green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด...

36
โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หน้า 34 เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จากัด ขนาดพื้นที่สีเขียว เหตุผลและ ความสาคัญ เมืองต่างๆ มีการขยายตัวเติบโต โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้เพื่อ รองรับกับจานวนคนที่หลั่งไหลเข้ามาอยู่อาศัยในเขตเมือง ซึ่งถ้าเมืองมีแต่สิ่งปลูกสร้างจะทาให้ คนในเมืองขาดพื้นที่ในการพักผ่อน พื้นที่สีเขียวจะช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคนในเมืองให้มี สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ออกกาลังกาย ส่งผลให้เกิดสุนทรียภาพ สร้างความมีชีวิตชีวาให้กับ เมือง และเสริมสร้างทัศนียภาพให้กับคนในเมือง นิยาม พื้นที่สีเขียว (green space) หมายถึง พื้นที่กลางแจ้ง และกึ่งกลางแจ้งที่มีขอบเขตที่ดินทั้งหมด หรือบางส่วนปกคลุมด้วยพรรณพืชบนดินที่ซึมน้าได้หรืออาจมีสิ่งก่อสร้างอยู่ด้วย ทั้งในพื้นที่สี เขียวในเขตเมืองและนอกเขตเมือง อาจเป็นพื้นที่สาธารณะหรือเอกชนที่สาธารณชนสามารถเข้า ไปใช้ประโยชน์ได้ ประกอบด้วยพื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการและความงามทางภูมิทัศน์ พื้นทีอรรถประโยชน์ เช่น พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่สาธารณูปการ พื้นที่แนวกันชน พื้นที่สีเขียวใน สถาบันต่างๆ พื้นที่ธรรมชาติและกึ่งธรรมชาติอันเป็นถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ชุ่มน้า รวมถึงพื้นที่ชายหาด พื้นที่ริมน้า พื้นที่ที่เป็นริ้วยาวตามแนวเส้นทางคมนาคมทางบก ทางน้า และแนวสาธารณูปการต่างๆ หรือพื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่สีเขียวที่ปล่อยรกร้าง พื้นที่สีเขียว ที่ถูกรบกวนสภาพธรรมชาติ และพื้นที่สีเขียวที่มีการใช้ประโยชน์ผสมผสานกัน (ที่มา : สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, พ.ศ. 2548) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวางแผนและควบคุมให้มีการบริหารจัดการระหว่างพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่สีเขียวให้ สอดคล้องกัน 1. เพื่อจัดสรรพื้นที่ในการพักผ่อนให้เพียงพอต่อปริมาณประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ค่ามาตรฐาน เชิงปริมาณ มีขนาดพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน เชิงคุณภาพ พื้นที่สีเขียวมีจานวนไม้ใหญ่ขนาดวัดโดยรอบไม่ตากว่า 20 เซนติเมตร ไม่น้อย กว่า 16 ต้นต่อไร่ของพื้นที่สีเขียว อ้างอิง/ แหล่งที่มา มาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ พ.ศ. 2557 เกณฑ์การ ประเมิน ดี มีขนาดพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน และมีจานวนไม้ใหญ่ขนาดวัด โดยรอบไม่ตากว่า 20 เซนติเมตร ไม่น้อยกว่า 16 ต้นต่อไร่ของพื้นที่สีเขียว พอใช้ มีขนาดพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน แต่มีจานวนไม้ใหญ่ขนาดวัด โดยรอบไม่ตากว่า 20 เซนติเมตร น้อยกว่า 16 ต้นต่อไร่ของพื้นที่สีเขียว ปรับปรุง มีขนาดพื้นที่สีเขียวน้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน และมีจานวนไม้ใหญ่ขนาดวัด โดยรอบไม่ตากว่า 20 เซนติเมตร น้อยกว่า 16 ต้นต่อไร่ของพื้นที่สีเขียว วิธีการ ตรวจวัด เชิงปริมาณ การคานวณขนาดพื้นที่ด้วยระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ (Geographic Information Systems) เชิงคุณภาพ การวางแปลงชั่วคราวเพื่อสารวจข้อมูลภาคสนาม และคานวณเปรียบเทียบ สัดส่วนกับพื้นที่สีเขียว

Transcript of green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด...

Page 1: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 34

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ขนาดพื้นที่สีเขียว

เหตุผลและความส าคัญ

เมืองต่างๆ มีการขยายตัวเติบโต โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ทั้งนี้เพ่ือรองรับกับจ านวนคนที่หลั่งไหลเข้ามาอยู่อาศัยในเขตเมือง ซึ่งถ้าเมืองมีแต่สิ่งปลูกสร้างจะท าให้คนในเมืองขาดพ้ืนที่ในการพักผ่อน พ้ืนที่สีเขียวจะช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคนในเมืองให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ออกก าลังกาย ส่งผลให้เกิดสุนทรียภาพ สร้างความมีชีวิตชีวาให้กับเมือง และเสริมสร้างทัศนียภาพให้กับคนในเมือง

นิยาม พื้นที่สีเขียว (green space) หมายถึง พ้ืนที่กลางแจ้ง และก่ึงกลางแจ้งที่มีขอบเขตท่ีดินทั้งหมดหรือบางส่วนปกคลุมด้วยพรรณพืชบนดินที่ซึมน้ าได้หรืออาจมีสิ่งก่อสร้างอยู่ด้วย ทั้งในพ้ืนที่สีเขียวในเขตเมืองและนอกเขตเมือง อาจเป็นพื้นที่สาธารณะหรือเอกชนที่สาธารณชนสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ ประกอบด้วยพ้ืนที่สีเขียวเพ่ือนันทนาการและความงามทางภูมิทัศน์ พ้ืนที่อรรถประโยชน์ เช่น พ้ืนที่เกษตรกรรมและพ้ืนที่สาธารณูปการ พ้ืนที่แนวกันชน พ้ืนที่สีเขียวในสถาบันต่างๆ พ้ืนที่ธรรมชาติและกึ่งธรรมชาติอันเป็นถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ พ้ืนที่ป่าไม้ พ้ืนที่ชุ่มน้ า รวมถึงพ้ืนที่ชายหาด พ้ืนที่ริมน้ า พ้ืนที่ที่เป็นริ้วยาวตามแนวเส้นทางคมนาคมทางบก ทางน้ า และแนวสาธารณูปการต่างๆ หรือพ้ืนที่อ่ืนๆ เช่น พ้ืนที่สีเขียวที่ปล่อยรกร้าง พ้ืนที่สีเขียวที่ถูกรบกวนสภาพธรรมชาติ และพ้ืนที่สีเขียวที่มีการใช้ประโยชน์ผสมผสานกัน ( ที่มา : ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, พ.ศ. 2548)

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือวางแผนและควบคุมให้มีการบริหารจัดการระหว่างพ้ืนที่อยู่อาศัยและพ้ืนที่สีเขียวให้สอดคล้องกัน

1. เพ่ือจัดสรรพื้นที่ในการพักผ่อนให้เพียงพอต่อปริมาณประชากรที่เพ่ิมสูงขึ้น ค่ามาตรฐาน เชิงปริมาณ มีขนาดพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน

เชิงคุณภาพ พ้ืนที่สีเขียวมีจ านวนไม้ใหญ่ขนาดวัดโดยรอบไม่ต่ ากว่า 20 เซนติเมตร ไม่น้อยกว่า 16 ต้นต่อไร่ของพ้ืนที่สีเขียว

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

• มาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) • ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ พ.ศ. 2557

เกณฑ์การประเมิน

ดี มีขนาดพ้ืนที่สีเขียวไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน และมีจ านวนไม้ใหญ่ขนาดวัดโดยรอบไม่ต่ ากว่า 20 เซนติเมตร ไม่น้อยกว่า 16 ต้นต่อไร่ของพ้ืนที่สีเขียว

พอใช้ มีขนาดพ้ืนที่สีเขียวไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน แต่มีจ านวนไม้ใหญ่ขนาดวัดโดยรอบไม่ต่ ากว่า 20 เซนติเมตร น้อยกว่า 16 ต้นต่อไร่ของพ้ืนที่สีเขียว

ปรับปรุง มีขนาดพ้ืนที่สีเขียวน้อยกว่า 10 ตารางเมตรต่อคน และมีจ านวนไม้ใหญ่ขนาดวัดโดยรอบไม่ต่ ากว่า 20 เซนติเมตร น้อยกว่า 16 ต้นต่อไร่ของพ้ืนที่สีเขียว

วิธีการตรวจวัด

เชิงปริมาณ การค านวณขนาดพ้ืนที่ด้วยระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ (Geographic Information Systems)

เชิงคุณภาพ การวางแปลงชั่วคราวเพ่ือส ารวจข้อมูลภาคสนาม และค านวณเปรียบเทียบสัดส่วนกับพ้ืนที่สีเขียว

Page 2: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 35

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

Page 3: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 36

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

1.1.1 มิติสิ่งแวดล้อม

มาตรฐานคุณภาพน้ าเสียชุมชน

เหตุผลและความส าคัญ

จากปริมาณประชากรที่เพ่ิมสูงขึ้น ปริมาณการใช้น้ า และปริมาณน้ าเสียที่เกิดขึ้นจึงเพ่ิมสูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งควรมีการจัดการหรือบ าบัดน้ าเสียที่เกิดขึ้นนี้ให้ได้มาตรฐาน หากไม่มีการจัดการอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้ ทั้งเรื่องของความสกปรก กลิ่นเน่าเหม็น แหล่งน้ า เกิดความเสื่อมโทรม เป็นต้น ดังนั้นจึงควรมีการจัดการน้ าเสียที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ของชุมชนเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน

นิยาม น้ าเสีย หมายถึง น้ าที่มีสิ่งเจือปนต่างๆ มากมาย จนกระท่ังกลายเป็นน้ าที่ไม่เป็นที่ต้องการ และน่ารังเกียจของคนทั่วไป ไม่เหมาะสมส าหรับใช้ประโยชน์อีกต่อไป หรือถ้าปล่อยลงสู่ล าน้ าธรรมชาติก็จะท าให้คุณภาพน้ าของธรรมชาติเสียหายได้

วัตถุประสงค์ เพ่ือควบคุมคุณภาพน้ าทิ้งชุมชนให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ าธรรมชาติหรือน าไปใช้ประโยชน์

ค่ามาตรฐาน

ดัชนีคุณภาพน้ าเสียชุมชน มาตรฐาน 1. ความเป็นกรดและด่าง (pH) 5.5 -9.0 2. บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) * ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร 3. ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) ** ไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อลิตร 4. น้ ามันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 5. ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorus) ไม่เกิน 2 มิลลิกรัมฟอสฟอรัสต่อลิตร 6. ไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร หมายเหตุ : * กรณีหน่วยบ าบัดสุดท้ายเป็นบ่อเสถียร (Stabilization Pond) หรือบ่อผึ่ง (Oxidation Pond) ให้ใช้ค่าบีโอ

ดี ของน้ าท่ีผ่านการกรองแล้ว (Filtrate BOD) การกรองตัวอย่างน้ าเพื่อหาค่าบีโอดี ให้ใช้วิธีกรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว (Glass Fiber Filter Disk) ที่ใช้ในกระบวนการกรองเพื่อหาค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) ก่อนท าการวิเคราะห์หาค่าบีโอดีที่ก าหนดไว้ใน Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ฉบับล่าสุด ** กรณีหน่วยบ าบัดสุดท้ายเป็นบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond) หรือบ่อผึ่ง (Oxidation Pond) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร - การตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ าทิ้งจากระบบบ าบัดน้ าเสียรวมของชุมชนให้เป็นไปตาม Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ฉ บั บ ล่ า สุ ด ซึ่ ง American Public Health Association, American Water Work Association แ ล ะ Water Environment Federation ร่ ว ม กั นก าหนดไว้ หรือตามวิธีอื่นที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ให้เลือกใช้วิธีวิเคราะห์ตามความเหมาะสมกับลักษณะและสภาพของตัวอย่างน้ า

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากระบบบ าบัดน้ าเสียรวมของชุมชน ลงวันที่ 7 เมษายน 2553 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศท่ัวไป เล่มที่ 127 ตอนพิเศษ 69ง วันที่ 2 มิถุนายน 2553

เกณฑ์การประเมิน

ผ่าน : ดัชนีคุณภาพน้ าเสียชุมชนทุกดัชนีผ่านค่ามาตรฐานคุณภาพน้ าเสียชุมชนที่ก าหนด ไม่ผ่าน : ดัชนีคุณภาพน้ าเสียชุมชนไม่ผ่านค่ามาตรฐานคุณภาพน้ าเสียชุมชนที่ก าหนด

หมายเหตุ ส าหรับเมืองที่มีระบบบ าบัดน้ าเสียชุมชนรวม

Page 4: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 37

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

มาตรฐานขยะมูลฝอยชุมชน

เหตุผลและความส าคัญ

ปัจจุบันปัญหาเรื่องการจัดการขยะเป็นปัญหาส าคัญระดับประเทศ ซึ่งเกิดจากปริมาณขยะที่เพ่ิมขึ้นทุกวัน อันเนื่องจากการมีประชากรที่เพ่ิมขึ้น ส่งผลกระทบต่อการจัดการทั้งในเรื่องของวิธีการก าจัด พ้ืนที่ในการฝังกลบ เป็นต้น ซึ่งการจัดการปัญหานี้จ าเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะในภาคส่วนของประชากรที่จะมีส่วนช่วยในการจัดการขยะที่เกิดขึ้น ดังนั้น การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืนจึงจ าเป็นต้องมีการบริหารจัดการเรื่องของขยะนี้ด้วย

