โครงงานคอมพ วเตอร การประย_กต_ใช_งาน...

7
โครงงานประเภท การประยุกต์ใช้งาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน โครงงาน ประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้น ใหม่หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ไดตัวอย่างโครงงงาน 5 โครงงานดังนี1. โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ที่มา : http://www.google.co.th/#hl=en&sclient=psy-ab&q=

Transcript of โครงงานคอมพ วเตอร การประย_กต_ใช_งาน...

โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน

โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจ าวัน โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้

โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจ าวัน โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้

ตัวอย่างโครงงงาน 5 โครงงานดังนี้

1. โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี ท่ีมา : http://www.google.co.th/#hl=en&sclient=psy-ab&q=

1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อโครงงานบ้านพลังงานตัวอย่าง

ท่ีมา : http://www.rayongwit.ac.th/chanarat/unit1/unit1.html

2. โครงงานการพัฒนาเทคโนโลยี QR – CODE ในพิพิธภัณฑ์ ท่ีมา : www.bu.ac.th/knowledgecenter/.../30.../aw18.pdf

3. โครงงานการพัฒนาเว็บบล็อก ท่ีมา : krupoh.files.wordpress.com/.../random-11091001

โครงงาน การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อส ารวจและการปลูกต้นตาลทดแทนบริเวณต าบลบ้านหม้อ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ผู้จัดท า นายกชกร กลิ่นมาล ี นายนฤรงค์ วินิตสมบัติ นางสาววรรวินี วงศ์ทองดี นายธีรวิทย์ แตงวัฒนะ ครูท่ีปรึกษา ครูวีระพร วงษ์พานิช ปี พ.ศ. 2551 โรงเรียน พรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี www.promma.ac.th

ความเป็นมาและความส าคัญ

ตาล(Asian palmyra palm) เป็นพันธุ์ไม้พวกปาล์มขนาดใหญ่ สกุล (Genus) Borassus ในวงศ์ (Family) Palmae ตระกูลAreca อาณาจักร Plantae ดังนั้นเราจะพบว่าต้นตาลถูกก าหนดเป็นต้นไม้คู่บ้านคู่เมืองเพชรบุรีที่มีความแข็งแรงยืนยงสามารถทนแล้ง ทนฝน และกระแสลมร้อนหนาวตามสภาพดินฟ้าอากาศได้เป็นอย่างดีไม่ต้องบ ารุงรักษามากนัก ต้นตาลให้ประโยชน์มากมายทุกๆส่วนของต้นตาลและประกอบกับในยุคปัจจุบันการด าเนินชีวิตของคนไทยมีการรณรงค์ให้ประชาชนการด าเนินชีวิตโดยการยึดหลักแนว”เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมี พระราชด ารัสชี้แนะแนวทางการด าเนินชีวิต แก่ พสกนิกรชาวไทย มานานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อน วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ต่อมาภายหลังได้ทรง เน้นย้ าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ สามารถด ารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ

จากต านานของจังหวัดเพชรบุรีกล่าวว่า ในปีพ.ศ. 2134 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้เสด็จมาประทับแรม ณ พระต าหนักโตนดหลวง ต าบลบางเก่า อ าเภอชะอ า เพื่อเสด็จประพาสทางทะเล ซึ่งบริเวณพระต าหนักโตนดหลวงมีต้นตาลอยู่เป็นจ านวนมาก สันนิฐานว่าต้นตาล หรือตาลโตนดเป็นไม้พื้นเมืองคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบุรีมาช้านาน วิถีชีวิตของคนในจังหวัดเพชรบุรีที่เกี่ยวพันกับต้นตาลหรือตาบโตนดแทบทุกคนไม่มากก็น้อย เร่ิมตั้งแต่เคร่ืองใช้ไม้สอยจนถึงอาหารการกิน เป็น

4. โครงงานการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อส ารวจและการปลูกต้นตาลทดแทนบริเวณต าบลบ้านหม้อ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ท่ีมา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=394706

ไม้ตระกูลเก่าแก่ตระกูลหนึ่งในโลก มีอายุยืนเป็นร้อยปี ผลิตผลจากต้นตาลสามารถน ามาท าขนมหวานเมืองเพชร อาทิเช่น จาวตาลอ่อน จาวตาลเชื่อม โตนดทอด ขนมตาล น าตาลเมา และตังเม เป็นต้น นอกจากนี้ ความหอมหวานจากน าตาลโตนดยังใช้ท าน้ าเชื่อม น้ ากะทิ ประกอบอาหารหวานได้อีกมากมาย

จังหวัดเพชรบุรีน่าจะมีต้นตาลหรือตาลโตนดมากที่สุดในประเทศไทย ดังปรากฏหลักฐานจาก “นิราศเมืองเพชรบุรี” ของสุนทรภู่ ความตอนหน่ึงว่า “ทุกประเทศเขตแคว้นแดนพริบพรี เหมือนจะชี้ไปไม่พ้นแต่ต้นตาล” ด้วยเหตุน้ีต้นตาลจึงกลายเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดเพชรบุรี คู่กับเขาวัง หรือพระนครตีรี ดังปรากฏเป็นตรา และธงประจ าจังหวัดเพชรบุรี สืบมาจนถึงทุกวันนี้ ต้นตาลเมืองเพชรบุรีให้ผลผลิตน้ าตาลโตนดดีที่สุดมาตั้งแต่สมัยโบราณ ตลอดจนถึงปัจจุบัน จึงมีชื่อเสียงติดปากคนทั่วไปว่า “น้ าตาลเพชรบุรี” เพราะมีรสหวาน หอมอร่อย รสชาติกลมกล่อมชวนรับประทานจนเป็นที่มาของค าว่า “หวานเหมือนน้ าตาลเมืองเพชร” แต่ในปัจจุบันจ านวนต้นตาลที่มีในจังหวัดเพชรบุรีได้มีจ านวนน้อยลงกว่าเดิม มีการก่อสร้างบริเวณที่มีต้นตาล ตัดต้นตาลเพื่อน าไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ต้นตามหมดอายุขัย จึงท าให้จ านวนต้นตาลมีจ านวนลดน้อยลงจนน่าใจหาย ดังนั้นทางกลุ่มจึงสนใจที่จะร่วมมือรณรงค์ อนุรักษ์ต้นตาลจังหวัดเพชรบุรีให้มากขึ้น โดยเฉพาะบริเวณต าบลบ้านหม้อ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็นบ้านเกิดของผู้ศึกษา แต่เดิมเป็นพื้นที่ท านาเป็นส่วนใหญ่ และมีต้นตาลเป็นจ านวนมาก แต่ปัจจุบันพื้นที่ดังกล่าว ต้นตาลลดลงเป็นจ านวนมากประกอบกับปี พ.ศ. 2549-2551 ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดท าโครงการปลูกต้นตาลล้านต้นจังหวัดเพชรบุรี ผู้ศึกษาจึงท าการศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและภูมิศาสตร์สารสนเทศ เพื่อจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นของเรา(การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและภูมิศาสตร์สารสนเทศเพื่อปลูกต้นตาลทดแทน บริเวณต าบลบ้านหม้อ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี) ขึ้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์ต้นตาลให้อยู่เคียงคู่กับจังหวัดเพชรบุรี และต าบลบ้านหม้อ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรีต่อไป