รายงานผลการปฏิบัติตาม...

Post on 29-Jan-2020

5 views 0 download

Transcript of รายงานผลการปฏิบัติตาม...

รายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของ มาตรการป้องกัน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

โครงการ ท่าเทียบเรือ หมายเลข 8A, 8B และ 8C

ต ำบลบำงหญ้ำแพรก อ ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปรำกำร

ของ

บริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน)

และ

บริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด

จัดท าโดย

บริษัท เอ็น แอนด์ เอ คอนซัลแตนส์ จ ากัด

กรกฎาคม 2555

- 1 -

รายงานผลการปฏบิัติตามเงื่อนไขของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

1. ค าน า

รายงานฉบับนี้ท าขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ของท่าเทียบเรือหมายเลข 8A, 8B และ 8C ริมฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยาของบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด รายงานฉบับนี้เป็นรายงานประจ าไตรมาสที่ 2ของปี 2555

2. ความเป็นมาของการจัดท ารายงาน

ในปี 2532 ทางบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด ได้มีโครงการจะก่อสร้างเพื่อเชื่อมท่า 8A และ 8B กับท่า 8C โดยให้หน้าท่าของท่าเรือทั้ง 3 เสมอกันเพื่อความปลอดภัยในการเทียบท่าของเรือสินค้า ในการนี้ได้มีการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของท่าเรือส่วนขยายดังกล่าว และรายงานฯฉบับดังกล่าวได้รับอนุมัติเห็นชอบจากส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากกรมเจ้าท่าหน่วยงานผู้ออกใบอนุญาตก่อสร้างท่าเรือ ไม่อนุมัติการก่อสร้างท่าเรือส่วนขยายดังกล่าว ดังนั้นจึงไม่ได้มีการก่อสร้างท่าเรือส่วนขยาย

3. รายละเอียดโครงการโดยสังเขป

3.1 ที่ต้ังโครงการ

ท่าเทียบเรือหมายเลข 8A 8B และ 8C ของบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด ที่ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ าเจ้าพระยาตรงช่วงกิโลเมตรที่ 19-20 ในเขตต าบลบางหญ้าแพรก อ าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ด้านหน้าของพื้นที่จรดถนนปู่เจ้าสมิงพราย ดังแสดงในรูปที่ 1 แผนที่แสดงที่ต้ังโครงการ

3.2 ประเภทและขนาดของท่าเทียบเรือ

ท่าเทียบเรือ 8A มีความยาวหน้าท่า 205 เมตร เชื่อมติดกับท่าเทียบเรือ 8B ที่มีความยาวหน้าท่า 110 เมตร ส่วนท่า 8C มีความยาวหน้าท่า 231 เมตร ดังรูปที่ 1 ท่าเทียบเรือแห่งนี้สามารถรองรับเรือขนาดถึง 25,000 ตันกรอสส์

- 2 -

ที่มา : แผนที่แม่น้ าเจ้าพระยา กองการส ารวจร่องน้ า ฝ่ายการร่องน้ า การท่าเรือแห่งประเทศไทย, 2542

รูปที่ 1 : แผนที่แสดงที่ตั้งโครงการ

ที่ตั้งโครงการ

- 3 -

อนึ่งบนพื้นที่โครงการนอกเหนือจากท่าเรือ จะมีโกดังเก็บสินค้า อาคารส านักงาน และโรงงานของบริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด รูปที่ 2 แผนผังโครงการโดยสังเขป

3.3 สินค้าและวิธีการขนถ่าย

สินค้าหลักที่ขนถ่ายในปัจจุบันประกอบด้วย

ข้าวสาลี ที่น ามาผลิตแป้งสาลีโดยน าเข้ามาจากต่างประเทศ ขนส่งมาในลักษณะ bulk จากระวางเรือจะมี bucket elevator ตักข้าวสาลีส่งขึ้นสู่ chain conveyor เพื่อล าเลียงเข้าเก็บที่ไซโล

