สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว...

9
1 สถานการณคุณภาพน้ําผิวดินระหวางเดือนตุลาคม ธันวาคม 2547 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในแมน้ําสายสําคัญ 48 สาย และแหลงน้ํานิ่ง 4 แหลง ( กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหานและทะเลสาบสงขลา) ในชวงระหวางเดือนตุลาคม ธันวาคม 2547 พิจารณาเฉพาะดัชนีคุณภาพน้ําทีสําคัญคือ ออกซิเจนละลายน้ํา (DO) ความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) โคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด (TCB) คัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) และแอมโมเนีย (NH 3 ) โดยเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพแหลงน้ําผิวดิน ซึ่งมิใชทะเล โดยแยกเปนรายภาคดังนีภาคเหนือ แหลงน้ําที่ตรวจสอบคุณภาพน้ําทั้งหมด 11 แหลงน้ํา ไดแก แมน้ําปง วัง ยม นาน กวง กก ลีอิง แมจาง รวมทั้งแหลงน้ํานิ่ง ไดแก กวานพะเยา และบึงบอระเพ็ด พบวาคุณภาพน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑดีโดยมี ปริมาณออกซิเจนละลายอยูในชวง 3.8 -10.7 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 0.6 -1.7 มิลลิกรัมตอลิตร ยกเวน กวานพะเยาและบึงบอระเพ็ด มีคา 2.5 และ 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ สวนปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียพบวามีการปนเปอนในปริมาณมากในแมน้ํา ปง (53,406 ; 52,646) กวง (44,228 ; 40,657) และกก (29,425 ; 5,995) ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการปนเปอนของน้ํา เสียจากชุมชนในแหลงน้ําดังกลาว สําหรับปริมาณแอมโมเนียในน้ําทุกแมน้ําไมมีปญหาแตอยางใด (มีคาไมเกิน 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร) รายละเอียดดังตารางที1 ภาคกลาง แหลงน้ําที่ตรวจวัดทั้งหมด 12 แหลงน้ําไดแก แมน้ําเจาพระยา ทาจีน แมกลอง แควใหญ แควนอย ปาสัก ลพบุรี นอย สะแกกรัง เพชรบุรี ปราณบุรี และกุยบุรี พบวาแหลงน้ําซึ่งเปนตนน้ํามีคุณภาพอยู ในเกณฑดี เชน แมน้ําแมกลอง แควใหญ แควนอย ปาสัก ลพบุรี นอย ปราณบุรีและกุยบุรี สวนแมน้ําสายหลักที่แหลงน้ําทีกําหนดเปนแหลงน้ําผิวดินประเภทที2 คือแมน้ําเจาพระยาตอนบน และทาจีนตอนบน พบวา ปริมาณออกซิเจน ละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน (มีคา 5.8, 4.0 และ 4.1 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) ซึ่งต่ํากวาเกณฑ มาตรฐานที่กําหนดใหมีคาไมนอยกวา 6.0 มิลลิกรัมตอลิตร โดยเฉพาะอยางยิ่งแมน้ําทาจีนตอนกลางและ ตอนลาง มีปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 1.9 และ 0.3 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ(มาตรฐานตองไมต่ํากวา 4 และ 2 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) นอกจากนีแมน้ําเพชรบุรีทั้งตอนบน และตอนลาง มีปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 4.1 และ 3.7 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ (มาตรฐานตองไมต่ํากวา 6 และ 4 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) สวนปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรีย ทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียพบวามีปริมาณเกินเกณฑมาตรฐาน และมีปริมาณสูงมากในแมน้ําเจาพระยา ตอนลาง (40,600 ; 27,200) ทาจีนตอนกลาง (108,333 ; 8,700) ทาจีนตอนลาง (52,429 ; 16,714) แมกลอง (24,030 ; 6,060) ลพบุรี (33,980 ; 5,100) เพชรบุรีตอนลาง (22,500 ; 18,500) และปราณบุรี (26,860 ; 12,120) ทั้งนี้สวนใหญพบในบริเวณที่เปนแหลงที่ตั้งของชุมชนหนาแนน สําหรับปริมาณแอมโมเนียในน้ําพบวาไมมีปญหา แตอยางใด (มีคาไมเกิน 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร) ยกเวนบริเวณแมน้ําทาจีนตอนกลางและตอนลาง ปริมาณ

Transcript of สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว...

