บทที่ 2 การออกแบบแม่พิมพ์@41

41
บทที่2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ บทนี้กลาวถึงการบํารุงรักษาและประเภทการบํารุงรักษาแมพิมพ ระบบการวางแผนและ ควบคุมงานบํารุงรักษา ขั้นตอนการบํารุงรักษาเชิงปองกัน การวัดประสิทธิภาพของการจัดการ บํารุงรักษา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี2.1 แมพิมพฉีด ชาลี ตระการกูล (2539 : 55) กลาววาแมพิมพฉีดที่ใชเปนแมพิมพที่มีสวนประกอบยอย ๆ มากมาย เพื่อใหแมพิมพสามารถทํางานผลิตชิ้นงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และแมพิมพแตละชนิด ก็จะมีสวนประกอบยอย ๆ ที่แตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถผลิตชิ้นงานไดตามความตองการ สําหรับสวนประกอบพื้นฐานของแมพิมพฉีดแสดงดังตอไปนี2.1.1 สวนที่อยูกับที่และสวนเคลื่อนที(Fixed half and moving half) แมพิมพฉีดนั้นจะแบงออกเปน 2 สวนใหญ ๆ สวนที่ยืดอยูกับแผนยึดที่อยูกับที่ของเครื่อง ฉีดพลาสติก เรียกวา สวนที่อยูกับที่ อีกสวนหนึ่งจะยึดอยูกับแผนยึดที่เคลื่อนที่ของเครื่องฉีด พลาสติก เรียกวา สวนเคลื่อนทีรูปที่ 2.1 โดยทั่วไปชุดแมพิมพจะประกอบดวยปลอกรูฉีดแหวนบังคับศูนย ปลอกนํา เพลานํา ที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 56) ตําแหนงของ แผน แหวนบังคับ เพลานํา ปลอกนํา

Transcript of บทที่ 2 การออกแบบแม่พิมพ์@41

Page 1: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

บทที่ 2ทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวของ

บทน้ีกลาวถึงการบํารุงรักษาและประเภทการบํารุงรักษาแมพิมพ ระบบการวางแผนและควบคุมงานบํารุงรักษา ขั้นตอนการบํารุงรักษาเชิงปองกัน การวัดประสิทธิภาพของการจัดการบํารุงรักษา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี

2.1 แมพิมพฉีดชาลี ตระการกูล (2539 : 55) กลาววาแมพิมพฉีดที่ใชเปนแมพิมพที่มีสวนประกอบยอย ๆ

มากมาย เพื่อใหแมพิมพสามารถทํางานผลิตชิ้นงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และแมพิมพแตละชนิดก็จะมีสวนประกอบยอย ๆ ที่แตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถผลิตชิ้นงานไดตามความตองการสําหรับสวนประกอบพื้นฐานของแมพิมพฉีดแสดงดังตอไปน้ี

2.1.1 สวนท่ีอยูกับท่ีและสวนเคลื่อนท่ี (Fixed half and moving half)

แมพิมพฉีดน้ันจะแบงออกเปน 2 สวนใหญ ๆ สวนที่ยืดอยูกับแผนยึดที่อยูกับที่ของเคร่ืองฉีดพลาสติก เรียกวา สวนที่อยูกับที่ อีกสวนหน่ึงจะยึดอยูกับแผนยึดที่เคลื่อนที่ของเคร่ืองฉีดพลาสติก เรียกวา สวนเคลื่อนที่

รูปที่ 2.1 โดยทั่วไปชุดแมพิมพจะประกอบดวยปลอกรูฉีดแหวนบังคับศูนย ปลอกนํา เพลานําที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 56)

ตําแหนงของแผนยึดที่อยูกับที่แหวนบังคับศูนย

เพลานํา

ปลอกนํา

Page 2: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

4

2.1.2 อิมเพรสชั่น (Impression)

แมพิมพฉีดเปนแมพิมพที่ประกอบขึ้นจากชิ้นสวนตาง ๆ หลายชิ้นเกิดเปนโพรงขางในที่เรียกวา อิมเพรสชั่น ซึ่งเน้ือพลาสติกจะถูกฉีดเขาไปและเย็นตัวลงไดชิ้นงานพลาสติกที่มีรูปรางเหมือนกับอิมเพรสชั่นเกิดจากการประกอบชิ้นสวนของแมพิมพ 2 ชิ้นคือ

1. เบา (Cavity) ซึ่งเปนแมพิมพตัวเมียทําใหเกิดรูปรางภายนอกของชิ้นงาน2. คอร (Core) เปนสวนของแมพิมพตัวผูที่ทําใหเกิดรูปรางภายในของชิ้นงาน

2.1.3 แผนเบาและแผนคอร (Cavity and core plates)

แมพิมพแบบงาย ๆ ของภาชนะบรรจุสิ่งของทรงแปดเหลี่ยม แมพิมพแบบงาย ๆประกอบดวยแผนแมพิมพ 2 แผน แผนหน่ึงขุดลึกเปนโพรงเขาไปซึ่งเปนสวนขึ้นรูปภายนอกของชิ้นงานและเรียกวา แผนเบา และอีกแผนหน่ึงจะทําเปนแกนยื่นออกมาและเปนสวนขึ้นรูปภายในของชิ้นงานเรียกวา แผนคอร เมื่อแมพิมพปดแผนเบาและคอรจะเลื่อนเขาประกบกันทําใหเกิดเปนชองวางขึ้นระหวางแผนเบาและแผนคอร เรียกวา อิมเพรสชั่น

รูปที่ 2.2 พื้นฐานของแมพิมพประกอบดวยแผนเบาและแผนคอรที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 56)

2.1.4 เบาแมพิมพและคอรแมพิมพ (Mold cavities and core)

1. แผนเบาและแผนคอรแบบชิ้นเดียวเบาและคอรขึ้นรูปดวยการตัดเฉือนจากแผนเหล็กหรือกอนเหล็กขนาดใหญหรือหลอ

ขึ้นรูปเปนชิ้นเดียวกันและใชโดยปราศจากแผนยึดอินเสิรต เปนแมพิมพแผนหน่ึงเรียกวา แผนเบาแบบชิ้นเดียว หรือแผนคอรแบบชิ้นเดียว สวนมากมักนิยมใชกับแมพิมพแบบอิมเพรสชั่นเดียวเน่ืองจากคุณสมบัติเกี่ยวกับความแข็งแรง มีขนาดเล็กแตในแมพิมพแบบหลายอิมเพรสชั่นมีการใชงานไมมากนักเน่ืองจากคาแฟกเตอรอ่ืน ๆ ที่ตองนํามาพิจารณา เชน การปรับต้ังตําแหนง

Page 3: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

5

รูปที่ 2.3 ตัวอยางแมพิมพแบบชิ้นเดียวที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 58)

2. อินเสิรตของเบาและคอร (Inserts : cavity and core)

สําหรับแมพิมพที่มีอิมเพรสชั่นที่คอนขางซับซอน การทําแผนเบาและแผนคอรขึ้นจากแผนเหล็กชิ้นเดียวตลอดเหมือนแมพิมพแบบชิ้นเดียว มีความยากลําบากและมีราคาแพง วิธีทําแมพิมพที่ไดจากการประกอบของแผนยึดอินเสิรตจึงถูกนํามาใชแทน วิธีการขึ้นรูปอิมเพรสชั่นจากแผนเหล็กเล็ก ๆ หลังจากตัดเฉือนขึ้นรูปแลวเราเรียกแผนเหล็กเล็ก ๆ วา อินเสิรต และสวนขึ้นรูปภายในของชิ้นงานหรือเปนตัวผู เรียกวา อินเสิรตของคอร และในทางกลับกันสวนที่ขึ้นรูปภายนอกของชิ้นงานหรือตัวเมีย เรียกวา อินเสิรตเบา จึงนําอินเสิรตสวมและขันยึดเขากับรูในแผนเหล็กที่เรียกวา แผนยึดอินเสิรต รูเจาะเปนรูตันหรือเจาะทะลุตลอดแผนยึดแมพิมพ สําหรับกรณีหลังจะมีแผนประกบยึดดานหลังของแผนยึดอินเสิรต เพื่อใหอินเสิรตอยูในตําแหนงที่ตองการ

Page 4: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

6

รูปที่ 2.4 อินเสิรตของเบาและคอรแบบตาง ๆ(ก ข) แบบสี่เหลี่ยม ใชสกรูยึด(ค ง) แบบสี่เหลี่ยม ใชหนาแปลนยึด(จ ฉ) แบบทรงกระบอก ใชสกรูยึด(ช ซ) แบบทรงกระบอก ใชหนาแปลนยึด

ที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 61)

2.1.5 แผนยึดอินเสิรต (Bolsters)

เบาและคอรของแมพิมพในลักษณะของอินเสิรต ซึ่งตองประกอบเขากับชุดแมพิมพอยางมั่นคง ลักษณะทําไดโดยยึดอินเสิรตเขากับแผนยึดอินเสิรตหรือเรียกอีกอยางหน่ึงวา แผนยึดแมพิมพ จึงจัดการบังคับดวยตัวนําเลื่อนที่เหมาะสมเพื่อใหมั่นใจไดวาเบ าและคอรจะคงอยูในตําแหนงไดศูนยกันตลอดไป

วัตถุประสงคเบื้องตนของการใชแผนยึดอินเสิรต1. ตองจัดเตรียมชองหรือเบาที่เหมาะสมที่สามารถประกอบอินเสิรตเขาไปได2. ตองจัดเตรียมอุปกรณบางอยางสําหรับยึดอินเสิรตหลังจากประกอบเขาในตําแหนง3. ตองมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะทนทานตอแรงที่ใชในการฉีดพลาสติกเขาแมพิมพ

Page 5: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

7

ชนิดของแผนยึดอินเสิรต นักออกแบบไดคิดประดิษฐแผนยึดอินเสิรตขึ้นมากมายหลายชนิด เพื่อพยายามทําใหการประกอบอินเสิรตหรือการตัดเฉือนขึ้นรูปอินเสิรตกระทําไดงาย ที่ใชกันมากมีอยูดวยกัน 5 ชนิด

1. แผนยึดอินเสิรตแบบเปนแผนตัน แบบน้ีเหมาะที่จะใชกับอินเสิรตแบบสี่เหลี่ยมและทรงกระบอกดังรูปที่ 2.5

รูปที่ 2.5 แผนยึดอินเสิรตแบบเปนแผนตันที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 67)

2. แผนยึดอินเสิรตแบบเปนแถบ ใชเฉพาะกับอินเสิรตแบบสี่เหลี่ยมดังรูปที่ 2.6 (ก)3. แผนยึดอินเสิรตแบบเปนกรอบ สามารถใชไดกับอินเสิรตทั้งสองแบบ แตเหมาะที่

จะใชอินเสิรตทรงกระบอกมากกวา ดังรูปที่ 2.6 (ข) (ค)4. แผนยึดอินเสิรตแบบกรอบเรียว ใชรวมกับอินเสิรตแบบแยกดังรูปที่ 2.6 (ง) (จ)5. แผนยึดอินเสิรตแบบน้ีจะใชในกรณีพิเศษสําหรับอินเสิรตแบบสี่เหลี่ยมและแบบ

วงกลมบางกรณีเทาน้ันดังรูปที่ 2.6 (ฉ)

Page 6: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

8

รูปที่ 2.6 แผนยึดอินเสิรตแบบอ่ืน ๆที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 67)

2.1.6 เพลานําและปลอกนํา (Guide pillars and bushes)

เพื่อใหงานฉีดพลาสติกไดชิ้นงานที่มีความหนาของเปลือกชิ้นงานที่สม่ําเสมอจําเปนตองทําใหเบาและคอรไดศูนยกัน ทําไดโดยใชเพลานําประกอบเขากับแมพิมพดานหน่ึงจากน้ันจะสวมประกอบเขากับปลอกนําที่อยูบนแมพิมพอีกแผนหน่ึงเมื่อแมพิมพปด ตัวอยางที่มีเพลานําประกอบอยูบนแผนคอรของแมพิมพที่อยูตรงกันกับปลอกนําในแผนเบาแสดงดังรูปที่ 2.7 ขนาดของเพลานําจะตองมีขนาดโตพอที่จะสามารถรักษาตําแหนงศูนยไวไดไมวาจะใชแรงฉีดมากหรือนอย ซึ่งโดยปกติสามารถกระทําไดชิ้นสวนตาง ๆ ของแมพิมพเบื้องตน

รูปที่ 2.7 การออกแบบเพลานําและปลอกนําที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 72)

8

รูปที่ 2.6 แผนยึดอินเสิรตแบบอ่ืน ๆที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 67)

2.1.6 เพลานําและปลอกนํา (Guide pillars and bushes)

เพื่อใหงานฉีดพลาสติกไดชิ้นงานที่มีความหนาของเปลือกชิ้นงานที่สม่ําเสมอจําเปนตองทําใหเบาและคอรไดศูนยกัน ทําไดโดยใชเพลานําประกอบเขากับแมพิมพดานหน่ึงจากน้ันจะสวมประกอบเขากับปลอกนําที่อยูบนแมพิมพอีกแผนหน่ึงเมื่อแมพิมพปด ตัวอยางที่มีเพลานําประกอบอยูบนแผนคอรของแมพิมพที่อยูตรงกันกับปลอกนําในแผนเบาแสดงดังรูปที่ 2.7 ขนาดของเพลานําจะตองมีขนาดโตพอที่จะสามารถรักษาตําแหนงศูนยไวไดไมวาจะใชแรงฉีดมากหรือนอย ซึ่งโดยปกติสามารถกระทําไดชิ้นสวนตาง ๆ ของแมพิมพเบื้องตน

รูปที่ 2.7 การออกแบบเพลานําและปลอกนําที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 72)

8

รูปที่ 2.6 แผนยึดอินเสิรตแบบอ่ืน ๆที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 67)

2.1.6 เพลานําและปลอกนํา (Guide pillars and bushes)