ไม้แปรรูป น าเข้าจากต่างประเทศ จะมัดมาเป็นมัด จากระวางเรือสินค้า Crane ของเรือจะยกมัดไม้ขึ้นวางบนกระบะรถบรรทุก หรือบนพื้นหน้าท่า จากนั้นรถ fork lift จะท าการยกมัดไม้ขึ้นวางบนกระบะรถบรรทุก หรือน าไปเก็บกองบนพื้นที่ซึ่งจัดเตรียมไว้ส าหรับไม้แปรรูป

เหล็กแผ่นและเหล็กม้วน การขนถ่ายจากระวางเรือสินค้าจะใช้ Crane ของเรือ หรือถ้าเป็นเรือล าเลียงจะใช้รถยก (mobile crane) ท าการยกขึ้นจากระวางเรือ ไปวางบนกระบะรถบรรทุกเพื่อน าไปส่งให้เจ้าของสินค้า

กากถั่วเหลือง, กากถั่วลิสง, กากองุ่น และกากเมล็ดดอกทานตะวัน ขนส่งมาในลักษณะ bulk และบรรจุกระสอบ โดยที่เป็น bulk จะขนถ่ายจากระวางเรือโดยใช้ Grab ของเรือตักขึ้นใส่กระบะรถบรรทุก ส่วนที่บรรจุกระสอบจะใช้ crane ของเรือ ล าเลียงจากระวางเรือใส่กระบะรถบรรทุก

โซดาแอช บรรจุมาในถุงขนาด 1 ตัน ซึ่งเรียกว่าถุง Jumbo จากระวางเรือจะใช้ Crane ของเรือยกถุงสินค้าขึ้นไปวางบนกระบะรถบรรทุกที่จอดรออยู่บนท่าเรือ

ปุ๋ยเคมี ขนส่งมาในรูปบรรจุถุง ในกรณีที่ขนส่งมาโดยเรือสินค้าจะใช้ crane ของเรือสินค้าในการขนถ่ายสินค้าขึ้นจากเรือ แต่ถ้าเป็นเรือล าเลียงจะใช้แรงงานคนแบก

3.4 ระบบควบคุมและป้องกันมลพิษ

(1) การหกหล่น รั่วไหล และการฟุ้งกระจาย ในการขนถ่ายสินค้าที่ขนส่งมาในรูป bulk จะได้มีการปูผ้าใบระหว่างเรือสินค้า-หน้าท่า เพื่อไม่ให้สินค้าหกหล่นลงแม่น้ า และจะมีคนงานประจ าหน้าท่าคอยเก็บกวาดท าความสะอาด

(2) การป้องกันอัคคีภัย บนพื้นที่โครงการมีระบบท่อน้ าดับเพลิงขนาด 4 นิ้ว และมีท่อแยกขนาด 2 นิ้ว พร้อม fire hydrant ตามจุดต่างๆ และตามโกดังมีตู้สายดับเพลิง (fire hose cabinet) ซึ่งประกอบด้วยสายดับเพลิงยาว 20 เมตร พร้อมหัวฉีด และถังดับเพลิงแบบมือถือขนาด 15 ปอนด์ ดังแสดงในรูปที่ 3 ตู้สายน้ าดับเพลิงทางด้านข้างอาคาร

นอกจากนี้ทางบริษัทฯ ได้จัดให้มีการซ้อมแผนปฏิบัติการฉุกเฉินปีละ 1-2 ครั้ง

- 4 -

รูปที่ 2

: แผน

ผังโครงการแสด

งจุดเก็บ

ตัวอย่

างน้ า

- 5 -

รูปที่ 3 : ตู้สายน้ าดับเพลิงทางด้านข้างอาคาร

- 6 -

3.5 ระบบสาธารณูปโภค

(1) ระบบไฟฟ้า ไฟฟ้าส าหรับกิจกรรมต่างๆ ได้มาจากการไฟฟ้านครหลวง

(2) น้ าใช้ บริษัทฯ ใช้น้ าประปา และน้ าบ่อบาดาล

3.6 ระบบระบายน้ าและระบบบ าบัดน้ าเสีย

น้ าเสียจากห้องน้ าและห้องส้วมจะบ าบัดด้วยระบบบ่อเกรอะ/บ่อซึม ส่วนการระบายน้ าริมถนนภายในโครงการ และ/หรือรอบตัวอาคารจะมีรางระบายน้ ารูปตัวยูพร้อมบ่อพักเป็นระยะดังแสดงในรูปที่ 4 ภาพถ่ายรางรายบายน้ า ระบายลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยาบางส่วน และท่อระบายน้ าริมถนนปู่เจ้าสมิงพรายบางส่วน

3.7 การจัดการขยะมูลฝอย

ขยะจากกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ จะเก็บรวบรวมรอให้รถขยะของเทศบาลส าโรงใต้จัดเก็บไปท าการก าจัดเป็นประจ าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง รูปที่ 5 ภาพถ่ายรถขยะของเทศบาลส าโรงใต้ ที่เข้ามาเก็บขยะของโครงการไปท าการก าจัด

3.8 การคมนาคม

การจราจรจากกิจกรรมการขนส่งสินค้าเข้า-ออกพื้นที่โครงการโดยรถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ จะมีปริมาณเฉลี่ยประมาณ 120 คัน/วัน โดยใช้เส้นทางถนนปู่เจ้าสมิงพรายที่ผ่านหน้าพื้นที่โครงการ

3.9 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ทางบริษัทฯ จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น และอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลส าหรับพนักงานขณะขนถ่ายสินค้า มียามรักษาการณ์ตลอด 24 ชั่วโมง มีการตรวจสุขภาพพนักงานประจ าปีและพนักงานแรกเข้า มีการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีภัยจากอาคาร และมีคณะกรรมการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตามที่กฎหมายก าหนด

4. มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ในรายงาน EIA ฉบับดังกล่าวได้มีการก าหนดมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และตารางที่ 1 สรุปมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ทางบริษัทฯ ได้ด าเนินการ

อนึ่งแต่เดิมสินค้าที่ขนถ่ายที่ท่าเรือประกอบด้วย สินค้าจ าพวกข้าวโพด และมันส าปะหลังด้วย ซึ่งในช่วงนั้นทางบริษัทฯได้มีมาตรการติดตามตรวจสอบทั้งคุณภาพน้ าและคุณภาพอากาศ แต่ต่อมา ในปี 2534 ทางท่าเรือได้ยกเลิกขนถ่ายผลิตภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดปัญหาคุณภาพอากาศคือ ข้าวโพด และมันส าปะหลัง ที่มีปัญหาการฟุ้งกระจายของฝุ่น ดังนั้นการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมของโครงการตามเงื่อนไขแนบท้ายใบอนุญาตใช้ท่าเทียบเรือในแต่ละปีของช่วงหลังนี้ จะมีเฉพาะการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ าจากบ่อพักสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนระบายลงแม่น้ าเจ้าพระยา จ านวน 3 จุด ตามที่แสดงไว้ในรูปที่ 2

- 7 -

รูปที่ 4 : รางระบายน้ าริมถนนข้างอาคาร

- 8 -

รูปที่ 5 : ภาพถ่ายรถขยะของเทศบาลส าโรงใต้ที่เข้ามาเก็บขยะของโครงการ

ตารางที่ 1 : สรุปมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

มาตรการฯ การปฏิบัตติามมาตรการฯ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข

มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1. เพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นมันระหว่างการขนถ่าย

สินค้ า ได้มี การก าหนดมาตรการลดผลกระทบดังต่อไปนี ้ ในการขนถ่ายมันอัดเม็ดลงเรือทุกครั้ง ที่ปลาย

conveyor ให้ติดตั้ง Flexible Chute และกระโปรงผ้าใบ

ก่อนการขนถ่ายสินค้าเจ้าหน้าที่ของบริษัทฯ ต้องตรวจอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ที่ต้องใช้ในการขนถ่ายสินค้าให้อยู่ในสภาพที่ดี และไม่ช ารุด

คนงานและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่อยู่ในบริเวณท่าเทียบเรือระหว่างการขนถ่ายมันอัดเม็ด ต้องสวมใส่ผ้าปิดจมูกและปาก

2. หลีกเลี่ยงการจอดรถบรรทุกที่บรรทุกสินค้ามาส่งที่โกดังของบริษัทฯ ที่ริมถนนปู่เจ้าฯ พยายามจัดให้รถบรรทุกที่รอลงสินค้าเหล่านี้เข้าจอดในบริเวณพื้นที่โครงการ

- ไม่ได้ปฏิบัติ - ก่อนการขนถ่ายสินค้าจะมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบอุปกรณ์

และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าให้อยู่ในสภาพที่ดี

- ไม่ได้ปฏิบัติ - ทางบริษัทฯ จัดให้รถบรรทุกที่มาส่ง/รับสินค้าที่โกดัง

ของบริษัทฯ จอดรถรอบนพื้นที่โครงการ ไม่มีการจอดรอบนถนนปู่เจ้าฯ รูปที่ 6 ภาพถ่ายลานจอดรถของโครงการ

- บริษัทฯ ยกเลิกการขนถ่ายมันส าปะหลัง (อัดเม็ด และ

มันเส้น) และข้าวโพดมาตั้งแต่ปี 2534

--- - บริษัทฯ ยกเลิกการขนถ่ายมันส าปะหลัง (อัดเม็ด และ

มันเส้น) และข้าวโพดมาตั้งแต่ปี 2534

---

- 9 -

- 10 -

รูปที่ 6 : ภาพถ่ายลานจอดรถของโครงการ

ตารางที่ 1 : สรุปมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

มาตรการฯ การปฏิบัตติามมาตรการฯ ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข

มาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอ้ม 1. ฝุ่นละออง

ตรวจวัดปรมิาณฝุ่นละอองบนพื้นที่โครงการและพื้นที่ข้างเคียง จ านวน 4 จุด ดังนี ้- จุดที่ห่างจากบริเวณที่มีการขนถ่ายมันส าปะหลัง

ในรัศมี 4 เมตร - จุดที่ห่างจากบริเวณที่มีการขนถ่ายมันส าปะหลัง

ในรัศมี 50 ม. - บริเวณหลังอาคารส านักงาน - ที่วัดท้องคุ้ง โดยให้มีความถี่ในการตรวจวัดปีละ 2 ครั้ง ช่วงเดือนพฤษภาคม -ตุลาคม และช่วงเดือนพฤศจิกายน -เมษายน

2. คุณภาพน้ าทิ้ง ตรวจวัดคุณภาพน้ าบริเวณบ่อพักสุดท้ายของ

ระบบระบายน้ าก่อนระบายลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยา จ านวน 3 จุด โดยดัชนีคุณภาพน้ าประกอบด้วย pH, BOD, SS, น้ ามันและไขมัน

- ไม่ได้ปฏิบัติ - ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ าเป็นประจ าทุก 3 เดือน

ดังรายละเอียดในตารางที่ 2

- บริษัทฯ ยกเลิกการขนถ่ายมันส าปะหลัง (อัดเม็ด และ

มันเส้น) และข้าวโพดที่จะมีการฟุ้งกระจายของฝุ่นมาตั้งแต่ปี 2534

---

- 11 -

- 12 -

ตารางท่ี 2 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ าท้ิงที่บ่อพักน้ าทิ้งของระบบระบายน้ า

บริษัท ยูไนเต็ด ฟลาวมิลล์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ยูไนเต็ด เกรนส์ จ ากัด ช่วงปี 54 สถานที่เก็บตัวอย่าง บ่อพักน้ าทิ้งสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนปล่อยลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยา

pH BOD (มก / ล.) SS (มก / ล.) Oil & Grease (มก / ล.)

