และมาตรการติดตามตรวจสอบ...

14
รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที1 และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด 1-1 | ห น า บทที1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน จากผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมดานโครงการเหมืองแร ที่ประชุมมีมติเห็นชอบกับ รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการทําเหมืองชนิดแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินแกรนิตเพื่ออุตสาหกรรม กอสราง และหินอุตสาหกรรมชนิดหินอื่นๆ เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง ของบริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด คําขอประทานบัตรที1/2557 ในเขตการปกครองตําบลคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมแจงผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ โดยจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไข มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ตามหนังสือทีทส 1009.2/7942 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2559 ดังเอกสารแนบ 1 และโครงการไดรับอนุญาตประทานบัตรที27667/16228 ตั้งแตวันที่ 7 กรกฎาคม 2560 ถึงวันที่ 6 กรกฎาคม 2573 รวมอายุประทานบัตรเปน 13 ป รายละเอียดดังเอกสารแนบ 2 ทั้งนี้ทางบริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด ไดมอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด ดําเนินการ จัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม 1.2 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป 1) รายละเอียดโครงการ ชื่อโครงการ โครงการทําเหมืองชนิดแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินแกรนิตเพื่อ อุตสาหกรรมกอสราง และหินอุตสาหกรรมชนิดหินอื่น ๆ เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง เจาของโครงการ บริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด สถานที่ตั้งโครงการ เทศบาลเมืองคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ขนาดพื้นที่โครงการ เนื้อที82-3-08 ไร โครงการไดรับอนุญาตครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2560 ถึง วันที่ 6 กรกฎาคม 2573 รวมอายุประทานบัตร 13 ป

Transcript of และมาตรการติดตามตรวจสอบ...

Page 1: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-1 | ห น า

บทที่ 1

บทนาํ

1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน

จากผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมดานโครงการเหมืองแร ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบกับ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการทําเหมืองชนิดแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินแกรนิตเพื่ออุตสาหกรรม

กอสราง และหินอุตสาหกรรมชนิดหินอื่นๆ เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง ของบริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด คําขอประทานบัตรท่ี

1/2557 ในเขตการปกครองตําบลคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมแจงผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ โดยจะตองปฏิบัติตามเง่ือนไข

มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ตามหนังสือท่ี

ทส 1009.2/7942 ลงวันท่ี 11 กรกฎาคม 2559 ดังเอกสารแนบ 1 และโครงการไดรับอนุญาตประทานบัตรที่ 27667/16228

ต้ังแตวันท่ี 7 กรกฎาคม 2560 ถึงวันท่ี 6 กรกฎาคม 2573 รวมอายุประทานบัตรเปน 13 ป รายละเอียดดังเอกสารแนบ 2

ท้ังน้ีทางบริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด ไดมอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด ดําเนินการ

จัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามเง่ือนไขมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบ

คุณภาพสิ่งแวดลอม

1.2 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป

1) รายละเอยีดโครงการ

• ช่ือโครงการ โครงการทําเหมืองชนิดแรหินอุตสาหกรรมชนิดหินแกรนิตเพื่อ

อุตสาหกรรมกอสราง และหินอุตสาหกรรมชนิดหินอื่น ๆ

เพื่ออุตสาหกรรมกอสราง

• เจาของโครงการ บริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด

• สถานที่ตั้งโครงการ เทศบาลเมืองคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา

• ขนาดพื้นที่โครงการ เน้ือท่ี 82-3-08 ไร

• โครงการไดรบัอนุญาตครั้งที่ 1 เมื่อวันท่ี 7 กรกฎาคม 2560 ถึง วันท่ี 6 กรกฎาคม 2573

รวมอายุประทานบัตร 13 ป

Page 2: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-2 | ห น า

1.3 ลักษณะและสภาพพื้นท่ีท่ัวไปของพื้นท่ีโครงการ

1.3.1 ที่ตั้งโครงการ

พื้นท่ีโครงการต้ังอยูท่ี เทศบาลเมืองคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ปรากฏอยูในแผนท่ีภูมิประเทศ

ของกรมแผนท่ีทหาร มาตราสวน 1:50,000 ลําดับชุด L7018 ระวาง 5123 III (จังหวัดสงขลา) อยูระหวางเสนกริดต้ังท่ี

539600-539800 ตะวันออก และเสนกริดนอนท่ี 959700-960300 เหนือ โดยมีพื้นท่ีท้ังหมด 82-3-08 ไร ดังรูปที่ 1-1