Page 1: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

1

สถานการณคุณภาพน้ําผิวดินระหวางเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2547 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในแมนํ้าสายสําคัญ 48 สาย และแหลงน้ํานิ่ง 4 แหลง (กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหานและทะเลสาบสงขลา) ในชวงระหวางเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2547 พิจารณาเฉพาะดัชนีคุณภาพน้ําที่สําคัญคือ ออกซิเจนละลายน้ํา (DO) ความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) โคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด (TCB) ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) และแอมโมเนีย (NH3) โดยเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพแหลงน้ําผิวดินซึ่งมิใชทะเล โดยแยกเปนรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ แหลงน้ําที่ตรวจสอบคุณภาพน้ําทั้งหมด 11 แหลงน้ํา ไดแก แมน้ําปง วัง ยม นาน กวง กก ลี้ อิง แมจาง รวมทั้งแหลงนํ้านิ่ง ไดแก กวานพะเยา และบึงบอระเพ็ด พบวาคุณภาพน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑดีโดยมีปริมาณออกซิเจนละลายอยูในชวง 3.8 -10.7 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 0.6 -1.7 มิลลิกรัมตอลิตร ยกเวน กวานพะเยาและบึงบอระเพ็ด มีคา 2.5 และ 2.0 มิลลกิรัมตอลิตร ตามลําดับ สวนปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียพบวามีการปนเปอนในปริมาณมากในแมน้ําปง (53,406 ; 52,646) กวง (44,228 ; 40,657) และกก (29,425 ; 5,995) ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการปนเปอนของน้ําเสียจากชุมชนในแหลงน้ําดังกลาว สําหรับปริมาณแอมโมเนียในนํ้าทุกแมนํ้าไมมีปญหาแตอยางใด (มีคาไมเกิน 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร) รายละเอียดดังตารางที่ 1 ภาคกลาง แหลงน้ําที่ตรวจวัดทั้งหมด 12 แหลงนํ้าไดแก แมน้ําเจาพระยา ทาจีน แมกลอง แควใหญ แควนอย ปาสัก ลพบุรี นอย สะแกกรัง เพชรบุรี ปราณบุรี และกุยบุรี พบวาแหลงน้ําซึ่งเปนตนน้ํามีคุณภาพอยูในเกณฑดี เชน แมน้ําแมกลอง แควใหญ แควนอย ปาสัก ลพบุรี นอย ปราณบุรีและกุยบุรี สวนแมน้ําสายหลักที่แหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 คือแมน้ําเจาพระยาตอนบน และทาจีนตอนบน พบวา ปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน (มีคา 5.8, 4.0 และ 4.1 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) ซ่ึงต่ํากวาเกณฑมาตรฐานที่กําหนดใหมีคาไมนอยกวา 6.0 มิลลิกรัมตอลิตร โดยเฉพาะอยางยิ่งแมน้ําทาจีนตอนกลางและตอนลาง มีปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 1.9 และ 0.3 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ(มาตรฐานตองไมต่ํากวา 4 และ 2 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) นอกจากนี้ แมน้ําเพชรบุรีทั้งตอนบนและตอนลาง มีปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 4.1 และ 3.7 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ (มาตรฐานตองไมต่ํากวา 6 และ 4 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) สวนปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียพบวามีปริมาณเกินเกณฑมาตรฐาน และมีปริมาณสูงมากในแมน้ําเจาพระยาตอนลาง (40,600 ; 27,200) ทาจีนตอนกลาง (108,333 ; 8,700) ทาจีนตอนลาง (52,429 ; 16,714) แมกลอง (24,030 ; 6,060) ลพบุรี (33,980 ; 5,100) เพชรบุรีตอนลาง (22,500 ; 18,500) และปราณบุรี (26,860 ; 12,120) ทั้งนี้สวนใหญพบในบริเวณที่เปนแหลงที่ต้ังของชุมชนหนาแนน สําหรับปริมาณแอมโมเนียในน้ําพบวาไมมีปญหาแตอยางใด (มีคาไมเกิน 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร) ยกเวนบริเวณแมนํ้าทาจีนตอนกลางและตอนลาง ปริมาณ

Page 2: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

2

แอมโมเนียในน้ํามีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 1.00 และ 1.44 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 2 ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ แหลงน้ําทีต่รวจวัดทั้งหมด 11 แหลงนํ้า ไดแก แมน้าํพอง ช ี มูล ลําปาว เสียว สงคราม เลย อูน ลําช ี ลําตะคอง และแหลงน้ํานิ่งคือหนองหาน พบวาคุณภาพน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑดีโดยมีปริมาณออกซเิจนละลายอยูในชวง 4.8 – 7.8 มิลลิกรัมตอลิตร ปรมิาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 0.8 -1.9 มิลลิกรัมตอลติร โดยแหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดนิประเภทที่ 3 คอื แมน้ําพอง มูล ชี และสงคราม พบวามีปริมาณออกซิเจนละลาย ความสกปรกในรูปสารอินทรีย โคลฟิอรมแบคทีเรยีทั้งหมดและฟคัลโคลฟิอรมแบคทเีรียและแอมโมเนีย อยูในเกณฑมาตรฐานที่กําหนด ยกเวนแมน้ําลําตะคองทั้งตอนบน ท่ีคุณภาพน้าํไมอยูในเกณฑมาตรฐาน คือ ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 3.5 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 2 มิลลิกรัมตอลิตร) โคลฟิอรมแบคทีเรียท้ังหมด 98,240 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 20,000 หนวย) และฟคลัโคลฟิอรมแบคทีเรยี 41,440 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 1,000 หนวย) สวนแมนํ้าลําตะคองตอนลางที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดนิประเภทที่ 4 พบวาคุณภาพนํ้าไมอยูในเกณฑมาตรฐาน คือ ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 4.4 มิลลิกรัมตอลติร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 4 มิลลกิรัมตอลิตร) และตรวจพบวามีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรยีท้ังหมดและฟคลัโคลฟิอรมแบคทีเรียท่ีมีปริมาณสูง (105,000 และ 32,500 หนวย ตามลําดับ) รายละเอียดดังตารางที ่3 ท้ังนี้เนื่องจากรองรับน้ําทิ้งจากชมุชนหนาแนนในเขตเมืองนครราชสีมา ภาคตะวันออก แหลงนํ้าที่ตรวจวัดทั้งหมด 9 แหลงน้ํา ไดแก แมนํ้าบางประกง นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง ประแสร พังราด จันทบุรี เวฬุ และตราด พบวาคุณภาพน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑพอใช โดยมีปริมาณออกซิเจนละลายอยูในชวง 1.8 – 4.4 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 1.3-3.9 มิลลิกรัมตอลิตร โดยแหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 คือ แมนํ้าปราจีนบุรี พบวาปริมาณออกซิเจนละลายและความสกปรกในรูปสารอินทรียไมอยูในเกณฑมาตรฐาน คือ พบวามีปริมาณออกซิเจนละลาย 4.4มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมนอยกวากวา 6 มิลลิกรัมตอลิตร) และปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 3.1 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 1.5 มิลลิกรัมตอลิตร) และแหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 3 คือ แมน้ําบางปะกง มีปริมาณออกซิเจนละลาย 3.1 มิลลิกรัมตอลิตร และแมนํ้านครนายก มีปริมาณออกซิเจนละลาย 3.2 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมนอยกวากวา 4 มิลลิกรัมตอลิตร) และมีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 2.9 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 2 มิลลิกรัมตอลิตร) นอกจากนี้พบวาแมน้ํานครนายก บริเวณเทศบาลเมืองนครนายก มีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียสูงเกินมาตรฐาน คือโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด 52,220 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 20,000 หนวย) และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย 49,806 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 4,000 หนวย) เนื่องจากเปนบริเวณที่รับน้ําทิ้งจากชุมชน สําหรับแมน้ําที่ไมไดกําหนดประเภท เชน แมนํ้าประแสร มีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียที่สูงมาก คือมีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียสูงเกินมาตรฐาน คือโคลิฟอรมแบคทีเรียท้ังหมด 110,108 หนวย (มาตรฐาน