ต.ย. ที่ 1 มี.ค.54 7.1 8.1 31 1.2 พ.ค. 7.5 3.0 29 4.8 ก.ย. 7.5 4.8 43 0.4 ธ.ค. 7.6 3.6 33 2.4 มี.ค. 7.2 8.4 30 3.6 พ.ค.55 1/ 7.6 5.1 26 2.8 ต.ย. ที่ 2 มี.ค.54 7.1 6.0 28 1.2 พ.ค. 7.5 5.4 19 3.6 ก.ย. 7.5 3.6 41 0.8 ธ.ค. 7.3 4.8 25 3.2 มี.ค. 7.2 7.2 31 1.6 พ.ค.55 1/ 7.4 4.5 22 1.2 ต.ย. ที่ 3 มี.ค.54 7.1 5.4 33 0.8 พ.ค. 7.3 6.6 48 0.6 ก.ย. 7.4 4.5 37 1.2 ธ.ค. 7.2 7.8 29 1.2 มี.ค. 7.2 5.7 35 1.6 พ.ค.55 1/ 7.3 3.3 21 2.0

ค่ามาตรฐานฯ * 5.5-9 20 50 <5.0

1/ ตัวอย่างน้ าเก็บเมื่อวันที ่ 29 พฤษภาคม 2555 โดยนายดุษฎี หงอสกุล * มาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากแหล่งก าเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรม ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

5. ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ า

การเก็บตัวอย่างน้ าจากบ่อพักสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนระบายลงแม่น้ าเจ้าพระยาจ านวน 3 บ่อ ได้กระท าเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2555 โดยการเก็บตัวอย่างครั้งนี้เป็นการเก็บตัวอย่างน้ าครั้งที่ 2 ของปี 2555 ต าแหน่งของการเก็บตัวอย่างได้แสดงไว้ในรูปที่ 2 , รูปที่ 7 เป็นภาพถ่ายของการเก็บตัวอย่างน้ า

ตารางที่ 2 แสดงผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้ า ซึ่งส าหรับการตรวจวัดครั้งที่ 2 ของปี 2555 สามารถสรุปได้ว่า pH ของตัวอย่างน้ าจากทั้ง 3 บ่อ มีค่า 7.6, 7.4 และ 7.3 ตามล าดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากแหล่งก าเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมที่ก าหนดให้มีค่า 5.5-9 ส่วน BOD5 ซึ่งเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความสกปรกของตัวอย่างน้ า ค่ามาตรฐานฯก าหนดให้มีค่าไม่มากกว่า 20 มก/ล. ส าหรับน้ าทิ้งจากบ่อพักทั้งสามมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกล่าวคือ 5.1 , 4.5 และ 3.3 มก./ล. ส าหรับบ่อพักที่ 1, 2 และ 3

- 13 -

ตามล าดับ ส่วนปริมาณสารแขวนลอยที่มาตรฐานฯ ก าหนดให้มีค่า 50 มก/ล. น้ าทิ้งจากบ่อพักทั้งสามมีค่า 26, 22 และ 21 มก./ล. ตามล าดับ ซึ่งตัวอย่างน้ าจากบ่อพักทั้ง 3 บ่อ มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯ นอกจากนี้ น้ ามันและไขมันที่บ่อพักที่ 1, 2 และ 3 มีค่า 2.8, 1.2 และ 2.0 มก./ล. ตามล าดับ ในขณะที่มาตรฐานฯ ก าหนดให้มีค่าไม่เกิน 5 มก/ล. ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าคุณภาพน้ าของตัวอย่างน้ าจากบ่อพักสุดท้ายของระบบระบายน้ าก่อนระบายลงแม่น้ าเจ้าพระยาทั้ง 3 บ่อ ประจ าไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 มีค่าดัชนีคุณภาพน้ าซึ่งประกอบด้วย pH, BOD, ปริมาณสารแขวนลอย และน้ ามันและไขมันอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯ

ส าหรับผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ าในช่วงปี 2554 และสองไตรมาสของปี 2555 จะพบว่าในการเก็บตัวอย่างน้ าจ านวน 18 ตัวอย่าง มีค่าดัชนีคุณภาพน้ าประกอบด้วย pH มีค่าอยู่ในช่วง 7.1-7.6 BOD มีค่าอยู่ในช่วง 3.0-8.4 มก/ล., ปริมาณสารแขวนลอย (SS) อยู่ในช่วง 19-48 มก./ล. และ Oil & Grease มีค่าอยู่ในช่วง 0.4-4.8 มก/ล. ซึ่งดัชนีคุณภาพน้ าทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฯ รูปที่ 8 - รูปที่ 11 กราฟแสดงผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ าของโครงการเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานฯ

- 14 -

รูปที่ 7 : การเก็บตัวอย่างน้ าเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2555

- 15 -

รูปที่ 8 : ผลการตรวจวเิคราะห์ pH ของตัวอย่างน้ า

รูปที่ 9 : ผลการตรวจวเิคราะห์ BOD ของตัวอย่างน้ า

- 16 -

รูปที่ 10 : ผลการตรวจวิเคราะห์ SS ของตัวอย่างน้ า

รูปที่ 11 : ผลการตรวจวิเคราะห์ Oil & Grease ของตัวอย่างน้ า

ภาคผนวก

ผลการวิเคราะหตัวอยางนํ้า

&jg"t *,, i ,dElt$

CustomerName

Address

Page 1 ofl

Report No: i 205290i 5

^rNfil0Rtloil t(cftD]tAI0l,lv

'ftts t't\(;\o.{}2{0

Fax 0-2580-6897

Amafireis R"cport4 g d a

:.t:uil ttlu rtaua n flailsntHutT

691'730 Phandintong Soi 5711, Diwanon Rd.

Muang, Nonthaburi I 1000

Tel: 0-2950-1370-1

Samphng Source : UFM (rh fi oarn rJ an-n4n fi r ola\t;&u u5vu'ltt rhria uao{uil :ir)

Sarn-pling Date

Received Date

Testing Date

z 29-May-12

z 29-lvIay-12

: May 30 - Jun 1,2012

Sampling Method

Sampling By

Approved Date

Grab

Customer

12-Jun-12

Item Unit Method of Analysis Result

No.1

Wastewater

120529415

9:30 AM

Turbid sodimont

No.2

Wastewater

t20529016

9:30 AM

Turbid sediment

No.3

Wastewater

120529017

9:30 AM

Turbid sediment

SampleName

Sample Type

Analysis No.

Sampling Time

Physical Appearance

pH at 25 deg C WTMO3 t . 3. AI . q7 . 6

#BOD 5 Dayl

Suspended Solids

Azide ]vlodification

WTMOl

mgll-

ntg/I-

;E/I-

is i4.5

2i.a3.3

i i t

{TD-I , Dried at I 03-1C)5C 545 465

1 .2

444

*Fat,Oil & Grease mglL Partition & Gravimetnc

Remafk . WTM 03 : In-house method : 1VTM03 base on Standard Method for the Exrnination of Water and Wastonrater, APHA AWWA,WEF

21st Edition 2005, pat 4500-E+B

WTM 01 : Standtrd Mefiod for the Examination of lfater and lfastewaler, APHA, AWW{WEF 2lst Edition 2005, pat 2540 D

# : * Test marked # in thir roport are not included in the TISI Accreditalion Schedr.rlo for otn Laboratory o

2.8

Environment & Laboratory Co..Ltd.

(Alisa Songsawasd)Laboratory h{anager

t-029-a-24A'7,,,,ITM-4F-VI 5 Feb.lqffi-?01-Q,,,,. :rr r ,,,,i,^:i i)r,ir. ailr tire anaiyzeC 7'ie-<ieC s.rrnpleis) .rs inrlicatecl in this report.

. . , j , 1 , i r . - - ' r - . i f - - - " i , , 1 , . . . ; r 1 i 1 r ' 1 i a n t a y b e r e p r o d u c e d i n . ; n v f o r m v r i t h o u t w r i t t e n c o n s e n t f r o m t h e l a b o r a t o r \

i , : . . , , ' : . : . r . . :- i : i : , i l r i l i r : r i r .r i ini i i i r led i l l i re f lSI Accreditat ion schei:kle for oqr Laboraiory

Approved By:

h{

1l{ t { - rO Te1. L l -2525- lL+9, t . t -2969-071-1, O-2cl i r9-013i1- I Far. i ) -2S69r- .071a E-rnai l : serv ice@enr, i l ; rb.com