นิยาม ขยะมูลฝอยชุมชน หมายถึง ขยะมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน เช่น บ้านพักอาศัย สถานประกอบการค้า แหล่งธุรกิจ ร้านค้า สถานบริการ ตลาดสด และสถาบันต่างๆ ได้แก่ ขยะอินทรีย์จ าพวกเศษอาหารต่างๆ เศษใบไม้ เศษหญ้า ขยะรีไซเคิลจ าพวกแก้ว กระดาษ โลหะ พลาสติก อลูมิเนียม ยาง และขยะทั่วไป จ าพวกเศษผ้า เศษไม้ และเศษวัสดุต่างๆ (ที่มา : แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559-2564))

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือควบคุมปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่สามารถด าเนินการจัดการได้ 2. เพ่ือลดปัญหาปริมาณขยะที่เพ่ิมสูงขึ้น

ค่ามาตรฐาน ปริมาณขยะเฉลี่ยมีค่าไม่เกิน 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน (ปริมาณขยะเฉลี่ย อ้างอิงจากบันทึกข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เก็บรวบรวมได้ทั้งหมด)

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

มาตรฐานการพัฒนาเมือง/ชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่ า โดยส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์การประเมิน

ผ่าน : ปริมาณขยะเฉลี่ยมีค่าไม่เกิน 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ไม่ผ่าน : ปริมาณขยะเฉลี่ยมีค่าเกิน 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน

Page 5: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 38

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

มาตรฐานคุณภาพอากาศ

เหตุผลและความส าคัญ

อากาศเป็นส่วนประกอบส าคัญส่วนหนึ่งของโลก มนุษย์และสิ่งมีชีวิตต่างจ าเป็นต้องใช้อากาศ โดยเฉพาะการหายใจเพ่ือการด ารงชีวิต ซึ่งการมีคุณภาพอากาศที่ดีย่อมส่งผลประโยชน์ต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต นอกจากเรื่องของสุขภาพกายที่ดีแล้ว ยังรวมถึงการมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย ซึ่งเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการที่จะพัฒนาเมืองและชุมชนให้เป็นเมืองและชุมชนที่มีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

นิยาม สารมลพิษ หมายถึง ตัวมลพิษหรือสารวัตถุอ่ืนใดก็ตามที่สร้างอันตรายหรือความเปลี่ยนแปลงอันไม่น่าพึงพอใจให้กับสิ่งมีชีวิตรายตัว ต่อประชากร ชุมชน หรือระบบนิเวศ เกินกว่าสภาพที่จะสามารถพบโดยทั่วไปในสิ่งแวดล้อม สารมลพิษหลัก ในที่นี้ หมายถึง สารมลพิษที่ต้องด าเนินการตรวจวัดตามมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป ประกอบด้วย ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 8 ชั่วโมง ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง ก๊าซโอโซน (O3) เฉลี่ย 1 ชั่วโมง ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด ์(SO2) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง

วัตถุประสงค์ เพ่ือควบคุมและรักษาคุณภาพในบรรยากาศให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน

ค่ามาตรฐาน

สารมลพิษ ค่าเฉลี่ยความเข้มข้น

ในเวลา ค่ามาตรฐาน

1. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) 1 ชม. ไม่เกิน 30 ppm. (34.2 มก./ลบ.ม.) 8 ชม. ไม่เกิน 9 ppm. (10.26 มก./ลบ.ม)

2. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) 1 ชม. ไม่เกิน 0.17 ppm. (0.32 มก./ลบ.ม.) 1 ปี ไม่เกิน 0.03 ppm. (0.057 มก./ลบ.ม.)

3. ก๊าซโอโซน (O3) 1 ชม. ไม่เกิน 0.10 ppm. (0.20 มก./ลบ.ม.) 8 ชม. ไม่เกิน 0.07 ppm. (0.14 มก./ลบ.ม.)

4. ก๊าซซลัเฟอรไ์ดออกไซด์ (SO2) 1 ปี ไม่เกิน 0.04 ppm. (0.10 มก./ลบ.ม) 24 ชม. ไม่เกิน 0.12 ppm.(0.30 มก./ลบ.ม) 1 ชม. ไม่เกิน 0.3 ppm.(780 มคก./ลบ.ม)

5. ตะกั่ว (Pb) 1 เดือน ไม่เกิน 1.5 มคก./ลบ.ม 6. ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 100 ไมครอน 24 ชม. ไม่เกิน 0.33 มก./ลบ.ม.

1 ปี ไม่เกิน 0.10 มก./ลบ.ม. 7. ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน 24 ชม. ไม่เกิน 0.12 มก./ลบ.ม

1 ปี ไม่เกิน 0.05 มก./ลบ.ม 8. ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน 24 ชม. ไม่เกิน 0.05 มก./ลบ.ม.

1 ปี ไม่เกิน 0.025 มก./ลบ.ม. หมายเหตุ : 1. มาตรฐานค่าเฉลี่ยระยะสั้น (1, 8 และ 24 ชม.) ก าหนดขึ้นเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย

อย่างเฉียบพลัน (acute effect) 2. มาตรฐานค่าเฉลี่ยระยะยาว (1 เดือน และ 1 ปี) ก าหนดขึ้นเพื่อป้องกันผลกระทบยาวหรือผลกระทบ

เรื้อรังที่อาจเกิดขึ้นต่อสุขภาพอนามัย (chronic effect)

Page 6: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 39

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

• มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 52ง. วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2538

• มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 104 ง. วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2547

• มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 58ง วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550

• มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2552) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 114ง วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552

• มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2553) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพเิศษ 37ง วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2553

เกณฑ์การประเมิน

ในการประเมินคุณภาพอากาศ อ้างอิงตามเกณฑ์การประเมินดัชนีคุณภาพอากาศทั่วไป (Air Quality Index : AQI) ของกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งได้ก าหนดดัชนีในการตรวจวัดเพ่ือน ามาประเมินตามเกณฑ์การประเมินทั้งหมด 5 ดัชนี ได้แก่ ก๊าซโอโซน (O3) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO3) ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (การค านวณค่า AQI อ้างอิงตามเว็บไซต์ของกรมควบคุมมลพิษ, http://www.pcd.go.th/info_serv/air_aqi.htm#s3) โดยมีเกณฑ์การแบ่งระดับคุณภาพอากาศทั่วไปดังนี ้

ดัชนีคุณภาพอากาศทั่วไป (AQI)

เกณฑ์คุณภาพอากาศ คะแนนรวม

คุณภาพดี 0-50

คุณภาพปานกลาง มากกว่า 50-100

มีผลกระทบต่อสุขภาพ มากกว่า 100-200

มีผลกระทบต่อสุขภาพมาก มากกว่า 200-300

อันตราย มากกว่า 300

Page 7: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 40

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

มาตรฐานคุณภาพเสียงและความสั่นสะเทือน

เหตุผลและความส าคัญ

ปัญหาเรื่องของเสียงรบกวนและความสั่นสะเทือน ถือว่าเป็นปัญหาหนึ่งที่มีเพ่ิมสูงขึ้นในปัจจุบัน โดยมีสาเหตุมาจาก เช่น การก่อสร้าง การคมนาคม อุตสาหกรรมหนักบางชนิด และสถานบันเทิง เป็นต้น ซึ่งในการพัฒนาเมืองและชุมชนให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและยั่งยืนนั้น จึงจ าเป็นที่ต้องมีการควบคุมและจัดการปัญหาเรื่องเสียงและความสั่นสะเทือนที่อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนร่วมด้วย

นิยาม เสียงรบกวน หมายความว่า ระดับเสียงจากแหล่งก าเนิดในขณะมีการรบกวนที่มีระดับเสียงสูงกว่าระดับเสียงพื้นฐาน โดยมีระดับการรบกวนเกินกว่าระดับเสียงรบกวนที่ก าหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ ๒๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐) เรื่อง ค่าระดับเสียงรบกวน

วัตถุประสงค์ เพ่ือควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานและไม่ก่อให้เกิดเหตุเดือดร้อนร าคาญ รวมถึงไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อประชาชน

ค่ามาตรฐานคุณภาพเสียง

ดัชนีคุณภาพเสียง ค่ามาตรฐาน 1. ค่าระดับเสียงสูงสุด (Lmax) ไม่เกิน 115 เดซิเบล 2. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) ไม่เกิน 70 เดซิเบล

3. ค่าระดับเสียงรบกวน (L90) ไม่เกิน 10 เดซิเบล

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

• ประกาศคณะกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2540) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป มาตรา 32(5) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2540

• ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัดระดับเสียงพ้ืนฐาน ระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน การตรวจวัดและค านวณระดับเสียงขณะมีการรบกวน การค านวณค่าระดับการบกวน และแบบบันทึกการตรวจวัดเสียงรบกวน ประกาศ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2550

• ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง การค านวณค่าระดับเสียง ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2540

เกณฑ์การประเมิน

ผ่าน : ดัชนีที่ตรวจวัดทั้งหมดผ่านค่ามาตรฐานคุณภาพเสียงที่ก าหนด ไม่ผ่าน : ดัชนีที่ตรวจวัดทั้งหมดไม่ผ่านค่ามาตรฐานคุณภาพเสียงที่ก าหนด

Page 8: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 41

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ค่ามาตรฐานความสั่นสะเทือน

ประเภทอาคาร

จุดตรวจวัด ความถี่ (เฮิรตซ์)

ความเร็วอนุภาคสูงสุดไม่เกิน (มิลลิเมตรต่อวินาที)

ความสั่นสะเทือน กรณีที่ 1

ความสั่นสะเทือน กรณีที่ 2

1 1.1 ฐานรากหรือช้ันลา่งของอาคาร f < 10 20

- 10 < f < 50 0.5 f + 15

50 < f < 100 0.2 f + 30 f > 100 50

1.2 ช้ันบนสดุของอาคาร ทุกความถี ่ 40* 10* 1.3 พื้นอาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี ่ 20** 10**

2 2.1 ฐานรากหรือช้ันลา่งของอาคาร f < 10 5

- 10 < f < 50 0.25 f + 2.5 50 < f < 100 0.1 f + 10

f > 100 20 2.2 ช้ันบนสดุของอาคาร ทุกความถี ่ 15* 5* 2.3 พ้ืนอาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี ่ 20** 10**

3 3.1 ฐานรากหรือช้ันลา่งของอาคาร f < 10 3

- 10 < f < 50 0.125 f + 1.75 50 < f < 100 0.04 f + 6

f > 100 10 3.2 ช้ันบนสดุของอาคาร ทุกความถี ่ 8* 2.5* 3.3 พ้ืนอาคารในแต่ละชั้น ทุกความถี ่ 20** 10*

หมายเหตุ : 1) f = ความถี่ของความสั่นสะเทือน ณ เวลาที่มีความเร็วอนุภาคสูงสุดมีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ 2) * = ก าหนดมาตรฐานไว้เฉพาะค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดในแกนนอน 3) ** = ก าหนดมาตรฐานไว้เฉพาะค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดในแกนตั้ง 4) การวัดค่าความสั่นสะเทือนสูงสุดส าหรับความสั่นสะเทือนกรณีที่ 2 ตามข้อ 1.2, 2.2 และ 3.2 ให้วัดที่

ช้ันบนสุดของอาคารหรือช้ันอ่ืนซึ่งมีค่าความสั่นสะเทือนสูงสุด 5) การวัดค่าความสั่นสะเทือนที่พื้นอาคารในแต่ละช้ันตามข้อ 1.3, 2.3 และ 3.3 ให้ยกเว้นการวัดที่ฐานราก

หรือช้ันล่างของอาคาร

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) เรื่อง ก าหนดมาตรฐานความสั่นสะเทือนเพ่ือป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ลงวันที่ 26 เมษายน 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มท่ี 127 ตอนพิเศษ 69ง วันที่ 2 มิถุนายน 2553

Page 9: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 42

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

เกณฑ์การประเมิน

ระดับความสั่นสะเทือน

ความเร็วอนุภาคสูงสุด มิลลิเมตรต่อวินาที

(น้ิวต่อวินาที) ผลกระทบต่อมนุษย์

ระดับที่ 1 0 ถึง 0.15 (0 ถึง 0.006)

ไม่สามารถรับความรู้สึกได ้

ระดับที่ 2 0.15 ถึง 0.3 (0.006 ถึง 0.012)

รู้สึกได้เพียงเล็กน้อย หรือเป็นไปได้ที่จะรับรู้

ระดับที่ 3 2.0 (0.079)

รู้สึกได้ถึงความสั่นสะเทือน

ระดับที่ 4 2.5 (0.098)

ถ้าความสั่นสะเทือนเป็นไปอย่างตอ่เนื่อง จะสร้างความรูส้ึกร าคาญ

ระดับที่ 5 5 (0.197)

ความสั่นสะเทือนรบกวนต่อคนท่ีอาศัยอยู่ในอาคาร

ระดับที่ 6 10 ถึง 15 (0.394 ถึง 0.591)

คนจะรูส้ึกไม่พอใจ ถ้าเกดิแรงสั่นสะเทือนอย่างต่อเนื่อง

ที่มา : Whiffin, A.C. and Leonard, D.R., A Survey of Traffic Induced Vibration, Eng., ค.ศ. 1971.

