รายงานผลการปฏิบัติตาม...

19
รายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของ มาตรการป้องกัน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการ ท่าเทียบเรือ หมายเลข 8A, 8B และ 8C ตำบลบำงหญ้ำแพรก อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปรำกำร ของ บริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จากัด (มหาชน) และ บริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จากัด จัดทาโดย บริษัท เอ็น แอนด์ เอ คอนซัลแตนส์ จากัด กรกฎาคม 2555

Transcript of รายงานผลการปฏิบัติตาม...

Page 1: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

รายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของ มาตรการป้องกัน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

โครงการ ท่าเทียบเรือ หมายเลข 8A, 8B และ 8C

ต ำบลบำงหญ้ำแพรก อ ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปรำกำร

ของ

บริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน)

และ

บริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด

จัดท าโดย

บริษัท เอ็น แอนด์ เอ คอนซัลแตนส์ จ ากัด

กรกฎาคม 2555

Page 2: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 1 -

รายงานผลการปฏบิัติตามเงื่อนไขของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

1. ค าน า

รายงานฉบับนี้ท าขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ของท่าเทียบเรือหมายเลข 8A, 8B และ 8C ริมฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยาของบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด รายงานฉบับนี้เป็นรายงานประจ าไตรมาสที่ 2ของปี 2555

2. ความเป็นมาของการจัดท ารายงาน

ในปี 2532 ทางบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด ได้มีโครงการจะก่อสร้างเพื่อเชื่อมท่า 8A และ 8B กับท่า 8C โดยให้หน้าท่าของท่าเรือทั้ง 3 เสมอกันเพื่อความปลอดภัยในการเทียบท่าของเรือสินค้า ในการนี้ได้มีการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของท่าเรือส่วนขยายดังกล่าว และรายงานฯฉบับดังกล่าวได้รับอนุมัติเห็นชอบจากส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากกรมเจ้าท่าหน่วยงานผู้ออกใบอนุญาตก่อสร้างท่าเรือ ไม่อนุมัติการก่อสร้างท่าเรือส่วนขยายดังกล่าว ดังนั้นจึงไม่ได้มีการก่อสร้างท่าเรือส่วนขยาย

3. รายละเอียดโครงการโดยสังเขป

3.1 ที่ต้ังโครงการ

ท่าเทียบเรือหมายเลข 8A 8B และ 8C ของบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด ที่ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ าเจ้าพระยาตรงช่วงกิโลเมตรที่ 19-20 ในเขตต าบลบางหญ้าแพรก อ าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ด้านหน้าของพื้นที่จรดถนนปู่เจ้าสมิงพราย ดังแสดงในรูปที่ 1 แผนที่แสดงที่ต้ังโครงการ

3.2 ประเภทและขนาดของท่าเทียบเรือ

ท่าเทียบเรือ 8A มีความยาวหน้าท่า 205 เมตร เชื่อมติดกับท่าเทียบเรือ 8B ที่มีความยาวหน้าท่า 110 เมตร ส่วนท่า 8C มีความยาวหน้าท่า 231 เมตร ดังรูปที่ 1 ท่าเทียบเรือแห่งนี้สามารถรองรับเรือขนาดถึง 25,000 ตันกรอสส์

Page 3: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 2 -

ที่มา : แผนที่แม่น้ าเจ้าพระยา กองการส ารวจร่องน้ า ฝ่ายการร่องน้ า การท่าเรือแห่งประเทศไทย, 2542

รูปที่ 1 : แผนที่แสดงที่ตั้งโครงการ

ที่ตั้งโครงการ

Page 4: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 3 -

อนึ่งบนพื้นที่โครงการนอกเหนือจากท่าเรือ จะมีโกดังเก็บสินค้า อาคารส านักงาน และโรงงานของบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด รูปที่ 2 แผนผังโครงการโดยสังเขป

3.3 สินค้าและวิธีการขนถ่าย

สินค้าหลักที่ขนถ่ายในปัจจุบันประกอบด้วย

ข้าวสาลี ที่น ามาผลิตแป้งสาลีโดยน าเข้ามาจากต่างประเทศ ขนส่งมาในลักษณะ bulk จากระวางเรือจะมี bucket elevator ตักข้าวสาลีส่งขึ้นสู่ chain conveyor เพื่อล าเลียงเข้าเก็บที่ไซโล

ไม้แปรรูป น าเข้าจากต่างประเทศ จะมัดมาเป็นมัด จากระวางเรือสินค้า Crane ของเรือจะยกมัดไม้ขึ้นวางบนกระบะรถบรรทุก หรือบนพื้นหน้าท่า จากนั้นรถ fork lift จะท าการยกมัดไม้ขึ้นวางบนกระบะรถบรรทุก หรือน าไปเก็บกองบนพื้นที่ซึ่งจัดเตรียมไว้ส าหรับไม้แปรรูป

เหล็กแผ่นและเหล็กม้วน การขนถ่ายจากระวางเรือสินค้าจะใช้ Crane ของเรือ หรือถ้าเป็นเรือล าเลียงจะใช้รถยก (mobile crane) ท าการยกขึ้นจากระวางเรือ ไปวางบนกระบะรถบรรทุกเพื่อน าไปส่งให้เจ้าของสินค้า

กากถั่วเหลือง, กากถั่วลิสง, กากองุ่น และกากเมล็ดดอกทานตะวัน ขนส่งมาในลักษณะ bulk และบรรจุกระสอบ โดยที่เป็น bulk จะขนถ่ายจากระวางเรือโดยใช้ Grab ของเรือตักขึ้นใส่กระบะรถบรรทุก ส่วนที่บรรจุกระสอบจะใช้ crane ของเรือ ล าเลียงจากระวางเรือใส่กระบะรถบรรทุก

โซดาแอช บรรจุมาในถุงขนาด 1 ตัน ซึ่งเรียกว่าถุง Jumbo จากระวางเรือจะใช้ Crane ของเรือยกถุงสินค้าขึ้นไปวางบนกระบะรถบรรทุกที่จอดรออยู่บนท่าเรือ

ปุ๋ยเคมี ขนส่งมาในรูปบรรจุถุง ในกรณีที่ขนส่งมาโดยเรือสินค้าจะใช้ crane ของเรือสินค้าในการขนถ่ายสินค้าขึ้นจากเรือ แต่ถ้าเป็นเรือล าเลียงจะใช้แรงงานคนแบก

3.4 ระบบควบคุมและป้องกันมลพิษ

(1) การหกหล่น รั่วไหล และการฟุ้งกระจาย ในการขนถ่ายสินค้าที่ขนส่งมาในรูป bulk จะได้มีการปูผ้าใบระหว่างเรือสินค้า-หน้าท่า เพื่อไม่ให้สินค้าหกหล่นลงแม่น้ า และจะมีคนงานประจ าหน้าท่าคอยเก็บกวาดท าความสะอาด

(2) การป้องกันอัคคีภัย บนพื้นที่โครงการมีระบบท่อน้ าดับเพลิงขนาด 4 นิ้ว และมีท่อแยกขนาด 2 นิ้ว พร้อม fire hydrant ตามจุดต่างๆ และตามโกดังมีตู้สายดับเพลิง (fire hose cabinet) ซึ่งประกอบด้วยสายดับเพลิงยาว 20 เมตร พร้อมหัวฉีด และถังดับเพลิงแบบมือถือขนาด 15 ปอนด์ ดังแสดงในรูปที่ 3 ตู้สายน้ าดับเพลิงทางด้านข้างอาคาร

