เทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลือง...

28
เทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลืองหลังนา ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรพิษณุโลก สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที2 ถั่วเหลือง (Glycine max L. Merrill) เปนพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออก มีถิ่นกําเนิดอยูใน บริเวณตอนเหนือของประเทศจีนติดตอกับแมนจูเรีย (ศุภชัย, 2537) ถั่วเหลืองเปนพืชที่ปลูกและใช ประโยชนในประเทศไทยกันมาชานาน ความสําคัญของถั่วเหลืองอยูที่สามารถนําเมล็ดไปใชประโยชน ไดหลายรูปแบบ เชน การสกัดน้ํามัน ไดกากถั่วเหลืองซึ่งเปนแหลงโปรตีนสําหรับทําเปนอาหารสัตว การแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหาร เชน น้ํานมถั่วเหลือง เตาหู เตาเจี้ยว ซีอิ๊ว ฯลฯ และยังบริโภคสดในรูป ของถั่วเหลืองฝกสด หรือคนไทยนิยมเรียกวา ถั่วแระ นอกจากนี้ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ยังไดนําถั่ว เหลืองไปพัฒนาเปนผลิตภัณฑใหมๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เชน ทําพลาสติก หมึกพิมพ กาว เปนตน ดังนั้น ความตองการถั่วเหลืองจึงมีการขยายตัวมากขึ้นเปนลําดับ (พิมพร, 2542) ถั่วเหลืองเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญพืชหนึ่งของประเทศ มีการนํามาใชประโยชน เพื่อบริโภค โดยตรงและในอุตสาหกรรมตอเนื่องตาง ๆ หลายชนิด หากเปรียบเทียบถั่วเหลืองกับแหลงโปรตีนอื่น ถั่วเหลืองนับเปนแหลงโปรตีนที่มีราคาถูกที่สุด ถั่วเหลืองจึงไดนํามาใชเปนอาหารสําหรับคนและสัตว อยางกวางขวาง การปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยไดเริ่มอยางจริงจังตั้งแตป 2526/27 เปนตนมา โดยระยะแรก เนนเพื่อการบริโภคในครัวเรือน จากการขยายตัวของการสงออกเนื้อไก ทําใหความตองการใชในการ ผลิตอาหารสัตวสูงขึ้น รวมทั้งนโยบายและมาตรการของรัฐที่ควบคุมการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองและ

Transcript of เทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลือง...

เทคโนโลยีการผลติถั่วเหลืองหลังนาศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรพิษณุโลก

สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 2

ถั่วเหลือง (Glycine max L. Merrill) เปนพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออก มีถิ่นกําเนิดอยูใน

บริเวณตอนเหนือของประเทศจีนติดตอกับแมนจูเรีย (ศุภชัย, 2537) ถั่วเหลืองเปนพืชที่ปลูกและใช

ประโยชนในประเทศไทยกันมาชานาน ความสําคัญของถั่วเหลืองอยูที่สามารถนําเมล็ดไปใชประโยชน

ไดหลายรูปแบบ เชน การสกัดนํ้ามัน ไดกากถั่วเหลืองซึ่งเปนแหลงโปรตีนสําหรับทําเปนอาหารสัตว

การแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหาร เชน นํ้านมถั่วเหลือง เตาหู เตาเจ้ียว ซีอ๊ิว ฯลฯ และยังบริโภคสดในรูป

ของถั่วเหลืองฝกสด หรือคนไทยนิยมเรียกวา ถั่วแระ นอกจากน้ีภาคอุตสาหกรรมอ่ืนๆ ยังไดนําถั่ว

เหลืองไปพัฒนาเปนผลิตภัณฑใหมๆ เพิ่มขึ้นเร่ือยๆ เชน ทําพลาสติก หมึกพิมพ กาว เปนตน ดังน้ัน

ความตองการถั่วเหลืองจึงมีการขยายตัวมากขึ้นเปนลําดับ (พิมพร, 2542)

ถั่วเหลืองเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญพืชหน่ึงของประเทศ มีการนํามาใชประโยชน เพื่อบริโภค

โดยตรงและในอุตสาหกรรมตอเน่ืองตาง ๆ หลายชนิด หากเปรียบเทียบถั่วเหลืองกับแหลงโปรตีนอ่ืน

ถั่วเหลืองนับเปนแหลงโปรตีนที่มีราคาถูกที่สุด ถั่วเหลืองจึงไดนํามาใชเปนอาหารสําหรับคนและสัตว

อยางกวางขวาง

การปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยไดเร่ิมอยางจริงจังต้ังแตป 2526/27 เปนตนมา โดยระยะแรก

เนนเพื่อการบริโภคในครัวเรือน จากการขยายตัวของการสงออกเน้ือไก ทําใหความตองการใชในการ

ผลิตอาหารสัตวสูงขึ้น รวมทั้งนโยบายและมาตรการของรัฐที่ควบคุมการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองและ

2

0.0

0.5

1.0

1.5

2.0

2.5

3.0

3.5

2526 2530 2534 2538 2542 2546 2550

(ลานไร)

0

50

100

150

200

250

300

350

400

(กก./ไร)

พืน้ที่ปลูก

ผลผลิต

ผลิตภัณฑ ราคาเมล็ดถั่วเหลืองจึงอยูในเกณฑดีเปนที่พอใจของเกษตรกร มีการขยายพื้นที่เพาะปลูก

เพิ่มขึ้นจากประมาณ 1 ลานไร ในป 2526/27 เปน 3 ลานไร ในป 2532/33 ซึ่งเปนปที่มีผลผลิตสูงสุดถึง

6.72 แสนตัน หลังจากน้ันพื้นที่เพาะปลูกลดลงตามลําดับอยูที่ประมาณ 8.3 แสนไร ในป 2550/51 (ภาพ

ที่ 1) สําหรับในป 2553/54 พื้นที่เพาะปลูกถั่วเหลืองเหลือเพียง 6.8 แสนไร ผลผลิตเฉลี่ย 258 กิโลกรัม/

ไร (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553) การลดลงของพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองมีสาเหตุสําคัญ 3 ประการ

คือ 1) พื้นที่มีศักยภาพการผลิตตํ่า 2) ขาดแคลนเมล็ดพันธุดี 3) ปลูกพืชอ่ืนที่ใหผลตอบแทนดีกวา

ทดแทน เชน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ออยโรงงาน เปนตน โดยลดพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองรุนฤดูฝนมากกวารุน

ฤดูแลง เน่ืองจากผลผลิตมีความชื้นสูงขายไดราคาตํ่า แมวาจะใหผลผลิตตอไรสูงกวาก็ตาม อยางไรก็

ตามการผลิตถั่วเหลืองยังไมเพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศและจากการที่เกษตรกรปลูกขาว

ติดตอกันตลอดทั้งปทําใหพบการระบาดของศัตรูพืช ดังน้ันการปลูกถั่วเหลืองหลังนานาจะเปนอีก

ทางเลือกหน่ึงที่สามารถชวยตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืช ลดการใชนํ้าและปรับปรุงบํารุงดินได

ภาพท่ี 1 พื้นที่ปลูกและผลผลิตเฉลี่ยของถั่วเหลืองของไทย

(ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2551)

ขั้นตอนตางๆ ในการใชเทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลืองหลังนาอยางถูกตองและเหมาะสม

ประกอบดวย 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดดังน้ี

3

ข้ันตอนท่ี 1 การเตรียมพื้นท่ีและกําหนดวันปลูก (3-4 เดือนกอนปลูก)

ดินนาที่ใชปลูกถั่วเหลืองในฤดูแลงสวนใหญมักมีความอุดมสมบูรณมากกวาดินดอนหรือดินไร

และเกษตรกรที่ปลูกขาวสวนใหญจะมีการใชปุยเคมีทุกคร้ัง การปลูกถั่วเหลืองทดแทนการปลูกขาวนา

ปรังผลผลิตที่ไดจะคอนขางสูง อยางไรก็ตามสําหรับดินในเขตชลประทานภาคเหนือตอนลาง ดินสวน

ใหญเปนดินรวนเหนียวหรือรวนเหนียวปนทราย

ชวงเวลาการปลูกถั่วเหลืองหลังนาที่เหมาะสม ต้ังแตกลางเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือน

มกราคม ทําใหเก็บเกี่ยวไดกอนที่จะมีฝนตกในชวงตนฤดูฝนเพราะถาถั่วเหลืองถูกฝนในระยะสุกแก

ถึงชวงเก็บเกี่ยวจะทําใหผลผลิตเสียหายและเมล็ดมีคุณภาพตํ่า สําหรับการปลูกถั่วเหลืองสามารถเลือก

พันธุขาวไดทั้งพันธุขาวที่ไวและไมไวตอชวงแสง เน่ืองจากสามารถปลูกลาชาไดถึงเดือนมกราคม แต

ตองระวังชวงฝกแกจะไดรับผลกระทบจากนํ้าฝน ทําใหผลผลิตเสียหายได

ข้ันตอนท่ี 2 การเตรียมพันธุ ( 3-4 สัปดาหกอนปลูก)

พันธุถั่วเหลืองที่เหมาะสมสําหรับปลูกในฤดูแลงหลังการทํานามีหลายพันธุ ดังน้ี

กลุมถั่วเหลืองพันธุอายุสั้น

อายุเก็บเกี่ยว 75-85 วัน เหมาะสําหรับใชปลูกในระบบปลูกพืช กอนหรือหลังปลูกขาว หรือ

ปลายฤดูฝน ลําตนไมทอดยอด ความสูง 30-50 เซนติเมตร จํานวน 3 พันธุ คือ พันธุนครสวรรค 1

เชียงใหม 2 และ ศรีสําโรง 1 ซึ่งมีรายละเอียดของแตละพันธุ ดังน้ี

1. พันธุนครสวรรค 1

ในป 2523 สาขาพืชนํ้ามัน สถาบันวิจัยพืชไร ไดนําถั่วเหลืองพันธุโอซีบี (OCB = Oil Crop

Branch) เขามาจากตางประเทศ แลวนําไปปลูกศึกษาคร้ังแรกที่ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม พบวาถั่วเหลือง

พันธุน้ีอายุ เมล็ดโต ผลผลิตสูงพอสมควร จึงไดนําเขาเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุต้ังแต ป 2525-2526 ใน

หลายทองที่ ปรากฏวาถั่วเหลืองพันธุน้ีเจริญเติบโตไดดีและใหผลผลิตสูงกวาพันธุ สจ.5 ในเขตภาค

กลางที่จังหวัดนครสวรรคและลพบุรี

ลักษณะเดน

1. ใหผลผลิตเฉลี่ย 258 กิโลกรัม/ไร (184-351 กิโลกรัม/ไร) ถาปลูกตนฤดูฝนหรือกลางฤดูฝน

จะใหผลผลิตสูง

2. เปนพันธุอายุเก็บเกี่ยวสั้น

3. เมล็ดมีขนาดใหญ

4

ถั่วเหลืองพันธุนครสวรรค 1

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ลําตน สีโคนตนออนสีมวง ลักษณะตนไมทอดยอด รูปแบบการเจริญเติบโตไมทอดยอด

ใบ รูปรางใบยอยกวาง ใบคอนขางใหญ ปลายใบแหลม กานใบสั้น สีใบเขียว ขนสีนํ้าตาล

ดอก สีมวง

ฝก ฝกแหงเมื่อแกจัดมีสีเหลืองทอง

เมล็ด เปลือกหุมเมล็ดสีเหลือง ขั้วเมล็ดสีนํ้าตาล รูปรางเมล็ดคอนขางกลม

ลักษณะทางการเกษตร

อายุออกดอก นับจากวันงอกถึงวันที่ดอกบาน 50% ของตนทั้งหมด 25-27 วัน

อายุเก็บเกี่ยว นับจากวันงอกถึงวันที่ฝกแก 95% ประมาณ 73-76 วัน

ลําตน ความสูงเฉลี่ย 49 เซนติเมตร จํานวนขอเฉลี่ย 9.5 ขอ/ตน แตกกิ่งเฉลี่ย 1 กิ่ง/ตน

ฝกและเมล็ด จํานวนฝกเฉลี่ย 21 ฝก/ตน จํานวนเมล็ดเฉลี่ย 2 เมล็ด/ฝก นํ้าหนัก 100 เมล็ด

เฉลี่ย 17.4 กรัม

พื้นท่ีแนะนํา เหมาะสําหรับปลูกในเขตภาคเหนือตอนลาง และภาคกลางตอนบน ปลูกไดทั้ง

ตนฤดูฝนและปลายฤดูฝน

ขอควรระวัง ออนแอตอโรครานํ้าคาง

การรับรองพันธุ กรมวิชาการเกษตรพิจารณาใหเปนพันธุแนะนํา เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2529

5

2. พันธุเชียงใหม 2

ถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม 2 ไดจากการผสมพันธุระหวางพันธุเชียงใหม 60 กับพันธุ IAC 13 ที่

นําเขามาจากประเทศบราซิล เปนพันธุที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้น เมล็ดโต การเจริญเติบโตดี และลําตน

แข็งแรง ในป 2530 ที่ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม เพื่อใหไดสายพันธุที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น ปรับตัวตอบสนอง

ตอสภาพแวดลอมไดกวาง มีความตานทานตอโรคที่สําคัญในแตละฤดูปลูก

ลักษณะเดน

1. ใหผลผลิตเฉลี่ย 234 กิโลกรัม/ไร (230-290 กิโลกรัม/ไร)

2. เปนพันธุอายุสั้นมีอายุเก็บเกี่ยวเฉลี่ย 77 วัน

3. เมล็ดพันธุมีความงอกดี

4. มีความตานทานตอโรครานํ้าคาง ปรับตัวตอสภาพแวดลอมไดกวางปลูกไดในทุกทองถิ่น

ถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม 2

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ลําตน สีโคนตนออนสีมวง ลักษณะตนไมทอดยอด รูปแบบการเจริญเติบโตไมทอดยอด

ใบ รูปรางใบยอยกวาง สีใบเขียว ขนสีเทา

ดอก สีมวงออน

ฝก ฝกแกสีนํ้าตาลออน

เมล็ด เปลือกหุมเมล็ดสีเหลือง ขั้วเมล็ดสีนํ้าตาล รูปรางเมล็ดคอนขางรี

ลักษณะทางการเกษตร

อายุออกดอก นับจากวันงอกถึงวันที่ดอกบาน 50% ของตนทั้งหมด 31-35 วัน

อายุเก็บเกี่ยว นับจากวันงอกถึงวันที่ฝกแก 95% ประมาณ 77 วัน

ลําตน ความสูงเฉลี่ย 49 ซม. จํานวนขอเฉลี่ย 12 ขอ/ตน แตกกิ่งเฉลี่ย 2 กิ่ง/ตน

6

ฝกและเมล็ด จํานวนฝกเฉลี่ย 30 ฝก/ตน จํานวนเมล็ดเฉลี่ย 2 เมล็ด/ฝก นํ้าหนัก 100 เมล็ด

เฉลี่ย 15 กรัม

พื้นท่ีแนะนํา สามารถปลูกไดดีในทุกแหลงปลูกถั่วเหลืองของประเทศ

การรับรองพันธุ กรมวิชาการเกษตรพิจารณาใหเปนพันธุรับรอง เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2541

3. พันธุศรีสําโรง 1

ถั่วเหลืองพันธุศรีสําโรง 1 คัดเลือกจากการผสมขามพันธุระหวางลูกผสมเด่ียว นครสวรรค 1

/Pudua8008B และ นครสวรรค1/DM8032-1-9 ในป 2535 ที่ศูนยวิจัยและพัฒนาพืชผักเขตรอนแหง

เอเชีย (AVRDC) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน และสถานีทดลองพืชไรศรีสําโรง

หลังจากน้ันมีการผสมขาม กับพันธุนครสวรรค 1 อีก 1 คร้ัง ทําการปลูกคัดเลือกชั่วที่ 2-4 โดยเก็บ

เมล็ดเพียง 1 เมล็ดจากแตละตน แลวรวมเมล็ดปลูก หรือวิธี Single seed descent ในชั่วที่ 5-6 คัดเลือกตน

ที่ดี ปลูกแบบตนตอแถวเพื่อสรางสายพันธุบริสุทธิ์ ที่สถานีทดลองพืชไรศรีสําโรง ระหวางป 2536-

2538 เพื่อใหไดลักษณะที่ตานทานตอโรคและใหผลผลิตสูง ประเมินผลผลิตในเขตภาคเหนือตอนบน

ภาคเหนือตอนลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งในศูนยวิจัย สถานีทดลอง และไรเกษตรกร ต้ังแต

ป 2538-2543 เปนเวลา 6 ป

ถั่วเหลืองพันธุศรีสําโรง 1

ลักษณะเดน

1. ใหผลผลิตเฉลี่ย 291 กิโลกรัม/ไร (229-377 กิโลกรัม/ไร)

2. มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้นใกลเคียงกับพันธุนครสวรรค 1

3. ตานทานตอโรครานํ้าคางในสภาพไรเขตภาคเหนือตอนลางดีกวาพันธุนครสวรรค 1

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ลําตน สีโคนตนออนสีมวง ลักษณะตนไมทอดยอด รูปแบบเจริญเติบโตไมทอดยอด

7

ใบ รูปรางใบยอยกวาง ขนาดของใบยอยคอนขางใหญ สีใบ (ระยะออกดอกเต็มที่)สีเขียว ขนสีขาว

ดอก สีมวงฝก ฝกแกสีนํ้าตาลเมล็ด เปลือกหุมเมล็ดสีเหลือง ขั้วเมล็ดแกสีนํ้าตาล รูปรางเมล็ดคอนขางกลม

ลักษณะทางการเกษตร

อายุออกดอก นับจากวันงอกถึงวันที่ดอกบาน 50% ของตนทั้งหมด 26-28 วัน

อายุเก็บเกี่ยว นับจากวันงอกถึงวันที่ฝกแก 95% ประมาณ 76-78 วัน

ลําตน ความสูงเฉลี่ย 49 เซนติเมตร จํานวนขอเฉลี่ย 10 ขอ/ตน แตกกิ่งเฉลี่ย 1 กิ่ง/

ตน

ฝกและเมล็ด จํานวนฝกเฉลี่ย 24 ฝก/ตน จํานวนเมล็ดเฉลี่ย 2 เมล็ด/ฝก นํ้าหนัก 100 เมล็ด

เฉลี่ย 14.5 กรัม

พื้นท่ีแนะนํา แนะนําใหปลูกในเขตภาคเหนือตอนลาง

การรับรองพันธุ กรมวิชาการเกษตรพิจารณาใหเปนพันธุแนะนํา เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550

กลุมถั่วเหลืองพันธุอายุปานกลาง

อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 86-112 วัน สวนใหญลําตนไมทอดยอด ความสูง 60-80 เซนติเมตร

จํานวน 3 พันธุ คือ พันธุ สจ.5 เชียงใหม 60 และเชียงใหม 6 มีรายละเอียดแตละพันธุ ดังน้ี

1. พันธุ สจ.5

พันธุ สจ.5 ไดจากการผสมระหวางพันธุ Tainung 4 กับพันธุ สจ.2 ในป 2513 ณ สถานีทดลอง

พืชไรแมโจ (ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม) ทําการคัดเลือกแบบสืบประวัติ (Pedigree selection) และ

ประเมินผลผลิตในหลายทองที่มีการเจริญเติบโตและปรับตัวไดดีผลผลิตสูงสม่ําเสมอ

พันธุ สจ.5

8

ลักษณะเดน1. ใหผลผลิตเฉลี่ย 286 กิโลกรัม/ไร (256-327 กิโลกรัม/ไร)2. ทนทานตอโรคใบดาง

โรคราสนิม และโรคแอนแทรคโนส3. เมล็ดมีความงอกดี ทนตอ

สภาพดินที่มีความชื้นสูงหรือดินแฉะในชวงการปลูกไดมากกวาพันธุเชียงใหม 60 ลําตนแข็งแรง

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ลําตน สีโคนตนออนสีมวง ลักษณะตนไมทอดยอด รูปแบบการเจริญเติบโตกึ่งทอดยอด

ใบ รูปรางใบยอยกวาง สีใบเขียว ขนสีนํ้าตาลเขม

ดอก สีมวง

ฝก ฝกแกนํ้าตาลเขม

เมล็ด เปลือกหุมเมล็ดสีเหลือง ขั้วเมล็ดสีนํ้าตาล รูปรางเมล็ดคอนขางรี

ลักษณะทางการเกษตร

อายุออกดอก นับจากวันงอกถึงวันที่ดอกบาน 50% ของตนทั้งหมด 34-36 วัน

อายุเก็บเกี่ยว นับจากวันงอกถึงวันที่ฝกแก 95% ประมาณ 90-96 วัน

ลําตน ความสูง 63-73 เซนติเมตร จํานวนขอ 12-13 ขอ/ตน แตกกิ่ง 2-3 กิ่ง/ตน

ฝกและเมล็ด จํานวนฝก 34-46 ฝก/ตน จํานวนเมล็ดเฉลี่ย 2 เมล็ด/ฝก นํ้าหนัก 100 เมล็ด

หนัก 13.1-15.9 กรัม

พื้นท่ีแนะนํา เปนพันธุที่ใชแนะนําปลูกไดทั่วไป เน่ืองจากเปนการคัดพันธุแบบปรับตัวไดกวาง จึงใชปลูกไดทั่วไปในแหลงปลูกถั่วเหลืองของประเทศไทย

ขอควรระวัง หลีกเลี่ยงการใชพันธุน้ีปลูกในเขตที่มีการระบาดของโรคใบจุดนูน

การรับรองพันธุ กรมวิชาการเกษตรพิจารณาใหเปนพันธุรับรอง เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2523

2. พันธุเชียงใหม 60

ถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม 60 เปนพันธุที่ไดจากการผสมระหวางพันธุ Williams ซึ่งมีลําตนแข็งแรง

จํานวนฝกตอตนมาก กับพันธุ สจ.4 ซึ่งเปนพันธุรับรองที่ใหผลผลิตสูง ทนทานตอโรคราสนิมที่

ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม

9

ถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม 60

ลักษณะเดน1. ใหผลผลิตเฉลี่ย 284 กิโลกรัม/ไร (258-319 กิโลกรัม/ไร)2. ทนทานตอโรคราสนิม และตานทานตอโรครานํ้าคางปานกลาง ซึ่งดีกวาพันธุ สจ.53. สามารถปรับตัวตอสภาพแวดลอมไดกวาง เหมาะสําหรับใชเปนพันธุปลูกทุกสภาพ ทองถิ่น

ลักษณะทางพฤกษศาสตรลําตน โคนตนออนสีเขียวออน ลักษณะลําตนไมทอดยอด รูปแบบการเจริญเติบโตกึ่ง

ทอดยอด แตกกิ่งนอยใบ รูปรางใบยอยกวาง สีใบเขียว ขนสีนํ้าตาลเขมดอก สีขาวฝก สีของฝกแกนํ้าตาลเขมเมล็ด เปลือกหุมเมล็ดสีเหลือง ขั้วเมล็ดสีนํ้าตาล รูปรางเมล็ดคอนขางกลม

ลักษณะทางการเกษตรอายุออกดอก นับจากวันงอกถึงวันที่ดอกบาน 50% ของตนทั้งหมด 31-35 วันอายุเก็บเกี่ยว นับจากวันงอกถึงวันที่ฝกแก 95% ประมาณ 88-95 วันลําตน ความสูง 55-65 เซนติเมตร จํานวนขอ 12-13 ขอ/ตน แตกกิ่งนอยเฉลี่ย 1 กิ่ง/ตนฝกและเมล็ด จํานวนฝก 33-38 ฝก/ตน นํ้าหนัก 100 เมล็ด 14.5-15.6 กรัม

พื้นท่ีแนะนํา ปรับตัวไดกวาง สามารถปลูกใหผลผลิตสูงทุกแหลงปลูกถั่วเหลือง

ขอควรระวัง 1. ออนแอตอสภาพดินที่มีความชื้นสูงหรือมีนํ้าขัง การปลูกในฤดูแลงเขตชลประทาน ควรใหนํ้ากอนปลูกไมควรปลอยใหนํ้าขังในหลุมปลูก เพราะจะทําใหเมล็ดเนาไดงาย

2. เมล็ดพันธุเสื่อมความงอกเร็วถาเก็บในสภาพอุณหภูมิหอง

การรับรองพันธุ กรมวิชาการเกษตรพิจารณาใหเปนพันธุรับรอง เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2530

10

4. พันธุเชียงใหม 6ถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม 6 ไดจากการผสมพันธุระหวางสายพันธุ KUSL20004 ซึ่งตานทานตอ

โรคใบจุดนูน และใหผลผลิตสูง กับพันธุเชียงใหม 5 ที่ทนทานตอโรคราสนิมสูง และตานทานโรครานํ้าคาง ผสมพันธุและคัดเลือกสายพันธุที่ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม ในป 2538–2541 เปรียบเทียบพันธุและทดสอบพันธุในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนลาง ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในป 2542-2551

ถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม 6

ลักษณะเดน

1. ใหผลผลิตเฉลี่ย 322 กิโลกรัม/ไร (289-367 กิโลกรัม/ไร)

2. ทนทานตอโรคราสนิม และตานทานตอโรครานํ้าคางสูงกวาพันธุ สจ.5 และเชียงใหม 60

ในสภาพธรรมชาติ

3. สามารถปรับตัวตอสภาพแวดลอมไดกวาง เหมาะสําหรับใชเปนพันธุปลูกหลายทองถิ่น

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ลําตน สีโคนตนออนสีมวง ลักษณะตนไมทอดยอด รูปแบบการเจริญเติบโตกึ่งทอดยอด

ใบ รูปรางใบยอยใบกวาง สีใบเขียว ขนสีนํ้าตาลออน

ดอก สีมวง

ฝก ฝกแกสีนํ้าตาลเขมเมล็ด เปลือกหุมเมล็ดสีเหลือง ขั้วเมล็ดสีนํ้าตาล รูปรางเมล็ดคอนขางกลม

ลักษณะทางการเกษตรอายุออกดอก นับจากวันงอกถึงวันที่ดอกบาน 50% ของตนทั้งหมด 33-36 วัน

อายุเก็บเกี่ยว นับจากวันงอกถึงวันที่ฝกแก 95% ประมาณ 90-99 วัน

ลําตน ความสูง 66-67 เซนติเมตร จํานวนขอ 13-14 ขอ/ตน แตกกิ่งเฉลี่ย 2 กิ่ง/ตน

11

ฝกและเมล็ด จํานวนฝก 33-39 ฝก/ตน จํานวนเมล็ดสวนใหญ 2 เมล็ด/ฝก

นํ้าหนัก 100 เมล็ด 13.5-14.8 กรัมพื้นท่ีแนะนํา ปรับตัวไดกวาง สามารถปลูกใหผลผลิตสูงทุกแหลงปลูกถั่วเหลืองขอควรระวัง การปลูกไมควรเกิน 3 ตนตอหลุมถามากไปจะทําใหตนลมผลผลิตตํ่าการรับรองพันธุ กรมวิชาการเกษตรพิจารณาใหเปนพันธุรับรอง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2553

ข้ันตอนท่ี 3 การเตรียมดิน (1 – 2 สัปดาหกอนปลูก)

การเตรียมดินน้ันนอกจากเปนการเตรียมพื้นที่สําหรับปลูกแลว ยังเปนการกําจัดวัชพืชที่ไดผลดี

มากวิธีหน่ึง การไถอาจทํา 1-2 คร้ัง เพื่อกําจัดวัชพืชที่ขึ้นอยูแลวและนําเมล็ดวัชพืชที่อยูใตดินมางอก

เปนตนออน จากน้ันจึงไถกําจัดอีกคร้ังหน่ึง ซึ่งจะชวยลดปริมาณวัชพืชไดมาก ดินที่เปนกรดจัด (pH

ตํ่ากวา 5.5) ควรลดความเปนกรดของดินดวยการใสปูน อัตรา 100-200 กก./ไร สําหรับดินที่คอนขาง

เปนทราย หรืออัตรา 200-400 กก./ไร สําหรับดินเหนียว ทั้งน้ีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชปุยเคมี

ปุยเคมีเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญปจจัยหน่ึงในการเพิ่มผลผลิตของถั่วเหลือง หลักการในการ

ใชปุยเคมีอยางมีประสิทธิภาพจําเปนตองคํานึงถึงชนิดดินและสมบัติของดิน ตลอดจนแรธาตุอาหารพืช

ในดิน ซึ่งทราบไดจากการวิเคราะหดิน นอกจากน้ียังตองคํานึงถึงวิธีเขตกรรมหรือการจัดการ ซึ่งแตละ

พื้นที่ปลูกอาจจะแตกตางกันบางในทางปฏิบัติ ความเขาใจถึงชนิดและสมบัติของดินจะเปนบันไดขั้น

แรกในการใชปุยไดอยางถูกตองและเหมาะสม นอกจากเกษตรกรจะไดผลตอบแทนอยางคุมคาตอการ

ลงทุนจากการใชปุยแลวยังเปนแนวทางในการผลิตอยางยั่งยืนอีกดวย

โดยปกติแลวดินที่ดีมีความอุดมสมบูรณสูงหรือมีความสามารถในการใหผลผลิตสูงอยูแลวไม

จําเปนตองใชปุยเสมอไป แตควรใชปจจัยอ่ืนในการเพิ่มผลผลิตจะดีกวา เชน ใชพันธุดี การเขตกรรม

และการปองกันกําจัดศัตรูพืช เปนตน การใชธาตุอาหารพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตถั่วเหลือง จะใชชนิดและ

อัตราใดขึ้นกับชนิดและระดับความอุดมสมบูรณของดิน เมื่อปลูกในดินที่คอนขางเปนทรายจะตองใช

ปุยมากกวาเมื่อปลูกในดินที่เปนดินรวนหรือดินเหนียว ทั้งน้ีเพราะดินที่คอนขางเปนทรายจะมีความอุดม

สมบูรณตํ่ากวาดินเหนียวหรือรวนเหนียว การใชปุยเคมีตามชนิดของดินไดแสดงไวตามตารางที่ 1

12

ตารางท่ี 1 การใชปุยเคมี (NPK) สําหรับถั่วเหลือง ตามลักษณะดิน1/

เน้ือดินปริมาณธาตุอาหารแนะนํา

(N- P2O5- K2O กิโลกรัม/ไร)

สูตรปุยท่ีควรใช

(N- P2O5- K2O)

อัตราการใช

(กิโลกรัม/ไร)

ดินเหนียวสีแดง 3, 6, 3 12-24-12 20-30

16-16-8 30-40

8-24-24 25-35

0-3-0 (หินฟอสเฟต) 50-200

ดินเหนียวสีดํา 0, 6, 0 0-46-0 15-20

0-40-0 15-20

ดินรวนเหนียวสีนํ้าตาล 0, 6, 0 0-46-0 15-20

0-40-0 15-20

ดินรวนทราย 3, 9, 6 12-24-12 30-40

16-16-8 40-50

1/ - การปลูกถั่วเหลืองในดินทุกชนิด ควรคลุกเมล็ดพันธุดวยเชื้อไรโซเบียม เพื่อทดแทนการใชปุย N

การใชคาวิเคราะหดินกอนปลูกประกอบการพิจารณาการใชปุยเคมีจะชวยประหยัดเงินลงทุน

การใชปุยไดมาก เปนแนวทางการใชปุยที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ โดยการใชแมปุยที่มีขายนํามาผสม

ปุยใชเองตามสัดสวนของธาตุอาหารที่ตองการโดยเฉพาะการเลือกใชปุยที่ใหธาตุอาหารหลัก เชน

ฟอสฟอรัส (P) จากแมปุยทริปเปลซุปเปอรฟอสเฟต หรือTSP (46% P2O5) และโพแทสเซียม (K) จากแม

ปุยโพแทสเซียมคลอไรด หรือ KCl (60% K2O) ในสัดสวนที่ถั่วเหลืองตองการกอนปลูกเพื่อปองกันการ

ขาดธาตุไนโตรเจน (N)

การผสมปุยใชเองชวยในการเลือกใชอัตราปุยที่สัมพันธกับคาวิเคราะหดิน เชน หากตองการ

ปลูกถั่วเหลืองในดินเหนียวสีแดง และพบวามีธาตุฟอสฟอรัสและแคลเซียมตํ่า จากคําแนะนําควรใช

ปุยเคมีที่ใหธาตุอาหารฟอสฟอรัสและแคลเซียม อัตรา 6 และ 3 กิโลกรัมตอไร ของเน้ือธาตุ P2O5 และ

K2O ตามลําดับ ดังน้ันเกษตรกรสามารถสรางปุยเคมีที่เหมาะสมขึ้นมาใชเอง โดยใชปุยจากแมปุยทริป

เปลซูปเปอรฟอสเฟตและโพแทสเซียมคลอไรด อัตรา 13 และ 5 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ นํามาผสม

รวมกันแลวนําไปใช จะไดผลดีและประหยัดกวาการใชปุยเคมีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม

สูตรตางๆที่มีขายทั่วไป การใชปุยเคมีหรือธาตุอาหารพืชตามคาวิเคราะหดินดังแสดงในตารางที่ 2

13

ตารางท่ี 2 การใชปุยเคมีหรือธาตุอาหารพืชสําหรับถั่วเหลืองตามคาวิเคราะหดิน

คาวิเคราะหดินเพื่อผลผลิตท่ีใหกําไรสูง

(Economic yield)

เพื่อผลผลิตสูงสุด

(Maximum yield)

pH < 5.0 ใสปูน 100-200 กก./ไร ใสปูน 200-400 กก./ไร

pH < 5.0-5.5 ใสปูน 50-100 กก./ไร ใสปูน 100-200 กก./ไร

Organic matter < 1% เ ม ล็ ด ค ลุ ก ด ว ย ปุ ย ชี ว ภ า พ ไ ร

โซเบียมกอนปลูก

เมล็ดคลุกดวยปุยชีวภาพ

ไรโซเบียมรวมดวยปุย 0-3 กก.N/ไร

Extr. P 1-6 ppm ใสปุย 9 กก. P2O5 /ไร ใสปุย 12 กก. P2O5 /ไร

Extr. P 6-12 ppm ใสปุย 6 กก. P2O5 /ไร ใสปุย 9 กก. P2O5 /ไร

Extr. P > 12 ppm ไมใสปุย P ใสปุย 3-6 กก. P2O5 /ไร

Exch. K 50-100 ppm ใสปุย 3 กก. K2O /ไร ใสปุย 6 กก. K2O /ไร

Exch. K > 100 ppm ไมใสปุย K ใสปุย 3-6 กก. K2O /ไร

Extr. S 8-14 ppm ไมใสปุย S ใสปุย 2.5-5 กก. SO4 /ไร

Exch. Ca 80-100 ppm ใสปูน 100 กก./ไร ใสปูน 100-200 กก./ไร

Exch. Ca 100-150 ppm ไมใสปูน ใสปูน 100 กก./ไร

Extr. Mo < 0.12 ppm ไมใสปุย Mo ใสปุย MoO4 200 กรัม/ไร

(ดินรวนทราย, pH < 5.5) หรือพนปุยทางใบ MoO4

0.05% W/V 2-3 คร้ัง

Extr. Mo < 0.40 ppm ไมใสปุย Mo ใสปุย MoO4 200 กรัม/ไร

(ดินเหนียว, รวนเหนียว, หรือพนปุยทางใบ MoO4

pH < 5.5) 0.05% W/V 2-3 คร้ัง

Extr. B < 0.14 ppm ไมใสปุย B ใสปุย Borax 1 กก./ไร หรือพน

Bortrac 0.05% W/V 2-3 คร้ัง

14

ขอควรคํานึงในการใชปุยเคมี

เพื่อผลตอบแทนสูงสุดจากการใชปุย เคมีและเพื่อชะลอความเสื่อมโทรมของดินและ

สภาพแวดลอมใหนานที่สุด การใชปุยเคมีกับถั่วเหลืองควรคํานึงถึงสิ่งเหลาน้ีดวย

1. ควรใสปุยเคมีรองพื้นพรอมปลูก (หากปลูกเปนแถว) หรือกอนถั่วเหลืองออกดอกไมควรเกิน

15-20 วันหลังปลูก (หากปลูกดวยวิธีหวาน) ทั้งน้ีเพื่อใหถั่วเหลืองไดใชธาตุอาหารไดเร็ว

2. ควรกําจัดวัชพืชใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดกอนการใสปุยเพื่อไมใหวัชพืชแยงธาตุอาหารจาก

พืช หากจะใสหลังจากปลูกแลวมักกระทําหลังกําจัดวัชพืชคร้ังแรก (ภายใน 2 สัปดาห หลังปลูก) เมื่อใส

ปุยแลวควรกลบดินหรือพูนโคนตน

3. หากปลูกในระบบที่มีการใหนํ้าชลประทาน ควรใหนํ้าแลวระบายนํ้าออกจากแปลงใหหมด

กอนแลวจึงหวานปุยเพื่อปองกันการสูญเสียปุยไปกับนํ้า

4. หากดินเปนกรดจัด ควรหวานปูนกอนแลวพรวนดินเพื่อลดความเปนกรดของดินแลวปลอย

แปลงไวไมนอยกวา 1 สัปดาห หรือหลังจากมีฝนตกหรือใหนํ้าชลประทานแลวอยางนอย 1 คร้ัง จึงทํา

การปลูกทั้งน้ีเพื่อใหปูนมีระยะเวลาในการทําปฏิกิริยากับดินและเพิ่มประสิทธิภาพการใชธาตุอาหาร

ของพืช

ข้ันตอนท่ี 4 การจัดการในการปลูก (สัปดาหท่ี 0)

กอนปลูกควรตรวจสอบความชื้นในดินถาดินแหงควรใหนํ้าและระบายออกจนดินหมาดแลวจึง

ทําการปลูก โดยเลือกพันธุใหเหมาะสมกับพื้นที่ และระบบการปลูกพืช

การปลูกถั่วเหลืองในฤดูแลงจําเปนตองมีแหลงนํ้าชลประทาน ในบางพื้นที่ เกษตรกรผูปลูกถั่ว

เหลืองอาจใชแหลงนํ้าจากธรรมชาติ เชน คลอง หรือบอสาธารณะ เกษตรกรตองมีการจัดการและจัดสรร

ที่ดี เพื่อใหการปลูกถั่วเหลืองประสบความสําเร็จ หลักการใหนํ้ากับถั่วเหลืองที่ปลูกโดยการยกรองคือ

ควรใหนํ้าประมาณ 3/4 ของความสูงของแปลงปลูก และปลอยใหนํ้าซึมเขาไปในแปลง ระวังอยาใหนํ้า

ทวมหลังแปลง วิธีการใหนํ้าแบบน้ีจะชวยปองกันไมใหดินแนน และปองกันการงอกของวัชพืชได

โดยทั่วไปการใหนํ้าถั่วเหลืองคร้ังแรกคือหลังจากเตรียมแปลงเสร็จแลว กอนการปลูก เพื่อใหแปลงปลูก

มีความชื้นเพียงพอแลวจึงปลูกหลังจากน้ัน 2-4 วันขึ้นอยูกับเน้ือดิน

ใชเมล็ดพันธุ อัตรา 12-15 กิโลกรัมตอไร คลุกกับไรโซเบียม 200 กรัม โดยใช นํ้าตาลทราย 75

กรัม ละลายนํ้า 300 มิลลิลิตร เปนสารยึดเกาะ ไรโซเบียมเปนเชื้อแบคทีเรียชนิดหน่ึงที่ชวยเพิ่มผลผลิต

ถั่วเหลืองได เพราะไรโซเบียมสามารถใชกาซไนโตรเจนในอากาศมาเปลี่ยนเปนปุยไนโตรเจนใหถั่ว

เหลือง วิธีการคลุกไรโซเบียมกับเมล็ดถั่วเหลืองน้ัน ควรใชนํ้าเชื่อมเจือจางเคลือบเมล็ด การเตรียม

นํ้าเชื่อมเจือจางน้ันทําไดโดยใชนํ้าตาลทราย 3-5 ชอนโตะผสมกับนํ้าประมาณ 1 แกว เทนํ้าเชื่อมลงคลุก

กับเมล็ดถั่วเหลืองพอประมาณวาเมล็ดเปยกทั่วถึง แลวเทผงไรโซเบียมคลุกเคลาใหทั่ว ทิ้งไวประมาณ

20-30 นาที จนเมล็ดถั่วเหลืองแหงและดูดซับผงไรโซเบียมไมใหหลุดรวงงาย และเมล็ดจะไมเกาะกัน

15

เปนกอน จากน้ันจึงนําเมล็ดถั่วเหลืองไปปลูก โดยปกติแลวไรโซเบียม 1 ถุง สามารถคลุกเมล็ดพันธุถั่ว

เหลืองสําหรับปลูก 1 ไร (12-15 กิโลกรัม)

การใชสารเคมีกําจัดวัชพืชเปนวิธีการที่ใชไดผลดีในกรณีที่มีการปลูกในพื้นที่ใหญ ไมสามารถ

ใชแรงงานไดทัน หรือในกรณีที่ดินมีความชื้นสูง ไมสามารถใชเคร่ืองมือกลเขาไปปฏิบัติงานได การใช

สารปองกันกําจัดวัชพืชที่ไดผลดีในถั่วเหลือง คือการพนทันทีหลังปลูก แตกอนถั่วเหลืองและวัชพืชงอก

สามารถควบคุมการงอกของวัชพืชในแปลงปลูกได ในกรณีที่เตรียมแปลงปลูกไวเปนเวลาพอสมควร

และยังไมไดปลูก แตมีวัชพืชงอกขึ้นมาแลว การใชสารเคมีแบบพนกอนถั่วเหลืองงอกน้ี สามารถใช

รวมกับสารเคมีแบบไมเลือกทําลาย เชน พาราควอท ไกลโฟเสท ได เพื่อทําลายวัชพืชที่งอกมาแลว

พรอมกับคุมการงอกของวัชพืชที่อาจขึ้นมาภายหลังได

ข้ันตอนท่ี 5 การจัดการในระยะกลา (1-2 สัปดาหหลังปลูก)

การใหนํ้าคร้ังที่ 2 เมื่อถั่วเหลืองมีอายุประมาณ 14 วัน และคร้ังตอ ๆ ไป ควรพิจารณาจาก

ความชื้นของดินเปนสําคัญซึ่งทั้งน้ีขึ้นกับชนิดของดิน โดยทั่วไปจะใหนํ้าประมาณ 2 สัปดาหตอคร้ัง

จนกระทั่งฝกเตงสมบูรณ

โรคท่ีสําคัญของถั่วเหลือง

1) โรคราสนิม (Soybean Rust) เกิดจากเชื้อรา Phakopsora pachyrhizi Syd.

อาการของโรคราสนิม มักพบอาการที่ใบและ

ใตใบ สังเกตเห็นจุดสีนํ้าตาลขนาดเล็กคลายสนิมเหล็กที่

ใตใบถั่วเหลือง เร่ิมพบจากใบลางและระบาดไปสูใบบน

จุดน้ีขยายขึ้นลักษณะเปนขุยสีนํ้าตาล ถาระบาดรุนแรง

จะพบอาการทั้งลําตน กิ่ง และกานใบ ใบไหมและรวง

ทําใหเมล็ดถั่วเหลืองขนาดเล็กลง ฝกไมไดมาตรฐาน

ผลผลิตลดลงมากกวา 50% ถาระบาดรุนแรงอาจทําให

ฝกลีบได

การแพรระบาด มักพบเมื่อความชื้นสัมพัทธสูงกวา 70% ขึ้นไป และอุณหภูมิ 22-27C

การปองกันกําจัด 1. ใชพันธุทนทาน

2. การปลูกถั่วเหลืองชวงปลายฤดูฝน ควรพนไตรอดีมีฟอน 25 WP หรือ

ไบเลตอน เมื่อถั่วเหลืองอายุ 25 และ 40 วันหลังงอก

อาการโรคราสนิมดานใตใบ(ภาพโดย มณฑา นันทพันธ)

16

2) โรครานํ้าคาง (Downy Mildew) เกิดจากเชื้อรา Peronospora manshurica (Naum.) Syd

อาการ ระยะแรกพบจุดสีเหลืองแกมเขียวดานบน

ใบ และจุดขยายใหญเปนสีเหลืองเขม พลิกดูใตใบจะพบ

เสนใยของเชื้อราเปนสีเทา หรือเทาอมมวง ฟู ถาการ

ระบาดรุนแรง ใบจะเหลืองกลายเปนสีนํ้าตาลและรวง

กอนเวลาอันควร ทําใหผลผลิตลดลงได 12-25%

การแพรระบาด มักพบการระบาดชวงอากาศเย็น

ปริมาณนํ้าคางบนใบมาก

การปองกันกําจัด

1. ใชเมล็ดพันธุปราศจากโรค

2. คลุกเมล็ดดวยเมตาแลกซิล ชวยยับยั้งการเปนโรคออกไปประมาณ 30 วัน

3. พนดวยสารเคมี แอนทาโคล ริโดมิล เอ็มแซด เมื่อพบอาการและพนทุก 10 วัน อีก 3 คร้ัง

3) โรครากเนาและโคนเนา (Root Rot and Basal Stem Rot)

โรคน้ีเกิดจากเชื้อราหลายชนิด แตที่พบวาเปน

ปญหากับถั่วเหลืองคือ Rhizoctonia solani อาการของโรค

คื อถั่ ว เหลื อง จะ แ ส ดง อา ก า ร เ ห่ีย ว เฉ า ใ นระ ย ะ ก า ร

เจริญเติบโตของลําตนและใบ เมื่อถอนตนจะพบแผลสี

นํ้าตาลแดง ลักษณะแผลเวาเขา มีผลทําใหตนถั่วเหลืองตาย

ต้ังแตอยูในระยะตนออน

การแพรระบาด เชื้อสามารถติดไปกับเมล็ด บาง

ชนิดอาจอาศัยอยูในดิน และสามารถแพรกระจายไปกับนํ้า

ที่ใหกับแปลงปลูกถั่วเหลือง ซึ่งจะทําใหพบมากในชวงฤดู

แลง

การปองกันกําจัด 1. อยาใหนํ้าขังแปลงปลูก

2. คลุกเมล็ดพันธุดวยเมตาแลกซิล

อาการโรครานํ้าคางถ่ัวเหลือง

ถ่ัวเหลืองเห่ียวเฉาตายเน่ืองจากโรครากเนาโคนเนา

(ภาพโดยมณฑา นันทพันธ)

17

4) โรคโคนตนดํา (Charcoal Rot) เกิดจากเชื้อรา Macrophomina phaseolina (Tassi) Gold

อาการ ถั่วเหลืองยืนตนตาย โดยมีกานใบติดอยูกับลําตน เมื่อถอนตนจะพบลักษณะสีดําที่

บริเวณโคนตนและภายในลําตนจะพบสีเทาดําคลายผงถาน

การแพรระบาด เชื้อน้ีติดไปกับเมล็ดพันธุ อาศัยอยูในดินหรือซากพืช โดยเฉพาะบริเวณแหง

แลง จึงมักพบปญหาของโรคน้ีในดินรวนปนทราย และชวงปลายฤดูฝนที่มีฝนทิ้งชวง เมื่อเกิดโรคเมล็ด

จะมีขนาดเล็กลงมาก หรือเมล็ดลีบ

การปองกันกําจัด 1. ใชเมล็ดพันธุที่ปราศจากโรค

2. ปลูกพืชหมุนเวียนดวยพืชตระกูลขาว ขาวโพด หรือขาวฟาง

3. ใหนํ้า หรือปลอยนํ้าเขาแปลงและขังไว 3-4 สัปดาห กอนปลูก

4. ใสปุยเพื่อใหถั่วเหลืองเจริญเติบโตอยางแข็งแรง

5) โรควิสาใบดาง (Soybean Mosaic Virus) เกิดจากเชื้อวิสา Soybean Mosaic Virus

อาการใบถั่วเหลืองมีสีเหลืองแกมเขียว ผิวเปนคลื่น

อาการรุนแรงทําใหตนถั่วเหลือง เต้ียแคระแกรน ขอและกานสั้น

เมล็ดจะดางตามสีของตา (hilum) หรือไมดางก็ได การติดฝกจะ

นอยหรือไมติดฝกเลย คุณภาพของเมล็ดไมดี ถาอาการรุนแรงทํา

ใหยอดแหงตายได

การแพรระบาด พบทั้งฤดูแลงและฤดูฝน มีเพลี้ยออน

เปนพาหะ หรือทางสัมผัสและถายทอดเชื้อทางเมล็ดได

การปองกันกําจัด 1. ถอนตนที่เปนโรคทิ้ง และใชเมล็ดที่ปราศจากโรค

2. ลางมือใหสะอาดเมื่อสัมผัสกับตนที่เปนโรค

3. กําจัดเพลี้ยออนซึ่งเปนพาหะนําโรค

อาการโรควิสาใบดาง

(ภาพโดยมณฑา นันทพันธ)

18

6) โรคใบยอดยน (Soybean Crinkle Leaf) เกิดจากเชื้อวิสาและมีแมลงหว่ีขาวยาสูบเปนพาหะ

อาการระยะแรกดานบนใบจะเห็นเสนใบช้ําลึกบุมเปนรูปถวย ใบจะบิดเบี้ยว บางคร้ังงองุม ที่

ใตใบพบเสนใบหดสั้นเปนรางแหสีเขียวเขม กานใบยวย ลําตนไมแข็งแรง ลมงาย การติดฝกลดลง ฝก

หดสั้น บิดเบี้ยว ในสภาพของการระบาดรุนแรง ทําใหผลผลิตลดลงไดถึง 50%

การแพรระบาด โดยมีเมลงหว่ีขาวเปนพาหะ (ประมาณ 40 ตัวตอถั่วเหลือง 1 ตน) ถาสภาพ

อากาศแหงแลงมักพบการระบาดรุนแรง แตถาดินมีความชุมชื้นดีถั่วเหลืองจะแสดงอาการของโรคเพียง

เล็กนอยเทาน้ัน

การปองกันกําจัด พนดวยสารโอเมทโธเอท เมื่อถั่วเหลืองงอก 7 วัน และในระยะใบจริง 3-5 ชุด

อีก 1-2 คร้ัง

แมลงศัตรูท่ีสําคัญของถั่วเหลือง

1) หนอนแมลงวันเจาะตนถั่ว (Beanfly) ชื่อวิทยาศาสตร Melanagromyza sojae (Zehtner)

ตัวเต็มวัยเปนแมลงขนาดเล็ก มีสีดําขนาดลําตัว

ยาวประมาณ 2.5-3.0 มม. ตัวแกจะวางไขบริเวณโคน

กานใบเลี้ยง ตัวหนอนมีขนาดเล็กมาเจาะไขเขาไปอยูใน

ลําตนและเจริญเติบโตอยูภายใน

การแพรระบาด มักพบอยูทั่วไปตลอดทั้งป ถั่ว

เหลืองที่ปลูกระหวางเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม มักพบ

การระบาดรุนแรงและถูกทําลาย 80-100% เขาทําลาย

เมื่อถั่วมีอายุ 15-50 วัน โดยหนอนเจาะไขเขาไป

กลางลําตนแลวเจาะทําลายไปสูโคนตนและยอด ทําให

สวนกลางของลําตนถูกเจาะเปนทางยาวเปนสาเหตุให

ถั่วชะงักการเจริญเติบโต ถึงแมถั่วเหลืองไมตายแตความ

สูงเฉลี่ยและจํานวนขอ ทําใหผลผลิตลดลง 20%

การปองกันกําจัด

1. คลุกเมล็ดดวย อิมิดาโครพริด 70% WP ลด

การทําลายของหนอน แมลงวันเจาะตนถั่วได โดยพบ

การทําลายเพียง 1.25% เมื่อเทียบกับที่ ไมไดคลุกพบการ

ทําลาย 95% (ศรีสมร และเรณู, 2538)

ตัวเต็มวัยของหนอนแมลงวันเจาะตนถ่ัว

(ภาพโดย บุญญา อนุสรณรัชดา)

19

2.ใชสารฆาแมลง คารโบฟูแรน 3% G โรยในแถวปลูกกอนหยอดเมล็ด

3. ใชสารฆาแมลง ไตรอะโซฟอส หรือ ไดเมทโธเอท เมื่อถั่วเหลืองงอกไมเกิน 5 วัน และพน 2-

3 คร้ัง ทุก 7 วัน

2) หนอนแมลงวันเจาะโคนตนถั่ว (Beanfly) ชื่อวิทยาศาสตร Ophiomyia phaseoli (Tryon)

ตัวเต็มวัยเปนแมลงวันขนาดเล็กสีเทาดํา ลําตัว

ยาว 1.9-2.3 มม. ตัวเมียวางไขที่ใบเลี้ยงและฟกตัวเปน

หนอนเจาะเขาไปอยูบริเวณเน้ือเยื่อเจริญรอบโคนตน

และเปนดักแดที่โคนตนถั่ว สิ่งที่แตกตางจากหนอน

แมลงวันเจาะตนถั่วคือลักษณะของดักแดที่สวนหัวและ

ทายเปนสีนํ้าตาลไหมหรือเกือบดําและพบการทําลาย

เฉพาะที่โคนตน

มักพบในแหลงปลูกถั่วเหลืองและถั่วเหลือง

ทั่วไปตลอดทั้งป หากปลูกถั่วเหลืองฤดูฝนชวงเดือน

มิถุนายน-กรกฎาคม พบการทําลาย 80-100% ในขณะที่

การปลูกฤดูแลงพบการทําลายมากกวา 85%

การปองกันกําจัด ใชสารฆาแมลง ฮอสตาธีออน หรือไดเมทโธเอท พนคร้ังแรกเมื่อถั่วเหลือง

อายุไมเกิน 5 วัน และพน 2-3 คร้ัง ทุก 7 วัน

3) หนอนมวนใบถั่ว (Bean Leaf Roller) ชื่อวิทยาศาตร Archips micaceana Walker, Hedylepta indicate

Fabricius, Hedylepta diemenalis

หนอนมวนใบถั่วทั้งสามชนิด เปนหนอนผีเสื้อ

กลางคืนขนาดเล็กเขาทําลายตนถั่วเหลืองต้ังแตตนเล็ก

ประมาณระยะ V2-V3 จนถึงระยะติดดอกออกฝก โดยตัวเต็ม

วัยวางไขบนใบถั่ว เมื่อฟกเปนตัวหนอนจะชักใยดึงใบเขามา

หอหุมตัวเองและกินใบดานบนของใบถั่วจนเหลือแตผิวใบสี

ขาว และยายไปหอที่ใบอ่ืนอีก ในชวงที่กอนถั่วเหลือง

ออกดอก พบการทําลายมากกวา 30% ซึ่งระบาดทั้งในฤดูแลง

และฤดูฝน การปองกันกําจัด ใชธีโอดาน 35% อีซี ฮอสตาธี

ออน 40 อีซี แลนเนท หรือคาราเต

ลักษณะการทําลายของหนอนแมลงวันเจาะโคนตนถ่ัว

(ภาพโดย สุรพงษ พละหงษ)

ลักษณะการทําลายของหนอนมวนใบ

20

4) เพลี้ยออนถั่วเหลือง (Soybean Aphid) ชื่อวิทยาศาสตร Aphis glycines Matsumura.

เพลี้ยออนเปนแมลงปากดูดขนาดเล็กที่สามารถขยายพันธุไดโดยไมตองผสมพันธุ ตัวออนมีทั้ง

ชนิดมีปกและไมมีปก ตัวออนและตัวเต็มวัยลักษณะคลายผลฝร่ัง อาศัยดูดนํ้าเลี้ยงจากตน ใบ ดอก และ

ฝกออน ทําใหตนแคระแกรน ผลผลิตลดลง และยังเปนพาหะนําโรควิสาอีกดวย

มักพบการระบาดต้ังแตถั่วเหลืองเร่ิมเขาระยะ V3 จนถึงระยะติดดอกออกฝก พบการระบาดทั้ง

ฤดูแลงและฤดูฝน โดยเฉพาะชวงที่อากาศรอน แหงแลง หรือฝนทิ้งชวง ทําใหเพลี้ยออนขยายพันธุได

อยางรวดเร็ว ระบาดทําความเสียหายได

การปองกันกําจัด ใชธีโอดาน 35% อีซี ฮอสตาธีออน 40 อีซี หรือ ทามารอน 600 เอสแอล

5) แมลงหวี่ขาว (Tobacco Whitefly) ชื่อวิทยาศาสตร Bemisia tabaci (Genandius)

แมลงหว่ีขาวเปนแมลงขนาดเล็กมีสีขาวขยายพันธุไดทั้งที่ผสมพันธุและไมผสมพันธุ ตัวเมีย

วางไขติดกับกานใบถั่วเหลือง เมื่อตัวออนฟกแลวจะเคลื่อนยายไปที่ใบถั่วเหลืองเพื่อเกาะดูดนํ้าเลี้ยงน่ิง

อยูกับที่ ทําใหถั่วเหลืองแคระแกรนได แมลงหว่ีขาวเปนพาหะนําโรคใบยอดยนในถั่วเหลือง โดยเฉพาะ

ภาคเหนือตอนลาง หรือในแหลงปลูกออย ฝายและยาสูบ อาการของโรคพบต้ังแตระยะ V3 ทําความ

เสียหายมากกวา 60%

การปองกันกําจัด ใชธีโอดาน 35% อีซี หรือทามารอน 600 เอสแอล หรือ ฮอสตาธีออน 40 อีซี

6) หนอนกระทูผัก (Common Cutworm) ชื่อวิทยาศาสตร Spodopter litura (Fabricius)

ตัวเต็มวัยของหนอนกระทูผักเปนผีเสื้อกลางคืน ตัวเมีย

วางไขบนใบถั่วเหลืองเปนกลุม ๆ มีขนสีนํ้าตาลปกคลุม เมื่อถั่ว

เหลืองอยูที่ระยะ V3-V5 เมื่อหนอนฟกออกมาใหมมีสีเขียวออน

อยูรวมกันเปนกลุม และกินใบถั่วเหลืองบริเวณที่วางไข เมื่อเขา

วัยที่ 2-7 สังเกตตัวหนอนมีจุดสีดําขางปลองที่สามขางละจุด จะ

กระจายกันกินใบถั่วแหวงเปนรูพรุนเต็มพื้นที่ เมื่อหนอนกินใบ

ถั่วประมาณ 30% ของใบทั้งหมด มีผลทําใหผลผลิตลดลงถึง

ระดับเศรษฐกิจ เน่ืองจากมีพืชอาหารหลายชนิด จึงสามารถ

ระบาดไดตลอดทั้งปทั้งในฤดูแลง และฤดูฝนลักษณะของหนอนกระทู

สังเกตจุดท่ีปลองท่ี 3

21

การปองกันกําจัด ใชทามารอน 600 เอสแอล หรือฮอสตาธีออน 40 อีซี หรือแลนเนท พนหาง

กัน 7-10 วันตอคร้ัง

ข้ันตอนท่ี 6 การจัดการในระยะเจริญทางลําตน (กอนออกดอก) (2 - 4 สัปดาหหลังปลูก)

ในบางกรณีที่เกษตรกรอาจใชสารเคมีแบบพนกอนงอกไมไดผล และพบวามีวัชพืชขึ้นมา

ภายหลังมากพอสมควร อาจใชสารเคมีแบบหลังงอกพนคลุมบนตนถั่วเหลืองกับวัชพืช ในชวงที่วัชพืชมี

ใบ 2-4 ใบ หรือหลังถั่วเหลืองงอก 15-20 วัน จะสามารถกําจัดวัชพืชโดยมีผลกระทบตอถั่วเหลืองนอย

มาก ตัวอยางของสารเคมีประเภทน้ีคือ อิมาเซทาเพอร หรือฟลูเอซิฟอฟ-พี-บิวทิล อาการที่อาจพบหลัง

พนสารเคมีประเภทน้ีบางชนิดคือการชะงักการเจริญเติบโตในชวงสั้น ๆ แตไมมีผลกระทบตอผลผลิต

ถั่วเหลืองที่ตามมา สิ่งที่ควรระมัดระวังคือความเขมขนของสารเคมีที่ควรใชตามคําแนะนํา อยาง

เครงครัด เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนถั่วเหลือง

การใหนํ้าถั่วเหลืองในระยะกอนออกดอก ยึดหลักใหนํ้าประมาณ 2 สัปดาหตอคร้ังจนกระทั่ง

ฝกเตงสมบูรณ ทั้งน้ีควรพิจารณาจากความชื้นของดินเปนสําคัญ ซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของดินและสภาพ

อากาศ

โรคที่สําคัญของถั่วเหลือง ไดแก โรคราสนิม โรครานํ้าคาง โรครากเนาและโคนเนา โรคโคน

ตนดํา โรควิสาใบดาง โรคใบยอดยน สําหรับการแพรระบาดและวิธีการปองกันกําจัด กลาวแลวใน

ขั้นตอนที่ 5

แมลงศัตรูที่สําคัญของถั่วเหลือง ไดแก หนอนแมลงวันเจาะตนถั่ว หนอนแมลงวันเจาะโคนตน

หนอนมวนใบถั่ว เพลี้ยออนถั่วเหลือง แมลงหว่ีขาว หนอนกระทูผัก สําหรับการแพรระบาดและ

วิธีการปองกันกําจัด กลาวแลวในขั้นตอนที่ 5

ข้ันตอนท่ี 7 การจัดการในระยะออกดอกและสรางเมล็ด (สัปดาหท่ี 5 – 10 )

การใหนํ้าในระยะออกดอกและสรางเมล็ด นับวาสําคัญอยางยิ่งตอผลผลิตถั่วเหลือง โดยมี

ขอพิจารณาดังน้ี

1. ไมควรใหถั่วเหลืองขาดนํ้าในชวงออกดอกจนถึงติดฝก เพราะจะทําใหผลผลิตลดลงประมาณ

25 - 35%

2. ใหนํ้าทุกคร้ังเมื่อคาการระเหยสะสมครบ 60 มิลลิเมตร (ใชระยะเวลา 11-15 วัน แลวแต

สภาพภูมิอากาศ) ตลอดฤดูปลูกใหนํ้าประมาณ 5-6 คร้ัง

3. ปริมาณนํ้าที่ใหแตละคร้ัง เทากับ 70% ของคาการระเหย หรือใหนํ้า 42 มิลลิเมตร เมื่อคาการ

ระเหยสะสมครบ 60 มิลลิเมตร รวมเปนปริมาณนํ้าที่ใหทั้งหมด 210 มิลลิเมตร หรือ 336 ลูกบาศกเมตร

ตอไร (ไมรวมปริมาณนํ้าที่ใหทันทีหลังปลูกประมาณ 40 มิลลิเมตร)

22

4. ในการปลูกถั่วเหลืองไมวาจะเปนพันธุอายุสั้น ปานกลาง หรือยาว ไมควรใหขาดนํ้าที่ระยะ

V4 (ขอที่ 4 ของตนถั่วเหลืองที่ใบขยายตัวเต็มที่), R1 (ดอกเร่ิมบาน) หรือ R3 (เร่ิมออกฝก) จะทําให

ผลผลิตลดลง (12-44%) และขนาดเมล็ดลดลง

5. ในกรณีที่มีนํ้าจํากัด สามารถลดจํานวนคร้ังและปริมาณการใหนํ้าลงไดบาง โดยใหนํ้าคร้ัง

สุดทายเมื่อถั่วเหลืองเติบโตที่ระยะ R6 (ฝกบนขอที่ 1-4 จากสวนยอด มีเมล็ดเต็มฝก) โดยไมมีความ

จําเปนที่จะตองใหนํ้าจนถึงถั่วเหลืองเร่ิมมีฝกแรกแก 50% (ประมาณระยะ R7-R8) อยางไรก็ตามไมควร

หยุดใหนํ้ากอนถึงระยะ R6 เพราะจะทําใหผลผลิต และขนาดเมล็ดลดลง

6. ในกรณีที่มีนํ้าไมเพียงพอ ควรใชวัสดุคลุมดิน (ฟางขาวอัตรา 2 ตัน/ไร) เพราะจะทําใหผลผลิตลดลง

นอยกวาไมใชวัสดุคลุมดิน 10-18%

แมลงศัตรูท่ีสําคัญในระยะออกดอกและติดฝก คือ

1) หนอนเจาะฝก (Pod Borer) ชื่อวิทยาศาสตร Helicoverpa armigera Hubner

ตัวเต็มวัยของหนอนเจาะฝกเปนผีเสื้อกลางคืน ตัวเมียวางไขตามใบและดอกถั่วเหลืองที่ระยะ

R1 เปนฟองเด่ียว ๆ สีขาว เมื่อหนอนฟกออกมาจะแทะกินใบออนของถั่วเหลืองกอนจนถึงเขาวัยที่ 2-3

จึงจะกินดอกและฝก หนอนมีหลายสีและเปลี่ยนไปตามอาหารและสภาพแวดลอม สังเกตไดจากแถบสี

ขาวนวลตามยาวของลําตัว ในระยะ R1 ตัวเต็มวัยจะวางไขบนชอดอก หนอนที่ออกมาใหมจะกินที่ดอก

โดยตรง การทําลายของหนอนมีทั้งเจาะทําลายบางสวนของฝก กัดฝกและดอกรวง กัดกินใบ ระยะที่ทํา

ความเสียหายใหมากที่สุดคือต้ังแตออกดอกจนเมล็ดเตงเต็มที่ (R1-R6) ทําความเสียหายกับผลผลิตถั่ว

เหลืองไดถึง 65%

การปองกันกําจัด ใชแลนเนท ฮอสตาธีออน 40 อีซี หรือ เอดาลักซ พนหางกัน 7-10 วันตอคร้ัง

2) มวนเขียวถั่ว (One Band Stink Bug) ชื่อวิทยาศาสตร Piezodorus hybneri Gmelin

มวนที่เขาทําลายถั่วเหลืองมีหลายชนิด มวนเขียวถั่วเปนชนิดหน่ึงที่มีรูปรางคลายโลสีเขียว

เชนเดียวกับมวนเขียวขาว แตมีขนาดเล็กกวาและมีแถบสีแดงหรือขาวคาดขวางบนดานหลังของสวนอก

แถบเห็นชัดและตัวออนมีจุดสีดํา 4 จุด บนพื้นสีสมเรียงแถวกันอยางมีระเบียบตรงกลางหลังตลอดไป

ตามความยาวของลําตัว ตัวเต็มวัยและตัวออนดูดกินนํ้าเลี้ยงจากใบและฝกออน โดยมวนจะเร่ิมเขา

ทําลายต้ังแตระยะติดดอกไปจนถึงฝกแก ทําใหฝกลีบไมคอยติดเมล็ดหรือรวง เมื่อเมล็ดโตขึ้นทําให

เมล็ดลีบมีรอยแผลหรือรอยยนไมสมบูรณ ถามวนระบาดมากถั่วเหลืองจะไมติดเมล็ดเลย พบการระบาด

มากในฤดูฝนสภาพไรหรือที่ราบเชิงเขา โดยเฉพาะปที่ฝนตกสม่ําเสมอตลอดฤดู

การปองกันกําจัด ใชฮอสตาธีอออน 40 อีซี หรือ ทามารอน 600 เอสแอล เมื่อพบการระบาด

23

3) มวนเขียวขาว (Green Stink Bug) ชื่อวิทยาศาสตร Nezara viridula (Linnaeus)

มวนเขียวขาวมีลักษณะคลายกับมวนเขียวถั่ว คือเปน

โลสีเขียวสด แตไมมีแถบตรงสวนอก ตัวเต็มวัยและตัวออน

อาศัยดูดนํ้าเลี้ยงจากใบและฝกออน ทําใหฝกลีบไมคอยติด

เมล็ด หรือเขาทําลายเมื่อเร่ิมติดเมล็ด ทําใหเมล็ดมีรอยแผล

และรอยยนไมสมบูรณ โดยมวนจะเร่ิมเขาทําลายต้ังแตระยะ

ติดดอกไปจนถึงฝกแก พบระบาดมากในฤดูฝนสภาพไร

หรือที่ราบเชิงเขา โดยเฉพาะปที่มีฝนตกสม่ําเสมอตลอดฤดู

การปองกันกําจัด เชนเดียวกับมวนเขียวถั่วคือ ใชฮอสตาธีอออน 40 อีซี หรือ ทามารอน 600

เอสแอล เมื่อพบการระบาด

4) มวนขาโต (Bean Bug) ชื่อวิทยาศาสตร Riptotus spp. Riptotus lineeris (Fabr.)

มวนขาโตเปนแมลงปากดูดคลายแมลงสิง แตมีขาคู

หลังโตกวาขาคูกลางและหนา สังเกตมีแถบสีเหลือง

ดานขาง บางคร้ังจึงเรียกวา “มวนขางเหลือง” ตัวเต็มวัย

และตัวออนอาศัยดูดนํ้าเลี้ยงจากใบและฝกออน ทําให

ฝกลีบไมสมบูรณ หรือไมติดเมล็ดเลย โดยมวนจะเร่ิม

เขาทําลายต้ังแตระยะติดดอกไปจนถึงฝกแก พบระบาด

มากในฤดูฝนสภาพไรหรือที่ราบเชิงเขา โดยเฉพาะปที่มี

ฝนตกสม่ําเสมอตลอดฤดู

การปองกันกําจัด เชนเดียวกับมวนเขียวคือ ใช

ฮอสตาธีออน 40 อีซี หรือ ทามารอน 600 เอสแอล เมื่อ

พบการระบาด

ลักษณะตัวเต็มวัยของมวนเขียวถ่ัว

(ภาพโดย ศรีสมร พิทักษ)

ลักษณะตัวเต็มวัยของมวนขาโต

24

5) หนอนกระทู (Black cut-worm) ชื่อวิทยาศาสตร Agrotis ipsilon (Hufnagel)

หนอนกระทูเปนศัตรูรายแรงของถั่วเหลืองในระยะตนกลา เมื่อตัวหนอนยังเล็กจะกินใบพืช แต

พอโตขึ้นในเวลากลางคืนจะหลบซอนตัวตามรอยแตกของดิน เวลากลางคืนจะกัดตนถั่วอายุ 30-40 วัน

ทําใหขาดเสียหายมากกวากัดกิน บางคร้ังจะสังเกตเห็นวาหนอนไดลากเอากลาตนถั่วเหลืองไปหลบ

ซอนดวยแลวกัดกินใบและยอดบางเล็กนอย ถาระบาดมากจะทําความเสียหายกับตนกลาถึง 50% มีพืช

อาหารหลายชนิดจึงทําใหระบาดตลอดทั้งป ปริมาณมากนอยขึ้นอยูกับสภาพอากาศ ถาฝนตกมากทําให

ผีเสื้อไมสามารถวางไขได ปริมาณจะลดลง

การปองกันกําจัด

1. การทดนํ้าเขาทวมแปลงเพื่อทําลายตัวหนอนที่หลบซอนในดิน หรือคุยใชวิธีคุยดินจับตัว

หนอนไปทําลาย

2. ใช ฮอสตาธีออน 40 อีซี หรือแลนเนท พน 1-2 คร้ังหางกัน 7-10 วัน

6) หนอนเจาะฝกถั่ว (Pea Pod borer) ชื่อวิทยาศาสตร Etella zinckenella Treitschke

หนอนเจาะฝกถั่วเปนแมลงศัตรูที่สําคัญมากชนิดหน่ึงของถั่วเหลือง ตัวเต็มวัยวางไขบนฝกออน

เมื่อหนอนฟกออกจากไขจะเขาไปอาศัยอยูในเมล็ดและอยูภายในทันทีโดยพบรอยเจาะเพียงเล็กนอย

เทาน้ัน ซึ่งเปนปญหามากในการตรวจดูภายนอก ดังน้ันถั่วเหลืองที่สงออกจึงมีการตรวจดูหนอนชนิดน้ี

โดยการตมฝกกอนและสองฝกดูกับแสงไฟเพื่อตรวจดูตัวหนอนที่อยูภายใน หากพบรอยเจาะขนาดโต

และมีมูลของหนอนออกมารอบ ๆ รอยเจาะ เมื่อแกะฝกดูจะพบวาเมล็ดถั่วเหลืองถูกทําลายเกือบหมดฝก

และหนอนมีขนาดโตมากแลว สามารถยายไปทําลายฝกอ่ืนไดโดยชักใยดึงฝกมาติดกันแลวเจาะเขาไป

กัดกินเมล็ดภายในฝกใหม พบระบาดทั่วไปในแหลงปลูกถั่วเหลืองต้ังแตปลายเดือนธันวาคมเปนตนไป

การระบาดสูงสุดเมื่ออากาศแหงแลงและอุณหภูมิสูง พบการทําลายสูงสุดในถั่วเหลืองที่ปลูกฤดูแลงและ

ติดฝกประมาณเดือนมีนาคม การทําลายของหนอนเจาะฝกทําใหผลผลิตลดลงถึง 45% ในถั่วเหลืองเมล็ด

แหง และถั่วเหลืองที่ปลูกเดือนเมษายนมีการเขาทําลายของหนอนเจาะฝกมากกวา 20% (ศรีสมร, 2539)

การปองกันกําจัด ใช ฮอสตาธีออน 40 อีซี หรือ ไซฮาโลทริน แอล พน 1-2 คร้ัง หางกัน 7-10

วัน ในระยะถั่วเหลืองเร่ิมออกดอกและติดฝกออน

นอกจากน้ียังมีโรคที่สําคัญของถั่วเหลืองในระยะน้ี ไดแก โรคราสนิม โรครานํ้าคาง โรคราก

เนาและโคนเนา โรคโคนตนดํา โรควิสาใบดาง โรคใบยอดยน และแมลงศัตรูที่สําคัญของถั่วเหลืองใน

ระยะน้ี ไดแก หนอนแมลงวันเจาะตนถั่ว หนอนแมลงวันเจาะโคนตน หนอนมวนใบถั่ว เพลี้ยออนถั่ว

25

เหลือง แมลงหว่ีขาว หนอนกระทูผัก สําหรับการแพรระบาดและวิธีการปองกันกําจัด กลาวแลวใน

ขั้นตอนที่ 5

ข้ันตอนท่ี 8 การจัดการในระยะเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยว (สัปดาหท่ี 12 – 14)

ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เก็บเกี่ยวตามชวงอายุของพันธุที่ปลูก หรือเมื่อ 95 เปอรเซ็นตของฝก

แกเปลี่ยนสีตามพันธุ นวดดวยเคร่ืองนวดที่มีความเร็วรอบประมาณ 350-500 รอบตอนาที ขณะที่

ความชื้นในเมล็ดประมาณ 15-17 เปอรเซ็นต นําเมล็ดที่นวดแลวไปผ่ึงแดด 1-3 แดด เพื่อลดความชื้นใน

เมล็ด เหลือประมาณ 13 เปอรเซ็นต บรรจุเมล็ดถั่วเหลืองในกระสอบปาน ที่ไมชํารุด สะอาด ปาก

กระสอบ ตัดแตงใหเรียบรอย และเย็บปากกระสอบ

การเก็บเกี่ยวถั่วเหลือง

การนวดถั่วเหลืองดวยเคร่ืองนวด

26

ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร

จากการสํารวจการผลิตถั่วเหลืองของเกษตรกรผูปลูกถั่วเหลืองหลังนา ณ ไรเกษตรกร หมู 9

ตําบลปากนํ้า อําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย พบวา เกษตรกรมีตนทุนการผลิตถั่วเหลืองหลังนาในป

การเพาะปลูก 2553/54 ไรละ 3,130 บาท เมื่อคํานวณจากราคาขาย ณ ไรนา ราคากิโลกรัมละ 15 บาท

ผลผลิตเฉลี่ย 250 กก./ไร ดังน้ัน เกษตรกรจึงมีผลตอบแทนไรละ 620 บาท ซึ่งนับวาเปนผลตอบแทนที่

คุมคาพืชหน่ึง อีกทั้งการปลูกถั่วเหลืองหลังนา ยังเปนการหมุนเวียนพืชในระบบการทํานา ลดการ

ระบาดของแมลงศัตรูขาว และชวยเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินอีกดวย

แปลงถั่วเหลืองพันธุศรีสําโรง 1

27

สรุปเทคโนโลยี

เทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลืองหลังนา ประกอบไปดวยขั้นตอนการดําเนินงานตลอดฤดูปลูก

และที่สําคัญ คือ เกษตรกรผูปฏิบัติสามารถตรวจสอบผลที่ไดรับจากทุกขั้นตอนของกิจกรรมทั้งหมดได

ดวยตนเอง โดยเกษตรกรจะไดรับความรูและรวมกันพัฒนา รวมทั้งผลที่จะไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรม

ที่ถูกตองและเหมาะสม ซึ่งประกอบดวย 8 ขั้นตอน คือ 1) การเตรียมพื้นที่และกําหนดชวงเวลาปลูก (3-4

เดือนกอนปลูก) เปนการเลือกพื้นที่ เลือกพันธุขาวและวันปลูกถั่วเหลือง 2) การเตรียมพันธุ ( 3-4

สัปดาหกอนปลูก) เปนการเลือกใชพันธุถั่วเหลืองที่เหมาะสําหรับปลูกหลังนา แบงเปน 2 กลุม คือ กลุม

ถั่วเหลืองพันธุอายุสั้น อายุเก็บเกี่ยว 75-85 วัน ไดแก พันธุนครสวรรค 1 เชียงใหม 2 และ ศรีสําโรง 1

และกลุมถั่วเหลืองพันธุอายุปานกลาง อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 86-112 วัน ไดแก พันธุ สจ.5 เชียงใหม 60

และเชียงใหม 6 3) การเตรียมดิน (1-2 สัปดาหกอนปลูก) เปนการเตรียมดิน กําจัดวัชพืช การใชปุยรอง

พื้น 4) การจัดการในการปลูก เปน การกําหนดระยะปลูก วิธีการปลูก กําจัดวัชพืช และการใหนํ้า

5) การจัดการในระยะกลา (1-2 สัปดาหหลังปลูก) เปนการปลูกซอม ถอนแยก การใหนํ้า ศัตรูพืชที่

สําคัญในระยะน้ี ไดแก โรคราสนิม โรครานํ้าคาง โรครากเนาและโคนเนา โรคโคนตนดํา โรควิสาใบ

ดาง โรคใบยอดยน หนอนแมลงวันเจาะตนถั่ว หนอนแมลงวันเจาะโคนตน หนอนมวนใบถั่ว เพลี้ย

ออนถั่วเหลือง แมลงหว่ีขาว และหนอนกระทูผัก 6) การจัดการในระยะกอนออกดอก (2 - 4 สัปดาห

หลังปลูก) เปนการกําจัดวัชพืช การใหนํ้า และปองกันกําจัดศัตรูพืชที่สําคัญ ไดแก โรคราสนิม โรครา

นํ้าคาง โรครากเนาและโคนเนา โรคโคนตนดํา โรควิสาใบดาง โรคใบยอดยน หนอนแมลงวันเจาะตน

ถั่ว หนอนแมลงวันเจาะโคนตน หนอนมวนใบถั่ว เพลี้ยออนถั่วเหลือง แมลงหว่ีขาว และหนอนกระทู

ผัก 7) การจัดการในระยะออกดอกและติดฝก (5 – 10 สัปดาหหลังปลูก) เปนการใหนํ้า ศัตรูพืชที่

สําคัญ ไดแก แมลงศัตรูที่สําคัญในระยะออกดอกและติดฝก คือ หนอนเจาะฝก มวนเขียวถั่ว มวนเขียว

ขาว 4) มวนขาโต หนอนกระทู และหนอนเจาะฝกถั่ว 8) การจัดการในระยะเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บ

เกี่ยว (12-14 สัปดาหหลังปลูก) เปน การเก็บเกี่ยว การลดความชื้น การทําความสะอาดเมล็ด และการ

เก็บรักษา หากสามารถปฏิบัติไดตามคําแนะนําในการผลิตถั่วเหลืองหลังนา สามารถใหผลผลิตเมล็ด

เฉลี่ย 250 กก./ไร มีผลตอบแทนเฉลี่ย อยูระหวาง 620 บาท/ไร

28

บรรณานุกรม

นรีลักษณ วรรณสาย. 2550. เทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลืองฝกสดครบวงจร. ศูนยวิจัยพืชไรพิษณุโลก

กรมวิชาการเกษตร.

บุญญา อนุสรณรัชดา อิศเรศ เทียนทัด สุทธิดา วงศกาฬสินธุ ไพศาล รัตนเสถียร. 2536. ผลของจุลินทรีย

สารฆาแมลง และสารสกัดสะเดา เพื่อควบคุมแมลงศัตรูถั่วเหลืองฝกสด. หนา 358-400. ใน

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2535 ของศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม กรมวิชาการเกษตร.

มณฑา นันทพันธ. 2535. โรคบางชนิดของถั่วเหลืองและถั่วเหลืองฝกสดและการปองกันกําจัด. เอกสาร

วิชาการ ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม กรมวิชาการเกษตร. 63 หนา.

วิระศักด์ิ เทพจันทร สิทธิ์ แดงประดับ. 2554. พันธุถั่วเหลืองและคําแนะนํา. เอกสารประกอบการ

ฝกอบรมใหแกเจาหนาที่ สปป. ลาว ในโครงการ “ Increased Productivity and Profitability of

Rice-Based Lowland Cropping System in Lao PDR” ระหวางวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2552 ณ

ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม

ศรีสมร พิทักษ และเรณู สุวรรณพรสกุล. 2539. การประเมินความเสียหายของผลผลิตถั่วเหลืองฝกสด

เน่ืองจากการเขาทําลายของหนอนแมลงวันเจาะตนถั่ว. รายงานผลการคนควาวิจัยประจําป 2538

ของศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม กรมวิชาการเกษตร.

ศรีสมร พิทักษ. 2539. หนอนเจาะฝกแมลงศัตรูที่สําคัญของถั่วเหลือง. ว. กีฎและสัตววิทยา 18(2): 129-

131.

สถาบันวิจัยพืชไร. 2553. องคความรูการผลิตเมล็ดพันธุถั่วเหลือง. สถาบันวิจัยพืชไร. กรมวิชาการ

เกษตร.

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2553. ถั่วเหลืองรวมรุน รุน 1 และรุน 2 : เน้ือที่เพาะปลูก เน้ือที่เก็บเกี่ยว

ผลผลิต และผลผลิตตอไร ป 2552 Update : 12-11-53.

ศุภชัย แกวมีชัย. 2537. การปรับปรุงพันธุถั่วเหลืองของประเทศไทย. ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม

สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร. 87 หนา.

พิมพร โชติญาณวงษ. 2542. เทคโนโลยีการปลูกถั่วเหลือง. เอกสารประกอบการฝกอบรมหลักสูตร

การปลูกพืชไรในเขตชลประทาน. สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร ในวันที่ 21-22

ธันวาคม 2542 ณ สถานีทดลองพืชไรพิษณุโลก.