Page 10: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 43

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

1.1.2 มิติการพัฒนาเมือง (วิถีวัฒนธรรมและสิ่งปลูกสร้าง)

การรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ

เป้าหมาย จ านวนผู้เสียชีวิตและมูลค่าความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และค่าใช้จ่ายในการชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติในพ้ืนที่เสี่ยงภัยของเมืองลดลง

เหตุผลและความส าคัญ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นับเป็นภัยคุกคามที่ส าคัญต่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน เนื่องจากผลกระทบของปรากฏการณ์นี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ส าคัญและมีผลกระทบอย่างรุนแรงในประเทศไทย ตามที่ระบุในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ได้แก่ อุทกภัย ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม และแผ่นดินไหว ซึ่งภัยธรรมชาติเหล่านี้ล้วนมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน การรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ รวมถึงความสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีในเมืองด้วย ดังนั้น ในการจัดการพัฒนาเมืองให้มีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน จ าเป็นต้องน าปัจจัยนี้มาเป็นฐานคิดร่วมด้วย

นิยาม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ตามกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change, UNFCCC) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลทางตรงหรือทางอ้อมจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่ท าให้องค์ประกอบของบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป ส่วนความหมายที่ใช้ในคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ( Intergovernmental Panel on Climate Change, IPCC) หมายถึ ง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่ว่าจะเนื่องมาจากความผันแปรตามธรรมชาติหรือจากกิจกรรมของมนุษย์ ภัยพิบัติ (Disaster) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ให้ความหมายว่า หมายถึง การหยุดชะงักอย่างรุนแรงของการปฏิบัติหน้าที่ของชุมชนหรือสังคมอันเป็นผลมาจากการเกิดภัยทางธรรมชาติหรือเกิดจากมนุษย์ ซึ่งส่งผลต่อชีวิต ทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวาง เกินกว่าความสามารถของชุมชนหรือสังคมที่ได้รับผลกระทบดังกล่าวจะรับมือได้โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ภัยแล้ง หมายถึง ภัยที่เกิดจากความแห้งแล้งของล้มฟ้าอากาศ อันเกิดจากที่มีปริมาณฝนน้อยหรือฝนไม่ตกเป็นเวลานานและครอบคลุมพ้ืนที่เป็นบริเวณกว้าง ท าให้เกิดการขาดแคลนน้ าดื่ม น้ าใช้ พืชพันธุ์ไม้ต่างๆ ขาดน้ าไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ เกิดความเสียหาย และส่งผลกระทบอย่างกว้างขวางรุนแรงต่อประชาชน ภัยจากอุทกภัย หมายถึง เหตุการณ์ที่มีน้ าท่วมพ้ืนดินสูงกว่าระดับปกติ ซึ่งมีสาเหตุมาจากปริมาณน้ าฝนมากจนท าให้มีปริมาณน้ าส่วนเกินมาเติมปริมาณน้ าผิวดินที่มีอยู่ตามสภาพปกติ จนเกินขีดความสามารถการระบายน้ าของแม่น้ าล าคลอง และยังมีสาเหตุมาจากการกระท าของมนุษย์ โดยการปิดกั้นการไหลของน้ าตามธรรมชาติ ทั้งเจตนาและไม่เจตนา จนเป็นอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สินของประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภัยจากดินถล่มหรือโคลนถล่ม หมายถึง ภัยที่เกิดจากปรากฏการณ์ที่มวลดินหรือหินไถลเลื่อนลงจากพ้ืนที่สูงสู่พ้ืนที่ต่ ากว่าภายใต้อิทธิพลแรงโน้มถ่วงของโลก และการมีน้ าเป็น

Page 11: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 44

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ตัวกลางท าให้มวลวัสดุเกิดความไม่มีเสถียรภาพ อัตราการไถลเลื่อนดังกล่าวข้างต้นอาจช้าหรือเร็วขึ้นกับประเภทของวัสดุ ความลาดชัน สภาพสิ่งแวดล้อม และปริมาณน้ าฝนในบางกรณีแผ่นดินถล่มอาจเกิดจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด การเคลื่อนตัวของวัสดุดังกล่าวอาจพัดพาต้นไม้ บ้านเรือน รถยนต์ สิ่งปลูกสร้างอ่ืนๆ ช ารุด หรือพังทลาย และยังอาจท าให้ช่องเปิดของสะพานและแม่น้ าล าคลองอุดจนเป็นสาเหตุให้เกิดอุทกภัยขึ้นได้ในเส้นทางการเคลื่อนตัว ปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สินของประชาชนและสิ่งแวดล้อม ภัยจากแผ่นดินไหว หมายถึง ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากการปล่อยพลังงานใต้พิภพท าให้เกิดการสั่นสะเทือนของพ้ืนดิน การสั่นสะเทือนนี้อาจมีระดับความรุนแรงขั้นต่ าไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใด ๆ แต่บางครั้งก็อาจมีระดับความรุนแรงในขั้นที่เป็นอันตรายจนก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงได้ การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction, DRR) หมายถึง แนวคิดและวิธีปฏิบัติในการลดโอกาสที่จะได้รับผลกระทบทางลบจากภัยพิบัติผ่านความพยายามอย่างเป็นระบบที่จะวิเคราะห์และบริหารจัดการปัจจัยที่เป็นสาเหตุและผลกระทบของภัยพิบัติ เพ่ือด าเนินนโยบาย มาตรการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ในการลดความล่อแหลม ลดปัจจัยที่ท าให้เกิดความเปราะบาง และเพ่ิมศักยภาพในการจัดการปัญหา มีเป้าหมายในการลดความเสี่ยงที่มีอยู่ในชุมชนและสังคมในปัจจุบัน และป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) หมายถึง การจัดระบบและบริหารจัดการทรัพยากรและความรับผิดชอบเพื่อเผชิญเหตุการณ์ฉุกเฉินทุกรูปแบบ กลุ่มเปราะบาง (vulnerable group) หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความสามารถจ ากัดในการเผชิญเหตุการณ์ภัยพิบัติ ซึ่งต้องการความดูแลเป็นพิเศษ เช่น เด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้สูงอายุ บุคคลทุพพลภาพ ผู้ป่วย ผู้พลัดถิ่น ผู้ลี้ภัย คนต่างด้าว เป็นต้น ความเปราะบาง (vulnerability) หมายถึง ปัจจัยหรือสภาวะใด ๆ ที่ท าให้ชุมชนหรือสังคมขาดความสามารถในการปกป้องตนเอง ท าให้ไม่สามารถรับมือกับภัยพิบัติหรือไม่สามารถฟ้ืนฟูได้อย่างรวดเร็วจากความเสียหายอันเกิดจากภัย ปัจจัยเหล่านี้มีอยู่ในชุมชนหรือสังคมมานานก่อนเกิดภัยพิบัติและอาจเป็นปัจจัยที่ท าให้ผลกระทบของภัยมีความรุนแรงมากขึ้น แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ความเปราะบางทางกายภาพความเปราะบางเชิงสังคมและโครงสร้างทางสังคม และความเปราะบางทางทัศนคติและแรงจูงใจ ความล่อแหลม (exposure) หมายถึง การที่ผู้คน อาคารบ้านเรือน ทรัพย์สิน ระบบต่าง ๆ หรือองค์ประกอบใดๆ มีที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ีเสี่ยงภัยและอาจได้รับความเสียหาย

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือลดความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ อันเกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเขตพ้ืนที่เมือง ซึ่งเป็นพ้ืนที่ที่คนอาศัยอยู่จ านวนมาก

2. เพ่ือสร้างความตระหนักรู้ของภาคีการพัฒนาในระดับท้องถิ่น และเตรียมความพร้อมในการด าเนินมาตรการตามนโยบายและแผนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับชาติ

เกณฑ์การประเมิน

หัวข้อการประเมิน แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ตามแนวทางของแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ได้แก่ ด้านที ่1 การด าเนินการเพ่ือลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction, DRR)

Page 12: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 45

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ด้านที ่2 การบูรณาการการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) ด้านที ่3 การเพ่ิมประสิทธิภาพการฟ้ืนฟูอย่างยั่งยืน (Build Back Better and Safer) ด้านที ่4 การสร้างเครือข่ายในการจัดการภัยพิบัติ (Disaster Management Network) โดยเกณฑ์การประเมิน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับท่ี 1 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 2 ด้าน ระดับท่ี 2 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 3 ด้าน ระดับท่ี 3 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมินทั้งหมด 4 ด้าน

ค าอธิบายเกณฑ์

1. การมุ่ ง เน้ นการลดความ เสี่ ย งจากภั ย พิบั ติ ( Disaster Risk Reduction, DRR) ประกอบด้วย 1.1 การสร้างระบบการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติของท้องถิ่นให้มีมาตรฐาน

เช่น การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเปราะบางและความล่อแหลม รวมทั้งกลุ่มเปราะบาง เป็นต้น

1.2 การพัฒนามาตรการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ได้แก่ การป้องกัน (เช่น การวางแผนการใช้ที่ดิน การจัดท าแผนที่พ้ืนที่เสี่ยงภัย) การเตรียมความพร้อม (เช่น การจ าลองสถานการณ์ การอพยพ การเตรียมการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว) และการพัฒนาระบบการเตือนภัย การบูรณาการเรื่องภัยพิบัติเข้าไปใส่ไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา และการสื่อสารไปยังทุกกลุ่มเป้าหมายในเมืองให้รับรู้เรื่องการปรับตัวและการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ เป็นต้น

1.3 การส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนและทุกระดับสร้างแนวปฏิบัติในการลดความเสี่ยง ได้แก่ การก าหนดนโยบายของเมือง การจัดท าแผนปฏิบัติการการปรับตัวเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับเมืองและระดับชุมชนครบทุกพ้ืนทีเ่สี่ยง เป็นต้น

2. การบูรณาการการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) ประกอบด้วย 2.1 การสร้างมาตรฐานในการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน เป็นการวางแผนการ

เผชิญเหตุภัยพิบัติที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ โดยก าหนดโครงสร้างองค์กร ข้อมูลการสนับสนุนการตัดสินใจ การควบคุมสั่งการ และการใช้แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม เพ่ือการจัดการในภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.2 การพัฒนาระบบ/เครื่องมือสนับสนุนการเผชิญเหตุ ได้แก่ การติดต่อสื่อสารและโทรคมนาคมในภาวะฉุกเฉิน การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การบัญชาการเหตุการณ์ เป็นต้น

2.3 การเสริมสร้างระบบและแนวปฏิบัติในการบรรเทาทุกข์ ได้แก่ การขอใช้เงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน การประเมินความเสียหายและความต้องการความช่วยเหลือ การรับบริจาค การรายงานข้อมูล และการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นต้น

3. การ เ พ่ิมประสิ ทธิ ภ าพการ ฟ้ืน ฟูอย่ า งยั่ ง ยื น (Build Back Better and Safer) ประกอบด้วย

Page 13: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 46

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

3.1 การพัฒนาระบบการประเมินความต้องการหลังเกิดภัยพิบัติ (post-disaster needs assessment, PDNA) เป็นการประมาณการความเสียหายของสินทรัพย์ทางกายภาพ สาธารณูปโภค เศรษฐกิจ และสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ รวมทั้งความต้องการในการฟ้ืนฟูของทุกภาคส่วนในเมือง

3.2 การพัฒนาระบบปฏิบัติการและบริหารจัดการด้านการฟื้นฟู ได้แก่ การฟ้ืนฟูท้ังทางด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ รวมทั้งการฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

3.3 การเสริมสร้างแนวทางการฟ้ืนฟูที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (build back better and safer) เป็นการด าเนินงานฟื้นฟูที่ต่อเนื่องจากการบรรเทาภัย ที่เกิดขึ้นเพ่ือให้เกิดความยั่งยืนในการจัดการภัยพิบัติ ทั้งทางด้านสุขภาพ การบริการทางสังคม ที่อยู่อาศัย โครงสร้างพ้ืนฐาน เศรษฐกิจ รวมทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

4. การสร้างเครือข่ายในการจัดการภัยพิบัติ ประกอบด้วยเครือข่ายระดับต่างๆ อาทิ เครือข่ายระหว่างแต่ละบ้านในชุมชน เครือข่ายระหว่างชุมชน เครือข่ายระหว่างเมืองหรืออปท. เครือข่ายระดับจังหวัด เครือข่ายระดับลุ่มน้ า เครือข่ายในระดับอนุภูมิภาค เครือข่ายระดับนานาชาติ เป็นต้น

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

• เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDGs) • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 • แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๙๓ • แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 • กรอบการด าเนินงานเซนไดเพ่ือการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 - 2573

(Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 - 2030) • หนังสือ “การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ” และ “ค าศัพท์ด้านการบริหารจัดการความ

เสี่ยงจากภัยพิบัติ” โดย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

Page 14: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 47

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

มาตรฐานสภาพมลทัศน์

เหตุผลและความส าคัญ

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องเหตุเดือดร้อนร าคาญเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อทั้งมนุษย์และสิ่งมีชีวิตต่างๆ โดยปัญหาเรื่องเหตุเดือดร้อนร าคาญนี้รวมถึงปัญหาด้านมลทัศน์ด้วย ซึ่งในการพัฒนาเมืองและชุมชนให้เกิดความยั่งยืน จึงควรค านึงถึงการบริหารจัดการสภาพภูมิทัศน์เมืองให้มีความสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย และถูกต้องตามกฎหมาย ด้วย