Page 3: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

3

กําหนดไมเกิน 20,000 หนวย) และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย 16,032 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 4,000 หนวย) เนื่องจากเปนบริเวณท่ีรับน้ําทิ้งจากชุมชนเทศบาลตําบลทางเกวียน อําเภอแกลง จังหวัดระยอง รายละเอียดดังตารางที่ 4 ภาคใต แหลงน้ําที่ตรวจวัดมีทั้งหมด 9 แหลงนํ้า ไดแก แมน้ําปากพนัง ตาป พุมดวง ชุมพร หลังสวน ตรัง สายบุรี ปตตานี และแหลงน้ํานิ่งคือ ทะเลสาบสงขลา พบวาคุณภาพนํ้าโดยทั่วไปอยูในเกณฑดี โดยมีปริมาณออกซิเจนละลายอยูในชวง 3.2-7.8 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 0.6-2.4 มิลลิกรัมตอลิตร ยกเวนบางแมน้ําที่เปนแหลงรับนํ้าทิ้งจากชุมชน ไดแก บริเวณปากแมน้ําชุมพร พบวามีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 3.4 มิลลิกรัมตอลิตร นอกจากนี้ บริเวณทะเลสาบสงขลา มีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 4.1 มิลลิกรัมตอลิตร และปญหาในดานปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียท้ังหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียที่มีสูงถึง 236,157 และ 52,034หนวย ตามลําดับ เนื่องจากเปนบริเวณท่ีรับนํ้าทิ้งจากคลองสําโรง ท่ีไหลมาจากชุมชนหนาแนน รายละเอียดดังตารางที่ 5 สรุป จากการตรวจวัดคุณภาพนํ้าในแมน้ําสายหลักและแหลงนํ้านิ่งในประเทศไทย ในชวงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม 2547 พบวา

• แหลงนํ้าที่มีปญหาปริมาณออกซิเจนละลายคือ แมน้ําเจาพระยาตอนบน แมนํ้าทาจีนทั้งตอนบน ตอนกลางและตอนลาง (ซึ่งมีคาต่ํามาก) แมน้ําบางปะกง แมน้ําปราจีนบุรี แมนํ้านครนายก และระยอง

• แหลงน้ําที่มีปญหาความสกปรกในรูปอินทรียสารคือ แมน้ําปราจีนบุรี และแมน้ํานครนายก • แหลงน้ําที่มีปญหาการปนเปอนของโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด • ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียคือ แมน้ําปง แมนํ้ากวง แมนํ้าเจาพระยาตอนบน แมน้ําทาจีน แมน้ําลําตะ

คอง แมน้ํานาน แมนํ้ากก แมน้ําลี้ แมน้ําบางปะกง แมนํ้านครนายก แมน้ําประแสร แมน้ําจันทบุรี แมน้ําชุมพร แมน้ําหลังสวน และ

Page 4: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน
Page 5: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

4

ตารางที่ 1 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคเหนือ ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล) คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ปง - 6.1 0.6 53,406 52,646 0.1 TCB, FCB วัง - 7.0 1.2 5,880 2,318 ND ยม - 4.9 1.6 8,500 3,260 0.3 นาน - 5.7 1.7 8,095 4,242 0.3 กวง - 5.7 0.7 44,228 40,657 0.3 TCB, FCB กก - 6.6 0.9 29,425 5,955 0.1 TCB, FCB ล้ี - 5.4 1.3 5,750 5,215 0.3 TCB, FCB อิง - 3.8 1.0 1,370 170 0.06

แมจาง - 10.7 1.7 757 133 0.4 กวานพะเยา - 5.0 2.5 1,222 205 0.4 บึงบอระเพ็ด - 6.2 2.0 125 20 0.2

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ ND หมายถึง ไมสามารถตรวจวัดได (ตํ่ากวา 0.01 มก./ล.) DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

Page 6: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

5

ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคกลาง ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพนํ้า ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

เจาพระยาตอนบน 2 5.8 2.7 4,560 1,450 0.20 FCB เจาพระยาตอนกลาง 3 4.5 1.7 5400 1,700 0.14 TCB เจาพระยาตอนลาง 4 2.0 2.6 40,600 27,200 0.10 TCB,FCB ทาจีนตอนบน 2 4.0 1.3 14,050 4,375 0.63 DO,TCB, FCB ทาจีนตอนกลาง 3 1.9 2.0 108,333 8,700 1.00 DO, TCB, FCB ทาจีนตอนลาง 4 0.3 3.0 52,429 16,714 1.44 DO, TCB,FCB,