1.3.2 ลักษณะภูมิประเทศ

พื้นท่ีโครงการต้ังอยูบนขอบแองหาดใหญทางทิศตะวันออกท่ีระดับความสูง 30-80 เมตรโดยประมาณ

มีลักษณะเปนเนินเขาขนาดเล็กท่ีระดับความสูงประมาณ 80-32 เมตร (รทก.) อยูบริเวณขอบทางทิศเหนือของเขาท่ีมีช่ือตาม

ตามแผนท่ีภูมิประเทศของกรมแผนท่ีทหารวา “เขาบันไดนาง” ซึ่งสภาพปจจุบันเปนบริเวณท่ีถูกขุดลอกดินลูกรังออกเหลือแต

สวนท่ีเปนดานหินแข็งรองรับหนาดินอยูดานลาง

บริเวณใกลเคียงทางทิศเหนือเปนท่ีราบในหุบเขา มีขุมเหมืองแรดีบุกเกาในกลุมเหมืองแรนํ้านอยและมีเขานํ้า

นอยสูงประมาณ 270 เมตร (รทก.) โผลกลางท่ีราบทางทิศตะวันตกเปนท่ีราบ-ท่ีลุม สําหรับทางทิศใตและทางทิศตะวันออก

เปนพื้นท่ีภูเขาสูงของเขาบันไดนางและเขาคอหงส (ท่ีวางตัวแนวเหนือ-ใต) บริเวณท่ีราบเชิงเนินเขาอยูท่ีระดับความสูง

ประมาณ 20 เมตร (รทก.) บริเวณท่ีราบและภูเขาโดยรอบเปนพื้นท่ีเพื่อการเกษตรและท่ีอยูอาศัย

1.3.3 การใชประโยชนบริเวณพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง

พื้นท่ีโครงการท้ังหมดเปนพื้นท่ีท่ีผานการใชประโยชนเพื่อการตักดินลูกรัง ซึ่งในปจจุบันยังคงเหลืออยูเฉพาะ

บางสวนท่ีเปนดานหินแข็งรองรับหนาดินอยูดานลาง ทําใหเจาของท่ีดินตองการท่ีจะปรับพื้นท่ีใหมีลักษณะใกลเคียงกับพื้นท่ี

ขางเคียง เพื่อสรางบานจัดสรร ตลาดนัด และบานเชา เมื่อปรับพื้นท่ีแลวพบหินอุตสาหกรรมชนิดอ่ืน ๆ จึงไดขออนุญาต

ครอบครองแร สวนบริเวณโดยรอบพื้นท่ีโครงการ เปนพื้นท่ีทําเกษตรกรรมประเภทยางพารา พื้นท่ีอยูอาศัยของราษฎร และ

ท่ีต้ังของสถานท่ีสําคัญตาง ๆ ในบริเวณใกลเคียง นอกจากน้ีไมพบทางหลวง ทางสาธารณะประโยชน หรือทางนํ้าสาธารณะ

ประโยชนเขาใกลหรือตัดผานพื้นท่ีโครงการในระยะ 50 เมตรแตอยางใด สําหรับอาณาเขตติดตอ มีดังน้ี ดังรูปที่ 1-2

ทิศเหนือ ติดตอกับ ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 11

ทิศใต ติดตอกับ พระพทุธมงคลมหาราช คายเสนาณรงค โรงเรียนคายเสนาณรงค

สถานีตํารวจภูธรคอหงส และวิทยาลัยเทคโนโลยีหาดใหญ

ทิศตะวันออก ติดตอกับ โรงเรียนหาดใหญพิทยาคม โรงเรียนชุมชนบานนํ้านอย วัดนํ้านอยนอก

เทศบาลตําบลนํ้านอย และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลนํ้านอย

ทิศตะวันตก ติดตอกับ โรงเรียนสงเสริมศาสนาวิทยา โรงเรียนเกาะหมี มัสยิดบานเกา มัสยิดบาน

เกาะหมี วัดคลองเปล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพคอหงส และสถานี

ตํารวจทางหลวง

Page 3: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-3| หนา

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

รูปที่ 1-1 แสดงตําแหนงท่ีต้ังพื้นท่ีโครงการและโรงโมหิน

Page 4: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รูปที่ 1-2 แสดงการใชประโยชนบริเวณพื้นท่ีโครงการและพื้นท่ีใกลเคียง