นิยาม มลทัศน์ (Visual Pollution) หรือมลพิษทางสายตา หรือมลพิษทางทัศนียภาพหรือทัศนอุจาด เป็นปัญหามลพิษที่สามารถรับรู้ได้โดยการมอง (Visual Perception) ที่ท าให้ภูมิทัศน์เมือง (Urban Landscape) ไม่มีความสวยงามและไม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ระบบสาธารณูปโภค ถนน ป้ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ และเสาโทรคมนาคม เป็นต้น พื้นที่ส าคัญเฉพาะ หมายถึง พ้ืนที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติและเป็นพ้ืนที่ที่มีเฉพาะในท้องถิ่น หรือเมืองนั้นๆ รวมถึงพ้ืนที่ที่มีเอกลักษณ์ทางศิลปกรรมของท้องถิ่นหรือเมืองนั้นๆ ด้วย

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือควบคุมและจัดการสภาพภูมิทัศน์เมืองให้มีความสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย 2. เพ่ือควบคุมสิ่งปลูกสร้างให้เป็นไปตามกฎหมาย

ค่ามาตรฐาน/เป้าหมาย

สิ่งก่อสร้าง อาคารประเภทต่างๆ และการติดตั้งป้าย มีความเป็นระเบียบแบบแผนเหมาะสมกับสภาพทางกายภาพของเมือง และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านมลทัศน์ รวมถึงไม่ส่งผลเชิงลบต่อทัศนียภาพและภูมิทัศน์ของเมือง

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

การศึกษาคุณภาพเชิงทัศน์เพ่ือวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ : กรณีศึกษาเทศบาลเมืองหัวหิน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับท่ี 3 มีการด าเนินการในระดับที่ 1 และ 2 รวมถึงมีกลไก/มาตรการเพ่ือคุ้มครองพ้ืนที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติและมีเอกลักษณ์ทางศิลปกรรม เพ่ือคงไว้ซึ่งคุณค่าทางธรรมชาติและเอกลักษณ์ทางศิลปกรรมของเมือง

ระดับท่ี 2 มีการด าเนินการในระดับที่ 1 รวมทั้งมีการจัดการเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับผลกระทบด้านมลทัศน์ และสิ่งที่ก่อให้เกิดผลเชิงลบต่อทัศนียภาพและภูมิทัศน์ของเมือง

ระดับท่ี 1 จัดตั้งหน่วยงาน/องค์กรที่รับผิดชอบก ากับดูแลความเป็นระเบียบชองสิ่งก่อสร้าง อาคารประเภทต่างๆ และการการติดตั้งป้าย

Page 15: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 48

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

มรดกวัฒนธรรม และมรดกสิ่งก่อสร้างพื้นถิ่น

เป้าหมาย มรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น ได้รับการอนุรักษ์ พัฒนา และบริหารจัดการให้คงไว้ซึ่งคุณค่าและอัตลักษณ์ของเมือง เพ่ือส่งมอบสู่อนุชนรุ่นต่อไป

เหตุผลและความส าคัญ

วัฒนธรรมและสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น เป็นหนึ่งในสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่มีทั้งสิ่งที่มองเห็นหรือจับต้องได้ และสิ่งที่มองไม่เห็นหรือไม่สามารถจับต้องได้ เป็นสิ่งที่สะท้อน อารยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการตั้งถ่ินฐานของมนุษย์มาแต่โบราณ มรดกวัฒนธรรมของไทยมีความหลากหลาย ได้สร้างสรรค์ขึ้นมาบนพ้ืนฐานความเชื่อ ความเคารพ ศรัทธาในธรรมชาติ ศาสนา ช่วยค้ าจุนจรรโลงสังคมไทยให้พัฒนาอย่างมั่นคงมาจนถึงปัจจุบัน น ามาซึ่งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นที่มีความแตกต่าง มีความพิเศษเฉพาะตัวในพ้ืนที่ท้องถิ่นต่างๆ ช่วยท าให้ชุมชนเมืองมีอัตลักษณ์ และดึงดูดให้ผู้มาเยือนได้มาสัมผัส เรียนรู้ อย่างไรก็ดี ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงปัจจุบัน ท าให้แหล่งมรดกวัฒนธรรมและสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นเหล่านี้อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการถูกท าลาย ทั้งในด้านกายภาพและคุณค่าอันควรแก่การอนุรักษ์ การคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น จึงถือเป็นภารกิจของคนรุ่นนี้ที่จะส่งมอบสู่อนุชนรุ่นต่อไป และเป็นหนึ่งในอ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบ ารุงรักษาศิลปะ จารีต ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น ทั้งนี้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติ ก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

นิยาม มรดกวัฒนธรรม หมายถึง ผลงานสร้างสรรค์ของชนในชาติที่เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันมีคุณค่าที่ตกทอดมาจากรุ่นก่อน เป็นประจักษ์พยานของพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ หมายรวมถึงสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์ได้สร้างขึ้น และระบบนิเวศซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าไม่สามารถหาทดแทนได้ เป็นเครื่องหมายที่สะท้อนให้เห็นถึงความส าเร็จของผู้คนในอดีต แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่โดดเด่นและเอกลักษณ์ของพ้ืนที่มีการสืบทอดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและควรค่าแก่การสืบสานต่อไปในอนาคต โดย มรดกวัฒนธรรม แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ก) มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้ หมายถึง มรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรม เป็นสิ่งที่สามารถจับต้องและมองเห็นได้ เช่น โบราณสถาน อนุสาวรีย์สถาปัตยกรรม อาคารกลุ่มอาคารย่านชุมชนท้องถิ่น เมืองเก่า แหล่งประวัติศาสตร์แหล่งโบราณคดีแหล่งภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์ ภูมิทัศน์วัฒนธรรม โบราณวัตถุและผลงานศิลปะแขนงต่างๆ เป็นต้น ข) มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ หมายถึง มรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรม เป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องหรือแสดงออกมาทางกายภาพได้ ได้แก่ ภูมิปัญญา ความรู้ ความหมาย ความเชื่อ ความสามารถ ขนบธรรมเนียมประเพณีจารีตที่บุคคลหรือชุมชนได้สร้างสรรค์ขึ้น เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของการด ารงชีวิตอยู่ และได้ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งมาจนถึงปัจจุบัน มรดกสิ่งก่อสร้างพื้นถิ่น หมายถึง สิ่งก่อสร้างที่มีผลสืบเนื่องมาจากความเชื่อและประโยชน์ใช้สอยที่มีลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นหรือภูมิภาค แฝงไปด้วยความงามที่แสดงออกทางวัฒนธรรมอันหลากหลายของชุมชน ซึ่งสัมพันธ์กับอาณาบริเวณที่ตั้งตามลักษณะของวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อม ตลอดจนสภาพดินฟ้าอากาศที่แตกต่างกัน มีการก่อสร้างที่

Page 16: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 49

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ได้รับการถ่ายทอดกันมา มีการประยุกต์ใช้ระบบการก่อสร้างและงานฝีมือแบบดั้งเดิมอย่างมีประสิทธิภาพ การอนุรักษ์ หมายถึง การดูแลรักษาเพ่ือให้คงคุณค่าไว้ โดยการอนุรักษ์แหล่งมรดกวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องแต่ละแหล่งนั้นอาจท าได้ด้วยการป้องกัน การสงวนรักษา การบูรณะ การปฏิสังขรณ์ หรือการประยุกต์การใช้สอย การอนุรักษ์มี วิธีการในระดับที่แตกต่างกันแล้วแต่สถานการณ์และปัจจัยอ่ืนๆในแต่ละกรณี โดยอาจจะใช้วิธีการใดวิธีการ หนึ่งหรือหลายวิธีร่วมกัน และให้หมายรวมถึงการอนุรักษ์เพ่ือรื้อฟ้ืน ฟ้ืนฟูเพ่ือให้สามารถน ากลับมาใช้ ประโยชน์ และการสืบสานให้ยังคงมีอยู่ต่อไปด้วย กฎบัตร (Charter) หมายถึง กฎเกณฑ์ กติกา ข้อตกลงร่วมกัน เพ่ือให้ผู้ที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง กฎบัตรไม่ใช่กฎหมาย แต่มีความส าคัญในการใช้เป็นแนวทางการด าเนินงานด้านการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมขาติให้กับทุกภาคส่วน เมืองเก่า ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า พ.ศ. 2546 ได้นิยามไว้ว่า หมายถึง

(1) เมืองหรือบริเวณของเมืองที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะแห่งสืบต่อมาแต่กาลก่อน หรือที่มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือมีลักษณะจ าเพาะของสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์

(2) เมืองหรือบริเวณของเมืองที่มีรูปแบบผสมผสานสถาปัตยกรรมต่างถิ่น หรือมีลักษณะเป็นรูปแบบวิวัฒนาการทางสังคมที่สืบต่อมาในยุคต่างๆ

(3) เมืองหรือบริเวณของเมืองที่เคยเป็นตัวเมืองดั้งเดิมในสมัยหนึ่งและยังคงมีลักษณะเด่นประกอบด้วยโบราณสถาน

(4) เมืองหรือบริเวณของเมืองซึ่งโดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์หรือโดยอายุ หรือโดยลักษณะแห่งสถาปัตยกรรม มีคุณค่าในทางศิลปะ โบราณคดี หรือประวัติศาสตร์

ย่านชุมชนเก่า หมายถึง พ้ืนที่ทางกายภาพที่แสดงออกถึงลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน/ก่อก าเนิดที่แตกต่างกันตามบริบทแวดล้อม ทั้งที่เป็นเมืองหรือในพ้ืนที่ชนบท มีพัฒนาการของการตั้งถิ่นฐาน/ก่อก าเนิดดังกล่าวที่ต่อเนื่องมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งประจักษ์ได้จากทั้งสภาพทางกายภาพที่ โดดเด่น เช่น โครงสร้างของชุมชน ลักษณะรูปแบบทางสถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์แวดล้อม และสภาพทางสังคมวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ประเพณี และกิจกรรมของชุมชน ประกอบควบคู่กันอย่างเหมาะสมภายใต้บริบทสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้าง (Built Environment) และสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ (Natural Environment)

วัตถุประสงค์ เพ่ืออนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นของเมืองให้ด ารงคงไว้เป็นอัตลักษณ์และส่งมอบแก่อนุชนรุ่นต่อไป

เกณฑ์การประเมิน

หัวข้อการประเมิน แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 มีนโยบายและแผนการอนุรักษ์ พัฒนา และบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมและ

มรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านที่ 2 มีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมและมรดก

สิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นตามความเหมาะสม ด้านที่ 3 มีการใช้ประโยชน์มรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น

Page 17: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 50

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ด้านที่ 4 มีการจัดการองค์ความรู้ด้านมรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น ด้านที่ 5 มีการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นอย่างถูกต้องตามหลัก

วิชาการ โดยเกณฑ์การประเมิน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับท่ี 1 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 2 ด้าน ระดับที่ 2 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 3 ด้าน ระดับท่ี 3 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมินตั้งแต ่4 ด้าน ขึ้นไป

ค าอธิบายเกณฑ์

• นโยบายและแผนการอนุรักษ์ พัฒนา และบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ : ถือเป็นกรอบทิศทางและแนวทางในการด าเนินงาน ซึ่งจะต้องผ่านการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ นโยบายและแผน ควรบูรณาการเข้ากับแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยควรประกอบด้วย วิสัยทัศน์ นโยบาย ยุทธศาสตร์การด าเนินงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวิธีการด าเนินงาน ตลอดจนการก าหนดหน่วยงานรับผิดขอบที่ชัดเจน มีแผนงานที่ครอบคลุมส่วนที่เกี่ยวข้องในภาพรวมทั้งหมด เช่น งานโบราณคดี ประวัติศาสตร์ งานบูรณะ การใช้ประโยชน์ที่ดิน การสื่อความหมาย การให้การศึกษา การจัดท าองค์ความรู้ งบประมาณ การบริหารจัดการ ฯลฯ

• มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นตามความเหมาะสม : มาตรการในการส่งเสริมและสนับสนุนนี้ มีได้หลากหลาย อาทิเช่น มาตรยกย่องเชิดชูหน่วยงานหรือบุคคลผู้ที่ร่วมสนับสนุนการอนุรักษ์ มาตรการทางภาษีเพ่ือสร้างแรงจูงใจให้มีการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู มาตรการทางการเงินในการสนับสนุนการอนุรักษ์ เป็นต้น

• การใช้ประโยชน์มรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น : เช่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การส่งเสริมอาชีพและการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับมรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งปลูกสร้างพ้ืนถิ่น เป็นต้น

• การจัดการองค์ความรู้ด้านมรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น : เช่น 1) การจัดท าฐานข้อมูลด้วยวิธีที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ทั้งนี้ต้องเป็นข้อมูลที่มีคุณภาพและเป็ นระบบ โดยมี การตรวจสอบและรั บรองจากผู้ เ ชี่ ย ว ช าญ 2) การเผยแพร่ข้อมูลและการสื่อความหมาย การน าเสนอข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมและสิ่งปลูกสร้างพ้ืนถิ่นทุกแหล่งให้ประชาชนในเมืองและผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น เป็นต้น

• การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมและมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ : เช่น 1) การอนุรักษ์แหล่งมรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่าความส าคัญระดับสูงและหาได้ยาก พึงรักษาความแท้ไว้โดยแก้ไขน้อยที่สุด จึงควรอนุรักษ์ด้วยวิธีป้องกันการเสื่อมสภาพ วิธีการสงวนรักษา วิธีการเสริมความ มั่นคงแข็งแรงเท่านั้น ทั้งนี้ให้หลีกเลี่ยงการรบกวนหลักฐานดั้งเดิมที่ยังหลงเหลืออยู่ และไม่ควรก่อสร้างทับลงบนซากสิ่งก่อสร้างเดิม 2) การรักษาความดั้งเดิมของแหล่งมรดกวัฒนธรรมประเภทย่านชุมชนและเมืองประวัติศาสตร์ ต้องไม่ละเลยการตรวจสอบด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ เพ่ือเป็น

Page 18: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 51

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของย่านชุมชน และเมืองประวัติศาสตร์ เช่น รูปแบบแผนผังของเมือง การแบ่งพ้ืนที่ดิน และโครงข่ายการคมนาคม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งก่อสร้าง พ้ืนที่โล่ง และพ้ืนที่สีเขียว ทั้งที่เป็นธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น รูปลักษณ์ ของสิ่งก่อสร้างและการใช้สอยเดิมที่มีความหลากหลา 3) ก าหนดแนวทางการปฏิบัติงานในการอนุรักษ์สิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การวิจัยและการจัดเก็บข้อมูล การเคารพและผสานกลมกลืนกันของที่ตั้ง ภูมิทัศน์ และกลุ่มของสิ่งก่อสร้าง ระบบการก่อสร้างแบบดั้งเดิม องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม การประยุกต์การใช้สอย และการฝึกอบรม/เรียนรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ไว้ เป็นต้น

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

• กฎบัตรประเทศไทยว่าด้วยการบริหารจัดการแหล่งมรดกวัฒนธรรม (Thailand Charter on Culture Heritage Management) โดย สมาคมอิโคโมสไทย (องค์กรที่ปรึกษาอิสระเพ่ือการอนุรักษ์โบราณสถานของประเทศไทย)

• กฎบัตรว าด วยมรดกสิ่ งก อสร าง พ้ืนถิ่น ค .ศ . 1999 (Charter on the Built Vernacular Heritage 1999) โดย สภาการโบราณสถานระหว่างประเทศ

• กฎบัตรระหว่างประเทศเพ่ือการอนุรักษ์ เมืองและชุมชนเมืองประวัติศาสตร์ (Washington Charter ๑๙๘๗) โดย สภาการโบราณสถานระหว่างประเทศ

• กฎบัตรระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ( International Cultural Tourism Charter ๑๙๙๙) โดย สภาการโบราณสถานระหว่างประเทศ

• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2559 • ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมือง

เก่า พ.ศ. 2546

Page 19: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 52

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ระบบขนส่งสาธารณะท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการเดินทางท่ีไม่ใช้เครื่องยนต์ในเขตเมือง

เป้าหมาย เพ่ิมปริมาณการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะและการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ในเขตเมือง เพ่ือให้เกิดการพัฒนาระบบการขนส่งอย่างยั่งยืน

เหตุผลและความส าคัญ

การเดินทางและการขนส่ง นับเป็นกิจกรรมหลักของคนในเมือง แต่การพัฒนาเมืองโดยเฉพาะประเทศที่ก าลังพัฒนานั้น ได้มุ่งเน้นการพัฒนาเส้นทางการคมนาคม มากกว่าระบบขนส่งสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ ท าให้ปริมาณพาหนะบนท้องถนนเพ่ิมขึ้น ในขณะที่พ้ืนที่ผิวการจราจรขยายตัวไม่ทันกับปริมาณยานพาหนะที่เพ่ิมขึ้นดังกล่าว จนแทบทุกเมืองในขณะนี้เกิดปัญหาด้านการจราจร ส่งผลถึงคุณภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองโดยตรง ทั้งมลพิษทางอากาศและเสียง อุบัติเหตุทางจราจร รวมทั้งยังเป็นภาคส่วนที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากมี่สุดอีกด้วย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะยังไม่ได้รับการกระจายอ านาจในการจัดการจราจรขนส่งได้อย่างเบ็ดเสร็จ แต่สามารถร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการวางแผนพัฒนาเมืองที่ให้ความส าคัญของการพัฒนาระบบขนส่งที่ยั่งยืน (Sustainable Transport Development) ที่ใช้งบประมาณลงทุนน้อย เหมาะสมกับบริบทเมือง และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อาทิ ระบบรถรางมวลเบาสาธารณะ (Light Monorail) รถโดยสารท้องถิ่นพลังงานไฟฟ้า รถสองแถวพลังงานทางเลือก เป็นต้น รวมทั้งสามารถส่งเสริมการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ในเขตเมืองให้เพ่ิมมากขึ้น อาทิ การใช้จักรยานและเดินในระยะทางสั้นๆ ในเขตเมือง ซึ่งการเดินทางแบบนี้ นอกจากเป็นการตอบสนองสมดุลขององค์ประกอบของการพัฒนาเมืองทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ยังเป็นการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่คนในเมืองอีกด้วย

นิยาม ค าจ ากัดความ

ระบบการขนส่งสาธารณะ (Public Transportation) หมายถึง หมายถึง บริการคมนาคมขนส่งผู้โดยสารที่สามารถใช้ได้โดยสาธารณชน ซึ่งแตกต่างจากรถแท็กซี่ รถร่วม หรือรถเมล์เช่าเหมาคันที่จะไม่รับผู้โดยสารแปลกหน้าหากไม่มีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า วิธีการขนส่งสาธารณะ เช่น รถประจ าทางสาธารณะ รถราง รถลาก รถไฟ รถไฟฟ้า รถไฟฟ้าใต้ดิน เรือข้ามฟาก สายการบิน รถทัวร์ และรถไฟระหว่างเมือง เป็นต้น การเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ (Non–Motorized Transport, NMT) หมายถึง รูปแบบการเดินทางที่เป็นหนึ่งในระบบขนส่งที่ยั่งยืน และเป็นหนึ่งในมาตรการการบริหารจัดการปริมาณการเดินทาง (Travel Demand Management: TDM) ซึ่งเป็นมาตรการส าหรับการควบคุมปริมาณจราจรบนท้องถนน เพ่ือแก้ปัญหาการจราจร โดยมาตรการเกี่ยวกับการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์จะส่งเสริมการเดินทางโดยแรงมนุษย์ (Human Force) หรือสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ เช่น การเดิน การวิ่ง การใช้รองเท้าติดล้อ การปั่นจักรยาน สามล้อ รถม้า รถเข็น การเดินทางรูปแบบต่างๆ เหล่านี้ จะช่วยลดมลภาวะที่เกิดขึ้นจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ ถือว่าเป็นการเดินทางลักษณะนี้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุด การพัฒนาระบบการขนส่งอย่างยั่งยืน (Sustainable Transport System) หมายถึง การพัฒนาระบบการขนส่งที่ตอบสนองความต้องการในการเดินทางของประชาชนในสังคมอย่างเป็นอิสระ สามารถติดต่อสื่อสารและด าเนินกิจกรรมทางธุรกิจระหว่างกันได้ โดยไม่ท าลายทรัพยากรทางธรรมชาติและทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ใน

Page 20: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 53

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ภาพรวมระบบ ทั้งนี้ การขนส่งที่ยั่งยืนควรตอบสนองสมดุลขององค์ประกอบของการพัฒนาเมืองทั้ง 3 ด้าน ได้แก่

1) ด้านสังคม (Society) หมายถึง ความสะดวกสบายในการเดินทางสามารถเข้าใช้บริการระบบได้อย่างสะดวกสบาย (Accessibility) ความปลอดภัยในการเดินทางหรือการเข้าใช้บริการระบบฯ (Safety) ตอบสนองความต้องการในการเดินทางของผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึง (Mobility Choices)

2) ด้านเศรษฐกิจ (Economy) หมายถึง ระบบการให้บริการที่มีอัตราค่าบริการที่เป็นธรรมและไม่แพง (Efficiency Prices)

3) ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) หมายถึง ระบบการขนส่งที่ช่วยลดมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Environmental Friendly)

วัตถุประสงค์ เพ่ือยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมือง โดยบรรเทาปัญหาการจราจรในเมืองและส่งเสริมให้ประชาชนในเมืองมีทางเลือกในการเดินทางสัญจรที่มีต้นทุนต่ าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์การประเมิน

หัวข้อการประเมิน แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 มีระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองที่มีความเหมาะสมกับขนาดเศรษฐกิจและ

สังคมของเมืองที่มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้านที่ 2 มีการให้บริการและปรับเส้นทางการเดินรถโดยสารสาธารณะ ที่สามารถป้อน

ผู้โดยสารเข้าสู่ระบบขนส่งสาธารณะที่เป็นโครงข่ายหลักของเมือง ด้านที่ 3 มีสิ่งอานวยความสะดวกภายในและรอบสถานีขนส่งสาธารณะ เพ่ือให้เกิดการใช้

ประโยชน์จากโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ด้านที่ 4 มีโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ านวยความสะดวก เพ่ือสนับสนุนการเดินทางที่ไม่ใช้

เครื่องยนต์ในเขตเมือง (Non–Motorized Transport, NMT) โดยเกณฑ์การประเมิน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับท่ี 1 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 2 ด้าน ระดับท่ี 2 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 3 ด้าน ระดับท่ี 3 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมินทั้งหมด 4 ด้าน

ค าอธิบายเกณฑ์

1. การพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองที่มีความเหมาะสมกับขนาดเศรษฐกิจและสังคมของเมืองที่มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม : เช่น รถไฟฟ้า ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนขนาดรอง (Light Rail) รถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit, BRT) และรถราง โดยเน้นการพัฒนาในเมืองหลักที่ส าคัญเป็นล าดับแรกก่อน อาทิ ขอนแก่น เชียงใหม่ สงขลา หาดใหญ่ และภูเก็ต

2. การให้บริการและปรับเส้นทางการเดินรถโดยสารสาธารณะ ที่สามารถป้อนผู้โดยสารเข้าสู่ระบบขนส่งสาธารณะที่เป็นโครงข่ายหลักของเมือง : เป็นการสนับสนุนให้ประชาชนหันมาเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะเพ่ิมขึ้น โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถมีบทบาทในการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะย่อยเพ่ือสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะหลักในเมือง เช่น พัฒนาจุดบริการฝากรถ พัฒนาระบบเดินเรือในคลอง ปรับปรุงเส้นทางรถสองแถว เป็นต้น

Page 21: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 54

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

3. การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกภายในและรอบสถานีขนส่งสาธารณะ : เพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์จากโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองอย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยให้ความส าคัญกับการส่งเสริมให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายผังเมือง การสร้างอัตลักษณ์ของพ้ืนที่ และการพัฒนาพ้ืนที่รอบสถานีระบบขนส่งมวลชน (Transit Oriented Development, TOD) ตามระดับการพัฒนาและความสามารถในการบริหารจัดการของพ้ืนที่ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการพัฒนาพ้ืนที่ที่สอดคล้องกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

4. การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ านวยความสะดวก เพ่ือสนับสนุนการเดินทางที่ไม่ใช้ เครื่ องยนต์ ใน เขตเมือง (Non–Motorized Transport, NMT) : เป็นการ ให้ความส าคัญกับการพัฒนาทางข้าม ทางเท้า และทางจักรยานในพ้ืนที่ที่สามารถเชื่อมต่อการเดินทางกับระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมือง และการสร้างมาตรฐานและคุ้มครองความปลอดภัยของผู้สัญจรทางเดินเท้า และผู้ใช้จักรยานในเขตเมือง เพ่ือเพ่ิมสัดส่วนของการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ในภาพรวม ซึ่งจะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานในระยะต่อไปต้องค านึงถึงการอ านวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มผู้พิการ และผู้สูงอายุ โดยออกแบบพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานสาธารณะของภาครัฐ ให้สามารถอ านวยความสะดวกและรองรับผู้ใช้บริการทุกกลุ่มได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ภายใต้หลักการการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design)”

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 • รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาเพ่ือส่งเสริมการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ (Non-

Motorized Transport: NMT) และการปรับปรุงการเชื่อมต่อการเดินทางระบบขนส่งส า ธ า ร ณ ะ เ พ่ื อ ก า ร ข น ส่ ง อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น แ ล ะ เ ป็ น มิ ต ร ต่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ของ ส านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม

Page 22: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 55

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ค านึงถึงสิ่งแวดล้อม

เป้าหมาย เมืองมีผังเมืองที่ดีและมีการก าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินค านึงถึงสิ่งแวดล้อม เหตุผลและความส าคัญ