นอกจากนี้ทางบริษัทฯ ได้จัดให้มีการซ้อมแผนปฏิบัติการฉุกเฉินปีละ 1-2 ครั้ง

Page 5: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 4 -

รูปที่ 2

: แผน

ผังโครงการแสด

งจุดเก็บ

ตัวอย่

างน้ า

Page 6: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 5 -

รูปที่ 3 : ตู้สายน้ าดับเพลิงทางด้านข้างอาคาร

Page 7: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 6 -

3.5 ระบบสาธารณูปโภค

(1) ระบบไฟฟ้า ไฟฟ้าส าหรับกิจกรรมต่างๆ ได้มาจากการไฟฟ้านครหลวง

(2) น้ าใช้ บริษัทฯ ใช้น้ าประปา และน้ าบ่อบาดาล

3.6 ระบบระบายน้ าและระบบบ าบัดน้ าเสีย

น้ าเสียจากห้องน้ าและห้องส้วมจะบ าบัดด้วยระบบบ่อเกรอะ/บ่อซึม ส่วนการระบายน้ าริมถนนภายในโครงการ และ/หรือรอบตัวอาคารจะมีรางระบายน้ ารูปตัวยูพร้อมบ่อพักเป็นระยะดังแสดงในรูปที่ 4 ภาพถ่ายรางรายบายน้ า ระบายลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยาบางส่วน และท่อระบายน้ าริมถนนปู่เจ้าสมิงพรายบางส่วน

3.7 การจัดการขยะมูลฝอย

ขยะจากกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ จะเก็บรวบรวมรอให้รถขยะของเทศบาลส าโรงใต้จัดเก็บไปท าการก าจัดเป็นประจ าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง รูปที่ 5 ภาพถ่ายรถขยะของเทศบาลส าโรงใต้ ที่เข้ามาเก็บขยะของโครงการไปท าการก าจัด

3.8 การคมนาคม

การจราจรจากกิจกรรมการขนส่งสินค้าเข้า-ออกพื้นที่โครงการโดยรถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ จะมีปริมาณเฉลี่ยประมาณ 120 คัน/วัน โดยใช้เส้นทางถนนปู่เจ้าสมิงพรายที่ผ่านหน้าพื้นที่โครงการ

3.9 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ทางบริษัทฯ จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น และอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลส าหรับพนักงานขณะขนถ่ายสินค้า มียามรักษาการณ์ตลอด 24 ชั่วโมง มีการตรวจสุขภาพพนักงานประจ าปีและพนักงานแรกเข้า มีการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีภัยจากอาคาร และมีคณะกรรมการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตามที่กฎหมายก าหนด

4. มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ในรายงาน EIA ฉบับดังกล่าวได้มีการก าหนดมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และตารางที่ 1 สรุปมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ทางบริษัทฯ ได้ด าเนินการ

อนึ่งแต่เดิมสินค้าที่ขนถ่ายที่ท่าเรือประกอบด้วย สินค้าจ าพวกข้าวโพด และมันส าปะหลังด้วย ซึ่งในช่วงนั้นทางบริษัทฯได้มีมาตรการติดตามตรวจสอบทั้งคุณภาพน้ าและคุณภาพอากาศ แต่ต่อมา ในปี 2534 ทางท่าเรือได้ยกเลิกขนถ่ายผลิตภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดปัญหาคุณภาพอากาศคือ ข้าวโพด และมันส าปะหลัง ที่มีปัญหาการฟุ้งกระจายของฝุ่น ดังนั้นการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมของโครงการตามเงื่อนไขแนบท้ายใบอนุญาตใช้ท่าเทียบเรือในแต่ละปีของช่วงหลังนี้ จะมีเฉพาะการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ าจากบ่อพักสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนระบายลงแม่น้ าเจ้าพระยา จ านวน 3 จุด ตามที่แสดงไว้ในรูปที่ 2

Page 8: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 7 -

รูปที่ 4 : รางระบายน้ าริมถนนข้างอาคาร

Page 9: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 8 -

รูปที่ 5 : ภาพถ่ายรถขยะของเทศบาลส าโรงใต้ที่เข้ามาเก็บขยะของโครงการ

Page 10: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

ตารางที่ 1 : สรุปมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

มาตรการฯ การปฏิบัตติามมาตรการฯ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข

มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1. เพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นมันระหว่างการขนถ่าย

สินค้ า ได้มี การก าหนดมาตรการลดผลกระทบดังต่อไปนี ้ ในการขนถ่ายมันอัดเม็ดลงเรือทุกครั้ง ที่ปลาย

conveyor ให้ติดตั้ง Flexible Chute และกระโปรงผ้าใบ

ก่อนการขนถ่ายสินค้าเจ้าหน้าที่ของบริษัทฯ ต้องตรวจอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ที่ต้องใช้ในการขนถ่ายสินค้าให้อยู่ในสภาพที่ดี และไม่ช ารุด

คนงานและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่อยู่ในบริเวณท่าเทียบเรือระหว่างการขนถ่ายมันอัดเม็ด ต้องสวมใส่ผ้าปิดจมูกและปาก

2. หลีกเลี่ยงการจอดรถบรรทุกที่บรรทุกสินค้ามาส่งที่โกดังของบริษัทฯ ที่ริมถนนปู่เจ้าฯ พยายามจัดให้รถบรรทุกที่รอลงสินค้าเหล่านี้เข้าจอดในบริเวณพื้นที่โครงการ

- ไม่ได้ปฏิบัติ - ก่อนการขนถ่ายสินค้าจะมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบอุปกรณ์

และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าให้อยู่ในสภาพที่ดี

- ไม่ได้ปฏิบัติ - ทางบริษัทฯ จัดให้รถบรรทุกที่มาส่ง/รับสินค้าที่โกดัง

ของบริษัทฯ จอดรถรอบนพื้นที่โครงการ ไม่มีการจอดรอบนถนนปู่เจ้าฯ รูปที่ 6 ภาพถ่ายลานจอดรถของโครงการ

- บริษัทฯ ยกเลิกการขนถ่ายมันส าปะหลัง (อัดเม็ด และ

มันเส้น) และข้าวโพดมาตั้งแต่ปี 2534

--- - บริษัทฯ ยกเลิกการขนถ่ายมันส าปะหลัง (อัดเม็ด และ

มันเส้น) และข้าวโพดมาตั้งแต่ปี 2534

---

- 9 -

Page 11: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 10 -

รูปที่ 6 : ภาพถ่ายลานจอดรถของโครงการ

Page 12: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

ตารางที่ 1 : สรุปมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

มาตรการฯ การปฏิบัตติามมาตรการฯ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข

มาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอ้ม 1. ฝุ่นละออง

ตรวจวัดปรมิาณฝุ่นละอองบนพื้นที่โครงการและพื้นที่ข้างเคียง จ านวน 4 จุด ดังนี ้- จุดที่ห่างจากบริเวณที่มีการขนถ่ายมันส าปะหลัง

ในรัศมี 4 เมตร - จุดที่ห่างจากบริเวณที่มีการขนถ่ายมันส าปะหลัง

ในรัศมี 50 ม. - บริเวณหลังอาคารส านักงาน - ที่วัดท้องคุ้ง โดยให้มีความถี่ในการตรวจวัดปีละ 2 ครั้ง ช่วงเดือนพฤษภาคม -ตุลาคม และช่วงเดือนพฤศจิกายน -เมษายน

2. คุณภาพน้ าทิ้ง ตรวจวัดคุณภาพน้ าบริเวณบ่อพักสุดท้ายของ

ระบบระบายน้ าก่อนระบายลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยา จ านวน 3 จุด โดยดัชนีคุณภาพน้ าประกอบด้วย pH, BOD, SS, น้ ามันและไขมัน

- ไม่ได้ปฏิบัติ - ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ าเป็นประจ าทุก 3 เดือน

ดังรายละเอียดในตารางที่ 2

- บริษัทฯ ยกเลิกการขนถ่ายมันส าปะหลัง (อัดเม็ด และ

มันเส้น) และข้าวโพดที่จะมีการฟุ้งกระจายของฝุ่นมาตั้งแต่ปี 2534

---

- 11 -

Page 13: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 12 -

ตารางท่ี 2 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ าท้ิงที่บ่อพักน้ าทิ้งของระบบระบายน้ า

บริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด ช่วงปี 54 สถานที่เก็บตัวอย่าง บ่อพักน้ าทิ้งสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนปล่อยลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยา

pH BOD (มก / ล.) SS (มก / ล.) Oil & Grease (มก / ล.)

ต.ย. ที่ 1 มี.ค.54 7.1 8.1 31 1.2 พ.ค. 7.5 3.0 29 4.8 ก.ย. 7.5 4.8 43 0.4 ธ.ค. 7.6 3.6 33 2.4 มี.ค. 7.2 8.4 30 3.6 พ.ค.55 1/ 7.6 5.1 26 2.8 ต.ย. ที่ 2 มี.ค.54 7.1 6.0 28 1.2 พ.ค. 7.5 5.4 19 3.6 ก.ย. 7.5 3.6 41 0.8 ธ.ค. 7.3 4.8 25 3.2 มี.ค. 7.2 7.2 31 1.6 พ.ค.55 1/ 7.4 4.5 22 1.2 ต.ย. ที่ 3 มี.ค.54 7.1 5.4 33 0.8 พ.ค. 7.3 6.6 48 0.6 ก.ย. 7.4 4.5 37 1.2 ธ.ค. 7.2 7.8 29 1.2 มี.ค. 7.2 5.7 35 1.6 พ.ค.55 1/ 7.3 3.3 21 2.0

ค่ามาตรฐานฯ * 5.5-9 20 50 <5.0

1/ ตัวอย่างน้ าเก็บเมื่อวันที ่ 29 พฤษภาคม 2555 โดยนายดุษฎี หงอสกุล * มาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากแหล่งก าเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรม ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

5. ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ า

การเก็บตัวอย่างน้ าจากบ่อพักสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนระบายลงแม่น้ าเจ้าพระยาจ านวน 3 บ่อ ได้กระท าเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2555 โดยการเก็บตัวอย่างครั้งนี้เป็นการเก็บตัวอย่างน้ าครั้งที่ 2 ของปี 2555 ต าแหน่งของการเก็บตัวอย่างได้แสดงไว้ในรูปที่ 2 , รูปที่ 7 เป็นภาพถ่ายของการเก็บตัวอย่างน้ า

ตารางที่ 2 แสดงผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้ า ซึ่งส าหรับการตรวจวัดครั้งที่ 2 ของปี 2555 สามารถสรุปได้ว่า pH ของตัวอย่างน้ าจากทั้ง 3 บ่อ มีค่า 7.6, 7.4 และ 7.3 ตามล าดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากแหล่งก าเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมที่ก าหนดให้มีค่า 5.5-9 ส่วน BOD5 ซึ่งเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความสกปรกของตัวอย่างน้ า ค่ามาตรฐานฯก าหนดให้มีค่าไม่มากกว่า 20 มก/ล. ส าหรับน้ าทิ้งจากบ่อพักทั้งสามมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกล่าวคือ 5.1 , 4.5 และ 3.3 มก./ล. ส าหรับบ่อพักที่ 1, 2 และ 3

Page 14: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 13 -

ตามล าดับ ส่วนปริมาณสารแขวนลอยที่มาตรฐานฯ ก าหนดให้มีค่า 50 มก/ล. น้ าทิ้งจากบ่อพักทั้งสามมีค่า 26, 22 และ 21 มก./ล. ตามล าดับ ซึ่งตัวอย่างน้ าจากบ่อพักทั้ง 3 บ่อ มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯ นอกจากนี้ น้ ามันและไขมันที่บ่อพักที่ 1, 2 และ 3 มีค่า 2.8, 1.2 และ 2.0 มก./ล. ตามล าดับ ในขณะที่มาตรฐานฯ ก าหนดให้มีค่าไม่เกิน 5 มก/ล. ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าคุณภาพน้ าของตัวอย่างน้ าจากบ่อพักสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนระบายลงแม่น้ าเจ้าพระยาทั้ง 3 บ่อ ประจ าไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 มีค่าดัชนีคุณภาพน้ าซึ่งประกอบด้วย pH, BOD, ปริมาณสารแขวนลอย และน้ ามันและไขมันอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯ

ส าหรับผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ าในช่วงปี 2554 และสองไตรมาสของปี 2555 จะพบว่าในการเก็บตัวอย่างน้ าจ านวน 18 ตัวอย่าง มีค่าดัชนีคุณภาพน้ าประกอบด้วย pH มีค่าอยู่ในช่วง 7.1-7.6 BOD มีค่าอยู่ในช่วง 3.0-8.4 มก/ล., ปริมาณสารแขวนลอย (SS) อยู่ในช่วง 19-48 มก./ล. และ Oil & Grease มีค่าอยู่ในช่วง 0.4-4.8 มก/ล. ซึ่งดัชนีคุณภาพน้ าทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯ รูปที่ 8 - รูปที่ 11 กราฟแสดงผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ าของโครงการเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานฯ

Page 15: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 14 -

รูปที่ 7 : การเก็บตัวอย่างน้ าเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2555

Page 16: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 15 -

รูปที่ 8 : ผลการตรวจวเิคราะห์ pH ของตัวอย่างน้ า

รูปที่ 9 : ผลการตรวจวเิคราะห์ BOD ของตัวอย่างน้ า

Page 17: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

- 16 -

รูปที่ 10 : ผลการตรวจวิเคราะห์ SS ของตัวอย่างน้ า

รูปที่ 11 : ผลการตรวจวิเคราะห์ Oil & Grease ของตัวอย่างน้ า

Page 18: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

ภาคผนวก

ผลการวิเคราะหตัวอยางนํ้า

Page 19: รายงานผลการปฏิบัติตาม ...eiadoc.onep.go.th/eia2/4-1-88.pdf- 1 - รายงานผลการปฏ บ ต ตามเง อนไขของมาตรการป

&jg"t *,, i ,dElt$

CustomerName

Address

Page 1 ofl

Report No: i 205290i 5

^rNfil0Rtloil t(cftD]tAI0l,lv

'ftts t't\(;\o.{}2{0

Fax 0-2580-6897

Amafireis R"cport4 g d a

:.t:uil ttlu rtaua n flailsntHutT

691'730 Phandintong Soi 5711, Diwanon Rd.

Muang, Nonthaburi I 1000

Tel: 0-2950-1370-1

Samphng Source : UFM (rh fi oarn rJ an-n4n fi r ola\t;&u u5vu'ltt rhria uao{uil :ir)

Sarn-pling Date

Received Date

Testing Date

z 29-May-12

z 29-lvIay-12

: May 30 - Jun 1,2012

Sampling Method

Sampling By

Approved Date

Grab

Customer

12-Jun-12

Item Unit Method of Analysis Result

No.1

Wastewater

120529415

9:30 AM

Turbid sodimont

No.2

Wastewater

t20529016

9:30 AM

Turbid sediment

No.3

Wastewater

120529017

9:30 AM

Turbid sediment

SampleName

Sample Type

Analysis No.

Sampling Time

Physical Appearance

pH at 25 deg C WTMO3 t . 3. AI . q7 . 6

#BOD 5 Dayl

Suspended Solids

Azide ]vlodification

WTMOl

mgll-

ntg/I-

;E/I-

is i4.5

2i.a3.3

i i t

{TD-I , Dried at I 03-1C)5C 545 465

1 .2

444

*Fat,Oil & Grease mglL Partition & Gravimetnc

Remafk . WTM 03 : In-house method : 1VTM03 base on Standard Method for the Exrnination of Water and Wastonrater, APHA AWWA,WEF

21st Edition 2005, pat 4500-E+B

WTM 01 : Standtrd Mefiod for the Examination of lfater and lfastewaler, APHA, AWW{WEF 2lst Edition 2005, pat 2540 D

# : * Test marked # in thir roport are not included in the TISI Accreditalion Schedr.rlo for otn Laboratory o

2.8

Environment & Laboratory Co..Ltd.

(Alisa Songsawasd)Laboratory h{anager

t-029-a-24A'7,,,,ITM-4F-VI 5 Feb.lqffi-?01-Q,,,,. :rr r ,,,,i,^:i i)r,ir. ailr tire anaiyzeC 7'ie-<ieC s.rrnpleis) .rs inrlicatecl in this report.

. . , j , 1 , i r . - - ' r - . i f - - - " i , , 1 , . . . ; r 1 i 1 r ' 1 i a n t a y b e r e p r o d u c e d i n . ; n v f o r m v r i t h o u t w r i t t e n c o n s e n t f r o m t h e l a b o r a t o r \

i , : . . , , ' : . : . r . . :- i : i : , i l r i l i r : r i r .r i ini i i i r led i l l i re f lSI Accreditat ion schei:kle for oqr Laboraiory

Approved By:

h{

1l{ t { - rO Te1. L l -2525- lL+9, t . t -2969-071-1, O-2cl i r9-013i1- I Far. i ) -2S69r- .071a E-rnai l : serv ice@enr, i l ; rb.com