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-4| หนา

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

Page 5: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-5 | ห น า

1.4 เสนทางการคมนาคมขนสง

การคมนาคมเขาสูพื้นท่ีโครงการเร่ิมตนเดินทางจากศาลากลางจังหวัดสงขลา ผานทางถนนชลาทัศน และตอดวยทาง

หลวงหมายเลข 407 (เสนทางสงขลา-หาดใหญ) ไปประมาณ 23 กิโลเมตรถึงบานเกาะหมี เลี้ยวซายไปตามทางลูกรังเลียบทาง

รถไฟเกาไปทางทิศตะวันออกประมาณ 400 เมตร จึงถึงพื้นท่ีโครงการของบริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด ดังรูปที่ 1-3

1.5 การวางแผนและออกแบบเหมือง

การวางแผนและออกแบบทําเหมืองพิจารณาจากลักษณะรูปราง และขอบเขตการวางตัวของแหลงแร ความสามารถใน

การผลิตแร การปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอม และวิศวกรรมความปลอดภัยในการทําเหมืองโดยมีรายละเอียดในการวางแผน

และออกแบบเหมือง ดังน้ี

1.5.1 การใชประโยชนพืน้ที่โครงการ

พื้นท่ีโครงการมีเน้ือท่ี 82.8 ไร มีลักษณะเปนภูเขาอยูท่ีระดับสูงประมาณ 80-32 เมตร (รทก.) โดยการใช

ประโยชนในพื้นท่ีโครงการจะพัฒนาปรับสภาพพื้นท่ีบริเวณตาง ๆ จัดสรางคูระบายนํ้าขนานกับคันทํานบดินบริเวณทางทิศ

เหนือของพื้นท่ีโครงการระหวางหมายเลขหลักหมายเขตเมืองแรท่ี 4-12 เพื่อเบ่ียงเบนนํ้าขุนขนท่ีเกิดจากการชะลางในชวงฤดู

ฝนใหไหลลงสูบอดักตะกอน “บ” ดานลางทางทิศเหนือ มีขนาดพื้นท่ี 3.5 ไร พรอมปลูกตนไมทองถ่ินบนคันทํานบดินเพื่อ

ปองกันนํ้าไหลออกสูนอกเขตพื้นท่ีโครงการทําเหมือง มีพื้นท่ีทําเหมืองประมาณ 55.9 ไร และพื้นท่ีเวนไมทําเหมืองระยะ 10

เมตรจากขอบพื้นท่ีโครงการ ขนาดพื้นท่ีประมาณ 11 ไร ทําใหคงเหลือพื้นท่ีท่ีไมมีกิจกรรมการทําเหมืองประมาณ 12.4 ไร ดัง

รูปที่ 1-4 สวนอาคารเพื่อกิจกรรมอื่น ๆ เชน สํานักงาน โรงซอม และบานพักคนงาน ต้ังอยูนอกเขตพื้นท่ีโครงการท้ังหมด

1.5.2 การออกแบบการทําเหมือง

ท้ังน้ีจะเปดการทําเหมืองโดยวิธีเหมืองหาบ แบบข้ันบันไดบนภูเขา (Open Pit) โดยใชเคร่ืองจักรกลหนักและ

ระเบิดเขาชวย จะเร่ิมเปดหนาเหมืองบริเวณหมายอักษร “ห” ต้ังแตระดับความสูงประมาณ 80 เมตร (รทก.) แลวเดินหนา

เหมืองไปตามแนวลูกศรช้ี ลดหลั่นลงมาจนถึงระดับความสูงประมาณ 32 เมตร (รทก.) คิดเปนพื้นท่ี 55.9 ไร การเปด

หนาเหมืองจะเปดตามลักษณะการวางตัวของหินแกรนิต หินฮอรนเฟลส และหิน ควอรตไซต เปนลักษณะข้ันบันได โดยใหแต

ละข้ันมีความสูงสุดทายไมเกิน 10 เมตร และมีความกวางไมนอยกวา 10 เมตร หนา Bench เอียงประมาณ 80-85 องศา ท้ังน้ี

จะรักษาใหมีความลาดเอียงท้ังหมดของหนาเหมือง (Overall Slope) ไมเกิน 45 องศา เพื่อไมใหเกิดการพังถลมหรือการลวง

หลนของดินและเศษหินซึ่งทําใหหนาเหมืองมีสภาพท่ีความปลอดภัยอยูเสมอ รวมท้ังใหสอดคลองกับเคร่ืองจักรท่ีใชในการทํา

เหมืองดวย

Page 6: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รูปที่ 1-3 แสดงเสนทางคมนาคมเขาสูพื้นท่ีโครงการและเสนทางขนสงแร

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-6| หนา

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

Page 7: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รูปที่ 1-4 แสดงการใชประโยชนในพื้นท่ีโครงการ

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-7| หนา

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

Page 8: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-8 | ห น า

1.5.3 แผนการทําเหมือง

การทําเหมืองจะทําเหมืองบริเวณหมายอักษร “ห” โดยเดินหนาเหมืองไปทางทิศเหนือ หันทิศทางการระเบิด

ไปทางทิศใต เพื่อปองกันทัศนียภาพการมองจากทางหลวงหมายเลย 407 และชุมชนท่ีอยูบริเวณทางทิศเหนือและทิศตะวันตก

เฉียงเหนือ ท้ังน้ีในอดีตพบวา พื้นท่ีโครงการผานการขุดดินลูกรังมานาน ซึ่งมีสภาพเปนเนินเขา และมีเสนทางขนสงดินเดิมอยู

แลวบางสวน การพัฒนาเสนทางขนสงลําเลียงหิน จึงสามารถพัฒนาตอเน่ืองไปยังบริเวณหมายอักษร “ห” ไดคอนขางสะดวก

เสนทางท่ีตัดข้ึนไปจะมีความลาดชันไมเกิน 1:10 การพัฒนา เสนทางและการปรับสภาพื้นท่ีเพื่อการทําเหมอืงจะใชรถขุด

Backhoe ขุดตักใสรถบรรทุก 10 ลอ นําไปถมเปนถนนภายในเหมืองและทําคันนบดินตอไป

1.5.4 การใชและการเกบ็วัตถุระเบิด

การทําเหมืองจะใชเคร่ืองเจาะ Hydraulic Crawler Drill ขนาดหัวเจาะประมาณ 3.0 น้ิว จํานวน 2 เคร่ือง

ทําการเจาะระเบิดในสวนช้ันหินท่ีผุหรือช้ันเปลือกท่ีปดทับช้ันหิน จะใชรถขุด Backhoe ขุดตักแทนการระเบิด การระเบิดจะ

ใชไดนาไมตและแอมโมเนียมไนเตรทผสมกับนํ้ามันดีเซล อัตราสวน 94:6 โดยนํ้าหนัก ปริมาณวัตถุระเบิดท่ีใชตอหลุมประมาณ

11.5 กิโลกรัม

สําหรับการจุดระเบิดจะใชการจุดระเบิด 2 แบบ คือ

(1) การจุดระเบิดดวยแกปไฟฟาแบบจังหวะถวง (Electric Cap) จะใชปริมาณวัตถุระเบิดตอจังหวะถวงไมเกิน

88.18 ปอนด/จังหวะถวง หรือ 40 กิโลกรัม/จังหวะถวง หรือ 3 รู/จังหวะถวง

(2) การจุดระเบิดดวยแกปไมใชไฟฟาแบบจังหวะถวง (Non-Electric Cap) จะใชปริมาณวัตถุระเบิดตอจังหวะ

ถวงไมเกิน 25.35 ปอนด/จังหวะถวง หรือ 11.5 กิโลกรัม/จังหวะถวง หรือ 1 รู/จังหวะถวง

อยางไรก็ตามระยะตาง ๆ สามารถปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสม ข้ึนอยูกับลักษณะธรณีวิทยาของ

Fragment ท่ีตองการและเง่ือนไขทางดานเทคนิคตาง ๆ เพื่อควบคุมปริมาณวัตถุระเบิดแตละจังหวะถวงไมใหเกินมาตรฐาน

กําหนดเสียงดังและแรงสั่นสะเทือน เสียงดังจากการระเบิดและหินปลิว อีกท้ังจะออกแบบหลุมเจาะและจังหวะถวงใหได

Fragment ขนาดท่ีเหมาะสม และระเบิดมากองบริเวณหนางานใหมีหินปลิวนอยท่ีสุดเพื่อความปลอดภัยและสะดวกในการ

ทํางานของรถตักตอไป ท้ังน้ีจะควบคุมทิศทางการระเบิดไปทางทิศใต

ระเบิดวันละไมเกิน 1 คร้ัง ระหวางเวลา 17.30-18.30 น. โดยกอนการระเบิดจะจัดเจาหนาท่ีตรวจตราในรัศมี

100 เมตร และใหสัญญาณเสียงเตือนใหไดยินในรัศมี 500 เมตร อยางนอย 3 นาที ท้ังน้ีจะปฏิบัติตามเง่ือนไขของการใชและ

เก็บวัตถุระเบิดตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 9 ออกตามความในพระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแร

(ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ. 2516 ขอ 4 หมวด 6 เร่ือง ขอกําหนดเกี่ยวกับวัตถุระเบิดอยางเครงครัดทุกประการ

สําหรับหินท่ีไดจากการระเบิดท่ีมีขนาดใหญจะใชเคร่ืองเจาะกระแทก (Hydraulic Breaker) ทําการเจาะ

กระแทกใหไดตามขนาดท่ีตองการจนมีขนาดตองการประมาณคร่ึงหน่ึงของบุงกี๋ Backhoe โดยปกติแลวหินแกรนิตกอนท่ีมี

ขนาดใหญจะมีปริมาณนอยเมื่อเทียบกับปริมาณหินท่ีไดจากการระเบิดท้ังหมด สําหรับหินท่ีผลิตไดจากหนาเหมืองน้ันจะขนไป

ทําการโมบดยอยยังโรงโมหินนอกเขตประทานบัตร เพื่อบดยอยและคัดขนาดตอไป

1.5.5 การจัดการเปลือกดินและเศษหิน

ตามแผนผังโครงการทําเหมืองของโครงการจะไมมีพื้นท่ีเก็บกองเปลือกดินและเศษหิน เน่ืองจากเปลือก

ดินและเศษหินสามารถนําไปผลิตเปนหินคลุกเกรดตํ่าเพื่อใชในการกอสรางไดท้ังหมด อีกท้ังทางโครงการจะนําเปลือกดินและ

เศษหินสวนหน่ึงไปจัดสรางคันทํานบดิน ปรับสภาพพื้นท่ีหนาเหมือง และจัดสรางเสนทางขนสงลําเลียงหินภายในโครงการใหมี

Page 9: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-9 | ห น า

สภาพท่ีดีสามารถใชงานไดตลอดเวลา ดังน้ัน ภายในพื้นท่ีโครงการจึงไมจําเปนตองมีพื้นท่ีเก็บกองเปลือกดินและเศษหินแต

อยางใด ในกรณีท่ีรอการขนยายออกสูภายนอกท่ีปรึกษาเสนอใหมีพื้นท่ีเก็บกองเปลือกดินและเศษหินช่ัวคราว โดยตําแหนง

ของท่ีเก็บกองจะตองไมกอใหเกิดการชะลางของนํ้าไหลบาผิวดินออกสูนอกโครงการ

1.5.6 การจัดการน้ําจากการทําเหมืองและการระบายน้ํา

(1) การใชนํ้าในการทําเหมือง

ในการทําเหมืองโดยวิธีเหมืองหาบตามโครงการทําเหมืองน้ีจะไมมีการใชนํ้าในการดําเนินการแต

อยางใด แตจะใชนํ้าเพียงลดการฟุงกระจายของฝุนตามเสนทางลําเลียงหินบริเวณหนาเหมืองจะใชรถบรรทุกนํ้าทําการฉีดพรม

นํ้าตามบริเวณตาง ๆ รวมท้ังเสนทางรถยนตและบริเวณท่ีอาจทําใหเกิดฝุนไดภายในพื้นท่ีโครงการเทาน้ัน โดยในระยะ

เตรียมการทางโครงการจะใชนํ้าจากบอดินเกาท่ีอยูภายในท่ีดินของเจาของพื้นท่ี และในระยะดําเนินการจะใชนํ้าจากบอดัก

ตะกอนของโครงการในการฉีดพรมนํ้าบริเวณพื้นท่ีตาง ๆ

(2) การระบายนํ้าจากการทําเหมือง

เน่ืองจากไมมีการใชนํ้าในการทําเหมือง ดังน้ัน การทําเหมืองในแปลงน้ีจึงไมมีการระบายนํ้าจากการ

ทําเหมืองแตอยางใด แตในชวงฤดูฝนนํ้าท่ีไหลผานบริเวณหนาเหมืองก็จะกอปญหาการชะลางผิวดินเกิดการพัดพาตะกอนลง

ไปรบกวนในพื้นท่ีท่ีไหลผานหากนํ้าฝนไหลผานพื้นท่ีท่ีมีตนไมข้ึนปกคลุมซึ่งตนไมก็จะชวยยึดตะกอนดินทําใหไมเกิดปญหานํ้า

ขุนขน ท้ังน้ี จะมีการเปดหนาเหมืองลักษณะข้ันบันได และควบคุมความลาดเอียงพื้นท่ีทําเหมืองใหนํ้าลาดเทไหลลงสูท่ีตํ่า

บริเวณลานหนาเหมืองกอนไหลลงคูระบายนํ้า

ดังน้ัน เพื่อใหสามารถควบคุมระบบระบายนํ้าไดอยางมีประสิทธิภาพจึงจัดใหมีการสรางคันทํานบดิน

รูปสี่เหลี่ยมคางหมูฐานกวาง 6 เมตร สูง 2 เมตร ดานบนกวาง 2 เมตร ระหวางหมายเลขหลักหมายเขตเหมืองแรท่ี 4-12

บริเวณทางทิศเหนือของพื้นท่ีโครงการ พรอมท้ังสรางคูระบายนํ้ารูปสี่เหลี่ยมคางหมูความกวางทองรอง 1 เมตร ลึก 1.5 เมตร

ดานบนกวาง 2 เมตร ขนานกับคันทํานบดิน เพื่อปองกันนํ้าจากพื้นท่ีทําเหมืองไหลออกสูภายนอก ท้ังน้ีทางโครงการจะทําการ

ปรับพื้นท่ีหนาเหมืองใหมีความลาดเอียงไปทางทิศเหนือ เพื่อเบ่ียงเบนนํ้าจากพื้นท่ีทําเหมืองใหไหลลงสูบอดักตะกอน โดย

ขนาดของบอดักตะกอน “บ” มีขนาดพื้นท่ี 3.5 ไร ลึก 19 เมตร ความจุ 106,400 ลบ.ม. เพื่อชะลอความเร็วของนํ้าและดัก

ตะกอนจากนํ้าบริเวณตาง ๆ และหากตะกอนสะสมมากข้ึนก็จะทําการขุดลอกเพื่อใหคูระบายนํ้าและบอดักตะกอนใชงานได

อยางมีประสิทธิภาพเสมอ สําหรับนํ้าในบอดักตะกอนจะถูกดูดนําไปใชฉีดพรมตามแนวเสนทางและพื้นท่ีหนาเหมือง

1.5.7 เครื่องจักร อุปกรณ และคนงานที่ใชในการทําเหมือง

- รถขุด Backhoe ขนาดกําลัง 180 แรงมา 4 คัน

- รถตักยกลอ ขนาดกําลัง 375 แรงมา 1 คัน

- เคร่ืองเจาะระเบิด Hydraulic Crawler Drill 2 เคร่ือง

- ขนาดดอกเจาะ 3.0 น้ิว Hydraulic Breaker 1 คัน

- รถบรรทุกเททาย ขนาดกําลัง 230 แรงมา 8 คัน

- รถบรรทุกนํ้า 1 คัน

- คนงาน 30 คน

Page 10: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-10 | ห น า

1.5.8 การทําเหมืองใกลทางหลวงหรือทางน้ําสาธารณประโยชน

พื้นท่ีโครงการมีทางสาธารณะประโยชนอยูบริเวณดานทิศตะวันตก ท้ังน้ีจะเวนไมทําเหมืองใกลทางสาธารณะ

ประโยชนดังกลาว ภายในระยะ 50 เมตร

1.5.9 การแตงแร

หินท่ีไดจากการระเบิดหนาเหมือง ถามีขนาดใหญจะใช Hydraulic Breaker ทําการเจาะกระแทกใหไดตามขนาด

ตามความตองการ หลังจากน้ันจะใชรถขุด Backhoe ตักใสบรรทุก 10 ลอ ขนจากหนาเหมืองไปยังโรงโม บด และยอยหิน

ของบริษัท เขาบันไดนางศิลา จํากัด ซึ่งต้ังอยูนอกเขตประทานบัตร โดยโรงโมหินมีลักษณะเปนอาคารปดคลุม ติดต้ังระบบ

สเปรยนํ้าทุกจุด อาทิเชน บริเวณยุงรับหินใหญ เคร่ืองบดยอยทุกข้ันตอน ตะแกรงคัดขนาด ปลายสายพานทุกเสน และรอบ

อาคารโรงโมหิน

1.5.10 มาตรการรักษาความปลอดภัยในการทําเหมือง และการสงเสริมสวัสดิภาพคนงาน

โครงการจะปฏิบัติและจดัใหมีสิ่งตาง ๆ ดังตอไปน้ี

- จัดใหมีปจจัยในการปฐมพยาบาลเพื่อชวยเหลือคนงานไดทันทวงที เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บปวยโดยไม

คิดมูลคา และมีรถสําหรับนําคนเจ็บสงแพทยโรงพยาบาล

- จัดใหมีนํ้าด่ืม นํ้าใช ท่ีพักอาศัย และสวมท่ีถูกสุขลักษณะแกคนงานภายในเขตเหมืองแร

- จัดใหมีการปดกั้นหรือปองกันอันตรายจากบริเวณตาง ๆ เชน บริเวณสายพาน ฟนเฟอง เปนตน

- จัดใหมีอุปกรณปองกันภัยท่ีเหมาะสม สําหรับคนงานท่ีปฏิบัติงานในบริเวณท่ีอาจมีอันตราย เชน หมวก

นิรภัย รองเทานิรภัย ถุงมือ เคร่ืองปองกันฝุน อุปกรณปองกันตา อุปกรณปองกันหู เปนตน

- จัดใหมีผูควบคุมการดําเนินงานเปนประจําเพื่อความปลอดภัยและปองกันอุบัติเหตุสําหรับการทําเหมือง

และมีบันทึกผลการตรวจไวเปนหลักฐาน เพื่อแสดงแกพนักงานเจาหนาท่ี

- ปฏิบัติตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2513) และกฎกระทรวงฉบับท่ี 50 (พ.ศ. 2525) วาดวยการให

ความคุมครองแกคนงานและความปลอดภัยแกบุคคลภายนอกโดยเครงครัด

1.6 แผนการดําเนินงานทางดานสิ่งแวดลอม แผนการดําเนินการดานสิ่งแวดลอมตามผลการพิจารณารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการ

ปองกันแกไขคําขอประทานบัตรท่ี 1/2557 (ประทานบัตรท่ี 27667/16228) ตามหนังสือท่ี ทส. 1009.2/7942 ลงวันท่ี 11

กรกฎาคม 2559 ดังเอกสารแนบ 1 โดยแบงแผนการดําเนินงานออกเปน 2 สวน ดังน้ี

1.6.1 แผนการตรวจสอบมาตรการปองกนัและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ในการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ผูประกอบการได

มอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด เปนผูดําเนินการตรวจสอบและรวบรวมขอมูล 2 7ผลก 2 7ารปฏิบัติตาม

มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม เพื่อนําเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร

Page 11: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-11 | ห น า

1.6.2 แผนการตดิตามตรวจสอบคณุภาพสิ่งแวดลอม

ในการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ผูประกอบการไดมอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง

คอนซัลแตนท จํากัด เปนผูดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม พรอมท้ังเปรียบเทียบกับคามาตรฐานท่ีกําหนด

เพื่อนําเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมือง

แร เพื่อใชเปนขอมูลสําหรับตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมท่ีเกี่ยวของกับทําเหมืองของโครงการ โดยมีแผนการตรวจสอบ

คุณภาพสิ่งแวดลอม ดังตารางที่ 1-1

Page 12: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-12 | ห น า

ตารางที่ 1-1 แผนการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม

รายการตรวจวัด ดัชนตีรวจวดั เดือนท่ีดําเนินงาน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

1. คุณภาพอากาศในบรรยากาศ

- บานราษฎรทางทิศเหนือของพื้นที่โครงการ

- โรงเรียนบานเกาะหม ี

- ศาลเจานาจา

ระยะเวลาตรวจวัด 3 วันตอเน่ือง

- ฝุนละอองรวม (TSP)

- ฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM-10)

- ซิลิกา (Silica)

- โรงเรียนบานเกาะหมี - ความเร็วและทิศทางลม

2. ระดับเสียง

- บานราษฎรทางทิศเหนือของพื้นที่โครงการ

- โรงเรียนบานเกาะหม ี

- ศาลเจานาจา

- ปางชางเผอืกหาดใหญ

ระยะเวลาตรวจวัด 3 วันตอเน่ือง

- ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr.)

- ระดับเสียงสูงสุด (Lmax)

3. แรงสั่นสะเทือน

- ขอบแปลงประทานบัตร

- บานราษฎรทางทิศเหนือของพื้นที่โครงการ

- ศาลเจานาจา

- ปางชางเผือกหาดใหญ

- ความสั่นสะเทอืน

4. คุณภาพน้ําผิวดิน

- บอดินเกา

- บอดักตะกอนภายในโครงการ

- ความเปนกรด-ดาง

- ปริมาณสารแขวนลอย

- ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได

- ความขุน

- ความกระดางทั้งหมด

- สารหนู

- แคดเมียม

- ปรอท

- ตะก่ัว

ท่ีมา : ผลการพิจารณารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการปองกัน ประทานบตัรที่ 27667/16228 หนังสือที่ ทส. 1009.2/7942 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2559

Page 13: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-13 | ห น า

ตารางที่ 1-1 แผนการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม (ตอ)

รายการตรวจวัด ดัชนตีรวจวดั เดือนท่ีดําเนินงาน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

5. คุณภาพน้ําใตดิน

- บอบาดาลบานคลองเปล

- บอบาดาลบานพรุเตาะนอก

- ความเปนกรด-ดาง

- ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได

- ความกระดางทั้งหมด

- ความขุน

ท่ีมา : ผลการพิจารณารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการปองกัน ประทานบตัรที่ 27667/16228 หนังสือที่ ทส. 1009.2/7942 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2559

Page 14: และมาตรการติดตามตรวจสอบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1575614407.pdf · 2019. 12. 6. · บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที ่1

และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-14 | ห น า

หมายเหตุ: สภาพแวดลอมของสถานีตรวจวัด

1. บานราษฎรทางทิศเหนือของพื้นท่ีโครงการ: ตําแหนงต้ังเคร่ืองตรวจวัดเปนบานราษฎรในชุมชนบานเกาะหม ีหางจากพื้นที่โครงการไปทาง

ทิศเหนือ ประมาณ 0.9-1.0 กิโลเมตร สภาพแวดลอมขางเคียงเปนพื้นที่พักอาศัย และเปนพื้นที่เกษตรกรรม

2. โรงเรียนบานเกาะหมี: ตําแหนงต้ังเคร่ืองตรวจวัดเปนโรงเรียนบานเกาะหม ีซ่ึงเปนชุมชนที่อยูตามเสนทางขนสงแร หางจากพื้นที่โครงการไป

ทางทิศตะวันตก ประมาณ 1.5 กิโลเมตร สภาพแวดลอมขางเคียงเปนพื้นทีอ่าคารเรียน และสนามกีฬาของโรงเรียน

3. ศาลเจานาจา: ตําแหนงต้ังเคร่ืองตรวจวัดเปนศาลเจาในชุมชนบานเกาะหม ีซ่ึงเปนชุมชนที่อยูตามเสนทางขนสงแร หางจากพื้นที่โครงการไป

ทางทิศเหนือ ประมาณ 0.5 กิโลเมตร สภาพแวดลอมขางเคียงเปนพื้นที่ศาลเจาสถานที่ทําบุญ มีการกอสรางบริเวณใกลเคียง และดานหลัง

ติดกับพื้นที่โครงการทําเหมือง

4. ปางชางเผือกหาดใหญ: ตําแหนงต้ังเคร่ืองตรวจวัดเปนสถานที่ทองเที่ยว หางจากพื้นที่โครงการไปทางทิศเหนือ ประมาณ 0.5 กิโลเมตร

สภาพแวดลอมขางเคียงเปนพื้นที่ปาธรรมชาติของอุทยาน และติดกับกําแพงของปางชาง มีซุมกิจกรรมและลานจอดรถ

5. ขอบแปลงประทานบัตร: ตําแหนงต้ังเคร่ืองตรวจวัดเปนพื้นที่โครงการ สภาพแวดลอมขางเคียงพื้นที่ทําเหมือง ติดกับคันทํานบดินและมีคู

ระบายนํ้า

6. บอดินเกา: เปนบอรองรับนํ้าที่เกิดจากการทําเหมืองและนํ้าฝน สภาพแวดลอมขางเคียงเปนพื้นที่ทําเหมือง และพื้นที่ปาไม

7. บอดักตะกอน: เปนบอรองรับนํ้าที่เกิดจากการทําเหมืองและนํ้าฝน สภาพแวดลอมขางเคียงเปนพื้นที่หนาเหมือง และพื้นที่ปาไม

8. บอบาดาลบานคลองเปล: เปนบอบาดาลในพื้นที่ชุมชนบานคลองเปล สําหรับใชในการอุปโภคบริโภค หางจากพื้นที่โครงการไปทางทิศ

ตะวันตกเฉียงใต ประมาณ 1.65 กิโลเมตร สภาพแวดลอมขางเคียงพื้นที่พักอาศัย และพื้นที่เกษตรกรรม

9. บอบาดาลบานพรุเตาะนอก: เปนบอบาดาลในพื้นที่ชุมชนบานพรุเตาะนอก สําหรับใชในการอุปโภคบริโภค หางจากพื้นที่โครงการไปทางทศิ

ตะวันออกเฉียงใต ประมาณ 3 กิโลเมตร สภาพแวดลอมขางเคียงพื้นที่พักอาศัย และพื้นที่เกษตรกรรม