การวางผังเมือง เป็นการจัดประโยชน์ที่ดินเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น เมืองที่ไม่ได้มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบ จะส่งผลให้เมืองพัฒนาอย่างขาดระเบียบ ไร้ทิศทาง การใช้ประโยชน์ที่ดินไม่เหมาะสม เกิดปัญหาประชากรหนาแน่น ชุมชนแออัด สาธารณูปโภคไม่เพียงพอ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในเมืองโดยตรง ดังนั้น ผังเมืองที่ดีที่ค านึงถึงองค์ประกอบส าคัญทุกด้าน จึงเป็นเครื่องมือส าคัญของการพัฒนาเมือง เพ่ือให้การใช้ประโยชน์ที่ดินของเมืองเกิดประโยชน์สูงสุด เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความปลอดภัยของประชาชน การสร้างสภาพแวดล้อมของเมืองให้มีความร่มรื่น การวางสาธารณูปโภค-สาธารณูปการอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการคมนาคมการขนส่งที่ประหยัดพลังงาน การด ารงรักษาสถานที่ที่มีคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และโบราณคดี และด ารงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และภูมิทัศน์เมืองที่สวยงาม ส่งผลต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตโดยตรง

นิยาม การผังเมือง ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 หมายถึง การวาง จัดท าและด าเนินการให้เป็นไปตามผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะในบริเวณเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท เพ่ือสร้างหรือพัฒนาเมืองหรือส่วนของเมืองขึ้นใหม่หรือแทนเมืองหรือส่วนของเมืองที่ได้รับความเสียหายเพ่ือให้มีหรือท าให้ดียิ่งขึ้นซึ่งสุขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพ่ือส่งเสริมการเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม เพ่ือด ารงรักษาหรือบูรณะสถานที่และวัตถุที่มีประโยชน์หรือคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี หรือเพ่ือบ ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรือมีคุณค่าในทางธรรมชาติ ผังเมืองรวม ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 หมายถึง แผนผังนโยบายและโครงการ รวมทั้งมาตรการควบคุมโดยทั่วไป เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและการด ารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบทในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะและสภาพแวดล้อม เพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง อาคารเขียว (Green Building) ตามนิยามของมาตรฐาน LEED หมายถึง อาคารที่มีความรับผิดชอบในการรักษาสิ่งแวดล้อมและสามารถใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอด “วงจรอายุอาคาร” วงจรอายุ (Life Cycle) ของอาคาร ในที่นี้ พิจารณาตั้งแต่ขั้นตอนการวิเคราะห์เลือกที่ตั้งอาคาร การออกแบบ การก่อสร้าง การใช้งาน การบ ารุงรักษา การปรับปรุง และการท าลายเมื่อเลิกใช้

วัตถุประสงค์ เพ่ือผลักดันเมืองให้ความส าคัญกับการพัฒนาเมืองที่ค านึงถึงศักยภาพของพ้ืนที่ และขีดความความสามารถในการรองรับด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องตามภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศ โดยใช้ผังเมืองมาเป็นเครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

หัวข้อในการประเมินว่าเมืองมีการพัฒนาโดยส่งเสริมและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมืองรวม ประกอบด้วย ด้านที่ 1 มีการจัดท าตารางควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน

Page 23: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 56

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ด้านที่ 2 มีการจัดท าโครงการจัดรูปที่ดินเพ่ือพัฒนาพื้นที่ ด้านที่ 3 มีการก าหนดมาตรการเพ่ือควบคุมกิจกรรม ที่อาจขัดต่อสุขลักษณะ ความ

ปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม ด้านที่ 4 มีการก าหนดมาตรการเพ่ือควบคุมความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้านที่ 5 มีการสนับสนุนส่งเสริมการก่อสร้าง/ปรับปรุงเป็นอาคารเขียว โดยเกณฑ์การประเมิน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับท่ี 1 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 2 ด้าน ระดับท่ี 2 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมิน 3 ด้าน ระดับท่ี 3 มีการปฏิบัติตามหัวข้อการประเมินตั้งแต ่4 ด้าน ขึ้นไป

ค าอธิบายเกณฑ์

1) การจัดท าตารางควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน : เป็นการจัดท าตารางควบคุมภายในเขตผังเมืองรวมทั้งหมด รวมถึงกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดินที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาต เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการ ขออนุญาตก่อสร้างอาคารของประชาชน

2) การจัดท าโครงการจัดรูปที่ดินเพ่ือพัฒนาพ้ืนที่ : เป็นมาตรการในการพัฒนาผังเมือง รวมถึงการพัฒนาที่ดินในเมืองให้ที่ดินทุกแปลงมีสภาพแวดล้อมและใช้ประโยชน์ได้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยประสานกับภาครัฐหรือท้องถิ่นในการพัฒนาพ้ืนที่ จัดสร้างบริการพ้ืนฐานของเมืองตามแผนผังแม่บทและแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยวิธีการปันส่วนที่ดิน เพ่ือจัดท าสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบประปา ระบบการจัดการขยะ และระบบบ าบัดน้ าเสีย เป็นต้น

3) การก าหนดมาตรการเพ่ือควบคุมกิจกรรมที่อาจขัดต่อสุขลักษณะ ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม : เช่น การจัดท าแผนผังโครงการขนาดใหญ่ การควบคุมการจัดสรรที่ดิน การควบคุมเขตพ้ืนที่ซ้อนทับ การสงวนสิทธิ์การใช้ประโยชน์ที่ดิน การก าหนดเขตส่งเสริมการลงทุน การเพ่ิมอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพ้ืนที่ดิน การใช้มาตรการภาษีทรัพย์สิน การโอนสิทธิการพัฒนา การก าหนดระยะถอยร่นของอาคารโดยเฉพาะในพ้ืนที่อ่อนไหวต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการก าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ให้ความส าคัญต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การมีพ้ืนที่สีเขียวให้ได้ตามมาตรฐาน การคุ้มครองพ้ืนที่เกษตรชั้นและแหล่งผลิตอาหารชั้นดี การมีพ้ืนที่หน่วงน้ า หรือ แก้มลิง และการอนุรักษ์พ้ืนที่แนวน้ าท่วมหลากตามธรรมชาติ (Natural Floodway)

4) การจัดท ามาตรการเพ่ือควบคุมความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์ที่ดิน : เช่น การก าหนดอัตราส่วนพ้ืนที่ว่างต่อพ้ืนที่อาคารรวม (Open Space Ratio หรือ OSR) หรืออัตราส่วนพ้ืนที่ปกคลุมอาคารต่อพ้ืนที่ดิน (Building Coverage Ratio หรือ BCR) ตลอดจนระยะระหว่างอาคารกับเขตแปลงที่ดิน (Set Back) ขนาดแปลงที่ดิน (Lot Size) ความสูงของอาคาร (Building Height) ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามความเหมาะสมและความจ าเป็นต่อสุขลักษณะความปลอดภัยของประชาชนและสวัสดิภาพของสังคมในแต่ละประเภทการใช้ประโยชน์

อ้างอิง/แหล่งท่ีมา

• เกณฑ์และมาตรฐานผังเมืองรวม พ.ศ. 2549 กรมโยธาธิการและผังเมือง • ตัวชี้วัดและเกณฑ์การพัฒนาเมืองสู่การเติบโตสีเขียว โดย ส านักงานคณะกรรมการ

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

Page 24: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 57

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

1.2 ร่างมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมระดับชุมชน

ล าดับ องค์ประกอบ ค่ามาตรฐาน/เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน มิติทรัพยากร

1 น้ าผิวดิน แหล่งน้ าของชุมชน (ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ) ไม่ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าในด้านกายภาพและชีวภาพ เช่น เกิดน้ าเน่า มีปลาตาย สี-และกลิ่นผิดปกติ เป็นต้น

ระดับ 4 : ไม่ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ า ระดับ 3 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ า และได้รับการจัดการ แก้ไขท้ังหมด ระดับ 2 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ า และได้รับการจัดการ แก้ไขบางส่วน ระดับ 1 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ า และไม่ได้รับการจัดการ แก้ไข

2 น้ าใต้ดิน แหล่งน้ าใต้ดินของชุมชน (บ่อน้ าตื้น, บ่อบาดาล) ไม่ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าใต้ดิน จนไม่สามารถน ามาใช้ในการอุปโภคได้ เช่น มีความกระด้าง สี-กลิ่นผิดปกติ มีตะกอน เป็นต้น

ระดับ 4 : ไม่ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าใต้ดิน ระดับ 3 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าใต้ดิน และได้รับการจัดการ แก้ไขทั้งหมด ระดับ 2 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าใต้ดิน และได้รับการจัดการ แก้ไขบางส่วน ระดับ 1 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าใต้ดิน และไม่ได้รับการจัดการ แก้ไข

3 น้ าทะเลชายฝั่ง แหล่งน้ าทะเลชายฝั่งของชุมชน ไม่ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าทะเล เช่น สี-กลิ่นผิดปกติ มีคราบสารเคม-ีน้ ามัน เป็นต้น

ระดับ 4 : ไม่ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าทะเลชายฝั่ง ระดับ 3 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าทะเลชายฝั่ง และได้รับการจัดการ แก้ไขท้ังหมด ระดับ 2 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าทะเลชายฝั่ง และได้รับการจัดการ แก้ไขบางส่วน ระดับ 1 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ าทะเลชายฝั่ง และไม่ได้รับการจัดการ แก้ไข

4 ทรัพยากรดิน ดินในชุมชนไม่ประสบปัญหาการปนเปื้อนในดิน จนไม่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยและการท าเกษตรกรรม เช่น มีการปนเปื้อนของสารเคมีปราบ

ระดับ 4 : ไม่ประสบปัญหาเรื่องการปนเปื้อนในดิน ระดับ 3 : ประสบปัญหาเรื่องการปนเปื้อนในดิน และได้รับการจัดการ แก้ไขท้ังหมด

Page 25: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 58

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ล าดับ องค์ประกอบ ค่ามาตรฐาน/เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน ศัตรูพืช น้ ามัน สารอันตรายอื่นๆ เป็นต้น

ระดับ 2 : ประสบปัญหาเรื่องการปนเปื้อนในดิน และได้รับการจัดการ แก้ไขบางส่วน ระดับ 1 : ประสบปัญหาเรื่องการปนเปื้อนในดิน และไม่ได้รับการจัดการ แก้ไข

5 พ้ืนที่สีเขียว ชุมชนมีพ้ืนที่สวนสาธารณะ หรือพ้ืนที่สวนที่พัฒนาขึ้นเพ่ือให้ชุมชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน

ระดับ 3 : ชุมชนมีพ้ืนที่สวนสาธารณะหรือพ้ืนที่ที่พัฒนาขึ้นเพ่ือให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันและเพียงพอต่อความต้องการใช้ประโยชน์ และสามารถเข้าถึงได้สะดวก ระดับ 2 : ชุมชนมีพ้ืนที่สวนสาธารณะหรือพ้ืนที่ที่พัฒนาขึ้นเพ่ือให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน แต่ไม่สามารถรองรับความต้องการได้เพียงพอ ระดับ 1 : ชุมชนไม่มีพ้ืนที่สวนสาธารณะหรือพ้ืนที่ที่พัฒนาขึ้นเพ่ือให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน

มิติสิ่งแวดล้อม 6 น้ าเสียชุมชน ชุมชนมีการจัดการน้ าเสียครัวเรือนด้วย

วิธีการใดๆ เช่น รณรงค์ใช้ถังดักไขมัน ระบบบ าบัดเสียโดยธรรมชาติ บ่อกรองน้ าทิ้งโดยใช้วัสดุธรรมชาติ เป็นต้น

ระดับ 3 : ครัวเรือนทั้งหมดมีการด าเนินการจัดการน้ าเสียที่เกิดจากครัวเรือน ระดับ 2 : ครัวเรือนบางส่วนมีการด าเนินการจัดการน้ าเสียที่เกิดจากครัวเรือน ระดับ 1 : ครัวเรือนทั้งหมดไม่มีการด าเนินการจัดการน้ าเสียครัวเรือน

7 ขยะมูลฝอยชุมชน

ชุมชนมีการด าเนินกิจกรรมจัดการขยะตามหลัก 3 R คือ การลดการผลิตขยะ(เช่น ลดใช้ถุง/โฟม) การส่งเสริมการใช้ซ้ า (เช่น การน าของเหลือใช้มาดัดแปลงใช้อีกครั้ง) และการแยกขยะ (เช่น ธนาคารขยะ)

ระดับ 3 : มีการจัดตั้งกลุ่ม/ศูนย์การจัดการขยะภายในชุมชน ระดับ 2 : มีการส่งเสริมและด าเนินกิจกรรมการจัดการขยะตามหลัก 3 R ในชุมชน ระดับ 1 : ไม่มีการส่งเสริมและด าเนินกิจกรรมการจัดการขยะตามหลัก 3 R ในชุมชน

Page 26: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 59

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ล าดับ องค์ประกอบ ค่ามาตรฐาน/เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน 8 อากาศ สภาพอากาศในชุมชนไม่ประสบปัญหา

เรื่องคุณภาพอากาศ เช่น ฝุ่น-กลิ่นจากโรงงานข้างเคียงชุมชน เขม่า-ควันจากการเผาป่า-เผาในที่โล่ง เป็นต้น

ระดับ 4 : ไม่ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพอากาศ ระดับ 3 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพอากาศ และได้รับการจัดการ แก้ไขทั้งหมด ระดับ 2 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพอากาศ และได้รับการจัดการ แก้ไขบางส่วน ระดับ 1 : ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพอากาศ และไม่ได้รับการจัดการ แก้ไข

9 เสียงและสั่นสะเทือน

ชุมชนไม่ประสบปัญหาเรื่องเสียงดัง เสียงรบกวน และความสั่นสะเทือน

ระดับ 4 : ไม่ประสบปัญหาเรื่องเสียงดัง เสียงรบกวน และความสั่นสะเทือน ระดับ 3 : ประสบปัญหาเรื่องเสียงดัง เสียงรบกวน และความสั่นสะเทือน และได้รับการจัดการ แก้ไขทั้งหมด ระดับ 2 : ประสบปัญหาเรื่องเสียงดัง เสียงรบกวน และความสั่นสะเทือน และได้รับการจัดการ แก้ไขบางส่วน ระดับ 1 : ประสบปัญหาเรื่องเสียงดัง เสียงรบกวน และความสั่นสะเทือน และไม่ได้รับการจัดการ แก้ไข

มิติการพัฒนาเมือง (วิถีวัฒนธรรมและสิ่งปลูกสร้าง) 10 การรับมือภัย

พิบัติทางธรรมชาติ

ชุมชนมีการรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ (อุทกภัย ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม และแผ่นดินไหว)

ระดับ 3 : มีการส ารวจ จัดท าแผนที่พ้ืนที่เสี่ยง และแผนปฏิบัติการในการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมถึงการสร้างเครือข่ายในการจัดการน้ าอย่างยั่งยืน และการรับมือต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ ระดับ 2 : มีการพัฒนาความรู้ และสร้างขีดความสามารถของชุมชนและบุคลากร รวมทั้งการเตรียมการด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ในการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ระดับ 1 : มีแนวทางและการจัดการในการบรรเทาสาธารณภัยในชุมชน

Page 27: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 60

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ล าดับ องค์ประกอบ ค่ามาตรฐาน/เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน 11 สภาพมลทัศน์ ชุมชนมีกิจกรรมการรักษาและปรับปรุง

ภูมิทัศน์ภายในชุมชนเพ่ือให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม เช่น การปลูกต้นไม้ริมถนน การทาสี การท าความสะอาดริมคลอง เป็นต้น

ระดับ 3 : มีการก าหนดแผน และกฎกติกาในการรักษาและปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของชุมชน โดยเป็นด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ระดับ 2 : มีกิจกรรม หรือการด าเนินการรักษาและปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในชุมชน ระดับ 1 : ไม่มีกิจกรรม หรือการด าเนินการรักษาและปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในชุมชน

12 มรดกวัฒนธรรม และมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่น

ชุมชนมีการอนุรักษ์ พัฒนา และบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม และมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นเพ่ือให้ด ารงไว้ซึ่งคุณค่าและอัตลักษณ์ของชุมชน

ระดับ 3 : มีการจัดตั้งกลุ่ม/เครือข่ายในการอนุรักษ์ พัฒนา และบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม และมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นของชุมชน โดยมีผลงานและการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ระดับ 2 : มีการสนับสนุน ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ พัฒนา และบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม และมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นของชุมชน ระดับ 1 : ไม่มีการอนุรักษ์ พัฒนา และบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม และมรดกสิ่งก่อสร้างพ้ืนถิ่นของชุมชน

13 ระบบขนส่งสาธารณะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์

ชุมชนมีการส่งเสริมการเดินทางอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การท าทางร่วมส าหรับคนเดินเท้า ทางจักรยาน การจัดให้มีระบบขนส่งสาธารณะในชุมชนเพ่ือเชื่อมต่อระบบขนส่งของเมือง เป็นต้น

ระดับ 3 : มีการด าเนินการพัฒนา ปรับปรุง เพื่อให้เกิดการเดินทางอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ระดับ 2: มีการส่งเสริมกิจกรรม/โครงการ เพ่ือเอ้ือต่อการเดินทางอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ระดับ 1 : ไม่มีการด าเนินการในรูปแบบต่างๆ เพื่อส่งเสริมการเดินทางอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน

Page 28: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 61

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ล าดับ องค์ประกอบ ค่ามาตรฐาน/เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน 14 การใช้ประโยชน์

ที่ดินที่ค านึงถึงสิ่งแวดล้อม

ชุมชนมีการวางผังการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ค านึงถึงความสามารถในการรองรับด้านสิ่งแวดล้อม

ระดับ 3 : ชุมชนมีส่วนร่วมในการวางผังการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ค านึงถึงความสามารถในการรองรับด้านสิ่งแวดล้อม ระดับ 2 : มีการวางผังการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ค านึงถึง ความสามารถในการรองรับด้านสิ่งแวดล้อม ระดับ 1 : ไม่มีการวางผังการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ค านึงถึง ความสามารถในการรองรับด้านสิ่งแวดล้อม

2 แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอยา่งยั่งยืน

ในการก าหนดแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืนของโครงการ ได้พิจารณาก าหนดแนวทางออกเป็น 2 รูปแบบ คือ 1. แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน เพ่ือให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนมีความเหมาะสมและเป็นไปตามค่ามาตรฐานที่ก าหนดไว้ และ 2. แนวทางการบริหารมาตรฐานสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ซึ่งเป็นแนวทางในการน ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนไปปฏิบัติใช้

2.1 แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน

ส าหรับแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืนที่ได้ก าหนดไว้ ได้พิจารณาและอ้างอิงแนวทางการบริหารจัดการโดยมีความสอดคล้องกับเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ ดังนี้

• เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เป็นวาระการพัฒนาใหม่ของโลกที่จะเป็นแรงกดดันในห่วงโซ่การผลิตในอนาคตที่มุ่งเน้นความเชื่อมโยงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีหลักการ 5Ps ได้แก่ ประชาชน โลก ความมั่งคั่ง สันติภาพ และความเป็นหุ้นส่วน ประกอบด้วยเป้าหมาย ๑๗ ข้อ และเป้าประสงค์ ๑๖๙ ข้อ ซึ่ง SDGs นับเป็นภูมิทัศน์ใหม่ที่สร้างแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเป็นแรงกระตุ้นและตัวเร่งในการสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน และทาให้การด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ตลอดจนการประกอบธุรกิจขององค์กรทั้งภาคเอกชนและภาครัฐต้องปรับตัวเพ่ือก้าวไปสู่ความยั่งยืน

• ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) สาระส าคัญของยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย วิสัยทัศน์และเป้าหมายของชาติที่คนไทยทุกคนต้องการบรรลุร่วมกัน รวมทั้งนโยบายแห่งชาติและมาตรการเฉพาะ

Page 29: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 62

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ซึ่งเป็นแนวทาง ทิศทาง และวิธีการที่ทุกองค์กรและคนไทยทุกคนต้องมุ่งด าเนินการไปพร้อมกัน อย่างประสานสอดคล้อง เพ่ือให้บรรลุซึ่งสิ่งที่คนไทยทุกคนต้องการ ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” น าไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนา คุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของ คนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ

• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ เป็นแผนพัฒนาประเทศในระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ซึ่งแปลงยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยหลักการพัฒนาประเทศที่ส าคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ได้ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาที่ยั่งยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ที่ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙-๑๑ และยึดหลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้ าและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตบนฐานการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม โดยก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ทั้งหมด 10 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง และยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนา

• แผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 การจัดท าแผนการปฏิรูปประเทศ สอดคล้องตามพระราชบัญญัติ แผนและขั้นตอนการด าเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 เพ่ือก าหนดเป็นกลไก วิธีการ และขั้นตอนการด าเนินการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ ประกอบด้วย 1) ด้านการเมือง 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านการศึกษา 6) ด้านเศรษฐกิจ 7) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8) ด้านสาธารณสุข 9) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 10) ด้านสังคม และ 11) ด้านอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีก าหนด

จากเป้าหมาย แนวทาง และแผนต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ประเด็นส าคัญประการหนึ่งซึ่งถือเป็นกลไกในการขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนคือ ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการน าทรัพยากรต่างๆ ไปใช้เพ่ือเอ้ือให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ ด้วยเหตุนี้ จึงได้ก าหนดแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาพรวมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ดังนี้

• สร้างความรู้ ความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงความส าคัญและพร้อมเข้าร่วมในการผลักดันมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืนไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งสร้างความเข้าใจกับ

Page 30: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 63

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ภาคีทุกภาคส่วนโดยก าหนดกิจกรรมด าเนินการ ประเด็นสื่อสาร และเครื่องมือประชาสัมพันธ์แบ่งตามกลุ่มเปา้หมาย รวมถึงสร้างเสริมให้เกิดการขับเคลื่อนในระดับท้องถิ่น

• สร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมทั้ในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น อันน าไปสู่การก าหนดแผนงานโครงการ การระดมทรัพยากร แลพแนวทางการร่วมด าเนินงานของภาคส่วนต่างๆ รวมถึงบูรณาการประเด็นการพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์ที่มีความเชื่อมโยงกันและจัดท าเป็นแผนการลงทุนการพัฒนา/แผนพัฒนาเฉพาะด้านที่ตอบสนองการพัฒนาในมิติที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน เพ่ือปิดช่องว่างการพัฒนาของประเทศในแต่ละช่วงเวลาและสร้างรากฐานของการพัฒนาประเทศสู่เป้าหมายที่ก าหนด

• หน่วยงานกลางและหน่วยงานระดับท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องจัดท ายุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณแบบมีส่วนร่วม การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ าปีโดยใช้เป้าหมาย และหลักเกณฑ์ของมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืนในการก าหนดล าดับความส าคัญของแผนงานโครงการและภารกิจหน่วยงาน เพ่ือให้การด าเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ได้ อย่างมีประสิทธิผลบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน

• สร้างสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการขับเคลื่อนแผนของภาคีการพัฒนาต่างๆ โดยก าหนดให้มีการผลักดันปัจจัยหลักให้สามารถปรับเปลี่ยนเพ่ือเป็นเครื่องมือที่ส าคัญ อาทิ น าการศึกษาวิจัยมาเป็นเครื่องมือส าคัญให้การด าเนินการเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมและชุมชนอย่างยั่งยืน ปรับปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายต่างๆ ให้เอ้ือต่อการด าเนินการตามมาตรฐานฯ โดยน าเครื่องมือวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายมาใช้ประเมินอย่างมีประสิทธิภาพ

• วางระบบการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมและชุมชนอย่างยั่งยืน โดยเชื่อมโยงกับภารกิจ ตัวชี้วัดและแผนการปฏิบัติการของหน่วยงานที่เป็นกลไกรับผิดชอบการขับเคลื่อนการด าเนินการตามมาตรฐานฯ พร้อมทั้งน าเสนอผลการติดตามประเมินผล โดยน าเสนอผลการประเมินให้ทุกฝ่ายได้รับทราบทั้งประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ผู้ก าหนดนโยบาย หน่วยงานน านโยบายไปปฏิบัติ หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ ตลอดจนสาธารณชนผู้สนใจได้รับทราบผลการประเมิน

อย่างไรก็ตาม เพ่ือความชัดเจนในการน ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมและชุมชนอย่างยั่งยืนไปปฏิบัติใช้ จึงได้ก าหนดแนวทางในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานฯ ให้ครอบคลุมทั้ง 3 มิติ ได้แก่ มิติทรัพยากร มิติสิ่งแวดล้อม และมิติการพัฒนาเมือง โดยมีรายละเอียดแนวทางการจัดการดังตารางท่ี 2-1

ตารางที่ 2-1 แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน

ล าดับ ประเภท แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม มิติทรัพยากร

1 น้ าผิวดิน 1) ด าเนินการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจวัดคุณภาพน้ าของแหล่งน้ าผิวดินเป็นประจ าและต่อเนื่อง

2) จัดท าแผนปฏิบัติการและแผนฉุกเฉินส าหรับการจัดการคุณภาพน้ าของแหล่งน้ าผิวดิน เช่น ควบคุมการใช้ที่ดินบริเวณสองข้างฝั่งแม่น้ าล าคลอง และแหล่งน้ าต่างๆ

Page 31: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 64

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ตารางที่ 2-1 แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน

ล าดับ ประเภท แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม 2 น้ าใต้ดิน 1) มีการขึ้นทะเบียนจ านวนและแหล่งน้ าใต้ดินทั้งของภาครัฐ ภาคเอกชน

และภาคประชาชน 2) ด าเนินการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจวัดคุณภาพน้ าของน้ าใต้ดิน เช่น

น้ าบ่อตื้น น้ าบาดาล เป็นประจ าและต่อเนื่อง เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ า คุณภาพน้ า และปัจจัยเสี่ยงท่ีส่งผลกระทบตอ่แหล่งน้ าใต้ดิน

3) มีการศึกษา ส ารวจ ประเมินศักยภาพ พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรน้ าใต้ดิน เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน

4) มีการพัฒนาแหล่งน้ าใต้ดินในพื้นที่ให้มีศักยภาพและความเหมาะสม พร้อมทั้งควบคุม ดูแลการใช้ทรัพยากรน้ าใต้ดินให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

3 น้ าทะเลชายฝั่ง 1) ด าเนินการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจวัดคุณภาพน้ าของน้ าทะเลชายฝัง่เป็นประจ าและต่อเนื่อง