แมกลอง 3 5.6 2.1 24,030 6,080 0.20 TCB,FCB เพชรบุรีตอนบน 2 4.1 1.0 190 95 0.20 DO เพชรบุรีตอนลาง 3 3.7 1.6 22,500 18,500 0.28 TCB, FCB

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

แควใหญ - 4.9 0.6 1,360 158 0.21 แควนอย - 5.2 1.0 1,794 1,800 0.20 ปาสัก - 8.2 1.8 3,633 1,114 0.06 ลพบุรี - 4.1 2.6 33,980 5,100 0.31 TCB,FCB นอย - 3.8 2.4 4,800 1,540 0.08

สะแกกรัง - 4.7 1.9 4,467 200 0.23 ปราณบุรี - 4.7 1.8 26,860 12,120 0.05 TCB, FCB กุยบุรี - 7.9 1.0 5,000 5,000 0.13 FCB

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

Page 7: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

6

ตารางที่ 3 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต.ค. – ธ.ค. 2547

แหลงนํ้า ประเภทแหลงนํ้า

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ คุณภาพน้ํา ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

DOลําตะคองตอน

BOD (ม.ก./ล)

TCB (หนวย)

FCB (หนวย)

NH3

(ม.ก./ล)

พอง 3 5.0 1.1 1,562 408 0.12 ชี 3 4.8 1.5 3,144 1,347 0.25 BOD มูล 3 5.9 1.9 1,390 408 0.23

สงคราม 3 6.2 1.0 1,000 300 0.07 ลําตะคองตอนบน 3 5.8 3.5 98,240 41,440 0.22 BOD,TCB,FCB ลําตะคองตอนลาง 4 2.4 4.4 105,000 32,500 0.12 BOD,TCB,FCB

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ลําปาว - 6.3 1.1 860 380 0.14 เสียว - 5.1 1.0 490 410 0.15 เลย - 5.4 1.0 32,200 2,654 0.02 TCB,FCB อูน - 6.2 1.3 1,700 201 0.17 ลําชี - 6.9 1.5 860 121 0.02

หนองหาน - 7.8 0.8 142 36 0.21

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

Page 8: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

7

ตารางที่ 4 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคตะวันออก ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ํา ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

ปราจีนบุรี 2 4.4 3.1 686 564 0.63 DO, BOD นครนายก 3 3.2 2.9 52,220 49,806 0.63 DO, BOD, TCB, FCB บางปะกง 3 3.1 1.8 5,145 1,215 0.22

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ระยอง - 1.8 3.0 4,270 3,953 0.15 ประแสร - 2.7 3.9 110,108 16,032 0.09 TCB, FCB พังราด - 3.8 3.3 4,170 970 0.03 จันทบุรี - 3.7 3.2 5,444 2,984 0.07 TCB, FCB เวฬุ - 2.8 1.9 183 132 0.14 ตราด - 2.5 1.3 1,500 250 0.09

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

Page 9: สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว ...infofile.pcd.go.th/water/WaterState4thQ47.pdf1 สถานการณ ค ณภาพน

8

ตารางที่ 5 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคใต ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคญั แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ํา ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

ตาปตอนบน 2 7.8 0.9 400 2 0.04 ตาปตอนลาง 3 5.6 1.0 2,700 643 0.12 พุมดวง 3 5.9 0.7 8,767 1,075 0.20 ปากพนัง 3 4.4 1.9 10,383 2,538 0.30

ปตตานีตอนบน 2 5.6 0.8 1,850 900 0.24 DO ปตตานีตอนลาง 3 3.4 2.1 9,350 1,550 0.11 DO, BOD

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ชุมพร - 4.7 3.4 13,667 13,667 0.28 TCB, FCB, BOD หลังสวน - 6.6 1.4 6,450 5,435 0.27 ตรัง - 5.1 1.3 160 50 0.03 TCB

สายบุรี - 6.4 0.6 2,075 575 0.15 ทะเลนอย - 3.2 2.1 533 243 0.18 ทะเลหลวง - 5.9 2.4 4,750 2,538 0.12

ทะเลสาบสงขลา - 4.5 4.1 236,157 52,043 3.14 TCB, FCB, BOD

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย