พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว...

12
ครอบครัว ความยากจน และการดารงชีวิต

Transcript of พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว...

Page 1: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

ครอบครวั ความยากจน และการด ารงชีวิต

Page 2: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

ตารางสถิติข้อมูล 1/5

ครอบครัว ความยากจน และการด ารงชีวิต

ชื่อข้อมูล/สถิติ

รายได้ของครัวเรือน ปี 2554

ขอบเขตความหมายและความส าคัญ

จากครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล จ านวนครัวเรือนตัวอย่างประมาณ 52,000 ครัวเรือน ค่าใช้จ่ายที่น าเสนอเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่ จ าเป็นต้องใช้ในการยังชีพเท่านั้น จึงไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม

วัตถุประสงค์/ความหมาย

เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ของครัวเรือน

หน่วยวัด

ร้อยละ

หน่วยงานจัดเก็บ

กลุ่มสถิติรายได้รายจ่าย ส านักสถิติสังคม ส านักงานสถิติแห่งชาติ

หน่วยงานรับผิดชอบ / เผยแพร่

ส านักสถิติพยากรณ์ ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 7498 โทรสาร 0 2143 8132 E-mail: [email protected] http://www.nso.go.th

ปีท่ีเริ่มจัดเก็บ พ.ศ. 2500 ปีท่ีจัดเก็บล่าสุด พ.ศ. 2554 ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล

โดยจัดท าทุก 5 ปี แต่เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และสภาพทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจึงได้ก าหนดให้ท าการส ารวจทุก 2 ปีตั้งแต่ปี 2530 และจะจัดท าทุกปีตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นไป

ระดับพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล

ระดับประเทศ

Page 3: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

การเข้าถึงข้อมูลและการเผยแพร่

1. ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เว็บไซต์ http://www.nso.go.th

2. เว็บไซต์ http://www.thaifamily.in.th นัยยะส าคัญเกี่ยวกับครอบครัว

รายได้เฉลี่ยเดือนละ 23,236 บาท ส่วนใหญ่เป็นรายได้จากการท างาน ซึ่งได้แก่ ค่าจ้างเงินเดือน จากการท าธุรกิจและจากการท าการเกษตร และมีรายได้ที่ไม่ได้เกิดจากการท างาน เช่น เงินที่ได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น นอกครัวเรือน/รัฐ รายได้จากทรัพย์สิน เช่น ดอกเบี้ย นอกจากนั้นยังมีรายได้ในรูปสวัสดิการ/ สินค้า และบริการต่างๆ

รายละเอียดสถิติ

Page 4: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

ตารางสถิติข้อมูล 2/5

ครอบครัว ความยากจน และการด ารงชีวิต

ชื่อข้อมูล/สถิติ

ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน ปี 2554

ขอบเขตความหมายและความส าคัญ

จากครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล จ านวนครัวเรือนตัวอย่างประมาณ 52,000 ครัวเรือน ค่าใช้จ่ายที่น าเสนอเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่ จ าเป็นต้องใช้ในการยังชีพเท่านั้น จึงไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม

วัตถุประสงค์/ความหมาย

เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของครัวเรือน

หน่วยวัด

ร้อยละ

หน่วยงานจัดเก็บ

กลุ่มสถิติรายได้รายจ่าย ส านักสถิติสังคม ส านักงานสถิติแห่งชาติ

หน่วยงานรับผิดชอบ / เผยแพร่

ส านักสถิติพยากรณ์ ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 7498 โทรสาร 0 2143 8132 E-mail: [email protected] http://www.nso.go.th

Page 5: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

ปีท่ีเริ่มด าเนินการ

พ.ศ. 2500

ปีท่ีจัดเก็บล่าสุด พ.ศ. 2554 ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล

โดยจัดท าทุก 5 ปี แต่เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และสภาพทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจึงได้ก าหนดให้ท าการส ารวจทุก 2 ปีตั้งแต่ปี 2530 และจะจัดท าทุกปีตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นไป

ระดับพื้นที่ในการจัดเก็บ

ระดับประเทศ

การเข้าถึงข้อมูลและการเผยแพร่

1. ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เว็บไซต์ http://www.nso.go.th

2. เว็บไซต์ http://www.thaifamily.in.th นัยยะส าคัญเกี่ยวกับครอบครัว

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยรายเดือนครัวเรือนทั่วประเทศ ในปี 2554 มี ส่วนใหญ่เป็นค่าอาหาร และเครื่องดื่ม (ซึ่งในจ านวนนี้เป็นค่าเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์) รองลงมาเป็นค่าที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ภายในบ้าน ใช้เกี่ยวกับการเดินทางและยานพาหนะ ใช้ส่วนบุคคล/เครื่องนุ่งห่ม/รองเท้า ในการสื่อสาร ใช้ในการบันเทิง/การจัดงานพิธี ใช้ในการศึกษา ค่าเวชภัณฑ์/ค่ารักษาพยาบาล และกิจกรรมทางศาสนามีเพียง แต่อย่างไรก็ตามพบว่าค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค เช่น ค่าภาษี ของขวัญ เบี้ยประกันภัย ซื้อสลากกินแบ่ง/ หวย ดอกเบี้ย สูงเช่นกัน

รายละเอียดสถิติ

Page 6: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

ตารางสถิติข้อมูล 3/5

ครอบครัว ความยากจน และการด ารงชีวิต

ชื่อข้อมูล/สถิติ

หนี้สิ้นของครัวเรือน ปี 2554

ขอบเขตความหมายและความส าคัญ

จากครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล จ านวนครัวเรือนตัวอย่างประมาณ 52,000 ครัวเรือน ค่าใช้จ่ายที่น าเสนอเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่ จ าเป็นต้องใช้ในการยังชีพเท่านั้น จึงไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม

วัตถุประสงค์/ความหมาย

เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหนี้สินของครัวเรือน

หน่วยวัด

ร้อยละ

หน่วยงานจัดเก็บ

กลุ่มสถิติรายได้รายจ่าย ส านักสถิติสังคม ส านักงานสถิติแห่งชาติ

หน่วยงานรับผิดชอบ / เผยแพร่

ส านักสถิติพยากรณ์ ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

Page 7: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

โทร. 0 2141 7498 โทรสาร 0 2143 8132 E-mail: [email protected] http://www.nso.go.th

ปีท่ีเริ่มด าเนินการ

พ.ศ. 2500

ปีท่ีจัดเก็บล่าสุด พ.ศ. 2554 ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล

โดยจัดท าทุก 5 ปี แต่เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และสภาพทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจึงได้ก าหนดให้ท าการส ารวจทุก 2 ปีตั้งแต่ปี 2530 และจะจัดท าทุกปีตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นไป

ระดับพื้นที่ในการจัดเก็บ

ระดบัประเทศ

การเข้าถึงข้อมูลและการเผยแพร่

1. ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เว็บไซต์ http://www.nso.go.th

2. เว็บไซต์ http://www.thaifamily.in.th นัยยะส าคัญเกี่ยวกับครอบครัว

จากครัวเรือนทั่วประเทศประมาณ 20 ล้านครัวเรือน ซึ่งหนี้สินส่วนใหญ่ เพ่ือใช้ในครัวเรือน คือใช้ในการอุปโภคบริโภค รองลงมา มีหนี้สินครัวเรือน ซื้อบ้าน/ที่ดิน และหนี้เพ่ือใช้ในการศึกษา ส าหรับหนี้เพื่อใช้ท าการเกษตรจะสูงกว่า ใช้ท าธุรกิจ

รายละเอียดสถิติ

Page 8: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

ตารางสถติิข้อมูล 4/5

ครอบครัว ความยากจน และการด ารงชีวิต

ชื่อข้อมูล/สถิติ

การเปรียบเทียบรายได้ ค่าใช้จ่าย และหนี้สิ้นของครัวเรือน ปี 2554

ขอบเขตความหมายและความส าคัญ

ครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล จ านวนครัวเรือนตัวอย่างประมาณ 52,000 ครัวเรือน ค่าใช้จ่ายที่น าเสนอเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่ จ าเป็นต้องใช้ในการยังชีพเท่านั้น จึงไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม

วัตถุประสงค์/ความหมาย

เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ ค่าใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรือน

หน่วยวัด

ร้อยละ

หน่วยงานจัดเก็บ

กลุ่มสถิติรายได้รายจ่าย ส านักสถิติสังคม ส านักงานสถิติแห่งชาติ

Page 9: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

หน่วยงานรับผิดชอบ / เผยแพร่

ส านักสถิติพยากรณ์ ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 7498 โทรสาร 0 2143 8132 E-mail: [email protected] http://www.nso.go.th

ปีท่ีเริ่มด าเนินการ

พ.ศ. 2500

ปีท่ีจัดเก็บล่าสุด พ.ศ. 2554 ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล

โดยจัดท าทุก 5 ปี แต่เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และสภาพทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจึงได้ก าหนดให้ท าการส ารวจทุก 2 ปีตั้งแต่ปี 2530 และจะจัดท าทุกปีตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นไป

ระดับพื้นที่ในการจัดเก็บ

ระดับประเทศ

การเข้าถึงข้อมูลและการเผยแพร่

1. ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เว็บไซต์ http://www.nso.go.th

2. เว็บไซต์ http://www.thaifamily.in.th นัยยะส าคัญเกี่ยวกับครอบครัว

เมื่อเปรียบเทียบรายได้ ค่าใช้จ่าย และหนี้สินต่อ รายได้ พบว่าครัวเรือนทั่วประเทศตั้งแต่ปี 2545 ถึง 2554 มีรายได้และค่าใช้จ่ายเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ โดยมีรายได้เฉลี่ยมากกว่า ค่าใช้จ่ายที่จ าเป็นในการยังชีพ กล่าวคือ มีรายได้เพ่ิมขึ้น ค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึนเช่นกัน และเมื่อพิจารณาผลต่างของรายได้ และค่าใช้จ่าย ในปี 2554 พบว่า รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายที่จ าเป็นในการยังชีพ เมื่อเปรียบเทียบหนี้สินต่อรายได้ของครัวเรือน ตั้งแต่ 2545 ถึง 2554 พบว่าหนี้สินต่อรายได้ในปี 2554 ต่ าสุด

Page 10: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

รายละเอียดสถิติ

ตารางสถิติข้อมูล 5/5

ครอบครัว ความยากจน และการด ารงชีวิต

ชื่อข้อมูล/สถิติ

การเปรียบเทียบการกระจายรายได้ครัวเรือน

Page 11: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

ขอบเขตความหมายและความส าคัญ

จากครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล จ านวนครัวเรือนตัวอย่างประมาณ 52,000 ครัวเรือน ค่าใช้จ่ายที่น าเสนอเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่ จ าเป็นต้องใช้ในการยังชีพเท่านั้น จึงไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม

วัตถุประสงค์/ความหมาย

เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ ค่าใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรือน

หน่วยวัด

ร้อยละ

หน่วยงานจัดเก็บ

กลุ่มสถิติรายได้รายจ่าย ส านักสถิติสังคม ส านักงานสถิติแห่งชาติ

หน่วยงานรับผิดชอบ / เผยแพร่

ส านักสถิติพยากรณ์ ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 7498 โทรสาร 0 2143 8132 E-mail: [email protected] http://www.nso.go.th

ปีท่ีเริ่มด าเนินการ

พ.ศ. 2500

ปีท่ีจัดเก็บล่าสุด พ.ศ. 2554 ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล

โดยจัดท าทุก 5 ปี แต่เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และสภาพทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจึงได้ก าหนดให้ท าการส ารวจทุก 2 ปีตั้งแต่ปี 2530 และจะจัดท าทุกปีตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นไป

ระดับพื้นที่ในการจัดเก็บ

ระดับประเทศ

การเข้าถึงข้อมูลและการเผยแพร่

1. ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เว็บไซต์ http://www.nso.go.th

2. เว็บไซต์ http://www.thaifamily.in.th

Page 12: พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต

นัยยะส าคัญเกี่ยวกับครอบครัว

การกระจายรายได้ โดยได้จัดแบ่ง ครัวเรือนทั่วประเทศเป็น 5 กลุ่มเท่าๆ กัน และน ามาเรียงล าดับ ตามรายได้ประจ าต่อคนต่อเดือนจากน้อยไปมาก (กลุ่มท่ี 1 มีรายได้ต่ าสุด และกลุ่มท่ี 5 มีรายได้สูงสุด) พบว่าในปี 2554 กลุ่มท่ีมีรายได้สูงสุด และกลุ่มที่มีรายได้ต่ าสุด มีความเหลื่อมล้ าของกลุ่มท่ีมีรายได้สูงสุดมีส่วนแบ่ง ของรายได้ ในปี 2554 และ 2552 เท่ากัน ส าหรับรายได้ประจ าต่อคนต่อเดือน โดยเฉลี่ย เพ่ิมขึ้นจาก ในปี 2552 ในป ี2554 โดยเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่ม คือครัวเรือนที่มีรายได้สูงสุด มีรายได้ประจ าต่อคนต่อเดือนเพ่ิมข้ึน และครัวเรือนที่มีรายได้ต่ าสุด มีรายได้ประจ าต่อคนต่อเดือน เพ่ิมข้ึน

รายละเอียดสถิติ