมาตรานี้ “ภาคีที่มาประชุมและลงคะแนนเสียง” หมายถึงภาคีที่มาประชุมและลงคะแนนออกเสียงสนับสนุนหรือคัดคาน

มาตรา 30 การรับรองและการแกไขภาคผนวก 1 ภาคผนวกของอนุสัญญาฉบับนี้ หรือพิธีสารใด ๆ จะเปนสวนประกอบของ

อนุสัญญา หรือของพิธีสารนั้นตามแตกรณีและหากไมไดกําหนดไวเปนประการอื่น การรับรองอนุสัญญาหรือพิธีสารทําให เปนการรับรองภาคผนวกใด ๆ ดวย ในเวลาเดียวกันนั้นภาคผนวกนั้นจักตองกําหนดในเรื่องเกี่ยวกับวิธีการ วิทยาศาสตร วิชาการ และการบริหาร

2 ยกเวนที่อาจไดกําหนดไวในพิธีสารใด ๆ ที่เกี่ยวกับภาคผนวกของพิธีสารนั้น, จักตองประยุกตใชวิธีการดังตอไปนี้ในการนําเสนอ,การรับรอง, และการมีผลบังคับใช ของภาคผนวกที่เพิ่มเติมของอนุสัญญาฉบับนี้ หรือภาคผนวกของพิธีสารใด ๆ

มาตรา 30 การรับรองและการแกไขภาคผนวก (ตอ)ก) ภาคผนวกของอนุสัญญาฉบับนี้หรือพิธีสารใดจะตองถูกเสนอและไดรับ

การยอมรับโดยสอดคลองกับวิธีการที่ไดวางไวในมาตรา 29 ข) ภาคีใด ซึ่งไมสามารถจะเห็นชอบกับภาคผนวกเพิ่มเติมของอนุสัญญาฉบับ

นี้ หรือภาคผนวกของพิธีสารใด ๆ จะตองแจงผูรับมอบโดยลายลักษณอักษรภายในหนึ่งปจากวันที่ไดรับการติดตอเพื่อขอการรับรองจากผูรับมอบ ผูรับมอบจะแจงภาคีทั้งปวง โดยไมลาชา เกี่ยวกับหนังสือแสดงความเห็นซึ่งไดรับมา ภาคีหนึ่ง ๆ อาจถอนเรื่องที่ไดแสดงการคัดคานไปแลวในเวลาใดก็ตาม และภาคผนวกจะมีผลบังคับใชสําหรับภาคีนั้น ตามเงื่อนไขภายใตอนุวรรค (ค) ขางลางนี้

มาตรา 30 การรับรองและการแกไขภาคผนวก (ตอ)

ค) เมื่อครบกําหนดหมดอายุภายในหนึ่งปจากวันที่ไดรับการติดตอเพื่อขอการรับรองจากผู รับมอบภาคผนวกจะมีผลบังคับใชสําหรับทุกภาคีของอนุสัญญาฉบับนี้ หรือของพิธีสารที่เกี่ยวของ ซึ่งมิไดเสนอหนังสือแจงความเห็น ทั้งนี้โดยสอดคลองกับขอกําหนดตามอนุวรรค (ข) ขางตน

มาตรา 30 การรับรองและการแกไขภาคผนวก (ตอ)3 การเสนอ, การรับรองและการมีผลบังคับใชของขอแกไขภาคผนวกของ

อนุสัญญาฉบับนี้หรือของพิธีสารใด ๆ จักอยูภายใตวิธีการเดียวกันกับการเสนอ, การรับรองและการมีผลบังคับใชของภาคผนวกของอนุสัญญา และภาคผนวกของพิธีสารใด ๆ

4 หากภาคผนวกเพิ่มเติมหรือขอแกไขของภาคผนวกเกี่ยวของกับขอแกไขของอนุสัญญาฉบับนี้ หรือของพิธีสารใด ๆ ภาคผนวกหรือขอแกไขเพิ่มเติมจักไมมีผลบังคับใชจนกวาจะถึงเวลาที่ขอแกไขของอนุสัญญา หรือของพิธีสารที่เกี่ยวของมีผลบังคับใช

มาตรา 31 สิทธิที่จะออกเสยีง

1 ยกเวนดังไดกําหนดในวรรค 2 ขางลางนี้แตละภาคีของอนุสัญญา หรือของพิธีสารใด ๆ จะมีหนึ่งเสียง

2 องคการผสานทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ในเรื่องที่อยูในอํานาจซึ่งไดรับมอบหมายจะตองใชสิทธิของตนที่จะออกเสียงดวยจํานวนเสียงเทากับจํานวนรัฐสมาชิกของตนซึ่งเปนภาคีของอนุสัญญานี้ หรือของพิธีสารที่เกี่ยวของ องคการนั้น ๆ จะตองไมใชสิทธิออกเสียงหากรัฐสมาชิกของตนไดใชสิทธิแลว และในทํานองกลับกันรัฐสมาชิกจะตองไมใชสิทธิออกเสียง หากองคการนั้น ๆ ไดใชสิทธิแลว

มาตรา 32 ความสัมพนัธระหวางอนุสัญญาฉบบันี้กับพิธีสาร

1 รัฐหนึ่ง ๆ หรือองคการผสานทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคอาจไมกลายเปนภาคีของพิธีสารหากมิไดเปนหรือในเวลาเดียวกันกลายมาเปนภาคีของอนุสัญญาฉบับนี้

2 มติภายในพิธีสารใด จะตองไดรับการดําเนินงานโดยภาคีของพิธีสารที่เกี่ยวของเทานั้น ภาคีใด ๆ ซึ่งมิไดใหสัตยาบัน, ยอมรับ, หรือเห็นชอบ กับพิธีสารหนึ่ง ๆ อาจเขารวมเปนผูสังเกตการณในการประชุมใด ๆ ของภาคีพิธีสาร นั้น ๆ ได

อนุสญัญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

อนุสญัญาวาดวยความหลากหลายอนุสญัญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพทางชีวภาพ

นางสาวสธุาสนิีนางสาวสธุาสนิี เสอืเสอืดีดี รหสัรหสั 4906490620302030

มาตรามาตรา 33 33 การลงนามการลงนาม

อนุ สัญญาฉบับนี้ จักตองเปดใหมีการลงนาม ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร โดยทุกประเทศและองคการผสานทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคใดๆ ในระหวางวันที่5 มิถุนายน 2535 จนถึง 14 มิถุนายน 2536 และณ สํานักงานใหญสหประชาชาติ ในกรุงนิวยอรคในระหวาง วันที่ 15 มถิุนายน 2535 จนถึง 4 มิถุนายน 2536

มาตรามาตรา 34 34 การใหสัตยาบันการใหสัตยาบัน,,การยอมรับหรือการเห็นชอบการยอมรับหรือการเห็นชอบ

1.อนุสัญญาฉบับนี้ และพิธีสารใด ๆ จักอยูภายใตการใหสัตยาบัน, การยอมรับหรือการเห็นชอบโดยรัฐตาง ๆ และโดยองคการผสานทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค สัตยาบันสาร, สารยอมรับ, หรือสารเห็นชอบจักถูกเก็บสะสมไวที่ผูรับมอบ

2.องคการใด ๆ ที่อางถึงในวรรค 1 ขางตน ซึ่งกลายมาเปนภาคีของอนุสัญญา หรือของพิธีสารใด ๆ โดยที่รัฐสมาชิกของตนมิไดเปนภาคี จักตองถูกผูกมัดโดยขอผูกพันทั้งหมดภายใตอนุสัญญา หรือพิธีสารที่เกี่ยวขององคการและรัฐสมาชิกขององคการนั้นจักตัดสินใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการดําเนินการตามขอผูกพันภายใตอนุสัญญา หรือพิธีสาร, ตามแตกรณี ในกรณีเชนนั้นองคการและรัฐสมาชิกจักไมไดรับโอกาสใหใชสิทธิภายใตอนุสัญญา หรือพิธีสารที่เกี่ยวของ ซึ่งเกิดขึ้นพรอมกัน

3. ในสัตยาบันสาร, สารยอมรับหรือสารเห็นชอบ องคการดังไดอางถึงในวรรค 1 ขางตน จักประกาศขอบเขตของสมรรถภาพของตนในการรับภาระที่เกี่ยวกับเรื่องที่ครอบคลุมโดยอนุ สัญญา หรือพิธีสารที่ เกี่ ยวของ องคการเหลานี้ จักตองแจงใหผูรับมอบทราบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในขอบเขตของสมรรถภาพของตนที่เกี่ยวของ

มาตรามาตรา 34 34 การใหสัตยาบันการใหสัตยาบัน,,การยอมรับหรือการเห็นชอบการยอมรับหรือการเห็นชอบ((ตอตอ))

มาตรามาตรา 35 35 การภาคยานุวัติการภาคยานุวัติ

1. อนุสัญญาฉบับนี้ และพิธีสารใด ๆ จักเปดใหรัฐและองคการผสานทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคภาคยานุวัติ ตั้งแตวันที่อนุสัญญา หรือพิธีสารที่เกี่ยวของไดปดการลงนามแลว

2. ภาคยานุวัติสารจักถูกเก็บรวบรวมไวที่ผูรับมอบหมายใหดูแลรักษา ภาคยานุวัติสาร, องคการดังไดอางถึงในวรรค 1 ขางตน จักแถลงขอบเขตของสมรรถภาพของตนในการรับภาระ ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ครอบคลุมโดยอนุสัญญา หรือพิธีสารที่เกี่ยวของ องคการนี้จักแจงใหผูรับมอบทราบดวย หากมีการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวของกับขอบเขตของสมรรถภาพของตนในการรับภาระ

มาตรามาตรา 35 35 การภาคยานุวัติการภาคยานุวัติ

3. ขอกําหนดของมาตรา 34, วรรค 2 จักสามารถนําไปใชกับองคการผสานทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ซึ่งเขารวมเปนภาคีใหมของอนุสัญญาฉบับนี้หรือพิธีสารใด ๆ ได

มาตรามาตรา 36 36 การมีผลบังคับใชการมีผลบังคับใช1.อนุสัญญาฉบับนี้ จักมีผลบังคับใชในวันที่เกาสิบหลังจากวันที่มีการ

มอบสัตยาบันสาร, สารยอมรับ, สารเห็นชอบ หรือภาคยานุวัติสาร2.พิธีสารใด ๆ จักมีผลบังคับใชในวันที่เกาสิบหลังจากวันที่ การมอบ

สัตยาบันสาร, สารยอมรับ, สารเห็นชอบ หรือภาคยานุวัติสาร จํานวนหนึ่งดังไดระบุในพิธีสารนั้น ไดรับการเก็บรวบรวมไวแลว

3.สําหรับแตละภาคีซึ่งใหสัตยาบัน, ยอมรับ หรือใหความเห็นชอบกับอนุสัญญาฉบับนี้ หรือภาคยานุวัติ นอกจากนั้นหลังจากการสงมอบสัตยาบันสาร, สารยอมรับ, สารเห็นชอบหรือภาคยานุวัติสารลําดับที่สามสิบแลว อนุสัญญา จักมีผลบังคับใชในวันที่เกาสิบหลังจากวันที่ภาคีนั้นสงมอบสัตยาบันสาร, สารยอมรับ, สารเห็นชอบหรือภาคยานุวัติสาร

4.พิธีสารใด ๆ ยกเวนดังไดกําหนดเปนประการอื่นในพิธีสารนั้น, จักมีผล

บังคับใชสําหรับภาคีที่ไดใหสัตยาบัน, ยอมรับหรือเห็นชอบกับพิธีสารนั้น หรือ

ภาคยานุวัติ หลังจากอนุสัญญา ไดมีผลบังคับใชสืบเนื่องตามวรรค 2 ขางตน ใน

วันที่เกาสิบหลังจากวันที่ภาคีสงมอบสัตยาบันสาร, สารยอมรับ, สารเห็นชอบ หรือ

ภาคยานุวัติสารแลว หรือในวันที่อนุสัญญาฉบับนี้มีผลบังคับใช สําหรับภาคีนั้น,

ตามแตประการใดจะมาภายหลัง

5.ตามเจตนารมณของวรรค 1 และ 2 ขางตน สารใด ๆ ที่องคการผสาน

ทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคไดสงมอบ จักไมนับเปนสารเพิ่มเติมจากที่ไดสงมอบโดย

สมาชิกภาคีขององคการนั้น

มาตรามาตรา 36 36 การมีผลบังคับใชการมีผลบังคับใช ((ตอตอ))

มาตรามาตรา 37 37 การสงวนสทิธิการสงวนสทิธิ

ไมอาจทําขอสงวนในอนุสัญญาฉบับนี้

มาตรามาตรา 38 38 การเพิกถอนการเพิกถอน

1.ในเวลาใดก็ตามหลังจากวันที่อนุสัญญา ไดมีผลบังคับใชสําหรับภาคีแลวสองป ภาคีนั้นอาจจะถอนตัวจากอนุสัญญา โดยแจงใหทราบเปนลายลักษณอักษรแกผูรับมอบ

2.การเพิกถอนใด ๆ จักตองมีผลสิ้นสุดในหนึ่งปหลังจากวันที่ผูรับมอบไดรับเรื่องเพิกถอน หรือในวันที่หลังจากนั้น ซึ่งอาจกําหนดไวในหนังสือเพิกถอน

3.ภาคีใด ๆ ซึ่งถอนตัวออกจากอนุสัญญาฉบับนี้จักตองไดรับการพิจารณาวาไดถอนตัวจากพิธีสารใด ๆ ซึ่งเปนภาคีอยูดวย

มาตรามาตรา 39 39 การจัดใหมีการเงินเฉพาะกาลการจัดใหมีการเงินเฉพาะกาล

โดยถือวาไดรับการปรับปรุงโครงสรางเต็มที่ โดยสอดคลองกับความตองการตามมาตรา 21 กองทุนสิ่งแวดลอมโลกของโครงการ เพื่ อการพัฒนาแห งสหประชาชาติ ,โครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ และธนาคารระหวางประเทศเพื่อการเสริมสรางและการพัฒนา จักตองเปนสถาบัน ดังอางถึงในมาตรา 21 บนพื้นฐานเฉพาะกาล สําหรับในระยะระหวางการมีผลบังคับใชอนุสัญญาฉบับนี้ จนถึงการประชุมครั้งแรกของสมัชชาภาคี หรือจนกระทั่งสมัชชาภาคี ตัดสินใจกําหนดสถาบัน โดยสอดคลองกับมาตรา 21

มาตรามาตรา 40 40 การจัดใหมีสํานักเลขาธิการเฉพาะกาลการจัดใหมีสํานักเลขาธิการเฉพาะกาล

สํานักเลขาธิการ ซึ่งจะตองจัดหาโดยผูอํานวยการบริหารของโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติจักเปนสํานักเลขาธิการ ดังไดอางถึงในมาตรา 24,วรรค 2 บนพื้นฐานเฉพาะกาล สําหรับในระยะระหวางการมีผลบังคับใชอนุสัญญาฉบับนี้ จนถึงการประชุมครั้งแรกของสมัชชาภาคี

มาตรามาตรา 41 41 ผูรับมอบผูรับมอบ

เลขาธิการองคการสหประชาชาติจักรับหนาที่เปนผูรับมอบอนุสัญญาฉบับนี้ และพิธีสารใดๆ

มาตรามาตรา 42 42 ตนฉบับที่แทจริงตนฉบับที่แทจริง

ตนฉบับของอนุสัญญาฉบับนี้ ในเนื้อหาภาษาอาราบิก, จีน, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย, และสเปนซึ่งไดพิสูจนถูกตองเทาเทียมกันแลว จักถูกเก็บรักษาโดยเลขาธิการองคการสหประชาชาติ

Thank you for your Thank you for your attentionattention