เพื่อใหงานฉีดพลาสติกไดชิ้นงานที่มีความหนาของเปลือกชิ้นงานที่สม่ําเสมอจําเปนตองทําใหเบาและคอรไดศูนยกัน ทําไดโดยใชเพลานําประกอบเขากับแมพิมพดานหน่ึงจากน้ันจะสวมประกอบเขากับปลอกนําที่อยูบนแมพิมพอีกแผนหน่ึงเมื่อแมพิมพปด ตัวอยางที่มีเพลานําประกอบอยูบนแผนคอรของแมพิมพที่อยูตรงกันกับปลอกนําในแผนเบาแสดงดังรูปที่ 2.7 ขนาดของเพลานําจะตองมีขนาดโตพอที่จะสามารถรักษาตําแหนงศูนยไวไดไมวาจะใชแรงฉีดมากหรือนอย ซึ่งโดยปกติสามารถกระทําไดชิ้นสวนตาง ๆ ของแมพิมพเบื้องตน

รูปที่ 2.7 การออกแบบเพลานําและปลอกนําที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 72)

Page 7: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

9

2.1.7 ปลอกรูฉีด (Sprue bush)

ในระหวางกระบวนการฉีดพลาสติก เน้ือพลาสติกจะตองถูกสงออกจากหัวฉีดของเคร่ืองฉีดพลาสติกในสภาวะของเหลว เขาแมพิมพทางรูฉีดผานเขาไปในอิมเพรสชั่น รูฉีดแบบงาย ๆ จะเปนรูเรียวที่อยูภายในปลอกรูฉีดแสดงดังรูปที่ 2.8 เน้ือพลาสติกที่อยูในรูฉีดเขาน้ีเรียกวา แกนรูฉีด

รูปที่ 2.8 ระบบปอนของแมพิมพแบบอิมเพรสชั่นเดียวที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 78)

เมื่อสิ้นสุดการฉีดพลาสติกปลอกรูฉีดจะเปนสวนที่ทําใหเกิดแกนรูฉีด ในทางปฏิบัติน้ันปลอกรูฉีดจะทําหนาที่เปนขอตอระหวางหัวฉีดของเคร่ืองฉีดพลาสติกกับผิวดานหนาของแมพิมพและจัดเตรียมรูทะลุที่เหมาะสม ซึ่งเน้ือพลาสติกสามารถไหลไปตามรูน้ีจนถึงอิมเพรสชั่นหรือไปยังจุดเร่ิมตนของระบบรูวิ่งในแมพิมพแบบหลายอิมเพรสชั่น

รูปที่ 2.9 ปลอกรูฉีด (ก) บารับโคงเปนรัศมี (ข) บารับแบบเรียบที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 78)

9

2.1.7 ปลอกรูฉีด (Sprue bush)

ในระหวางกระบวนการฉีดพลาสติก เน้ือพลาสติกจะตองถูกสงออกจากหัวฉีดของเคร่ืองฉีดพลาสติกในสภาวะของเหลว เขาแมพิมพทางรูฉีดผานเขาไปในอิมเพรสชั่น รูฉีดแบบงาย ๆ จะเปนรูเรียวที่อยูภายในปลอกรูฉีดแสดงดังรูปที่ 2.8 เน้ือพลาสติกที่อยูในรูฉีดเขาน้ีเรียกวา แกนรูฉีด

รูปที่ 2.8 ระบบปอนของแมพิมพแบบอิมเพรสชั่นเดียวที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 78)

เมื่อสิ้นสุดการฉีดพลาสติกปลอกรูฉีดจะเปนสวนที่ทําใหเกิดแกนรูฉีด ในทางปฏิบัติน้ันปลอกรูฉีดจะทําหนาที่เปนขอตอระหวางหัวฉีดของเคร่ืองฉีดพลาสติกกับผิวดานหนาของแมพิมพและจัดเตรียมรูทะลุที่เหมาะสม ซึ่งเน้ือพลาสติกสามารถไหลไปตามรูน้ีจนถึงอิมเพรสชั่นหรือไปยังจุดเร่ิมตนของระบบรูวิ่งในแมพิมพแบบหลายอิมเพรสชั่น

รูปที่ 2.9 ปลอกรูฉีด (ก) บารับโคงเปนรัศมี (ข) บารับแบบเรียบที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 78)

9

2.1.7 ปลอกรูฉีด (Sprue bush)

ในระหวางกระบวนการฉีดพลาสติก เน้ือพลาสติกจะตองถูกสงออกจากหัวฉีดของเคร่ืองฉีดพลาสติกในสภาวะของเหลว เขาแมพิมพทางรูฉีดผานเขาไปในอิมเพรสชั่น รูฉีดแบบงาย ๆ จะเปนรูเรียวที่อยูภายในปลอกรูฉีดแสดงดังรูปที่ 2.8 เน้ือพลาสติกที่อยูในรูฉีดเขาน้ีเรียกวา แกนรูฉีด

รูปที่ 2.8 ระบบปอนของแมพิมพแบบอิมเพรสชั่นเดียวที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 78)

เมื่อสิ้นสุดการฉีดพลาสติกปลอกรูฉีดจะเปนสวนที่ทําใหเกิดแกนรูฉีด ในทางปฏิบัติน้ันปลอกรูฉีดจะทําหนาที่เปนขอตอระหวางหัวฉีดของเคร่ืองฉีดพลาสติกกับผิวดานหนาของแมพิมพและจัดเตรียมรูทะลุที่เหมาะสม ซึ่งเน้ือพลาสติกสามารถไหลไปตามรูน้ีจนถึงอิมเพรสชั่นหรือไปยังจุดเร่ิมตนของระบบรูวิ่งในแมพิมพแบบหลายอิมเพรสชั่น

รูปที่ 2.9 ปลอกรูฉีด (ก) บารับโคงเปนรัศมี (ข) บารับแบบเรียบที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 78)

Page 8: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

10

2.1.8 แหวนบังคับศูนย (Register ring)

แหวนบังคับศูนยเปนชิ้นสวนกลมแบนใชประกอบกับผิวดานหนาของแมพิมพ เพื่อใชกําหนดตําแหนงของแมพิมพ ใหอยูในตําแหนงที่ถูกตองบนหนาแปลนของเคร่ืองฉีดพลาสติก

เมื่อนําแมพิมพขึ้นยึดกับเคร่ืองพลาสติก แหวนบังคับศูนยที่ยึดกับแมพิมพสวนหนาจะสวมเขากับรูทรงกระบอกซึ่งควานไดขนาดที่ถูกตองบนหนาแปลนยึดของเคร่ืองฉีดพลาสติกและอยูในแนวเสนศูนยกลางเดียวกันกับกระบอกสูบและหัวฉีด วิธีน้ีทําใหมั่นใจไดวารูของหัวฉีดจะอยูในเสนศูนยกลางเดียวกันกับรูของปลอกรูฉีด โดยเหตุที่ปลอกรูฉีดเปนตัวเชื่อมระหวางหั วฉีดกับผิวหนาแมพิมพ รูของหัวฉีดกับรูของปลอกรูฉีดที่อยูในแนวศูนยกลางทําใหไมเกิดการกีดขวางทางไหลของเน้ือพลาสติกจากกระบอกสูบผานรูหัวฉีดและรูของปลอกรูฉีดเขาไปในระบบรูวิ่งของแมพิมพและอาจกลาวไดวาแหวนบังคับศูนยกอใหเกิดการเชื่อมกันโดยตรงระหวางปลอกรูฉีดกับรูในแผนหนาแปลนยึดของเคร่ืองฉีด

รูปที่ 2.10 การกําหนดตําแหนงของแมพิมพบนหนาแปลนยึดของเคร่ืองฉีดดวยแหวนบังคับศูนยที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 80)

Page 9: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

11

2.1.9 ระบบรูวิ่งและรูเขา (Runner and gate systems)

เน้ือพลาสติกอาจถูกเขาไปในอิมเพรสชั่น ผานปลอกรูฉีดโดยตรง เน้ือพลาสติกจะถูกฉีดเขารูของปลอกรูฉีดและวิ่งไปตามระบบรูวิ่งและรูเขา ดังรูปที่ 2.11 กอนที่จะเขาไปในอิมเพรสชั่น

รูปที่ 2.11 ระบบปอนของแมพิมพแบบหลายอิมเพรสชั่นที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 82)

2.1.10 การยึดแมพิมพเขากับหนาแปลนเคร่ืองฉีด (Attachment of mold to platen)

แมพิมพสามารถยึดเขากับหนาแปลนของเคร่ืองฉีดพลาสติกได 2 วิธี และวิธีเหลาน้ีอาจเปนการยึดโดยตรงดวยสกรูหรือยึดทางออมโดยอาศัยสกรูผานแผนกด

1. วิธีขันยึดโดยตรง รูจะเจาะเตรียมไวในแผนยึดแมพิมพแตละแผนที่ตรงกับรูเกลียวบนแผนหนาแปลนยึดของเคร่ืองฉีด จากน้ันจึงใชสกรูขันยึดแมพิมพเขากับหนาแปลนยึดของเคร่ืองโดยตรงแสดงดังรูปที่ 2.12

รูปที่ 2.12 การยึดแมพิมพเขากับหนาแปลนเคร่ืองฉีด โดยใชสกรูขันยึดโดยตรงที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 83)

Page 10: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

12

2. วิธีขันเกลียวยึดทางออม ในการยึดแมพิมพเขากับเคร่ืองฉีดจะอาศัยแผนกด วิธีน้ีจะใชตอเมื่อไมสามารถใชวิธีขันเกลียวยึดโดยตรงได ซึ่งนิยมใชมากกวา โดยทั่วไปวิธีขันเกลียวยึดทางออมจะประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้น ดังแสดงดังรูปที่ 2.13 ก คือแผนกด หมอนรองและสกรูในการจัดตําแหนงและสกรูขันยึดควรจัดใหสกรูอยูในตําแหนงที่ใกลกับจุดกดบนแมพิมพมากที่สุดเพื่อใหไดแรงกดสูงสุด น่ันคือควรมีระยะหาง x นอยที่สุดแสดงในรูปที่ 2.13 ข

รูปที่ 2.13 แสดงการยึดแมพิมพทางออมที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 84)

2.2 การบํารุงรักษาและประเภทการบํารุงรักษากลาหาญ วรพุทธพร (2542 : 78) กลาววาตามมาตรฐานของประเทศอังกฤษ (British

standard) B.S. 381 ไดใหคําจํากัดความของการบํารุงรักษา (Maintenance) วา การบํารุงรักษาคือ งานที่ตองปฏิบัติเพื่อรักษาสภาพหรือยกสภาพเคร่ืองจักรอุปกรณตาง ๆ ใหไดมาตรฐานที่กําหนด หรืออีกนัยหน่ึง เปาหมายการบํารุงรักษา คือ การดูแลเคร่ืองจักรอุปกรณและโรงงานใหมีประสิทธิภาพการทํางาน และสามารถใชงานไดตามตองการ ซึ่งหมายถึงความตองการในดานตาง ๆเหลาน้ี ถาแบงประเภทของการบํารุงรักษาใหครอบคลุมการบํารุงรักษาที่ปฏิบัติน้ันสามารถแบงไดดังตอไปน้ี

12

2. วิธีขันเกลียวยึดทางออม ในการยึดแมพิมพเขากับเคร่ืองฉีดจะอาศัยแผนกด วิธีน้ีจะใชตอเมื่อไมสามารถใชวิธีขันเกลียวยึดโดยตรงได ซึ่งนิยมใชมากกวา โดยทั่วไปวิธีขันเกลียวยึดทางออมจะประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้น ดังแสดงดังรูปที่ 2.13 ก คือแผนกด หมอนรองและสกรูในการจัดตําแหนงและสกรูขันยึดควรจัดใหสกรูอยูในตําแหนงที่ใกลกับจุดกดบนแมพิมพมากที่สุดเพื่อใหไดแรงกดสูงสุด น่ันคือควรมีระยะหาง x นอยที่สุดแสดงในรูปที่ 2.13 ข

รูปที่ 2.13 แสดงการยึดแมพิมพทางออมที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 84)

2.2 การบํารุงรักษาและประเภทการบํารุงรักษากลาหาญ วรพุทธพร (2542 : 78) กลาววาตามมาตรฐานของประเทศอังกฤษ (British

standard) B.S. 381 ไดใหคําจํากัดความของการบํารุงรักษา (Maintenance) วา การบํารุงรักษาคือ งานที่ตองปฏิบัติเพื่อรักษาสภาพหรือยกสภาพเคร่ืองจักรอุปกรณตาง ๆ ใหไดมาตรฐานที่กําหนด หรืออีกนัยหน่ึง เปาหมายการบํารุงรักษา คือ การดูแลเคร่ืองจักรอุปกรณและโรงงานใหมีประสิทธิภาพการทํางาน และสามารถใชงานไดตามตองการ ซึ่งหมายถึงความตองการในดานตาง ๆเหลาน้ี ถาแบงประเภทของการบํารุงรักษาใหครอบคลุมการบํารุงรักษาที่ปฏิบัติน้ันสามารถแบงไดดังตอไปน้ี

12

2. วิธีขันเกลียวยึดทางออม ในการยึดแมพิมพเขากับเคร่ืองฉีดจะอาศัยแผนกด วิธีน้ีจะใชตอเมื่อไมสามารถใชวิธีขันเกลียวยึดโดยตรงได ซึ่งนิยมใชมากกวา โดยทั่วไปวิธีขันเกลียวยึดทางออมจะประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้น ดังแสดงดังรูปที่ 2.13 ก คือแผนกด หมอนรองและสกรูในการจัดตําแหนงและสกรูขันยึดควรจัดใหสกรูอยูในตําแหนงที่ใกลกับจุดกดบนแมพิมพมากที่สุดเพื่อใหไดแรงกดสูงสุด น่ันคือควรมีระยะหาง x นอยที่สุดแสดงในรูปที่ 2.13 ข

รูปที่ 2.13 แสดงการยึดแมพิมพทางออมที่มา : ชาลี ตระการกูล (2539 : 84)

2.2 การบํารุงรักษาและประเภทการบํารุงรักษากลาหาญ วรพุทธพร (2542 : 78) กลาววาตามมาตรฐานของประเทศอังกฤษ (British

standard) B.S. 381 ไดใหคําจํากัดความของการบํารุงรักษา (Maintenance) วา การบํารุงรักษาคือ งานที่ตองปฏิบัติเพื่อรักษาสภาพหรือยกสภาพเคร่ืองจักรอุปกรณตาง ๆ ใหไดมาตรฐานที่กําหนด หรืออีกนัยหน่ึง เปาหมายการบํารุงรักษา คือ การดูแลเคร่ืองจักรอุปกรณและโรงงานใหมีประสิทธิภาพการทํางาน และสามารถใชงานไดตามตองการ ซึ่งหมายถึงความตองการในดานตาง ๆเหลาน้ี ถาแบงประเภทของการบํารุงรักษาใหครอบคลุมการบํารุงรักษาที่ปฏิบัติน้ันสามารถแบงไดดังตอไปน้ี

Page 11: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

13

2.2.1 การบํารุงรักษาแบบมีแผน (Planned maintenance) หมายความถึง การบํารุงรักษาแบบตางๆ ทั้งหมดที่กระทําไปโดยมีการวางแผนลวงหนา ซึ่งมีการบันทึกขอมูลตาง ๆ ไวและแบงออกเปน 2 แบบ คือ

1. การบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive maintenance) หมายถึง การบํารุงรักษามีแผนที่กระทําไปโดย มีจุดมุงหมายที่จะปองกันมิใหเคร่ืองจักรชํารุด เชน การตรวจสภาพเคร่ืองจักร การทําความสะอาด การเปลี่ยนชิ้นสวนตามกําหนดเวลา เปนตน

2. การบํารุงรักษาเชิงแกไข (Corrective maintenance) หมายถึง การบํารุงรักษาโดยมีแผนกระทําไปเพื่อแกไขยกสถานะ การปฏิบัติของเคร่ืองจักรใหคืนสูสภาพปกติ เมื่อพิจารณาถึงการปฏิบัติงาน การบํารุงรักษาแบบปองกันสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะคือการบํารุงรักษาขณะเดินเคร่ือง ซึ่งหมายถึงการบํารุงรักษาโดยไมตองหยุดเคร่ืองจักร สามารถทําไดขณะเดินเคร่ืองเชน การตรวจสภาพชิ้นสวน การหยอดนํ้ามันหลอลื่น และการบํารุงรักษาขณะหยุดเคร่ือง ซึ่งเปนการหยุดโดยมีแผนกําหนดไวแนนอน เชน การเปลี่ยนชิ้นสวน การตรวจสภาพที่เกิดรอยราวเปนตน

2.2.2 การบํารุงรักษาแบบไมมีแผน (Unplanned maintenance) คือการซอมฉุกเฉิน ซึ่งตางจากการบํารุงรักษาเมื่อเคร่ืองเสีย ที่วาการซอมฉุกเฉินน้ันไมมีการเตรียมการไวลวงหนากอนที่เคร่ืองจักรเกิดการชํารุดเสียหายขึ้น ฝายซอมบํารุงดําเนินการซอมตามสภาพความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยขั้นแรกตรวจสอบชิ้นสวนที่เสียหาย สามารถเปลี่ยนทดแทนโดยเปนอะไหลจากคลังวัสดุ หากจําเปนตองปรับแตงเคร่ืองจักรเน่ืองจากเปนการซอมบํารุงแบบฉุกเฉินไมมีการเตรียมงานไวลวงหนา จึงไมสามารถบอกไดวาตองทําอะไรบาง ซึ่งแตกตางจากการซอมบํารุงเมื่อเคร่ืองเสียเน่ืองจากการบํารุงรักษาเมื่อเคร่ืองเสียน้ันมีการเตรียมการไวลวงหนาแลว มีการรายงานวาเคร่ืองเสียสวนใหญทราบโดยทันทีจากอาการที่เคร่ืองเสีย ผูปฏิบัติงานสามารถเตรียมเคร่ืองมือและ ประมาณการไดวาตองใชเวลาในการปฏิบัติงานนานเทาใด ประเภทของการบํารุงรักษาสามารถแบงไดดัง น้ีแสดงในรูป 2.14

Page 12: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

14

รูปที่ 2.14 แสดงการแบงประเภทของการบํารุงรักษาที่มา : เฉลิมพล แกวพะเนาว (2547 : 50)

2.3 การบํารุงรักษาเชิงปองกันโกศล ดีศีลธรรม (2547 : 20) กลาววาเคร่ืองจักรจะมีการสึกหรอจากการใชงานและ

สภาพแวดลอม แมวาจะมีการออกแบบที่ดีเยี่ยมก็ตาม ดังน้ันจึงตองมีการดูแลและตรวจเช็คสภาพตามรอบเวลาเพื่อทําการซอมแซมและปรับต้ัง กอนที่จะเกิดขัดของ รวมทั้งยืดอายุเวลาการใชงานแตการดําเนินการดังกลาวจะตองกระทําในชวงเวลาอันเหมาะสม เพื่อลดผลกระทบตอสายการผลิตกิจกรรมการบํารุงรักษาเชิงปองกัน จึงมีบทบาทที่สําคัญในการปองกันในการเสื่อมสภาพกอนเวลาและลดความสูญเสียจากการขัดของ เชน คาใชจายในการซอมแซม การวางแผนการบํารุงรักษาที่เหมาะสมจะสามารถลดความสูญเสียโดยรวม และเปนการรวมกิจกรรมที่เกี่ยวกับการดูแลรักษา

การบํารุงรักษา (Maintenance)

การบํารุงรักษาแบบมีแผน(Planned maintenance)

การบํารุงรักษาแบบไมมีแผน(Unplanned maintenance)

การซอมบํารุงรักษาแบบฉุกเฉิน(Emergency maintenance)

การบํารุงรักษาขณะเดินเคร่ือง(Running maintenance)

การบํารุงรักษาขณะหยุดเคร่ือง(Shut down maintenance)

การบํารุงรักษาเมื่อเคร่ืองเสีย(Breakdown maintenance)

การบํารุงรักษาเชิงปองกัน(Preventive maintenance)

การบํารุงรักษาเชิงแกไข(Corrective maintenance)

Page 13: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

15

อุปกรณใหมีสภาพที่พรอมใชงาน ดังน้ันการดําเนินกิจกรรมการบํารุงรักษาเชิงปองกันจึงเปนปจจัยสําคัญในการปรับปรุงผลิตภาพโดยรวม

กิจกรรมการบํารุงรักษาเชิงปองกัน และการบํารุงรักษาตามกําหนดการ โดยการบํารุงรักษาเชิงปองกัน เปนกิจกรรมที่มีความสําคัญตอการลดคาใชจายในการบํารุงรักษาและรักษาสภาพการเดินเคร่ืองที่เหมาะสม กอนที่เคร่ืองจะเกิดการขัดของ โดยมีการจัดทําแผนงามตามชวงเวลาเพื่อลดโอกาสของการชํารุด ทําใหเคร่ืองจักรมีความหนาเชื่อถือที่สูงขึ้น โดยมีกิจกรรมที่เกี่ยวของ ไดแกการทําความสะอาด การหลอลื่น การตรวจสอบสภาพเคร่ืองดังน้ันการบํารุงรักษาเชิงปองกัน จึงมุงเนนในการระบุตนตอของปญหาและทําการแกไขกอนที่จะเกิดการ Breakdown ความสัมฤทธิ์ผลของการดําเนินกิจกรรมการบํารุงรักษาเชิงปองกัน จึงขึ้นกับความถี่ของกิจกรรมการตรวจสอบและการดําเนินการแกไข ซึ่งความถี่ของการขัดของเกี่ยวกับความหนาเชื่อถือของอุปกรณที่ใชและการถอดเปลี่ยนชิ้นสวน โดยจะมีการดําเนินการตามแผนที่กําหนดไว เชน การบํารุงรักษาเคร่ืองยนตในเคร่ืองบินโดยสารที่ถูกตรวจเช็คทําความสะอาด และสอบเทียบ เปนประจําตามกําหนดการในแผนเพื่อปญหาขัดของที่อาจเกิดขึ้นขณะทําการบิน ซึ่งกิจกรรมของการบํารุงรักษาเชิงปองกันมีดังน้ี

2.3.1 การดูแลทําความสะอาดเคร่ืองจักรและสิ่งอํานวยความสะดวก โดยสาเหตุหน่ึงของปญหาเคร่ืองจักร ก็คือ ความสกปรกของเคร่ืองจักร ดังน้ันกิจกรรมพื้นฐาน อยาง 5 ส จึงบทบาทที่สําคัญซึ่งบุคลากรในสายการผลิต อยางพนักงานคุมเคร่ืองจะเปนผูดูแลและทําความสะอาดเคร่ืองประจําวัน ทําใหงายตอการคนพบขอบกพรอง

2.3.2 การรักษาเงื่อนไขในการเดินเคร่ืองใหอยูสภาวะท่ีปกติ เน่ืองจากเคร่ืองจักรทุกชนิดไดรับการออกแบบใหทํางานภายใตขอกําหนด โดยมีขอเสนอแนะนําที่ระบุในคูมือปฏิบัติการ ซึ่งสภาพการใชงานเปนตัวแปรที่มีผลตอการเรงการเสื่อมสภาพและการขัดของของเคร่ืองจักร โดยมีปจจัยที่สําคัญ เชน ความเร็ว อุณหภูมิ ความดัน เปนตน ซึ่งกิจกรรมการบํารุงรักษาเชิงปองกัน จะมุงรักษาสภาพการใชงานไมใหเกินขอกําหนด เพื่อเปนการรักษาสภาพเคร่ืองไมใหเสื่อมสภาพกอนกําหนดและยังยืดอายุการใชงาน

2.3.3 การตรวจตามรอบเวลา เพียงแคกิจกรรมการทําความสะอาดเคร่ืองคงไมเพียงพอดังน้ันการตรวจติดตามการปฏิบัติการ จึงเปนการตรวจจับเวลาอาการที่เปนสัญญาณเตือน ซึ่งผูปฏิบัติการจะกําเนินการตรวจเช็คทั้งภายนอกและภายใน โดยการสังเกตและการใหความรูสึกในการตรวจสอบในการผิดปกติ เชน การสั่นสะเทือน ความรอนที่สูงขึ้น เสียง เปนตน สวนการตรวจภายในสามารถดําเนินการโดยตรวจสอบชิ้นสวนภายใน เชน เกียร ลูกปน ถาหากไมมีการตรวจจับอาการหรือปญหาเบื้องตน ก็อาจเกิดปญหาลุกลามจนกอใหเกิดความเสียหายขึ้น ดังน้ันความถี่ของการตรวจจับควรจะกําหนดและพิจารณาอยางรอบครอบ ถาหากทําการตรวจสอบบอยคร้ังก็อาจทํา

Page 14: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

16

ใหเกิดความสูญเปลาของเวลาการเดินเคร่ืองและผลิตภาพของแรงงาน ซึ่งการกําหนดระยะเวลาและความถี่ในการตรวจสอบอาจใชประสบการณและกําหนดการที่จําแนกตามประเภทเคร่ืองจักร ดังน้ี

1. เค ร่ืองจักรที่มีความสําคัญสูง หากมีการหยุดเคร่ื องก็จะสงผลกระทบตอสายการผลิต และใชเวลาในการซอมแซมมาก จึงตองทํากําหนดการตรวจสอบ การทําความสะอาดการหลอลื่น อยางเขมงวด เพื่อปองกันความผิดพลาด

2. เคร่ืองจักรโดยทั่วไปจะมีความถี่ในการตรวจสอบนอย เน่ืองจากเคร่ืองจักรดังกลาวไมกระทบตอสายการผลิตมากนัก

2.3.4 การบันทึกและการจัดเก็บขอมูล จําเปนอยางยิ่งตอการบํารุงรักษาเชิงปองกันโดยเฉพาะการจัดเก็บประวัติการซอมบํารุง ซึ่งจัดวาเปนแหลงขอมูลที่สําคัญที่จะสนับสนุนตอการวางแผน และการจัดทํากําหนดการบํารุงรักษา

2.3.5 การวางแผนเพื่อกําหนดการตารางการบํารุงรักษา การบํารุงรักษาเชิงปองกัน ควรมีการวางแผนลวงหนา ในรายละเอียดโดยใชขอมูลจากประวัติการบํารุงรักษาที่ถูกบันทึก การจัดทําแผนงานจะตองทําอยางรอบคอบ โดยมีการระบุรายละเอียดในแตละกิจกรรมอยางชัดเจน

2.3.6 การฝกอบรมบุคลากร ที่เปนปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินกิจกรรมบํารุงรักษาโดยเฉพาะบุคลากรที่เปนทรัพยากรที่สําคัญ เชน ชางเทคนิคและผูควบคุมงาน ควรไดรับการฝกอบรม ใหสามารถดําเนินกิจกรรมตางๆ อยางเปนระบบ เชน การบํารุงรักษา การตรวจติดตามและการซอมแซม

เปาหมายหลักของการบํารุงรักษาเชิงปองกัน1. เพื่อใหเคร่ืองมีความพรอมใชงานสูงสุด (Maximum availability) โดยหลีกเลี่ยง

ปญหาการเกิด Breakdown และลดเวลาการหยุดเคร่ือง2. รักษาเคร่ืองจักรใหอยูสภาพที่เหมาะสมตอการใชงาน ที่จะสงผลตอคุณภาพของ

สินคา3. ลดอัตราการชํารุดและเสื่อมสภาพของเคร่ืองจักรมีความปลอดภัยตอการใชงาน

ในขณะเดินเคร่ือง4. เพื่อใหเคร่ืองจักรสามารถเดินเคร่ืองอยางเต็มประสิทธิภาพ5. ลดคาใชจายในการซอมแซมและการจัดอุปกรณสํารองใหอยูในระดับที่เหมาะสม

Page 15: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

17

2.4 การปรับปรุงงานมาโนช ริทินโย (2551 : 4-6) กลาววาการปรับปรุงงานคือ การวิเคราะหอยางเปนระบบถึง

ปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการทํางาน การนําหลักของการปรับปรุงงานไปใชเพื่อทําใหขั้นตอนและวิธีการทํางานถูกตองเหมาะสมดียิ่งขึ้นน้ัน จะมีผลในทางการตัดการทํางานที่ไมเกิดประโยชนของคนออกไป ลดจํานวนวัตถุดิบที่ใช ลดจํานวนเคร่ืองจักรและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ เพื่อทําใหการใชเงิน เวลาและกําลังคนมีผลตอบแทนสูงสุด แนวทางที่จะทําใหเกิดการปรับปรุงงาน คือทําใหประหยัดเงิน เวลา และแรงงานหรือกลาวอีกนัยหน่ึง คือทําใหระบบมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นน่ันเอง

2.4.1 เทคนิคการคิดหาวิธีการปรับปรุงแบบ ECRS เปนเทคนิคที่มุงเนนหาแนวทางการออกแบบการทํางานใหดีขึ้น ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี

1.E-Eliminate คือ การตัดทอนงานที่ไมจําเปนออก1) ขั้นตอนการทํางานน้ีมีความสําคัญหรือจําเปนตอการผลิตหรือไม หากไม

สําคัญอีกตอไปสามารถตัดทิ้งได2) ขั้นตอนการทํางานน้ีอาจมีขึ้นเพื่อความสะดวกของพนักงานเทาน้ัน3) ขั้นตอนการทํางานน้ีอาจตัดออกได หากมีการนําเคร่ืองมือหรือเคร่ืองจักรที่มี

ประสิทธิภาพดีกวามาใช2. C-Combion คือ การรวมการทํางานที่คลายคลึงกันเขาดวยกัน

1) รวมขั้นตอนการทํางานที่เขาดวยกันไดหรือไม โดยการออกแบบสถานีทํางานหรือจัดตําแหนงของเคร่ืองมือ เคร่ืองจักรใหม หรือการออกแบบเคร่ืองมือเคร่ืองจักรใหม

2) รวมขั้นตอนการทํางานเขาดวยกันไดหรือไม โดยเปลี่ยนวัตถุดิบใหม หรือออกแบบบางชิ้นสวนของชิ้นงานใหม

3. R-Rearrange คือ การจัดเรียงลําดับของขั้นตอนการทํางานใหม1) ปรับปรุงขั้นตอนการทํางานของบางขั้นตอนใหสั้นลงไดหรือไม2) ปรับปรุงขั้นตอนการทํางานใหงายขึ้นไดหรือไม3) ออกแบบเคร่ืองขนยายใหมไดหรือไม

4.S-Simplify คือ การปรับปรุงวิธีการทํางานใหงายขึ้น1) จัดวางผังการทํางานใหมไดหรือไม2) การออกแบบเคร่ืองมือและอุปกรณใหมไดหรือไม3) การฝกอบรมพนักงานใหมีทักษะมากขึ้นไดหรือไม

Page 16: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

18

2.4.2 การตรวจพิจารณา การตรวจพิจารณาเปนขั้นตอนของการตรวจสอบหาขอบกพรองของการทํางานวิธีเดิมเพื่อหาวิธีการปรับปรุงใหการทํางานน้ันเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพ อันเปนการเพิ่มผลผลิต หลักการของการปรับปรุงงานหรือการทํางานใหงาย คือหลักการ 5W 1H และECRS เพื่อกําหนดมาตรการโตตอบ การเลือกมาตรการที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงความเปนไปไดทางเทคนิค และทางเศรษฐศาสตร ดังตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 การปรับปรุงดวยหลักการของวิศวกรรมอุตสาหการประเด็น สถานะปจจุบัน เหตุผล แนวทางอื่น บทสรุป

1. จุดประสงค(What)

หวังผลอะไรจากวิธีการทํางานใน

ปจจุบัน

ทําไม (Why) หวังผลเชนนั้น

กําจัดทิ้งไดหรือไม(Eliminate)

จุดประสงคคืออะไร

2. สถานที่(Where)

ปจจุบันนี้ทํางานนี้ที่สถานที่ใด

ทําไม (Why)ทํางานที่สถานที่นั่น

รวมสถานที่ทํางานเขาดวยกันไดไหม

(Combine)ทําที่สถานที่ใด

3. ลําดับขั้น(When)

ปจจุบันมีลําดับขั้นตอนการทํางาน

อยางไร

ทําไม (Why) มีลําดับขั้นตอนอยาง

นั้น

สามารถสลับขั้นตอนการทํางาน

ไดไหม(Rearrange)

การทํางานควรมีขั้นตอนอยางไร

4. บุคลากร(Who)

ปจจุบันมอบหมายใหใครทํางานนี้

ทําไม (Why) ใหคนนั้น

คนอ่ืนทําไดไหมควรใหใครเปน

คนทํางานนี้5. วิธีการ

(How)ปจจุบันมีวิธีการทํางานอยางไร

ทําไม (Why) มีวิธีการทํางานอยาง

นั้น

มีวิธีการทํางานที่งายกวานี้หรือไม

(Simplification)

ควรมีวิธีการทํางานอยางไร

ที่มา : มาโนช ริทินโย (2551 : 4-7)

2.5 ผังกางปลา (Fish - Bone )

กิติศักด์ิ พลอยพานิชเจริญ (2550 : 277) กลาววาเปนเคร่ืองมือที่มีประสิทธิผลที่สูงที่สุดในการวิเคราะหจุดบกพรองในงาน

2.5.1 ความหมายของผังกางปลาคือ แผนภาพที่แสดงถึงความสัมพันธอยางมีระบบระหวางผลที่แนนอนประการหน่ึง (อาการของปญหา) และสาเหตุที่เกี่ยวของที่เราตองการเลือกปญหาก็ตอง

5 W 1H ECRS

Page 17: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

19

มีการระดมสมองและชวยกันคิด เสนอความคิดออกมา เมื่อเลือกแกปญหาที่ไดจากแผนภูมิพาเรโตแลวก็นําปญหาน้ันมาแจกแจงวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาเปน 4 ประการ คือ คน (Man)

เคร่ืองจักร (Machine) วิธีการ (Method) วัตถุดิบ (Material)

ดังน้ันผังกางปลาจึงมีความเหมาะสมกับปญหาที่มีความผันแปร สามารถระดมสมองหาสาเหตุไดอยางกวางขวางและครบถวนทําใหทราบสาเหตุของปญหาพรอมที่จะนําไปแกไขตอไปผังกางปลาแสดงดังรูปที่ 2.15

รูปที่ 2.15 แสดงผังกางปลาแบบวิเคราะหความผันแปรที่มา : กิติศักด์ิ พลอยพานิชเจริญ (2550 : 277)

2.5.2 วิธีการสรางผังกางปลา1. ทําการเขาใจกับอาการของปญหาพรอมสังเกตถึงสาเหตุเบื้องตน2. ทําการระดมสมองโดยใชการด ซึ่งกําหนดขั้นตํ่าของความคิดเห็นของสมาชิก3. กําหนดแนวความคิดของสาเหตุ เชน แหลงกําเนิดของสาเหตุ 4M (คน เคร่ืองจักร

วัตถุดิบ และวิธีการ) เปนตน4. นําแผนกระดาษที่ผานการระดมสมองแลวมาจัดกลุมแนวความคิดตามสาเหตุ5. ดําเนินการทบทวน ขอความ ของสาเหตุรากเหงาหรือสาเหตุเบื้องตนที่ระบุใน

แผนภาพสาเหตุและผลดวยการพิจารณาจําแนกสาเหตุตาง ๆ

ปญหา

วัสดุ

เครื่องจักร คน

วิธีการ

Page 18: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

20

2.5.3 ประโยชนของผังกางปลา1. เปนแนวทางในการหาสาเหตุที่ใชวิธีการระดมความคิด ซึ่งสามารถหาสาเหตุได

กวางและไมตกหลน2. เปนการเพิ่มความรูของผูจัดทําในการพัฒนาความคิด เพราะในการทําทุกคร้ัง

จะตองมีการระดมความคิด3. มีการบันทึกเปนระบบแบบแผน สามารถทําการสอบกลับไดดี

2.6 ใบตรวจสอบ (Check Sheet)

กิติศักด์ิ พลอยพานิชเจริญ (2550 : 278) กลาววาเปนเอกสารที่ใชงานสําหรับบันทึกขอมูลซึ่งแยกประเภทหัวขอตาง ๆ แสดงใหเขาใจไดโดยมีรูปแบบการจัดการที่ดี

2.6.1 ความหมายใบตรวจสอบ เปนเคร่ืองมือที่มีประสิทธิผลสูงสุดในการวิเคราะหหาจุดบกพรองในงานคือใบรายการที่เราใชอางอิงสําหรับการตรวจสอบ เปรียบเทียบระบบงานที่เราไดกระทําจริงกับระบบงานที่กําหนดไววางานเปนอยางไร ใบตรวจสอบน้ี สามารถใชสําหรับการเก็บขอมูล ซึ่งจะชวยใหไดขอมูลที่ถูกตองอีกดวย

2.6.2 การออกแบบใบตรวจสอบเราสามารถแบงรายละเอียดขั้นตอนในการออกแบบและจัดทําใบตรวจสอบไดดังน้ี

1. กําหนดเปาหมายในการตรวจสอบ เพื่อเราจะออกแบบใบตรวจสอบใหสามารถใชประโยชนไดอยางเต็มที่ เราตองทราบถึงจุดประสงคที่แทจริงวาเราจะนํา ใบตรวจสอบมาใชตรวจสอบขอมูลอะไรบาง และขอมูลที่เราไดจากการตรวจสอบน้ันจะเอาไปใชทําอะไร เราอาจนําเทคนิคการต้ังคําถามมาชวยในขั้นตอนน้ีก็ได เพื่อใหสามารถหาคําตอบไดงายขึ้น เชน “ปญหาคืออะไร” “ขอมูลอะไรบางที่เรา ตองใชในการวิเคราะหปญหา” “ใครจะเปนคนใชขอมูลน้ี” “ใครมีหนาที่ในการเก็บ ขอมูล” ฯลฯ

2. กําหนดแบบฟอรมสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูล โดยเราจะกําหนดใหหัวขอของขอมูลที่เราตองการทําการตรวจสอบอยูทางดานซายมือของกระดาษ ทางขวามือจะเวนวางไวใหผูตรวจสอบกรอกรายละเอียดได สําหรับเวลาในการตรวจสอบและสถานที่ในการตรวจสอบควรเอาไวบนหัวกระดาษ

3. จัดเก็บขอมูลที่ตองการนํามาใชในการตรวจสอบ ผูทําการรวบรวมขอมูลจะตองทําการบันทึกขอมูลที่เกิดขึ้นจริง

4. รวบรวมขอมูลที่เก็บไดทั้งหมดและนําไปวิเคราะห แสดงตัวอยางใบตรวจสอบไดดังรูปที่ 2.16

Page 19: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

21

แผนตรวจสอบสินคา : ……………….. วันที่ : ……………………..ขั้นตอนการผิต : ตรวจสอบขั้นสุดทาย แผนก : ……………………ชนิดของความบกพรอง : ตําหนิที่ผิวชิ้นงาน,รอยแตก, ชื่อผูตรวจสอบ : …………..

ฉีดไมเต็มชิ้น,รูปรางบิดเบี้ยว ล็อตที่ : …………………….จํานวนชิ้นงานที่ตรวจสอบทั้งสิ้น 1,525 ใบสั่งเลขที่ : ………………

ชนิดของความบกพรอง จํานวนความบกพรอง ผลรวมแตละชนิดบกพรองตําหนิที่ผิวชิ้นงาน //// //// //// // 17รอยแตก //// //// / 11ฉีดไมเต็มชิ้น //// //// //// //// //// / 26รูปรางบิดเบี้ยว /// 3อ่ืน ๆ //// 5

รวมจํานวนความบกพรอง 62 จุดบกพรองจํานวนชิ้นงานที่เปนของเสีย

รูปที่ 2.16 แสดงใบตรวจสอบสําหรับตรวจสอบลักษณะขอบกพรองของผลิตภัณฑที่มา : กิติศักด์ิ พลอยพานิชเจริญ (2548 : 147)

2.6.3 วิธีการสรางใบตรวจสอบ1. กําหนดจุดประสงคการเก็บขอมูลใหชัดเจน2. กําหนดวิธีการรวบรวมขอมูล (ใครเก็บขอมูล ที่ไหน เมื่อไร อยางไร) ตองเกิดจาก

การสังเกตของผูวิเคราะหวาอะไรคือความแตกตาง (ความผันแปร) และความแตกตางน้ันควรมีสาเหตุมาจากอะไร (แหลงความผันแปร)

3. ออกใบตรวจสอบ (ขอมูลนับ ขอมูลวัด หรือแสดงตําแหนง) โดยคํานึงถึงความงายในการในการกรอกขอมูลลงในแบบฟอรม โดยการพิจารณาประเด็นเพื่อการออกแบบใบตรวจสอบจะประกอบดวย สิ่งที่แสดงความแตกตาง (What-อาการของปญหา) ตําแหนงการเกิด(Location)

ที่พิจารณาไดทั้งระดับภูมิทัศนและตําแหนงที่ตัวงาน (Where) เวลาที่เกิด (Timing) ที่พิจารณาถึงเวลา (When)ที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีความผันแปรบุคลากร (Who) และวิธีการ (How) โดยในทุกหัวขอใหตรวจสอบความผันแปรดวยคําถามวาทําไม (Why) และอาจเรียกหลักการของการออกแบบน้ีวา 5W 1H

Page 20: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

22

2.6.4 ประโยชนของใบตรวจสอบเราสามารถนําใบตรวจสอบมาใชในการทํางานหลายประเภท ใบตรวจสอบจะชวยใหเรา

มองเห็นไดชัดเจนขึ้นวาตอนน้ีเราอยูในตําแหนงไหน เชน หากเราใชใบตรวจสอบสําหรับตรวจสอบความกาวหนาของงานที่เราทํา เราจะทราบไดวางานของเรากาวหนาไปถึงจุดไหนแลวเมื่อนํามาเทียบกับแผนที่วางไวแลวดีกวาหรือเลวกวา อีกทั้งยังนํามาชวยในการปรับเปลี่ยนใหแผนการทํางานในชวงเวลาที่เหลือมีความเหมาะสม เพื่อใหงานเสร็จตามกําหนดการและตามเปาหมายที่ ต้ังไวอยางมีประสิทธิภาพใบตรวจสอบยังมีประโยชนในดานของการควบคุมรายละเอียด ใบตรวจสอบที่มีการ ออกแบบมาดีจะสามารถเก็บรายละเอียดตางๆของขอมูล หรือสิ่งที่เราทําการตรวจสอบไดอยางครบถวน ไมเยิ่นเยอออกไป นอกจากน้ีเรายังนําใบตรวจสอบมาใชเปนหลักฐานอางอิงหรือเปนเกณฑในการพิจารณาประสิทธิภาพการทํางานของเราอีกดวย

2.7 ข้ันตอนการบํารุงรักษาเชิงปองกันเฉลิมพล แกวพะเนาว (2547 : 55) กลาววาการบํารุงรักษาเชิงปองกัน หมายถึง การซอม

บํารุงรักษาที่ดําเนินการกอนที่เคร่ืองจักรจะชํารุด หรือเกิดการขัดของ ทั้งน้ีโดยการปรับแตงทดสอบการตรวจตราอยางใกลชิดและมีแผนขั้นตอน รวมทั้งการดําเนินการซอมบํารุงตามกําหนด ไดแกการซอมแซมเปลี่ยนชิ้นสวน การเปลี่ยนหรือการเติมนํ้ามันหลอลื่น การซอมบํารุงที่มีแผนจะสามารถกําหนดการหยุดเคร่ืองจักร เชน ซอมแซมโดยสอดคลองกับแผนการผลิต

2.7.1 การบํารุงรักษาท่ีเปนประจํา1. ประจําวัน2. ประจําสัปดาห3. ประจําเดือน

การบํารุงรักษาประจําสัปดาหและประจําเดือนบางอยางเปนหนาที่ของ Operator และบางอยางเปนหนาที่ของผูที่อยูในหนวยงานบํารุงรักษางานของ Routine maintenance ไดแกงาน

1) การตรวจหาเปนการตรวจสอบสภาพของอุปกรณหรือเคร่ืองจักรวา ทํางานถูกตองตามแผนที่กําหนดไวหรือไม ซึ่งในการตรวจสอบสภาพเคร่ืองจักรน้ัน สิ่งที่ขาดไมไดที่จะใชในการตรวจสอบ คือ สภาพการเดินใชงาน เสียง ความฝด การตอโยง

2) การตรวจสอบสภาพเปนการตรวจสภาพทั่ว ๆ ไป ซึ่งมีลักษณะคอนขางจะกวางกวา Checking แตโดยทั่ว ๆ ไปมักจะกลาวรวมกันเปน Inspection & Checking

3) การแกไขเล็ก ๆ นอย ๆ เชน น็อตหลวม อุปกรณตาง ๆ ไมเขาที่

Page 21: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

23

4) การหลอลื่น5) การปรับแตง เชนตรวจดูวาตรงกับคาที่ Set ไว6) การเอาใจใสตาง ๆ7) อ่ืน ๆ

2.7.2 การซอมตามวาระหรือตามแผนท่ีกําหนดไวลวงหนา มีลักษณะงานอยู 3 ประการคือ1. Minor (Current) Repair คือการซอมเล็ก ๆ นอย ๆ การซอมในขณะน้ัน ซึ่งแยก

ลักษณะออกไดดังน้ี1) เปนงานที่ทําเพื่อใหอุปกรณหรือชิ้นสวนของอุปกรณแตละชิ้นกลับมาทํางาน

ไดเปนปกติเหมือนเดิม2) จะตองเปนการซอมที่งาย ๆ และมีขนาดที่เกี่ยวของกับคนหรือขนาดของงาน

น้ันไมใหญโตนัก3) ทําที่แหลงน้ัน คือ เคร่ืองหรืออุปกรณต้ังอยูที่ใด ก็ดําเนินการซอมตรงจุด4) สามารถทํางานไดขณะที่เคร่ืองไมไดใชงาน เคร่ืองไมเดิน เคร่ืองอาจจะเดินก็

ไดแตยังไมไดรับภาระ (Load)

5) ถาหากจําเปนจะตองหยุดเพื่อการอซอม จะตองไมเกินเวลาที่กําหนดไวในแผนลาวงหนา ขอมูลน้ีสําคัญมากเพราะวาใน Production line น้ัน ถาทําการหยุดเคร่ืองเกินเวลาจากที่กําหนดไว จะทะใหเกิดการขัดของในทุกสิ่งทุกอยางทางโรงงานถือวาเปนเร่ืองที่เสียหายมาก

2. Medium repair งานที่จัดอยูในประเภทน้ีไดแกงาน Minor repair ตาง ๆ ที่ทําโดยชางหนวยซอม ซึ่งไดมีการกําหนดแผนงานไวตาม Schedule และเปนงานที่มีลักษณะดังตอไปน้ี

1) จะตองมีการหยุดเคร่ือง2) งานที่จําเปนตองถอดเคร่ืองออกมา3) เปนการเปลี่ยนซอมวัสดุที่สึกหรอ4) การปรับแตงกลไกลตาง ๆ5) งานที่ตอง Check ตําแหนงของชิ้นสวนอยูในตําแหนงที่ถูกตองหรือไม6) จะตองเปนงานซอมชิ้นสวนของอุปกรณที่มีอายุการใชงาน7) Down time คือเวลาที่หยุดเพื่อซอม จะตองไมเกินเวลาที่กําหนด

3. Major overhaul คือ งานซอมที่มีกําหนดแผนไวลวงหนาและตองงานขนาดใหญซึ่งไดแยกลักษณะงานตาง ๆ ดังน้ี

Page 22: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

24

1) เกี่ยวของกับการถอดชิ้นสวนออกมาหมด คือการร้ือถอนอุปกรณออกจากแทนหรือฐานและการถอดออกมาเปนชิ้นเพื่อเอามาเปลี่ยนซอมและปรับแตงชิ้นสวนตาง ๆ เมื่อถอดชิ้นสวนหรืออุปกรณออกมาแลวจะตองมีการตรวจสอบรายละเอียด เชนสภาพของการสึกหรอและจดบันทึกลักษณะการชํารุดสวนใด ลักษณะไหน

2) Assembling คือเมื่อมีการถอดออกเปนชิ้น ๆ แลวก็ตองมีการประกอบเขาตามเดิม ซึ่งเปนงานที่เราจะตองใชเวลา

3) Testing คือเมื่อผาน Assembling แลวจะตองมีการทดลองเดินเคร่ืองวาใชไดหรือไม ถาใชไมไดก็ตองถอดออกซอมใหมและทดลองเดินเคร่ืองดูจนกวาแนใจวาใชงานได

Page 23: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

25

ขั้นตอนการบํารุงรักษาเชิงปองกันแสดงในรูปที่ 2.17

หนาผูที่รับผิดชอบ Preventive maintenance เอกสารอางอิงflow chart

หัวหนาแผนก Machine name list บัญชีรายชื่อของซอมบํารุง บัญชีรายชื่อเคร่ืองจักรแยกแตละ เคร่ืองจักร

กระบวนการผลิต

หัวหนาแผนก จัดทํารายละเอียดของเคร่ืองจักร ตารางบํารุงรักษาซอมบํารุง แยกเปนเคร่ืองกล - ไฟฟา เคร่ืองจักร(เคร่ืองกล)

เคร่ืองจักร(ไฟฟา)วางแผนการบํารุงรักษา ตารางบํารุงรักษารายวันรายวัน รายเดือน รายป รายเดือน และรายป

หัวหนาแผนกซอมบํารุง สงแผนงาน

ใหผูจัดการพิจารณา เอกสารทั้งหมดและอนุมัติ

หัวหนาแผนก แจกจายแผนงานใหแผนกที่เกี่ยวของ เดือน และรายปซอมบํารุง รับทราบแผนการบํารุงรักษา

หัวหนาแผนกซอม ดําเนินงานตามแผนและเก็บขอมูล ใบประวัติการบํารุงรักษาบํารุงและพนักงาน บันทึกเพื่อเก็บประวัติเคร่ืองจักร เคร่ืองจักร/อุปกรณซอมบํารุง ตารางบํารุงรักษาเคร่ืองจักร

ใบแจงซอมเคร่ืองจักรรูปที่ 2.17 แสดงขั้นตอนการบํารุงรักษาเชิงปองกัน

ที่มา : เฉลิมพล แกวพะเนาว (2547 : 56)

Page 24: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

26

2.8 ระบบการวางแผนและควบคุมงานบํารุงรักษากลาหาญ วรพุทธพร (2542 : 89) กลาววาระบบการวางแผนและควบคุมงานบํารุงรักษา

อาจแสดงขั้นตอนตาง ๆ ไดดังรูป ที่ 2.18

ทะเบียนเคร่ือง รายการบํารุงรักษาปองกัน

ประวัติเคร่ือง แผนบํารุงรักษา

ใบแจง รายการปฏิบัติงาน แผนประจําสัปดาห

ใบสั่งงานบํารุงรักษาปองกัน

ฝายบํารุงรักษา ใบแจง ฝายผลิต

เคร่ืองจักร

รูปที่ 2.18 แสดงระบบวางแผนและควบคุมงานบํารุงรักษาที่มา : กลาหาญ วรพุทธพร (2542 : 89)

2.9 การวัดประสิทธิภาพของการจัดการบํารุงรักษาเฉลิมพล แกวพะเนาว (2547 : 75) กลาววาเปนการเปรียบเทียบทรัพยากรที่ใชไปกับผลที่ได

จากการทํางานวาดีขึ้นอยางไร แคไหน ในขณะที่กําลังทํางานตามเปาหมายขององคกร โดยการวัดประสิทธิภาพ

2.9.1 คาMTBF เปนการวัดถึงความถี่ความเสียหาย (Failure) สามารถแสดงในรูปความสัมพันธ ดังสมการที่ 2.1

เวลาในการเดินเคร่ืองทั้งหมด 2.1จํานวนคร้ังของการหยุดเคร่ือง

MTBF =

Page 25: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

27

2.9.2 คา MTTR คือชวงเวลาการหยุดเพื่อซอมเคร่ือง (Repair) ซึ่งคาดังกลาวน้ันมีความสัมพันธกับคาความพรอม (Availability) ดังสมการที่ 2.2

เวลารวมในการหยุดเคร่ืองเพื่อซอมแซม 2.2จํานวนคร้ังของการหยุดเคร่ือง

2.9.3 ความพรอมใชงาน (Availability : A) วัดรูปสัดสวนของระยะเวลาที่เคร่ืองจักรสามารถเดินเคร่ืองหรือเวลาในการรับภาระงานของเคร่ืองหักเวลาที่สูญเปลา (Down time) เทียบกับเวลาที่เคร่ืองจักรสามารถเดินเคร่ืองได แสดงเปนเปอรเซ็นตถาหากคาที่วัดไดมีสัดสวนสูง แสดงถึงความมีสมรรถนะสูงสามารถคํานวณความพรอมดังแสดงในสมการ 2.3

A =เวลารับภาระงาน – เวลาสูญเปลา

เวลารับภาระงาน ×100 2.3

2.9.4 ประสิทธิภาพเชิงสมรรถนะ (Performance efficiency : PE) ที่แสดงเปนสัดสวนของเปอรเซ็นตสามารถคํานวณไดดังแสดงในสมการ2.4

(รอบเวลาทางทฤษฎี × จํานวนชิ้นงานที่ผลิตได)เวลาทํางานจริง

2.9.5 สัดสวนทางคุณภาพ (Quality rate : QR) หรือเรียกวา คา Yield เปนการวัดประสิทธิภาพของกระบวนการและเคร่ืองจักรในการผลิตสินคา ซึ่งวัดในรูปสัดสวนของดีที่ผลิตได(Good output) เทียบกับจํานวนผลิตผลทั้งหมด (Processed amount) สามารถคํานวณหาไดดังแสดงในสมการ 2.5

(จํานวนผลิตผลทั้งหมด – จํานวนผลผลิตที่เสีย)จํานวนผลิตผลทั้งหมด

2.9.6 คา OEE เปนมาตรวัดผลโดยรวมของเคร่ืองจักร และบงชี้ของการใชสินทรัพยทุน(Capital asset) โดยรวม ทั้งยังใชตรวจสอบและแกไข โดยมุงปรับปรุงในสวนของพารามิเตอรที่มีสัดสวนตํ่าที่สุดเพื่อให ประสิทธิผลโดยรวมสูงขึ้น ซึ่งมาตรวัดดังกลาวเปนผลลัพธที่ไดจากความสัมพันธของตัวแปรสามารถคํานวณหาไดดังแสดงในสมการ 2.6

OEE = (ความพรอมใชงาน×ประสิทธิภาพเชิงสมรรถนะ×สัดสวนทางคุณภาพ) ×100 2.6

× 100 2.5QR =

× 100 2.4

MTTR =

PE =

Page 26: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

28

2.10 มาตรฐานการปฏิบัติงานและการจัดทํามาตรฐานจําลักษณ ขุนพลแกว (2546 : 204) กลาวางานที่ทําหรือปฏิบัติอยูทุกวันน้ันยังเปนวิธีที่

เหมาะสมอยูหรือไดมาตรฐานหรือไม จะตองมีการนําเสนอขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหมาประกอบพิจารณาทบทวนที่ตองปรับปรุงแกไขเพื่อใหไดมาตรฐานและตองจัดทําเปนคูมือเพื่อใหทุกคนยึดถือและปฏิบัติเหมือนกันและในแนวเดียวกัน

2.10.1 ความหมายของมาตรฐาน คือ สิ่งที่ทุกคนยึดถือปฏิบัติที่เปนไปแบบเดียวกันอาจบรรยายเปนขอความหรือรูปภาพ โดยทําใหเกิดความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานที่สอดคลองกับ4M1E ไดแก คน (Man) เคร่ืองจักร (Machine) วัสดุที่ใช (Material) วิธีการทํางาน (Method)

และสภาพแวดลอม (Environment) ซึ่งสงผลตอคุณภาพ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยทั้งที่ตองกําหนด รูปแบบ ผูจัดทํา ผูอนุมัติ และ วันที่ใชงาน

2.10.2 ประเภทของมาตรฐานมาตรฐานสามารถแบงไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ

1. มาตรฐานผลิตภัณฑ (Product standard) เปนมาตรฐานที่จะกําหนดขึ้นเพื่อใหแนใจวาผลิตภัณฑดังกลาวจะมีคุณลักษณะและคุณสมบัติเปนไปในแบบเดียวกันทั้งหมด เชนบัตรเครดิตมีขนาด ความหนา และตําแหนงของแถบแมเหล็กจะถูกกําหนดไวเปนมาตรฐานไมเชนน้ันสิ่งที่เกิดขึ้น คือ ผูถือบัตรอาจใชงานไดกับเคร่ืองเบิกเงินสด (ATM) ไดในบางเคร่ืองแตไมสามารถใชกับบางเคร่ืองได

2. มาตรฐานระบบ (System standard) เปนมาตรฐานที่จัดทําขึ้นมาเพื่อที่จะสรางความเชื่อมั่นวาปจจัยที่สําคัญในการผลิต (4M1E) เปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดทุกประการมาตรฐานระบบที่เรารูจักกันดีน้ัน ไดแก ระบบคุณภาพ ISO 9000 ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมISO 14000 เปนตน ทั้งน้ีการที่มีระบบน้ี ไมไดหมายความวาผลิตภัณฑที่ไดจะเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑแตเปนการรับรองระบบการทํางาน

เพื่อใหการทํางานและการบริหารงานภายในเปนไปอยางมีระบบและอยูในระดับที่นาเชื่อถือ ประกอบดวยมาตรฐาน 2 ประเภทดังน้ี มาตรฐานกระบวนการ

1) มาตรฐานทางเทคนิค (Technical standard) คือ มาตรฐานที่บงบอกถึงคุณลักษณะของบางสิ่งบางอยาง ทั้งคุณสมบัติทางกายภาพ (รูปทรง ขนาด นํ้าหนัก) และ คุณสมบัติทางเคมี โดยเกี่ยวของกับหนาที่การใชงาน เชน มาตรฐาน วัตถุดิบ มาตรฐานเคร่ืองจักร เปนตน

2) มาตรฐานกระบวนการ (Process standard) คือมาตรฐานที่บงบอกถึงขั้นตอนการปฏิบัติงาน การขออนุญาตหรือการขออนุมัติรวมไปถึงการสั่งถอนหรือยกเลิก เชนมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานการบํารุงรักษาเคร่ืองจักร และ มาตรฐานการผลิต เปนตน

Page 27: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

29

2.10.3 การจัดทํามาตรฐานเพื่อใหไดมาตรฐานในการใชงานที่ถูกตองและเหมาะสมสิ่งที่ตองทํา ไดแก

1. การฝกอบรม เพื่อใหพนักงานทั่วไปสามารถรูถึงระบบการควบคุมเอกสารตาง ๆเชน การจัดทํามาตรฐานใหม การกําหนดรหัสเอกสาร วิธีการใชงาน และการแกไขเมื่อพบขอบกพรองที่เกิดขึ้น

2. การฝกอบรมที่ทําใหพนักงานเขาใจเกี่ยวกับเน้ือหาของเอกสารน้ัน ๆ เพื่อใหพนักงานสามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตองเหมาะสมและรูจักขอควรระวังในจุดตรวจสอบที่สําคัญ

3. การทดสอบภาคทฤษฎีก็เพื่อใหแนใจวาพนักงานรูและเขาใจสาระสําคัญของมาตรฐานน้ัน

4. การทดสอบปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาที่พนักงานผานการฝกอบรมและไดปฏิบัติงานควรจะมีหัวหนางานที่มีประสบการณคอยเฝาติดตามดูแลตลอดระยะเวลาน้ัน ๆ จนกวาจะปฏิบัติงานไดถูกตอง

5. การทดสอบภาคปฏิบัติ ควรจะกําหนดระยะเวลาการทดลอง เพื่อทดสอบวาผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติไดตามมาตรฐานที่กําหนดโดย ไมมีความจําเปนที่ตองคอยควบคุมดูแลหรือชี้แนะตลอดเวลา แตถาการทดลองมีระยะเวลาที่นานเกินกวาที่กําหนดควรจะฝกอบรมซ้ํา

6. เมื่อใดที่จะมีการแกไขมาตรฐานก็ควรมีการชี้แจงใหพนักงานทราบ ถึงขอมูลรายละเอียดที่มีการแกไขเอกสารใหม กรณีที่มีการแกไขสาระสําคัญและมีการแกไขที่คอนขางมากจะสงผลกระทบตอพนักงาน ควรเรียกพนักงานทั้งหมดมาฝกอบรมกับมาตรฐานใหมอีกคร้ัง ควรปรับปรุงมาตรฐานใหมีความทันสมัยอยูเสมอ เพื่อกอใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยูเสมอ การปรับปรุงมาตรฐานใหดีขึ้นอยูเสมอสามารถทําไดจาก 2 วิธี ดังน้ี

1) การแกไขตามแผนงานเปนการกําหนดระยะเวลาไวลวงหนา เพื่อใหทบทวนรายละเอียดของเอกสารมาตรฐานตาง ๆโดยเฉพาะมาตรฐานที่ไมไดมีการแกไขเปนระยะเวลานานทั้งน้ีคณะทํางานตองเปนผูที่มีความรูเกี่ยวกับมาตรฐานน้ันและผูที่ใชมาตรฐานดังกลาว

2) การแกไขเมื่อพบขอบกพรองของเหตุการณที่ไมคาดคิด โดยมากเกิดกอนถึงกําหนดเวลา ควรมีการเรียกประชุมผูเกี่ยวของเพื่อแกไขโดยทันที

การแกไขมาตรฐานใหมควรจะมีใบบันทึกประวัติการแกไข เพื่อใหงายตอการสืบคนประวัติ รวมทั้งวันที่ทําการแกไข วันที่อนุมัติ วันที่ถูกตองและใชงานจริง รายละเอียดของการแกไขมาตรฐานการปฏิบัติที่ดีควรมีลักษณะดังน้ี

Page 28: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

30

2.1) ความเปนไปไดของการปฏิบัติ น่ันหมายความวา ถาหากมีมาตรฐานของการปฏิบัติงานที่เขียนขึ้นแลวไมมีทางปฏิบัติไดตามมาตรฐานหรือวิธีการปฏิบัติงานดังกลาวถูกละเลยที่สุด

2.2) ตองไมตีความหมายที่ตางกัน มาตรฐานใดที่เขียนไมชัดเจน หรือ ใสขอความที่ตีความหมายไดกวาง อาจทําใหมีการตีความหมายแตกตางกันของผูปฏิบัติงานทําใหผลการปฏิบัติงานไมเปนไปตามแบบเดียวกัน

2.3) ตองไมมีวิธีที่นําไปสูอันตรายการปฏิบัติงานอาจทําใหเกิดความเสี่ยงทั้งผูปฏิบัติงานและโรงงาน ยอมไมมีใครอยากปฏิบัติงาน

2.4) ตองมีความสอดคลองระหวางมาตรฐานใหมกับมาตรฐานที่ใชอยูในปจจุบันเพราะการจัดทํามาตรฐานใหมที่มีโครงสราง รายละเอียดที่ตางออกไปทําใหผูปฏิบัติงานสับสนและไมเขาใจ

2.5) มีระบบการควบคุมที่ดี ใหรูวามีการแกไขเกิดขึ้นและงายตอการสืบคนเมื่อมาตรฐานการปฏิบัติงานไดรับการแกไข แตไมมีสิ่งใดบอกวามาตรฐานไดถูกรับการแกไขแลวหรือสื่อสารใหคนที่ตองใชมาตรฐานน้ันทราบ ผูปฏิบัติงานไมสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่ไดรับการแกไขน้ันได

2.11 ขอบกพรองและการแกไขแมพิมพชาลี ตระการกูล (2539 : 132) กลาววาขอบกพรองตาง ๆ ตอไปน้ีของชิ้นงาน เกิดจากการ

ออกแบบแมพิมพผิดพลาด ในแตละขอจะบอกขั้นตอนการแกไข โดยมีขอแมวา พลาสติกหลอมอยางเหมาะสมในชุดหลอมพลาสติกของเคร่ืองฉีด และตัวในการฉีดเชน แรงดันฉีด แรงดันตามแรงดันเพิ่ม อัตราการฉีด และแรงประกบแมพิมพ ไดต้ังไวถูกตองแลว

2.11.1 นํ้าพลาสติกร่ัวระหวางหัวฉีดกับปลอกรูฉีด1. รูของหัวฉีดและปลอกรูฉีดอยูเยื้องกัน ใหตรวจสอบดูแหวนประครอง2. แรงดันประกบหัวฉีดกับปลอกรูฉีดไมพอ ใหตรวจความสม่ําเสมอของแรงดันโดย

ใชกระดาษบางหากการประกบถูกตองจะเกิดรอยสม่ําเสมอบนกระดาษ3. รัศมีของหัวฉีดและปลอกเขากันไมได4. รูหัวฉีดกวางกวารูที่ปลอกรูฉีด

2.11.2 ไมสามารถปลด Sprue ออกได Sprue ขาด Sprue มี Undercut เน่ืองจาก1. รัศมีของหัวฉีดและปลอกรูฉีดเขากันไมได2. หัวฉีดและปลอกรูฉีดอยูเยื้องกัน

Page 29: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

31

3. รูหัวฉีดกวางกวารูที่ปลอกรูฉีด4. ขัดผิวรูของปลอกรูฉีดไมดีพอ มีรองอยูในแนวเสนรอบวง

2.11.3 Sprue ยังไมเปนพลาสติกแข็งเน่ืองจาก1. ปลอกรูฉีดใหญเกินไป Sprue จึงหนาเกินไป2. การหลอเย็นบริเวณปลอกรูฉีดไมเพียงพอใหตรวจดูอุณหภูมิแมพิมพ

2.11.4 ไมสามารถปลดชิ้นงานได (a) ชิ้นงานติดอยูกับคาวิตี้1. Sprue และ Runner มี Undercut ใหตรวจดูรัศมีของหัวฉีดและปลอกรูฉีดหา

จุดบกพรองบนผิวคาวิต้ีแลวขัดผิวบริเวณน้ันใหมและลบมุมคม2. อุณหภูมิคาวิต้ีตํ่าเกินไป เกิดสุญญากาศใหตรวจความเรียว (Taper) และการระบาย

อากาศ2.11.5 ไมสามารถปลดชิ้นงานได (b) ชิ้นงานชํารุดในระหวางปลด

1. Undercut ลึกเกินไป2. ตัวกระทุงวางอยูในตําแหนงที่มีผลเสียตอการสงผานแรงกระทุง ทําใหแรงมาก

เกินไป3. ใหตรวจสอบหาจุดบกพรองบนผิวคาวิต้ี4. เกิดสุญญากาศ ใหตรวจความเรียว

2.11.6 ชิ้นงานไมเต็ม1. Runner ยาวเกินไปหรือแคบเกินไปหรือทั้งสองอยางใหขยายระบบ Runner

2. การในคาวิต้ีมีการสะดุดเน่ืองจากความยาวหรือความหนาผนัง3. Gate แคบเกินไป4. คอรเอียงไปดานใดดานหน่ึง5. การระบายอากาศในแมพิมพไมเพียงพอ6. อุณหภูมิแมพิมพตํ่าเกินไป

2.11.7 ชิ้นงานมีครีบแลบ (Flash)

1. ผิวเสนแบงประกบกันไมสนิทเกิดความเสียหายที่ผิวเน่ืองจากพลาสติกติดคางอยูใหปรับแตงผิวใหม

2. แรงประกบแมพิมพออนเกินไป พื้นที่ภาพฉายของชิ้นงานใหญเกินไป3. คอรไปดานใดดานหน่ึง ทําใหผนังไมเทากัน4. อุณหภูมิแมพิมพสูงเกินไป

Page 30: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

32

2.11.8 รอยไหมท่ีชิ้นงาน1. พลาสติกรอนจัดเมื่อไหลผาน Gate แคบ2. การระบายอากาศในแมพิมพไมเพียงพอ3. พลาสติกไหลยอนกลับ

2.11.9 ชิ้นงานผิดรูป1. วางตําแหนง Gate ผิด ชนิดของ Gate ไมเหมาะสม2. อุณหภูมิแมพิมพไมสม่ําเสมอหรือไมถูกตอง3. ความรอนผนังชิ้นงานแตกตางกันมาก ตองใชวงจรหลอเย็นมากกวาหน่ึงวงจร

2.11.10 ชิ้นงานมีรอยยุบ (Sink mark)

1. Runner และ Gate มีขนาดเล็กเกินไป2. ระบบ Runner กลายเปนพลาสติกแข็งกอนที่จะไดรับแรงดันตามใหตรวจสอบดู

อุณหภูมิแมพิมพ3. ผนังชิ้นงานมีความหนาตางกันมาก

2.11.11 มองเห็นเสนรอยตอ (Weld line) ท่ีชิ้นงาน1. วางตําแหนง Gate ไมดี2. ใช Gate ชนิดไมเหมาะสม3. หนาตัดของ Gate ผิดรูป ใหขยายขนาด Gate

4. การระบายอากาศในแมพิมพไมดีพอ5. การหลอเย็นในแมพิมพไมสม่ําเสมอใหเพิ่มอุณหภูมิแมพิมพ

2.11.12 ผิวชิ้นงานแตกเปนสะเก็ด (Scaling)

1. อุณหภูมิของนํ้าพลาสติกและแมพิมพมีความแตกตางกันมากเกินไป ใหเพิ่มอุณหภูมิแมพิมพและขยายขนาดของ Runner และ Gate

2.11.13 พลาสติกท่ีใกลGate มีสีเพี้ยน1. อุณหภูมิแมพิมพสูงเกินไป ใหขยายขนาดของ Runner และ Gate ทําที่ดักเศษ

พลาสติก (Cold slug well)

2.11.14 ผิวชิ้นงานหยาบไมเปนมัน1. ใหตรวจดูอุณหภูมิแมพิมพ2. ขยายขนาด Runner และ Gate

3. ใหลบมุมที่คาวิต้ีและคอร4. ใหขัดผิวแมพิมพใหม

Page 31: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

33

2.11.15 ชิ้นงานเปราะแตกงาย1. ใหตรวจดูอุณหภูมิแมพิมพ ขยายขนาด Runner และ Gate

2. ทําที่ดักเศษพลาสติก (Cold slug well)

2.11.16 ผิวชิ้นงานเปนลายคลื่น1. ใหลดอุณหภูมิแมพิมพ

2.12 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไขชัยรัตน แกวดวง (2539 : 14-5) กลาววาขอบกพรองที่เกิดในสวนของชิ้นงานเกิดจากการ

ออกแบบแมพิมพผิดพลาดในแตละขอจะแสดงบอกขอบกพรอง ลักษณะที่ปรากฏ สาเหตุและขั้นตอนการแกไข ดังตารางที่ 2.2ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไขขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

เน้ือพลาสติกไมสะอาด

มีสิ่งแปลกปลอมซึ่งมีสีเทาเปนเงา

สิ่งแปลกปลอมน้ันถูกชะหลุดมาจากทอสงภาชนะและกรวยปอนเม็ดพลาสติก(Hopper)

ไมควรใชทอสง ภาชนะและกรวยปอนเม็ดพลาสติกที่ทําจากอลูมิเนียม หรือแผนเหล็กเคลือบดีบุก ควรใชเหล็กแสตนเลสทอควรมีความตรงมากที่สุด

เสนดีดําหรือสีเพี้ยนไป

ฝุนหรือสิ่งสกปรก รักษาถังอบแหงใหสะอาดทําความสะอาดชุดกรองอากาศเสมอเปดและปดถุงหรือภาชนะบรรจุเม็ดพลาสติก อยางระมัดระวัง

เสนสีหรือชั้นที่อยูใกล sprue ซึ่งดูตางจากเน้ือพลาสติกสวนใหญ

มีพลาสติกชนิดอ่ืนปนอยู

แยกชนิดของพลาสติกไมอบพลาสติกตางชนิดรวมกัน ทําความสะอาดชุดหลอมพลาสติกตรวจดูวามีสิ่งแปลกปลอมในอุปกรณอ่ืนหรือไม

Page 32: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

34

ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไข (ตอ)ขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

สิ่งแปลกปลอมในเม็ดพลาสติกที่ไดจากการอบเม็ดพลาสติก

เหมือนกับที่พบในการใชเม็ดพลาสติกใหม

สิ่งแปลกปลอมถูกขัดสีหลุดมาจากเคร่ืองที่ใชบดเศษพลาสติก

ตรวจดูเคร่ืองบดพลาสติกอยางสม่ําเสมอเพื่อหาจุดที่มีการขัดสีและเสียหาย แลวซอมแซมหากจําเปน

ฝุนหรือสิ่งสกปรก เก็บเศษพลาสติกใหปลอดจากฝุนทําความสะอาดชิ้นสวนพลาสติกที่จะนํามาบด ไมใชชิ้นสวนพลาสติกที่เสื่อมสภาพซึ่งมีความชื้น

มีพลาสติกชนิดอ่ืนปนเปอนอยู

เก็บพลาสติกตางชนิดใหแยกออกจากกัน

เกิดจากความชื้น เสนรูปตัวยูวางตามยาวในเสนทางการไหล

ความชื้นที่มีอยูในเม็ดพลาสติกมากเกินไป

ตรวจดูเคร่ืองอบหรือกรรมวิธีการอบเม็ดพลาสติก พิจารณาความเหมาะสมที่ใชในการอบแหง

เสนสีเทา แถบสีดําหรือเทาอยูกระจัดกระจายอยางไมเปนระเบียบ

การสึกหรอของชุดหลอดพลาสติก

เปลี่ยนชุดหลอดพลาสติกทั้งชุด หรือชิ้นสวนที่สึกหรอหรือใชชุดหลอมพลาสติกที่มีการเคลือบผิวเพื่อปองกันการสึกหรอและสึกกรอนทางเคมี

รอยมันเงา เปนเสนยาวมีความมันเงา

นํ้าพลาสติกรอนเกินไปเน่ืองจากอุณหภูมินํ้าพลาสติกสูงเกินไปเวลาที่อยูในกระบอกฉีดนานเกินไป หรือ เกลียวที่เคลื่อนที่เร็วเกินไปหัวฉีดและ Runner

แคบเกินไป

ตรวจวัดอุณหภูมิของนํ้าพลาสติก ใชเกลียวที่มีเสนผาศูนยกลางพอเหมาะลดความเรียวของเกลียว

ขยายรูที่หัวฉีดและเสนผาศูนยกลางของ Runner

ใหกวางขึ้น

Page 33: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

35

ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไข (ตอ)ขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

เสนซึ่งดักอากาศไว

เสนยาวคลุมพื้นที่กวางโปรงใส อาจเห็นเปนฟองอากาศดวย

อัตราความเร็วในการฉีดพลาสติกสูงเกินไปมีฟองอากาศถูกกักไว

ลดอัตราความเร็วในการฉีดพลาสติก

แรงดันกลับตํ่าเกินไป เพิ่มแรงดันกลับเปนแนวแคบสีดําหรือเพี้ยนไปอยูใกลเสนทางการไหล

มีการดักอากาศไวในคาวิต้ี

ปรับปรุงชองระบายอากาศของแมพิมพโดยเฉพาะที่ใกลกับสวนที่ตํ่ากวา (ครีบ ปุมตัวหนังสือ) แกไขทางไหลใหถูกตอง (ความหนาผนังตําแหนง Gate สวนที่ชวยในการไหล)

สีผิวมัว มีฝุนผงหรือเม็ดที่ละเอียดมากปนอยู

การสึกหรอของชุดหลอมพลาสติก

เหมือนขอที่ผานมา (เสนซึ่งดักอากาศไว)

เกิดผิวที่สีมัว ชุดหลอมพลาสติกมีสิ่งสกปรกปนอยู

ทําความสะอาดชุดหลอมพลาสติก

มัว มีสีเพี้ยน เกลียวเคลื่อนที่เร็วเกินไป

ลดอัตราเร็วของเกลียว

ผงสีดํา ขนาดเล็กกวา 1mm2 จนถึงมองดวยตาเปลาไมเห็น

ชุดหลอมพลาสติกมีการสึกหรอ

เหมือนขอที่ผานมา (สีผิวมัว)

ขนาดใหญกวา 1mm2

ผิวของเกลียวและกระบอกฉีดเกิดการเสียหายและแตกเปนสะเก็ดหลุดออกมา

ทําความสะอาดชุดหลอมพลาสติก ใชชุดที่มีการเคลือบผิวเพื่อปองกันการสึกกรอนทางเคมีสําหรับ PC

และ PC ผสมใหปรับต้ังคาความรอนที่กระบอกฉีดที่160 ~ 180 OC ในระหวางหยุดฉีด

Page 34: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

36

ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไข (ตอ)ขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

รอยไหม แถบสีนํ้าตาลผิดไปจากสีของชิ้นงาน

อุณหภูมิของนํ้าพลาสติกสูงเกินไป

ตรวจและลดอุณหภูมินํ้าพลาสติกตรวจชุดควบคุมอุณหภูมิ

นํ้าพลาสติกอยูในกระบอกฉีดนานเกิดไป

ลดรอบเวลาการฉีดใชชุดหลอมพลาสติกที่มีขนาดเล็กลง

การกระจายของอุณหภูมิในตัวเคร่ืองHot-runner ไมเหมาะสม

ตรวจอุณหภูมิของ Hot-runner

ชุดควบคุมอุณหภูมิ และเทอรโมคับเปล

แถบสีนํ้าตาลเกิดทุกระยะเวลาหน่ึง

การสึกหรอของชุดฉีดพลาสติก หรือมีจุดที่อุดตัน

ตรวจกระบอกฉีด เกลียววาลวกันกลับ และผิวอุดกันร่ัว เพื่อหาสวนที่สึกหรอและจุดที่อุดตัน

ชิ้นสวนของชุดหลอมเม็ดพลาสติก และ Hot-

runner ไปขวางทางไหล

ขจัดอุปสรรคของการไหล

อัตราเร็วในการฉีดสูงเกิดไป

ลดอัตราเร็วในการฉีด

Delamination ผิวที่ใกลกับSprue

เกิดการลอกเปนสะเก็ดออกมา(โดยเฉพาะพลาสติกผสม)

ที่มีสิ่งแปลกปลอมหลุดเขามารวมตัวกันเปนเน้ือพลาสติกไมได

ทําความสะอาดชุดหลอมพลาสติก ตรวจดูวัสดุที่ใชไมใหมีสิ่งแปลกปลอม

จุดดาน จุดคลายกํามะหยี่ที่บริเวณใกลกับSprue

การไหลของนํ้าพลาสติกในระบบ Gate

ใกลจุดเปลี่ยนและทางผานถูกรบกวน (ผิวพลาสติกชั้นนอกที่แข็งตัวแลวถูกเฉือนลอกออกไป)

ดัดแปลง Gate หลีกเลี่ยงขอบที่คม เฉพาะบริเวณที่ตอระหวางGate กับคาวิต้ีทําสวนโคงมนกับจุดเปลี่ยนใกลกับ Runner

และสวนที่หนาของผนังเปลี่ยนอยางหักมุม แลวขัดเงา ฉีดพลาสติกเปนขั้นตอนชา-เร็ว

Page 35: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

37

ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไข (ตอ)ขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

รองวงกลมหรือวงแหวน

รองที่มีความละเอียดมากบนผิวชิ้นงาน (เชนPC) หรือวงแหวนสีเทา (เชน ABS)

การไหลมีความตานทานมากในแมพิมพจนนํ้าพลาสติกหยุดชะงักอุณหภูมินํ้าพลาสติกและอัตราการฉีดพลาสติกตํ่าเกินไป

เพิ่มอุณหภูมิของนํ้าพลาสติกและแมพิมพ เพิ่มอัตราเร็วในการฉีดพลาสติก

Cold slug เม็ดพลาสติกขนาดเล็กๆที่เย็นตัวแลวถูกดักไวในผวิชิ้นงาน

อุณหภูมิของหัวฉีดตํ่าเกินไป รูที่หัวฉีดเล็กเกินไป

ใชแผนใหความรอนที่มีกําลังมากขึ้น ติดเทอรโมคัปเปลและตัวควบคุมที่หัวฉีด เพิ่มขนาดรูที่หัวฉีด ลดการหลอเย็นที่Sprue bush เลื่อนหัวฉีดจากSprue bush ใหเร็วขึ้น

โพรงและรอยยุบตัว

โพรงอากาศกลมหรือยาว มองเห็นไดแตในพลาสติกใส การยุบตัวของผิวชิ้นงาน

ไมมีการชดเชยปริมาตรในระหวางชวงของการหลอเย็น

เพิ่มเวลาการใหแรงดันตามเพิ่มขนาดแรงดันตาม ลดอุณหภูมินํ้าพลาสติก เปลี่ยนอุณหภูมิแมพิมพ (ในกรณีของการเกิดโพรงตองเพิ่ม และในกรณีของการยุบตัวตองลด) ตรวจสอบสวนที่เปนแองรับนํ้าพลาสติกเพิ่มขนาดรูที่หัวฉีดและ Gate

การออกแบบชิ้นงานฉีดพลาสติกไมถูกตอง เชนมีความแตกตางของความหนาผนังมากเกินไป

ออกแบบชิ้นงานใหม หลีกเลี่ยงสวนที่มีการเปลี่ยนแปลงความหนาของผนังอยางหักมุม และสวนที่มีการสะสมนํ้าพลาสติกเลือกขนาดและรูปรางหนาตัดRunner และ Gate ใหเหมาะสมกับชิ้นงาน

Page 36: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

38

ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไข (ตอ)ขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

ฟอง คลายกับ Void

แตมีเสนผานศูนยกลางเล็กกวาและมีจํานวนมากกวา

ความชื้นที่มีอยูในนํ้าพลาสติกมีมากเกินไปและมีความชื้นเหลือคางอยูในเม็ดพลาสติก

อบเม็ดพลาสติกใหแหงที่สุดถาจําเปนใหใชเกลียวที่มีการระบายกาชแทนที่เกลียวธรรมดา และใชพลาสติกที่อบแหงมากอน ตรวจเคร่ืองอบและกรรมวิธีการอบ และใชเคร่ืองที่อบดวยอากาศแหงหากจําเปน

Jetting นํ้าพลาสติกซึ่งไหลเขาไปในคาวิต้ีกอนจะปรากฏเปนรอยใหเห็นที่ผิวชิ้นงาน

การวางตําแหนงและขนาดของ Gate ไมเหมาะสม

ปองการเกิด Jetting โดยยายGate ไปไวที่อ่ืน (ฉีดไปชนผนัง)หรือเพิ่มขนาดของ Gate

อัตราการฉีดพลาสติกสูงเกินไป

ลดอัตราการฉีดพลาสติกหรือฉีดตามขั้นตอนชา – เร็ว

อุณหภูมินํ้าพลาสติกตํ่าเกินไป

เพิ่มอุณหภูมินํ้าพลาสติกและแมพิมพ

ฉีดไมเต็ม การไหลเขาเติมคาวิต้ีไมสมบูรณโดยเฉพาะปลายเสนทางการไหลหรือใกลจุดที่มีผนังบาง

พลาสติกมีการไหลที่ไมดีพอ

เพิ่มอุณหภูมินํ้าพลาสติกและแมพิมพ

อัตราการฉีดพลาสติกตํ่าเกินไป

เพิ่มอัตราการฉีดพลาสติกและ/หรือแรงดันฉีด

ชิ้นงานมีผนังบางเกินไป เพิ่มความหนาผนังชิ้นงานหัวฉีดและแมพิมพแนบกันไมสนิทพอ

เพิ่มแรงดันในการสัมผัสหัวฉีดตรวจรัศมีความโคงของหัวฉีดและ Sprue bush ตรวจการรวมศูนย (Centering)

เสนผานศูนยกลางของGate และ Runner เล็ก

เพิ่มขนาดของ Gate และRunner

การระบายอากาศแมพิมพไมเพียงพอ

ปรับปรุงการระบายอากาศ

Page 37: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

39

ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไข (ตอ)ขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

Weldstrength

พลาสติกที่ไหลมาบรรจบกัน มองเห็นเปนรอยตอไดอยางชัดเจน

การไหลของพลาสติกไมดีพอ

เพิ่มอุณหภูมิของนํ้าพลาสติกและแมพิมพ ยาย Gate ไปไวที่อ่ืนจําเปนเพื่อปรับปรุงสภาพการไหลใหดีขึ้น

อัตราการฉีดพลาสติกตํ่าเกินไป

เพิ่มอัตราการฉีดพลาสติก

ความนาของผนังบางเกินไป

เพิ่มความหนาของผนังชิ้นงาน

การระบายอากาศในแมพิมพไมเพียงพอ

ปรับปรุงการระบายอากาศในแมพิมพ

ชิ้นงานเกิดการโคงงอ

ชิ้นงานไมมีความราบเรียบ มีการบิดและสวมเขาดวยกันไมได

ความหนาของผนังแตกตางกันมาก อัตราการไหลภายในแมพิมพมีขนาดตางกันมากและOrientation ของเสนใยแกว

ออกแบบชิ้นงานใหมเปลี่ยนตําแหนง Gate

อุณหภูมิของแมพิมพไมเหมาะสม

ใหความรอนของแมพิมพทั้งสองสวนจนมีอุณหภูมิเทากัน

จุดที่มีการเปลี่ยนจากการฉีดเต็มคาวิต้ีไปเปนการใหแรงดันตามน้ันทําไมถูกตอง

แกไขจุดเปลี่ยนใหเหมาะสม

ชิ้นงานติดแนนกับแมพิมพ

จุดดาน เปนแองรูปรางคลายน้ิวมือหรือใบไมสี่แฉกมีความมันเงา อยูบนผิวชิ้นงาน (โดยทั่วไปอยูใกล Sprue)

ผนังคาวิต้ีบางสวนมีความสูงเกินไป

ลดอุณหภูมิของแมพิมพปรับปรุงการควบคุมอุณหภูมิของแมพิมพในบริเวณที่เกิดปญหา

ปลดชิ้นงานเร็วเกินไป เพิ่มรอบเวลาการฉีด

Page 38: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

40

ตารางที่ 2.2 ขอบกพรองของชิ้นงานฉีดพลาสติกและวิธีแกไข (ตอ)ขอบกพรอง ลักษณะท่ีปรากฏ สาเหตุ วิธีแกไข

ปลดชิ้นงานไมได หรือชิ้นงานเสียรูปเมื่อปลด

ชิ้นงานติดขัดเมื่อจะทําการปลดหรือถูกกระทุงจนทะลุ

แมพิมพรับแรงเกินมีundercut สึกเกินไปการขัดเงาคาวิต้ีทําไดไมดีพอในสวนผิวที่เปนปกครีบ หรือ ปุม

ลดอัตราการฉีดพลาสติกและแรงดันตาม ไมใหมี Undercut

ขัดผิวของคาวิต้ีใหดีขึ้น และทําการขัดเงาในทิศทางตามยาว

เกิดสูญญากาศขึ้นระหวางชิ้นงานกับแมพิมพ ในปลดชิ้นงาน

ปรับปรุงการระบายอากาศ

มุมลาดเอียงเล็กเกินไป เพิ่มขนาดของมุมลาดเอียง(Draft angle)

แมพิมพเกิดการยุบตัวและคอรมีการขยับเน่ืองจากแรงดันฉีด

เพิ่มความแข็งแรง(Stiffness)

ของแมพิมพ และจับยึดคอรใหเหมาะสม

ปลดชิ้นงานเร็วเกินไป เพิ่มรอบเวลาในการฉีดเกิดครีบแลบ นํ้าพลาสติกซึมเขา

ไปในชองวางของแมพิมพ เชนที่ผิวประกบแมพิมพ(Parting surface)

แรงดันในคาวิต้ีสูงเกินไป

ลดอัตราการฉีดและแรงดันตามเลื่อนจุดที่เปลี่ยนจากชวงฉีดไปเปนชวงแรงดันตาม ใหไปขางหนา

ผิวประกบแมพิมพเสียหายเน่ืองจากเกิดOver packing

ทําการปาด และเจียระไนผิวประกบใหม

การประกบหรือยึดแมพิมพทําไมดีพอ

เพิ่มแรงประกบแมพิมพหรือเคร่ืองฉีดที่มีขนาดใหญขึ้นอีก

ผิวชิ้นงานหยาบและดาน(เกิดกับเทอรโมพลาสติกที่เสริมใยแกว)

อุณหภูมินํ้าพลาสติกตํ่าเกินไป

เพิ่มอุณหภูมิของนํ้าพลาสติก

แมพิมพเย็นเกินไป เพิ่มอุณหภูมิของแมพิมพติดแผนฉนวนกันความรอนไวที่แมพิมพ ใชชุดใหความรอนที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น

ที่มา : ชัยรัตน แกวดวง (2539 : 14-5)

Page 39: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

41

2.13 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของอนุพงษ ปราณีตพลกรัง (2550) เพื่อศึกษาแนวทางในการลดการหยุดเคร่ืองอยางกะทันหัน

ของเคร่ืองฉีดพลาสติก โดยการประยุกตใชเทคนิคการบํารุงรักษาเชิงปองกัน จากการรวบรวมขอมูลยอนหลังเปนระยะเวลา 6 เดือน ต้ังแตเดือนกรกฎาคม 2548 ถึง เดือนธันวาคม 2548 กอนนําการประยุกตใชเทคนิคการบํารุงรักษาเชิงปองกันมาใช พบวา เคร่ืองฉีดพลาสติกหยุดกะทันหันมีจํานวนคร้ังการหยุดของเคร่ืองจักรเทากับ 48 คร้ัง คิดเปนเวลาชํารุดเทากับ 290.45 ชั่วโมง มีคาเวลาเฉลี่ยในการซอม 6.05 ชั่วโมงตอคร้ัง มีเวลาเฉลี่ยระหวางเหตุขัดของ 74.75 ชั่วโมงตอคร้ัง และประสิทธิผล เทากับ 65.82 เปอรเซ็นต

หลังจากนําการประยุกตใชเทคนิคการบํารุงรักษาเชิงปองการมาใช จากการรวบรวมขอมูล6 เดือน ต้ังแตเดือนกรกฎาคม 2549 ถึง เดือนธันวาคม 2549 พบวาการขัดของของเคร่ืองจักรดังน้ี

1.มีจํานวนคร้ังการหยุดของเคร่ืองจักรเทากับ 28 คร้ัง คิดเปนเวลาชํารุดเทากับ 97.30ชั่วโมง

2.มีคาเวลาเฉลี่ยในการซอมเคร่ืองจักรลดลงเหลือ 3.47 ชั่วโมงตอคร้ัง3.คาเวลาเฉลี่ยระหวางเหตุขัดของเพิ่มขึ้นเปน 128.14 ชั่วโมงตอคร้ัง4.ประสิทธิผลโดยรวมของเคร่ืองจักรเพิ่มขึ้นเปน 78.90 เปอรเซ็นตนิกร ชาติเผือกและคณะ(2550) เพื่อจัดระบบการบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive

maintenance : PM) ผลสรุปโครงการการจัดระบบการบํารุงรักษาเชิงปองกัน พบวา คาเวลาเฉลี่ยการทํางานของเคร่ืองจักรกอนชํารุด (MTBF) เพิ่มขึ้น 68.63% คาเวลาเฉลี่ยการซอมเคร่ืองจักร(MTTR) ลดลง 22.38 เปอรเซ็นต และคาประสิทธิผลโดยรวมของเคร่ืองจักร (OEE) เพิ่มขึ้น 4.85เปอรเซ็นต

บรรจบ มิ่งโอโล และคณะ (2546) เพื่อจัดทําการบํารุงรักษาเคร่ืองจักรโดยวิธีการบํารุงรักษาแบบทวีผลที่ทุกคนมีสวนรวม Total productive maintenance (TPM) กรณีศึกษาเทคโนโลยีการผลิต ขั้นตอนการดําเนินงาน คือศึกษาขอมูลและสํารวจเคร่ืองจักร กําหนดเคร่ืองจักรกําหนดเคร่ืองจักรที่ใชเก็บขอมูล สรางแบบฟอรมเพื่อใชเก็บขอมูลการบํารุงรักษาเคร่ืองจักร เก็บขอมูลวิเคราะหผล

ผลจากโครงการการจัดทําระบบการรักษาแบบทวีผลที่ทุกคนมีสวนรวม เมื่อพิจารณาจากอัตราการมีสวนรวมของนักศึกษา พบวาเปอรเซ็นตเฉลี่ยอัตราการมีสวนรวมการบํารุงรักษาเคร่ืองจักรกลเพิ่มขึ้นเปนลําดับ โดยอัตราการมีสวนรวมจากกอนการทํา TPM ในเดือนพฤศจิกายนพ.ศ. 2545 เปนจํานวน 3.46 เปอรเซ็นต และหลังการทํา TPM ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 เปน

Page 40: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

42

จํานวน 38.01 เปอรเซ็นต และเดือนมกราคม พ.ศ. 2546 เปนจํานวน 50.86 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกอนการทํา TPM กับหลังการทํา TPM อัตราการมีสวนรวมเพิ่มขึ้น 47.40 เปอรเซ็นตและการพิจารณาการบํารุงรักษาตามแผน พบวาเปอรเซ็นตการบํารุงรักษามากที่สุดคือ เคร่ืองเชื่อมไฟฟา 100 เปอรเซ็นต และนอยที่สุดคือ เคร่ืองเจียระไนราบ 71.44 เปอรเซ็นต โดยเฉลี่ยคาบํารุงรักษาเคร่ืองจักรทั้ง 7 ชนิด คือ 87.97 เปอรเซ็นตหลังจากการดําเนินงานสงผลใหทุกคนเกิดความรูความเขาใจและมีสวนรวมการบํารุงรักษาเคร่ืองจักร สรางจิตสํานึกของบุคลากรใหเห็นความสําคัญการบํารุงรักษา เพื่อยืดอายุการใชงานเคร่ืองจักรและเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของเคร่ืองจักร

จีรศักด์ิ แกวพิภพ และคณะ (2542) เปนการจัดวางระบบการบํารุงรักษาแบบทวีผลที่ทุกคนมีสวนรวม และเก็บขอมูลครุภัณฑเคร่ืองจักรกลยอนหลัง 5 ป นับต้ังแต พ.ศ. 2537-พ.ศ. 2542 ของภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ และคณะเทคโนโลยีการผลิตประกอบดวย 3 แผนกวิชา คือแผนกวิชาชางกลโรงงาน แผนกวิชาชางผลิตเคร่ืองมือและแมพิมพ และแผนกวิชาชางโลหะ โดยทําการออกแบบแบบฟอรมการบํารุงรักษาครุภัณฑเคร่ืองจักรกล เพื่อใชในการจัดเก็บขอมูลการบํารุงรักษาของครุภัณฑเคร่ืองจักรกล และจัดวางระบบการบํารุงรักษา ซึ่งไดทดรองจัดเก็บขอมูลครุภัณฑเคร่ืองจักรกลแผนกวิชาละ 5 เคร่ือง

ขอมูลการบํารุงรักษาและขอมูลครุภัณฑเคร่ืองจักรกลยอนหลัง 5 ป จะจัดเก็บลงในโปรแกรมการบํารุงรักษาที่เขียนขึ้นโดยใชโปรแกรม Visual foxpro 6.0 ซึ่งเปนผลิตภัณฑของบริษัทไมโครซอฟท ที่สามารถทํางานไดบน Windows 95 และ Windows 98 สําหรับโปรแกรมการบํารุงรักษาที่ เขียนขึ้นมาสามารถบันทึกขอมูลผานทางหนาจอ และขอดูขอมูลผานทางเคร่ืองพิมพเอกสารไดอีกดวย

เกริกฤทธิ์ ขวัญมา และคณะ (2548) เพื่อจัดระบบการบํารุงรักษาเชิงปองการ (Preventivemaintenance: PM) เพื่อลดเวลาสูญเปลาที่เกิดจากเคร่ืองจักรเสีย (Down time) กรณีศึกษาบริษัทนิชิกาวา เตชาพลาเลิศ รับเบอร จํากัด มีขั้นตอนการดําเนินงาน คือ ศึกษาขอมูลการซอมบํารุงกําหนดเคร่ืองจักรที่ใชในการจัดเก็บขอมูลทั้งหมด 218 เคร่ือง เปนเคร่ืองสําหรับเชื่อมตอมุมเสนยางเก็บขอมูล วิเคราะหสาเหตุที่ทําใหเคร่ืองจักรหยุดทํางานและเวลาสูญเปลาที่เกิดจากเคร่ืองจักรเสียทําแผนการบํารุงรักษาเคร่ืองจักรโดยแบงเปน 3 ชวง แผนการบํารุงรักษาประจําสัปดาหประจําเดือน ประจําป สรางแบบฟอรมเก็บขอมูลการบํารุงรักษาเคร่ืองจักร เก็บขอมูลและวิเคราะหผล โดยใชเวลาสูญเปลาที่เกิดจากเคร่ืองเสีย (Down time) คาเวลาเฉลี่ยการใชงานของเคร่ืองจักรกอนชํารุด (MTBF) คาเฉลี่ยการซอมเคร่ืองจักร (MTTR) และคาประสิทธิผลโดยรวมของเคร่ืองจักร (OEE) เปนดัชนีชี้วัดผลเปรียบเทียบ

Page 41: บทที่ 2  การออกแบบแม่พิมพ์@41

43

ผลสรุปโครงการการจัดระบบการบํารุงรักษาเชิงปองกัน พบวา เวลาสูญเปลาที่เกิดจากเคร่ืองจักรเสีย (Down time) ลดลง 71.18 เปอรเซ็นต คาเวลาเฉลี่ยการทํางานของเคร่ืองจักร กอนชํารุด (MTBF) เพิ่มขึ้น 152 เปอรเซ็นต คาเวลาเฉลี่ยการซอมเคร่ืองจักร (MTTR) ลดลง 32เปอรเซ็นต และคาประสิทธิผลโดยรวมของเคร่ืองจักร (OEE) เพิ่มขึ้น 057 เปอรเซ็นต

วีรพจน ธรรมจารี และคณะ (2549) เพื่อจัดระบบการบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive

maintenance: PM) เพื่อลดจํานวนการหยุดของเคร่ืองจักร เวลาเฉลี่ยในการซอมเคร่ืองจักรและเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของเคร่ืองจักร กรณีศึกษาบริษัท ผลิตทอพีวีซี มีขั้นตอนการดําเนินงานคือ ศึกษาของมูลของเคร่ืองจักร กําหนดเคร่ืองจั กรในการเก็บขอมูลทั้งหมด 6สายการผลิตเปนเคร่ืองจักรในแผนก Extruder เก็บขอมูลวิเคราะหสาเหตุที่ทําใหเคร่ืองจักรหยุดการทํางาน และเวลาสูญเปลาที่เคร่ืองจักรหยุดทํางาน จัดทําแผนการบํารุงรักษาเคร่ืองจักรโดยพนักงานที่ปฏิบัติงานประจําแผนกซอมบํารุงเปนผูตรวจเช็ค และแกไขแบบฟอรมการบํารุงรักษาเคร่ืองจักร ประจําสัปดาห ประจะเดือน ประจําป เก็บขอมูล และวิเคราะหผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินการบํารุงรักษาเชิงปองกัน พบวา สามารถลําจํานวนการหยุดของเคร่ืองจักรลดลงได 100 เปอรเซ็นต เวลาเฉลี่ยในการซอมเคร่ืองจักรลดลงได 100 เปอรเซ็นต และคาความพรอมในการใชงานของเคร่ืองจักรเพิ่มขึ้น 0.4 เปอรเซ็นต