2) จัดท าแผนปฏิบัติการและแผนฉุกเฉินส าหรับการจัดการคุณภาพน้ าของน้ าทะเลชายฝั่ง

3) ก าหนดหลักเกณฑ์ในการบริหารจัดการ การบ ารุงรักษา การอนุรักษ์ การฟื้นฟูคุณภาพน้ าทะเลรวมถึงทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยส่งเสริมบทบาทของภาคีเครือข่ายทั้งในระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น และระดับประชาชน

4 ทรัพยากรดิน 1) มีการเก็บตัวอย่างดินเพื่อตรวจวัดคุณภาพดินเป็นประจ าและต่อเนื่อง 2) จัดท าแผนการจัดการด้านทรัพยากรดินเพื่อป้องกันและขจัดสิ่งปนเปื้อน

ที่เป็นพิษ 3) ฟื้นฟูและปรับปรุงดินที่มีปัญหาและเสื่อมโทรมให้มีคุณภาพที่ดี เพื่อคืน

ความอุดมสมบูรณ์ของดินและขจัดสิ่ งปนเปื้อนที่ เป็นพิษเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้ประโยชน์พื้นที่ได้อย่างเหมาะสมกับศักยภาพของดิน

4) ส่งเสริมให้ลดการใช้สารเคมีในพื้นที่สูงและพื้นท่ีต้นน้ า ควบคู่กับส่งเสริมการท าเกษตรอินทรีย์ และใช้มาตรการการอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

5) พัฒนาเครื่องมือและกลไก โดยเฉพาะกฎหมาย โครงสร้าง และองค์กรในการบริหารจัดการที่ดินที่ท าหน้าที่ก าหนดนโยบายที่ดินในภาพรวม และกลไกการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ให้มี เอกภาพ และประสิทธิภาพ

5 พื้นที่สีเขียว 1) จัดท าแผนการจัดการพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน โดยมีการก าหนดสัดส่วนการใช้พื้นที่อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ มีการแบ่งเขตที่ชัดเจน ก าหนดพื้นที่ท่ีมีศักยภาพท่ีจะพัฒนาเป็นพื้นที่สีเขียว

2) สนับสนุนและส่งเสริมให้ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการเพิ่มและบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว เช่น ก าหนดมาตรการในการจูงใจ การจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาพื้นที่สีเขียว เป็นต้น

Page 32: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 65

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ตารางที่ 2-1 แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน

ล าดับ ประเภท แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม มิติสิ่งแวดล้อม

1 น้ าเสียชุมชน 1) จัดท าแผนการจัดการน้ าเสีย ซึ่งครอบคลุมทั้งการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเพื่อวางแผนการจัดการน้ าเสีย การก าหนดรูปแบบการรวบรวมน้ าเสีย การบ าบัดน้ าเสีย แผนผังโรงบ าบัดน้ าเสีย พ้ืนท่ีให้บริการ เป็นต้น

2) สนับสนุนให้ท้องถิ่นมีระบบรวบรวมและบ าบัดน้ าเสีย ชุมชน ให้ครอบคลุมพื้นท่ีที่มีความจ าเป็น พร้อมท้ังมีการฟื้นฟู และปรับปรุงระบบบ าบัดน้ าเสียให้สามารถใช้งานได้เต็มศักยภาพและก่อสร้างเพิ่มเติมในพื้นที่ท่ีมีปัญหาน้ าเสีย

3) สร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักด้านการจัดการน้ า เสียให้แก่ประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ี

4) ก าหนดเป็นนโยบายในการควบคุมให้บ้านเรือนและอาคารติดตั้งบ่อดักไขมันและระบบบ าบัดน้ าเสียเพื่อลดปริมาณความสกปรกในเบื้องต้น

5) สรรหาแนวทางการพัฒนากลไกและระบบการติดตาม ตรวจสอบแหล่งกาเนิดน้ าเสีย โดยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งมีการรายงานผลที่รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ เพื่อให้สามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที

2 ขยะมูลฝอยชุมชน 1) ให้มีการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ตั้งแต่การเก็บกัก การเก็บขน การขนส่ง และการก าจัด

2) ควบคุมอัตราการผลิตขยะมูลฝอยของประชากร เช่น งดหรือเลิกการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก หรือวัสดุที่ย่อยสลายได้ยาก

3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการคัดแยก และน าขยะมูลฝอยชุมชนกลับมาใช้ประโยชน์

4) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยชุมชนมากขึ้น

5) ให้มีแผนการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน และระบบก าจัดขยะมูลฝอยชุมชนที่ถูกสุขลักษณะ

3 อากาศ 1) ด าเนินการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจวัดคุณภาพอากาศเป็นประจ าและต่อเนื่อง

2) จัดท าแผนการจัดการด้านคุณภาพอากาศ โดยเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ด้านอากาศให้เป็นไปตามมาตรฐาน พร้อมทั้งก าหนดให้มีเครื่องมือและอุปกรณ์ในการจัดการ แก้ไขหากเกิดปัญหามลพิษทางอากาศ

3) ก าหนดให้มีการควบคุมคุณภาพอากาศจากแหล่งก าเนิดของยานพาหนะและสถานประกอบการให้มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอย่างเข้มงวด และกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ตลอดจนส่งเสริมมาตรการห้ามมิให้มีการเผาในพื้นที่ชุมชน และพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อป้องกันปัญหามลพิษทางอากาศที่จะเกิดขึ้น

Page 33: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 66

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ตารางที่ 2-1 แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน

ล าดับ ประเภท แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม 4 เสียงและสั่นสะเทือน 1) มีการตรวจวัดเสียงและความสั่นสะเทือนเป็นประจ าและต่อเนื่อง

2) จัดท าแผนการจัดการด้านเสียง ด้วยการจัดการแหล่งก าเนิดและปกป้องแหล่งรับเสียง

3) จัดท าแผนการจัดการด้านความสั่นสะเทือน มิติการพัฒนาเมือง

1 การรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ

1) จัดท าแผนการป้องกันและรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ 2) มีการให้ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการรับภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมถึง

บูรณาการการเรียนรู้ในหลักสูตรของสถานศึกษา 3) มีการจัดตั้งศูนย์/เครือข่าย/กลุ่มในการประสานงาน เฝ้าระวัง และรับมอื

ภัยพิบัติทางธรรมชาติ 2 มาตรฐานสภาพมลทัศน์ 1) มีการก าหนดแผนและนโยบายในการจัดการด้านมลทัศน์ เพื่อสร้าง

ความกลมกลืนกับธรรมชาติและสภาพแวดล้อม ทั้งสี รูปทรง และรูปร่าง

3 มรดกวัฒนธรรม และมรดกสิ่งกอ่สร้างพื้นถิ่น

1) รวบรวมและจัดท าบัญชีรายช่ือที่แสดงถึงภูมิปัญญา วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรมที่เป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น พร้อมทั้งก าหนดแนวทางและวิธีการในการอนุรักษ์ สืบสานให้ด ารงอยู่ต่อไป

4 ระบบขนส่งสาธารณะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต ์

1) มีการก าหนดแผนงานและนโยบายในการออกแบบ พัฒนาและก่อสร้างถนน ทางเดิน และทางเท้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

2) มีการสนับสนุนและส่งเสริมให้มีระบบบริการขนส่งสาธารณะให้ครอบคลุมโครงข่ายหลักและโครงข่ายรอง

3) พัฒนาโครงข่ายการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชนสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับผู้โดยสารอย่างเพียงพอ และมีระบบการจัดการด้านความสะดวก ปลอดภัย ประหยัดเวลา และประหยัดเชื้อเพลิง ท่ีมีประสิทธิภาพ

5 การใช้ประโยชน์ท่ีดินที่ค านึงถึงสิ่งแวดล้อม

1) มีการส ารวจการใช้ประโยชน์ที่ดินและจัดท าแผนการพัฒนาเมือง จัดระเบียบ และวางผังเมืองให้เป็นระบบและค านึงถึงสิ่งแวดล้อมและบริบทของเมือง เช่น เมืองที่อยู่อาศัย เมืองการค้า เมืองเกษตรกรรม เมืองอุตสาหกรรม เมืองท่องเที่ยว เป็นต้น

2) สนับสนุนและส่งเสริมให้การออกแบบและก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นใหม่ให้มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

3) จัดท าและบังคับใช้การวางผังเมืองที่มีการวางและก าหนด การใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างเป็นสัดส่วน ชัดเจน และสอดคล้องกับศักยภาพและรักษาความสมดุลของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและชุมชนในอนาคต

2.2 แนวทางการบริหารมาตรฐานสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน

ในการก าหนดแนวทางการบริหารมาตรฐานสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนของโครงการ ซึ่งก าหนดให้ครอบคลุมในประเด็น ขั้นตอนการอนุมัติ และกลไกการน ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนไปปฏิบัติ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

Page 34: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 67

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

2.2.1 ขั้นตอนการอนุมัติมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน

ในขั้นตอนการอนุมัติของแนวทางการบริหารมาตรฐานสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนของโครงการ ซึ่งได้ด าเนินการศึกษาและก าหนดร่างมาตรฐานฯ พร้อมทั้งจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็น เพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและน าข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้มาประกอบการพิจารณาก าหนดร่างมาตรฯ ซึ่งด าเนินการศึกษาโดยส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับบริษัทที่ปรึกษา ภายหลังจากการก าหนดร่างมาตรฐานฯ แล้วเสร็จ จะน าเสนอร่างมาตรฐานฯ ผ่านคณะอนุกรรมการการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนและพ้ืนที่เฉพาะ และน าเสนอผ่านคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กกวล.) เพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบและประกาศเป็น “มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน” รายละเอียดดังรูปที่ 2-1

รูปที่ 2-1 ขั้นตอนการอนุมัติมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน

ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ม

คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กกวล.)

ประกาศมาตรฐาน “มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมือง

และชมุชน”

ก าหนดร่างมาตรฐานฯ

• พิจารณาร่างมาตรฐานฯ • เห็นชอบ

คณะอนุกรรมการ การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนและ

พ้ืนที่เฉพาะ

Page 35: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 68

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด

2.2.2 กลไกการน ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนไปปฏิบัติ

เมื่อมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนผ่านขั้นตอนการอนุมัติ และถูกประกาศเป็นมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ซึ่งในขั้นตอนการน ามาตรฐานฯ ดังกล่าวไปปฏิบัติ อาจต้องผ่านระบบกลไกขั้นตอนต่างๆ โดยโครงการได้พิจารณาเสนอแนะกลไกในการให้เมืองและชุมชนน ามาตรฐานไปปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้

• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก าหนดเป็นภารกิจหน้าที่ของส านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด และส านักงานสิ่งแวดล้อมภาค ในการช่วยส่งเสริมให้ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ด าเนินการตามมาตรฐานฯ ที่ได้ก าหนด โดยจัดตั้งเป็นหน่วยงานเฉพาะที่มีหน้าที่ก ากับดูแลหรือตรวจสอบให้เมืองมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมเป็นไปตามมาตรฐานฯ ที่ได้ก าหนดไว้ ซึ่งต้องมีผู้แทนจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานราชการในพ้ืนที่ โดยมีส านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด และส านักงานสิ่งแวดล้อมภาค และหน่วยงานท้องถิ่นในพ้ืนที่ โดยมี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่ เป็นหน่วยงานหลักในการด าเนินการ และมีผู้แทนจากภาคส่วนระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ได้แก่ อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทสม.) ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ที่แต่งตั้งขึ้นมาช่วยในการด าเนินการรวบรวมข้อมูลในเมืองและชุมชนที่รับผิดชอบ

• เสนอต่อกระทรวงมหาดไทย ผ่านอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพ่ือพิจารณาให้น ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ไปก าหนดเป็นตัวชี้วัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคู่กับการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ Local Performance Assessment; LPA หรือเสนอให้เป็นเงื่อนไขหนึ่งในการที่กระทรวงมหาดไทยจะสนับสนุนงบประมาณอุดหนุนด้านสิ่งแวดล้อมให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ

• สนับสนุนให้สถาบันหรือองค์กรที่จัดฝึกอบรมระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาทิ สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นฯ ให้น า “มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน” นี้ไปพิจารณาเพ่ิมในหลักสูตรการฝึกอบรมเพ่ือส่งเสริมองค์ประกอบและมุมมองการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ด าเนินการอยู่แล้ว และท่ีมีความสนใจน าระบบมาตรฐาน ISO 14001 ไปใช้ในการบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ซึ่งสามารถยกระดับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนให้เข้าสู่มาตรฐานระดับสากลต่อไปได้

• เสนอไปยังกรมการท่องเที่ยว เพ่ือส่งเสริม และวางแผนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนไปปฏิบัติควบคู่ไปกับมาตรฐานการท่องเที่ยวที่ช่วยส่งเสริม อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู บูรณะ ปรับปรุง และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนทรัพยากรทางการท่องเที่ยวและคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายใตข้้อบังคับของกฎหมาย

• เสนอไปยังกองทุนสิ่งแวดล้อมของส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือให้ก าหนดเป็นเงื่อนไขหนึ่งในการขอรับเงินอุดหนุนด้านสิ่งแวดล้อมผ่านจังหวัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการน ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนนี้ไปประเมินทั้งก่อนและหลังด าเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปีด้วย

Page 36: green space)...Solids) ก อนท าการว เคราะห หาค าบ โอด ท ก าหนดไว ใน Standard Methods for the Examination of Water and

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน้า 69

เอกสารประกอบการประชุม บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด ์เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด