ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 ·...

107

Transcript of ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 ·...

Page 1: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 2: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

ปณิธาน

มหาวิทยาลัยศิลปากรมีจุดมุงหมายหลักคือการถายทอดและพัฒนาความเจริญกาวหนาทางวิชาการ

และวิชาชีพช้ันสูง พรอมทั้งเสริมสรางสติปญญาความคิดและความรูสึกรับผิดชอบใหแกบุคคล ตลอดจน

ทํานุบํารุงและเสริมสรางศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะอยางย่ิงในเรื่องของศิลปวัฒนธรรมไทย

ปรัชญา

มหาวิทยาลัยศิลปากรเปนแหลงคนควาวิจัย รวบรวมถายทอดความรูและศิลปวิทยาการชั้นสูง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยมีเปาหมายในการผลิตบัณฑิตทุกระดับปริญญาใหมีภูมิปญญาสูง มี

ความคิดสรางสรรค ยึดมั่นในคุณธรรม เพียบพรอมดวยจรรยาบรรณ และจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม มหาวิทยาลัยเปนศูนยกลางทางวิชาการบนพื้นฐานการอนุรักษพัฒนาภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย

ตามหลักเสรีภาพทางวิชาการ เพ่ือประโยชนของชุมชนในภูมิภาคตะวันตกประเทศชาติและมนุษยชาติทั้งมวล

วิสัยทัศน

1. ผลิตบณัฑิตทีม่ีความรู ความสามารถ มีคุณธรรมและจริยธรรม 2. เปนเลิศทางศิลปะและวัฒนธรรม พรอมทั้งพัฒนาดานมนุษยศาสตร สังคมศาสตร

วิทยาศาสตรสุขภาพ และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3. เปนศนูยกลางทางศิลปะและวิทยาการของภาคตะวนัตกและภูมภิาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต 4. เปนองคกรที่มีการบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได และประชาคมมีสวนรวม 5. เปนองคกรเสริมสรางความเขมแข็งใหสังคมและชุมชน

พันธกิจ

1. สืบสานและทํานบุํารุงศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงามทั้งในระดบัทองถ่ินและระดบัชาต ิ2. พัฒนาและถายทอดความรู เพ่ือเสริมสรางบุคคลใหมีความรูในวิชาชีพช้ันสูง มีสติปญญา

ความคดิ และความรูสึกรับผิดชอบตอสังคม 3. คนควา วิจัย และสรางสรรคผลงานวจิัย และผลงานดานศิลปะ เพ่ือความกาวหนาทางวิชาการ

4. ใหบริการวชิาการแกสังคม เพ่ือเสริมสรางความเขมแข็งแกชุมชน และพัฒนาความสามารถในการแขงขันระดับชาต ิและนานาชาต ิ

5. พัฒนาระบบการบริหารจดัการใหมีประสิทธิภาพ มีความโปรงใส ตรวจสอบได และประชาคมม ี สวนรวมในการบริหารจดัการ 6.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุพันธกิจของมหาวิทยาลัยและการศึกษาสาธารณะ

Page 3: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

ตราสัญลักษณ

มหาวิทยาลัยศิลปากรมีตราสัญลักษณซึ่งใชเปนเครื่องหมายราชการ คือ พระพิฆเนศนั่งบน

บัลลังกเมฆ มีอักษรคําวา มหาวิทยาลัยศิลปากร อยูดานลาง ซึ่งความหมายของพระ

พิฆเนศ คือ เปนเทพเจาแหงความสําเร็จ ทั้งยังเปนเทพแหงศิลปะวิทยาการทั้งปวง ซึ่ง

ตรงกับการจดัตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร

สีและตนไมประจํามหาวิทยาลัย สีประจํามหาวิทยาลัย สีเขียวเวอรริเดียน ตนไมประจํามหาวิทยาลัย ตนจนั

Page 4: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

สารนายกสภามหาวิทยาลัย

ดวยความรับผิดชอบที่มีตอสังคมและปณิธานของการกอตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรใหเปน

แหลงศึกษาที่สําคัญ จึงมุงมั่นที่จะผลักดันมหาวิทยาลัยศิลปากรใหดําเนินไปตามพันธกิจความ

รับผิดชอบอยางตอเนื่อง ดังจะเห็นไดจากผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษา 2550 และ

ปงบประมาณ พ.ศ. 2551 ที่มหาวิทยาลัยศิลปากรไดมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาดานตาง ๆ ทั้ง

สวนของการบริหารงานภายใน การจัดการศึกษา การวิจัย การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การ

ใหบริการวิชาการ เพ่ือตอบสนองตอสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคมที่มีความผันผวนอยาง

รวดเร็ว ซึ่งสภาพดังกลาวนั้น การพัฒนาจะดําเนินไปดวยความมั่นคงและยั่งยืนยอมตองอาศัยความ

รวมมือจากบุคลากรในทุกระดับ ผลการดําเนินงานในชวงเวลาที่ผานมา มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินการตามเปาหมายที่

กําหนดไวในยุทธศาสตรและภารกิจหลักของหนวยงาน ดังจะเห็นไดจากผลงานที่ปรากฏอยาง

ประจักษชัดในรายงานฉบับนี้ ภายใตความรวมมือ รวมใจ เสียสละอยางจริงใจของบุคลากรและ

หนวยงานตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมีเปาหมายรวมกันที่จะนําพามหาวทิยาลยั

ใหมุงสูความเปนเลิศในเชิงวิชาการ การวิจัย การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การใหบริการทางวิชาการ

แกสังคม ทั้งนี้ยังใหความสําคัญตอการสรางบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม นอกเหนือจากความเปน

เลิศทางวิชาการ เพื่อออกไปสรางสรรคสังคมอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ในนามของสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณทุกทานที่ใหความรวมมือและสนับสนุน

การปฏิบัติงานตามภารกิจของมหาวิทยาลัยอยางเต็มความสามารถดวยดีตลอดมา สงผลให

มหาวิทยาลัยมีความเจริญกาวหนาอยางตอเนื่องตลอดมา และเช่ือมั่นวาเราจะกาวเดินรวมกันในการ

พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาแหงนี้ใหเจริญรุงเรืองสืบตอไป

นายชุมพล ศิลปอาชา นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 5: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

สารจากอธิการบด ี

การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยศิลปากรในรอบปการศกึษา 2550 (1พฤษภาคม 2550 –

30 เมษายน 2551 ) และปงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 – 30 กันยายน 2551) ยังคง

คํานึงถึงภารกจิที่มหาวิทยาลัยรับผิดชอบ อันไดแก การบริหารจัดการศึกษา การวจิัย การทํานุบาํรุง

ศิลปวัฒนธรรม การบริการวิชาการแกชุมชนและสังคม การพัฒนาความรวมมือดานวิเทศสัมพันธ

ตลอดจนการประกันคุณภาพการศึกษา โดยยึดตามแนวนโยบายที่สอดคลองกับปณิธาน วิสัยทัศน

พันธกิจ ของมหาวิทยาลัย

ในรอบปดังกลาวนี้ มหาวิทยาลัยยังปฏิบัตติามแนวนโยบายของรัฐและการใหคาํรับรองการ

ปฏิบัติราชการที่ไดลงนามไว โดยในสวนของการจัดการศึกษา มกีารเปดหลักสูตรในสาขาวิชาที่

สอดคลองตอความตองการพัฒนาประเทศ ทั้งในระดบัปริญญาตรีและปริญญาโท และตอบรับตอ

การขยายโอกาสทางการศึกษา มุงเนนการพัฒนานักศึกษาใหมีคุณธรรม จริยธรรมสามารถอยูใน

สังคมไดอยางมีความสุข จึงสงเสริมใหมีการจัดกจิกรรมนักศึกษาท่ีสอดคลองกับการเรียนรูที่

เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงการเรงพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดังนัน้ การประกนัคุณภาพการศกึษา

จึงยังเปนสิ่งสําคัญที่มหาวิทยาลัยใหการสนับสนนุอยางตอเนื่อง รวมถึงการนําผลการประเมินทีผ่าน

มาไปใชสําหรับการปรับปรุงการบริหารดานตาง ๆ งานดานการวจิัย มหาวิทยาลัยยังสนับสนุนใหเกิดนักวิจัยรุนใหม เพ่ือสรางสรรคผลงานที่

เอ้ือประโยชนตอการสรางองคความรูและนําความรูที่ไดไปถายทอดแกชุมชน ซึ่งจะเปนประโยชน

สําหรับการพฒันาชุมชนและคุณภาพชีวิต พรอมทั้งเรงผลักดันใหมหาวิทยาลัยเปนมหาวิทยาลัยวิจัย

ที่เต็มตัว ขณะเดียวกันยังคํานึงถึงบทบาทการเปนผูใหบริการวิชาการแกสังคมและชุมชน ดังนั้น

หนวยงานตาง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยจึงดําเนนิกิจกรรมเพื่อเผยแพรความรูและสงเสริมทักษะทาง

วิชาการอยางกวางขวาง สงผลใหเกิดการสงเสริมความรูแกผูสนใจ

มหาวิทยาลัยยังคงดํารงบทบาทการเปนสถาบันชั้นนําในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดย

สนับสนุน การเผยแพร สงเสริมใหประชาชนไดตระหนักถึงคุณคาและความสําคัญของงานศิลปะและ

สรางสรรคผลงานศิลปะอันทรงคุณคาสูสังคมอยางสม่ําเสมอ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยศิลปากรยังไดรวมมือ

กับสถาบันการศึกษาและองคกรเอกชนจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ จัดกิจกรรมเพื่อสงเสริม

งานดานศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบกิจกรรมและโดรงการตาง ๆ

Page 6: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

ในสวนของการสงเสริมความรวมมือกับนานาประเทศ มหาวิทยาลัยไดพัฒนาสนับสนุน

อยางตอเนื่อง ใหเกิดการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางวิชาการ การลงนามความรวมมือทางวิชาการกับ

สถาบันตางประเทศตาง ๆ อยางตอเนือ่ง อันจะชวยใหการพัฒนาคุณภาพศึกษาทางวิชาการใน

อนาคตเปนไปดวยความเขมแข็ง การพัฒนามหาวิทยาลัยที่ประสบผลสาํเร็จในการดําเนินงานไดดังที่ปรากฏนี ้ ก็ดวยความ

เสียสละ รวมมือรวมใจ ของผูเก่ียวของทุกทานในระดับตาง ๆ ทีช่วยสนับสนุนการดําเนินงานและ

กิจกรรมของมหาวิทยาลัยในทุก ๆ ดานดวยดีตลอดมา

อาจารย ดร. อุทัย ดุลยเกษม

อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร พฤศจิกายน 2551

Page 7: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

สารบญั

หนา บทสรุปผูบริหาร

สรุปภาพรวมการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยศิลปากร 1 ในรอบปการศกึษา 2550 และปงบประมาณ 2551

ขอมูลทั่วไป ประวัติมหาวทิยาลัย 8 กรรมการสภามหาวิทยาลัย 10 ผูบริหารมหาวทิยาลัย 12 ผูบริหารคณะวิชา /ศูนย /สถาบัน / สํานกั 13 โครงสรางการบริหารงานของมหาวิทยาลัย 14 โครงสรางการแบงสวนราชการ 15 การบริหารจัดการ 16 การจัดการศึกษาและพัฒนาทางวิชาการ 30 การวิจัย 48 การบริการวิชาการแกสังคม 58 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 62 การประกันคุณภาพการศึกษา 72 การวิเทศสัมพันธ 78 การพัฒนาบุคลากร 83 สารสนเทศ 86

Page 8: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 9: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 11 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

สรุปภาพรวมการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยศิลปากร ในรอบปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

ภารกิจหลักที่สําคัญประการหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร คือ การผลิตทรัพยากรมนุษยที่มี

ศักยภาพพรอมดวยความรู ความสามารถ คุณธรรมและจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม เพ่ือชวยสนับสนุน

การพัฒนาประเทศ ใหเจริญอยางย่ังยืนและมั่นคง นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีภารกิจดานอื่น ๆ ที่อยูใน

ความรับผิดชอบหลายประการดวยกัน ไดแก การพัฒนาคนควาและวิจัย เพ่ือเสริมสรางความกาวหนาให

เกิดข้ึนในดานวิชาการ การใหบริการทางวิชาการแกสังคมและชุมชนที่อยูในพื้นที่ใกลเคียงกับที่ตั้งของ

มหาวิทยาลัย เพ่ือสรางโอกาสและพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกคนในชุมชน ตลอดจนการทําหนาที่สงเสริม

สนับสนุนการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไทยใหเจริญงอกงามและคงอยูคูกับสังคมไทย ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยยัง

ตระหนักถึงบริบทของการเปลี่ยนแปลงจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม ที่เกิดขึ้นจากภายในและภายนอกประเทศ

อันจะสงผลกระทบตอการจัดการศึกษาขององคกรอยางหลีกเล่ียงไมได ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงตองปรับตัว

ใหทันตอสภาพการเปลี่ยนแปลงเหลานั้น เพ่ือการดํารงอยูอยางมั่นคงและนําพาไปสูความเปนเลิศทาง

วิชาการ โดยมหาวิทยาลัยไดวางแนวทางการดําเนินงานตามกรอบของแผนการปฏิบัติราชการอันเปน

นโยบายหลักของประเทศ ในรอบปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551 มหาวิทยาลัยมีความกาวหนา

ในการดําเนินงานตามภารกิจ ดังนี้

ดานการบริหาร

มหาวิทยาลัยศิลปากร มีการบริหารงานภายใตการบังคับบญัชาของอธิการบดี รองอธิการบดฝีาย

ตาง ๆ คณบด ี ผูอํานวยการศูนย / สถาบัน / สํานัก และกองตาง ๆ ซึ่งมีการปฏิบัติงานเปนไปตาม

แนวทางของแผนปฏิบตัิราชการและกรอบนโยบายของมหาวิทยาลัยที่ไดกําหนดไว ภายใตการกํากับดูแลของ

สภามหาวิทยาลัยที่ชวยสนับสนุนและสงเสริมการดําเนนิงานของมหาวิทยาลัยใหบรรลุตามภารกิจหลัก ทั้งนี้

การดําเนินงานยังคํานึงถึงการสรางมาตรฐานการประกนัคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่องและท่ัวถึง โดยใน

การบริหารจัดการมุงพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด มีการพัฒนาฐานขอมูลใหครอบคลุม

ในทุก ๆ ดาน รวมถึงการพัฒนาบุคลากรใหมีศักยภาพเพิ่มขึ้น ในปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีบุคลากรทั้งส้ิน 2,495 คน จําแนกตามประเภทไดดังนี้

• อาจารยประจาํ (ขาราชการสาย ก.) จํานวน 570 คน

• ผูชวยสายวิชาการ (ขาราชการสาย ข.) จํานวน 170 คน

• ผูชวยสายบริหาร (ขาราชการสาย ค.) จํานวน 285 คน

• พนักงาน จาํนวน 689 คน สายวิชาการ จํานวน 369 คน สายชวยวิชาการ จาํนวน 320 คน

• ลูกจางประจํา จํานวน 315 คน

• ลูกจางช่ัวคราว จํานวน 466 คน

Page 10: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 22 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

สําหรับงบประมาณที่ไดรับจัดสรรเพื่อการดําเนินกิจกรรมตามภารกิจของมหาวิทยาลัยใน

ปงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 – 30 กันยายน 2551) จําแนกเปนงบประมาณแผนดิน จํานวน

1,101,562,100 บาท และงบประมาณเงินรายได จํานวน 383,713,200 บาท รวมทั้งมีงบประมาณจาก

แหลงอ่ืน (โครงการพิเศษ) จํานวน 519,361,100 บาท โดยจําแนกรายละเอียดตามแผนงานไดดังนี้

แผนงาน งบประมาณแผนดิน งบประมาณเงิน

รายได งบประมาณ

โครงการพิเศษ รวม

- จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา 1,012,664,600 370,440,100 508,198,900 1,891,307,600

- บริการวิชาการ 26,000,000 1,495,300 1,732,000 29,227,300 - ทํานุบํารุงศิลปและวัฒนธรรม 18,552,300 5,001,100 910,200 24,463,600 - งานวิจัย 44,345,200 6,772,700 8,520,000 59,637,900

รวม 1,101,562,100 383,713,200 519,361,100 2,004,636,400

โดยมหาวิทยาลัยมีที่ตั้ง 4 แหง ไดแก วังทาพระ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร สํานักงานอธิการบดี

(ตลิ่งชัน) และวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ซึ่งในรอบปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยศิลปากรมีการดําเนินงานเพื่อการเสริมสรางความเขาใจและชวยพัฒนาระบบบริหารจัดการในสวนตาง ๆ เชน

• การประชมุหารือ เพ่ือจัดทําแผนพฒันามหาวิทยาลัย แผนยุทธศาสตร และแผนปฏิบัติราชการ

• การลงนามขอตกลงความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานตางๆเพ่ือสงเสริมใหมีการพัฒนา

ศักยภาพของบุคลากรและนักศึกษาทางดานวิชาการ

• การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่การบริหารจดัการ (MIS) โดยการปรบัปรุงและเพ่ิมเติม

ประสิทธิภาพในสวนที่ยังไมครบถวนใหมคีวามสมบูรณเพ่ิมขึ้น

• การดําเนินการเพื่อการสรรหาผูสมควรดาํรงตําแหนงอธิการบด ี

มหาวิทยาลัยยังคงสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง เพ่ือใหการบริหารจดัการเปนไปดวย

ความรวดเร็ว คุมคาใชจาย และมีประสิทธิภาพสูงสุด อีกทั้งสามารถนาํขอมูลเหลานั้นมาใชสําหรับการ

ตัดสนิใจไดอยางเหมาะสม การพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากรยังคงใหการสนับสนุนบุคลากรไดเขารวมการประชุม

สัมมนา ฝกอบรม ตลอดจนการลาศึกษาตอ เพ่ิมพูนความรู หรือเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในและนอก

ประเทศ อันจะทําใหไดรับประสบการณและนํามาพัฒนางานในสวนที่ตนเองรับผิดชอบ ตลอดจนการให

ความรูที่จําเปนตอการปฏิบัติหนาที่ของบุคลากร พรอมกันนี้ยังมีการสงเสริมสวัสดิการและเพิ่มคุณภาพการ

ดํารงชีวิตใหแกบุคลากรดวยการรวมมือกับสถาบันการเงินตาง ๆ ชวยเหลือสนับสนุนการออมเงิน การให

สิทธิ์เงินกูสวัสดิการเพื่อที่อยูอาศัยอัตราดอกเบี้ยต่ํา และการสนับสนุนใหกูยืมเงินสําหรับการพัฒนาทางดาน

วิชาการ เปนตน

Page 11: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 33 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

ดานการจัดการศึกษา

ปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยศิลปากรจดัการเรียนการสอนใหแกนักศึกษาในหลักสูตรระดับ

ปริญญาตรี 85 สาขาวิชา ประกาศนียบตัรบัณฑติ 2 สาขาวิชา ระดับปรญิญาโท 70 สาขาวิชา และระดับ

ปริญญาเอก 20 สาขาวิชา ในจํานวนนีม้ีหลักสูตรนานาชาติระดบัปริญญาตรี 3 สาขาวิชา ปรญิญาโท 1 สาขาวิชา และปริญญาเอก 1 สาขาวิชา โดยมีนักศกึษาในทุกระดบัชัน้รวม 18,609 คน เปนนกัศึกษาระดบั

ปริญญาตรี 15,774 คน ระดับปริญญาโทและประกาศนียบัตร 2,562 คน และนกัศึกษาระดบัปริญญาเอก

273 คน โดยมีจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2550 จํานวนทั้งส้ิน 3,381 คน จําแนกเปน ระดบั

ปริญญาตร ี2,806 คน ระดบัประกาศนียบัตร 54 คน ระดับปริญญาโท 485 คน ระดับปริญญาเอก 36 คน ดานการวิจัย

มหาวิทยาลัยศิลปากรยังใหความสําคัญกบัการวิจัยซึ่งเปนภารกิจอีกประการหนึ่ง ดังนั้น จึงสนบัสนุน

การศึกษาคนควาวิจัย เพ่ือการสรางองคความรูใหม พัฒนาองคความรูเดิม รวมถึงการนําความรูที่ได

เหลานั้นมาถายทอดสูสังคม อันจะนําไปสูในการพฒันาประเทศใหมีความเจริญทางดานวิชาการ และสราง

ฐานความรูใหม ๆ ใหเกิดขึ้น ซึ่งในปงบประมาณ 2551 คณะวิชาและหนวยงานในมหาวิทยาลัยภายใตการประสานงานของสถาบันวิจัยและพัฒนา ไดรับการจัดสรรงบประมาณแผนดินสาํหรับการดาํเนนิงานดานการ

วิจัยจํานวน 22 โครงการ วงเงิน 46,487,300 บาท และการจัดสรรจากงบประมาณเงินรายได วงเงิน

6,772,700 บาท นอกจากนี้ยังไดรับการสนบัสนนุทางการวิจัยจากหนวยงานอื่น ๆ ทั้งในภาครัฐและ

ภาคเอกชน อันเปนการวิจัยทั้งในเชิงการสรางองคความรูใหม และการถายทอดเทคโนโลยี ในสาขาวิชาที่

หลากหลาย มโีครงการวิจัยที่สําคัญ เชน

• ชุดโครงการวจิัย เร่ืองการพัฒนาการเกบ็รักษาปลายขาวและการใชประโยชนจากปลายขาวและ

สตารชเพื่อเพ่ิมมูลคาในการสงออกและทดแทนการนําเขา (ปที่ 3)

• ชุดโครงการวิจยั เร่ืองการพัฒนาและการประยุกตใชอนุพันธไคโตรแชนในอตุสาหกรรมยาและ

เครื่อง สําอางโดยใชวัตถดุบิจากแหลงผลติของประเทศไทย (ปที่ 3)

• ชุดโครงการวจิัย เร่ือง การตรวจหาลักษณะ low – phyticacid ในขาวโพด และการปรับปรุง

พันธุ เพ่ือใชประโยชนในฟารมปศุสัตวภายในประเทศ (ปที่ 3)

• ชุดโครงการวจิัย เร่ือง การประเมินความปลอดภัยของสารฆาแมลงจากพืช (botanical insecticide)ดวยวิธีตรวจผลที่ทําใหเกิดความผิดปกติจากสารพันธุกรรม (genotoxicity) และพิษตอพืช (phytotoxicity) ในสิ่งมีชีวิต (ปที่ 2)

• โลกาภิวัตนและความเหลื่อมล้ําของภูมิภาคในประเทศไทย : ในบริบทของการพัฒนาอุตสาหกรรม

• ชุดโครงการวจิัย เร่ือง เพคติน/เพคตกิลิโกแชคคาไลดจากเปลือกผลสมโอ : การศึกษาการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและการใชประโยชน (ปที ่1)

• ชุดโครงการวจิัย เร่ือง ฤทธิ์ชีวภาพและการพัฒนาสารสกัดมาตรฐานจากลาํพูเพ่ือประยุกต็ใชใน

อุตสาหกรรมยาและเครื่องสําอาง (ปที ่1)

Page 12: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 44 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

• ชุดโครงการวจิัย เร่ือง นวัตกรรมและการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑจากมะพราว (ปที่ 1)

• การวิจัยและพัฒนาระบบเยื่อแผนเหลวเพื่อการสกัดแยกไอออนโลหะหายากผานหอสกัดพัลล

แบบจานมีรู

• การศึกษาการติดเชื้อตัวออนระยะเชอรคาเรียของหอยน้ําจดืตระกูล Thiaridae ในประเทศไทย

• ศิลปะสมัยใหมในประเทศไทย:วิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสรางความมั่นคงแหงรากฐานทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ

• การพัฒนาและผลิตแอนตบิอดีของ postate specific antigen สําหรับตรวจวินจิฉัยโรคตอมลูกหมากโตและมะเร็งตอมลูกหมาก

• การพฒันาตวัเรงปฏิกริยานาโนเพื่อการผลิตน้าํมนัเชื้อเพลิงสังเคราะหโดยปฏิกิริยาฟชเชอร-โทรป ดานการบริการวิชาแกสงัคม

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินภารกิจการใหบริการความรูทางวิชาการในสาขาและรูปแบบตาง ๆ

เพ่ือสงเสริมและสรางโอกาสใหแกสังคมและชุมชนไดมีการพัฒนาศักยภาพที่เพ่ิมขึ้น โดยในปการศึกษา

2550 มีการจัดอบรม ประชุม สัมมนา รวมถึงการใหบริการทางการศึกษาท่ีตอเนื่อง ทั้งนี้ มหาวิทยาลัย

ไดรับงบประมาณแผนดินสนับสนุนการดําเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 จํานวน 42 โครงการ วงเงิน

26,000,000 บาท และคณะวิชาไดจัดสรรงบประมาณเงินรายไดสําหรับดําเนินกิจกรรมการบริการวิชาการ

จํานวน 44 โครงการ วงเงิน 1,495,200 บาท รวมเปน 86 โครงการ จํานวน 27,495,200 บาท โดยมี

โครงการในดานตาง ๆ เชน

• โครงการพลิกฟนคืนชีวิตใหแมน้ําทาจีนถวายพอหลวงจากพลัง 3 ประสาน บ-ว-ร

• โครงการประชุมวิชาการประจําป สถาปตยปาฐะ ครั้งที่ 7

• โครงการอบรมผูบริหารองคกรสวนทองถ่ินเพื่อการวางแผนพัฒนาการกําจดัขยะ น้ําเสีย และ

สภาพ แวดลอมทางดานกายภาพ

• โครงการความรูเร่ืองยาและการดูแลสุขภาพเบื้องตนสําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ

• โครงการขับเคลื่อนเทคโนโลยีการผลิตกลวยอบแหงและผลิตภณัฑตามมาตรฐานการผลิต

อาหารดีที่เหมาะสมใหเปนรากฐานของชุมชนในการผลิตอาหารปลอดภัย

• โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การอบรมและถายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรียเพ่ือ

เกษตรที่ย่ังยืน

• โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาและการแกไขปญหาหารผสมพันธุโดยใชเทคโนโลยี

ชีวภาพทางการสืบพันธุและการผสมเทียมโค

• โครงการสรางสรรคศิลปกรรมนานาชาต ิ “ศักยภาพของไทยและความพรอมในการเปนผูนําและศูนยกลางการศึกษาศิลปะรวมสมัยในอาเซยีน”

• โครงการหองสมุดมีชีวิตเพื่อชุมชน

Page 13: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 55 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

• โครงการศิลปะสูชุมชน

• โครงการงานศลิปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10

• โครงการประกวดยุวศิลปน “สรางสรรคงานศิลป 80 ป มหาราชา”

• โครงการกลยุทธการเพิ่มศักยภาพการพัฒนานักเรียนทีม่ีความบกพรองทางการเรียนรู : จาก

ทฤษฎีสูการปฏิบัต ิ

• โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “วิธีการเรียนรูของสมองกับการจดัการเรียนการสอนในชั้นเรียน” ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเปนอีกบทบาทหนึ่งท่ีมหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินการมาอยางตอเนื่องและให

ความสําคัญเสมอมา ท้ังนี้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงความเปนผูนําในดานศิลปวัฒนธรรม ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงใหการ

สนับสนุนการดําเนินงานในสวนดังกลาวตลอดมา โดยในปงบประมาณ 2551 มหาวิทยาลัยไดรับงบประมาณแผนดิน

สนับสนุนการดําเนินการ จํานวน 10,000,000 บาท และหนวยงานตาง ๆ ยังใหการสนับสนุนงบประมาณเงินรายได เพ่ือการ

ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จํานวน 5,911,100 บาท ซึ่งมีโครงการที่ไดดําเนินการจํานวน 95 โครงการ ดังเชน

• โครงการศิลปกรรมอาจารยคณะจติรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 25

• โครงการแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 54

• โครงการเสนทางสูระดับสากลของนักออกแบบไทยระยะที่ 3 (Designer of the Year 2006)

• โครงการเชิดชูเกียรติศิลปนยอดเยี่ยมแหงประเทศไทย รางวัลศิลป พีระศรี ครั้งที่ 8

• โครงการจัดทาํสวนประติมากรรม ณ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

• โครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวประจําป พ.ศ.2551

• โครงการเฉลิมพระเกียรติดานศิลปะเนื่องในวันนริศ ประจําป พ.ศ. 2551

• โครงการศูนยขอมูลทางมานษุยวิทยา “วัฒนธรรมทองถ่ินเมืองเพชร”

• โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทางดานศิลปะรวมสมัยไทย-เอเชีย Project : Thai-Asia Workshop on Contemporary Art

• โครงการจัดทาํสวนประติมากรรม ณ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

• โครงการประชุมวิชาการทางดานโบราณคด ีพิพิธภัณฑศึกษาและการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม

เร่ือง “80 ป โบราณคดีใตรมพระบารมีปกเกลา” ดานกิจกรรมนักศึกษา

การผลิตบัณฑิตใหออกไปรับใชสังคมไดอยางสมบูรณนั้น มหาวิทยาลัยตองปลูกฝงและพัฒนาแนวคิด

ของบัณฑิตใหเปนผูมีจิตสํานึกในการรับใชสังคมนับแตการกาวเขาสูร้ัวมหาวิทยาลัย ซึ่งภารกิจที่สําคัญประการ

หนึ่งที่มหาวิทยาลัยศิลปากรดําเนินการคือการสงเสริมใหนักศึกษาที่กาวเขามาใชชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยมีทัศนคติ

คุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ ตลอดจนการเอาใจใสตอสังคม ขณะที่สภาวะแวดลอมของสังคมกาวไปสูความ

Page 14: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 66 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

นิยมในดานวัตถุเพ่ิมมากขึ้น ขณะเดียวกันการพัฒนานักศึกษาใหรูจักการใชชีวิตที่นอกเหนือจากการศึกษาเพียง

ประการเดียว ยอมจะสงผลใหนักศึกษามีความสามารถในการปรับตัวและเขาใจถึงสภาพสังคมภายนอกรั้ว

มหาวิทยาลัยไดดีย่ิงข้ึน ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงจัดใหมีอาจารยที่ปรึกษาฝายกิจกรรมนักศึกษาในทุกคณะวิชา

และกองกิจการนักศึกษาทําหนาที่ดูแลใหคําปรึกษา แนะนํา การจัดกิจกรรมตาง ๆ โดยสนับสนุนใหนักศึกษาทํา

กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน กีฬา ศิลปวัฒนธรรม นันทนาการ จริยธรรม วิชาการ ซึ่งในปการศึกษา 2550 มีโครงการตาง ๆ ที่ไดดําเนินการเพื่อการบรรลุวัตถุประสงคในเบื้องตนพอสังเขป ดังนี้

• โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ประจาํปการศึกษา 2550

• กิจกรรมการไหวครูของคณะวิชา ประจําปการศึกษา 2550

• กิจกรรม Freshy Games จัดโดยสโมสรนักศึกษามหาวทิยาลัยศิลปากร

• การแสดงดนตรแีละบรรยายทางวิชาการของนักศึกษาคณะดุริยาคศาสตรระหวางการจัดกิจกรรมตาง ๆ

• กิจกรรมสานความสัมพันธนองพ่ี I.M ครั้งที่ 1 และนองพ่ี I.E ครั้งที่ 9 ของคณะวิศวกรรมศาสตร

และเทคโนโลยอุีตสาหกรรม

• การจัดคายกิจกรรม “ English Bussiness Camp 2007” ของนักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจและภาษาอังกฤษคณะวิทยาการจดัการ เพ่ือเตรียมความพรอมดานภาษา และสรางความสัมพันธระหวางอาจารยและนกัศึกษา

• กิจกรรมปลูกตนไมและปลอยพันธุสัตวน้ําในงาน “สัตวศาสตรอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต”ิ ณ

อุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ

• การสมัมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมและจัดทาํแผนพัฒนาบัณฑติ

อุดมศึกษาไทย โดยมีเครือขายของสถาบันภมูิภาคตะวนัตก 22 สถาบันเขารวม

• โครงการศาสนกิสัมพันธ : ปฏิบัตติามหลักศาสนาเพื่อลดปญหาความรนุแรง โดยเนนใหเกิดความเขาใจหลักธรรมคําสอนนําไปสูการปฏิบัตใินการดําเนินชีวติอยางสันติสุข สรางเจตคตทิี่ดีและความ

เขาใจที่ถูกตองของแตละศาสนา

• โครงการรณรงค ลด ละ เลิก อบายมุขเพื่อพัฒนาสุขภาพ

• กิจกรรมปจฉิมนิเทศนักศึกษาปสุดทายของคณะวิชาตาง ๆ

• การอบรมเทคนิคการสมัครงานและสัมภาษณงานเพื่อเตรียมความพรอมและเพิ่มศักยภาพแก

บัณฑิตใหมที่จะสําเร็จการศึกษา

• กิจกรรมคายผูนํานิสิต นักศึกษาเกษตรรุนใหม “คายผูนาํ 4 จอบ” ครั้งที่ 5 ประจาํป พ.ศ. 2550 โดยมีนักศึกษาสาขาเกษตรศาสตรจากมหาวทิยาลัย 12 แหง เขารวมกิจกรรม เพ่ือฝกฝนความเปนผูนาํ รวมถึงการใชชีวิตอยูรวมกัน

• การสัมมนาเชิงปฏิบัติการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาสถาบันอดุมศกึษา

เครือขายภาคตะวันตก เร่ือง “พฤติกรรมวัยรุนกับแนวคดิเศรษฐกิจพอเพียง”

Page 15: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 77 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

ดานการประกันคุณภาพการศึกษา นโยบายประการหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่จะตองดาํเนินตามพระราชบัญญัตกิารศกึษา พ.ศ. 2545 คือการประกันคุณภาพการศกึษา เนื่องจากจะมีสวนชวยพัฒนาคุณภาพการศกึษาระดับอดุมศึกษาใหเกิด

ประสิทธิภาพ และเปนประโยชนตอการเรียนการสอนในอนาคต ในปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยได

ดําเนนิงานตามแนวนโยบายที่กําหนดไว โดยมีกิจกรรมการประกันคุณภาพภายในเปนหลัก พรอมดําเนนิ

กิจกรรมตาง ๆ อยางตอเนือ่ง เชน การจัดทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกษา การหารือรวมกันระหวางคณะ

วิชา /หนวยงานถึงตัวชี้วัดตามที่ สมศ. กําหนด การปรับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัยศิลปากรใหสอดคลองกับ

แนวทางของ สมศ. การตดิตามผลการประกันคุณภาพการศึกษา มีการนําเอาจดุแข็ง / จุดออนทีไ่ดมาปรบัปรุงการดําเนินงานของคณะวิชา / หนวยงานนัน้ ๆ และการเตรียมการเพื่อรับการตรวจประกันคุณภาพจากหนวยงาน

ภายนอก โดยนําเอาผลที่เกิดจากการตรวจประกันคุณภาพภายนอกในครั้งที่ผานมา แจงตอที่ประชมุคณบดีและ

ดําเนนิการแกไขใหเหมาะสมยิ่งข้ึน ดานทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากรตระหนักถึงการเปดโอกาสใหแกผูที่มีความสามารถแตขาดแคลนทรัพยใน

การศึกษาไดเขารับการศึกษา พรอมทั้งชวยสงเสริมกําลังใจใหแกผูที่เรียนดี โดยมีการมอบทุนการศึกษาใน

ประเภทตาง ๆ ใหแกนักศึกษา ภายใตการสนับสนุนจากทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งในปการศึกษา

2550 มหาวิทยาลัยมีการจัดสรรทุนประเภทตาง ๆ จํานวนทั้งส้ิน 18,000,090 บาท ซึ่งมีที่มาของแหลงทุน

เชน ทุนที่ไดรับจากการพระราชทานทุนทรัพยสวนพระองคและกองทุนการศึกษา ทุนอุดหนุนจากงบประมาณ

แผนดิน ทุนการศึกษายกเวนคาธรรมเนียมพิเศษ ทุนการศึกษาที่ไดรับจากหนวยงานราชการและ

รัฐวิสาหกิจ ทุนยกเวนคาหนวยกิต ทุนการศึกษาที่ไดรับจากธนาคาร เปนตน

Page 16: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 88 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

ประวตัิมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนสถาบนัการศึกษาระดบัอดุมศึกษาของประเทศที่มีประวัติความเปนมา

ที่ยาวนานจวบจนถึงปจจุบนั อันจะกลาวไดตามลําดับดงันี้

1. โรงเรียนประณีตศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากรกอตั้งข้ึนครั้งแรกภายใตช่ือโรงเรียนประณีตศิลปกรรมสังกัดกรม

ศิลปากร เมื่อป พ.ศ. 2476 โดยระยะแรกมีศาสตราจารยศิลป พีระศรี (Professor Corrade Feroci) เปนแรงสําคัญในการกอตั้ง ทั้งนี้โรงเรียนดังกลาวมีแนวคิดใหการศึกษาอบรมวิชาดานจติรกรรมและประติมากรรมแกขาราชการและเยาวชนไทยโดยไมเก็บคาเลาเรียน

2. โรงเรียนศิลปากร ป พ.ศ. 2478 โรงเรียนประณีตศิลปกรรมไดรวมกับโรงเรียนนาฎดุริยางคศาสตร และ

เปลี่ยนชื่อใหมวา โรงเรียนศิลปากร แบงการศึกษาเปน 3 แผนก คือ แผนกปราณตีศิลปกรรม แผนกศิลปอุตสาหกรรม และแผนกนาฎดุริยางค

3. มหาวทิยาลัยศิลปากร รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล

สงคราม ไดตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาศิลปะในระดับสูงของชาติ จึงไดยกฐานะขึ้นเปน

มหาวิทยาลัยศิลปากร ตามประกาศในราชกิจจานุเษกษาเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2486 และถือเอาวันที่ 12 ตุลาคมของทุกปเปนวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัย โดยเปดการเรียนการสอนในคณะจิตรกรรมและ

ประติมากรรมเปนคณะแรก (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปนคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ) ป พ.ศ.2498 จัดตั้งคณะสถาปตยกรรมไทย (ปจจุบันเปลี่ยนชือ่เปนคณะสถาปตยกรรม

ศาสตร) และคณะโบราณคด ี ป พ.ศ.2499 จัดตั้งคณะมัณฑนศิลป 4. มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร มหาวิทยาลัยศิลปากรมนีโยบายในการขยายการศึกษาใหครอบคลุมในสาขาวิชาดาน

มนุษยศาสตร สังคมศาสตร และวิทยาศาสตร จึงไดจดัตั้งวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร เมื่อป พ.ศ. 2509 ที่จังหวัดนครปฐม เปนวิทยาเขตแหงใหม และเปดการเรียนการสอนในคณะวิชาตามลําดบัดังนี ้

พ.ศ. 2511 เปดสอนในคณะอักษรศาสตร พ.ศ. 2513 เปดสอนในคณะศึกษาศาสตร พ.ศ. 2515 เปดสอนในคณะวิทยาศาสตร และในปเดียวกันมหาวิทยาลัยศิลปากรไดขยาย

การเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยขึ้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยไดตระหนักถึงการ

Page 17: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 99 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

พัฒนาบุคลากรของชาติใหมีความเขมแข็งทางวิชาการและการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดตั้ง

หนวยงานเพื่อรองรับการเปดสอนหลักสูตรในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกในหลากหลายสาขาวิชา พ.ศ. 2529 เปดสอนในคณะเภสัชศาสตร พ.ศ. 2534 เปดสอนในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปจจบุันเปลี่ยนชื่อเปนคณะ

วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) 5.สํานักงานอธิการบดี

ในป พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดจัดตั้งคณะดุริยางคศาสตรข้ึน โดยทําการเรียนการสอนที่สํานักงานอธิการบด ีตลิ่งชัน

6. มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มหาวิทยาลยัศิลปากรไดขยายการจัดการศึกษาไปยังวทิยาเขตแหงใหมที่จังหวัดเพชรบุรี ภายใต

ช่ือวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ซึ่งเนนความรับผดิชอบในเขตพื้นที่ภูมิภาคตะวนัตก เพ่ือพัฒนาการศึกษาที่

เก่ียวของกับภูมิปญญา คตชินวิทยา ประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ทันสมัย

สอดคลองกับสภาพแวดลอมภายในพื้นทีแ่ละผสมผสานกันกับสภาพสังคมไทย โดยวิทยาเขตสารสนเทศ

เพชรบุรีไดเปดการเรียนการสอนตามลาํดับดังนี ้ ป พ.ศ. 2544 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ป พ.ศ. 2545 คณะวิทยาการจัดการ ป พ.ศ. 2546 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และวิทยาลัยนานาชาติ ทั้งนี ้มหาวิทยาลัยศิลปากรตระหนักถึงการมสีวนรวมกับชุมชนในการพัฒนาศักยภาพของทองถ่ิน

ใหมีความเจรญิกาวหนา จึงไดดาํเนินกิจกรรมสงเสริมความรูแกประชาชนในบริเวณใกลเคียงกับที่ตั้งของ

วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ภายใตการดําเนนิงานของศูนยสงเสริมการศึกษา และฝกอบรม ปจจุบนัมหาวิทยาลัยศิลปากรมีสํานักงานอธิการบด ี ตัง้อยูที่ 22 ถนนบรมราชชนน ีเขตตลิ่งชัน

กรุงเทพมหานคร และจัดการเรียนการสอนใน 4 แหง คือ 1. วังทาพระ ตั้งอยูที่เลขที่ 31 ถนนหนาพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร

กรุงเทพมหานคร 2. วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ตั้งอยูเลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน ตําบลพระปฐมเจดีย

อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 3. สํานักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน เลขที่ 22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

เปนที่จัดการเรียนการสอนของคณะดุริยางคศาสตร 4. วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ตั้งอยูเลขที่ 1 หมูที่ 3 ถนนชะอํา – ปราณบุรี ตําบลสามพระยา

อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี

Page 18: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

- 10 -

กรรมการสภามหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร มีการบริหารงานภายใตการดูแลควบคุมของสภามหาวิทยาลัย

ประกอบดวยกรรมการผูทรงคุณวุฒิ และกรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทตาง ๆ ดังนี้

1. นายชุมพล ศลิปะอาชา นายกสภามหาวิทยาลัย

2. นางกอบกาญจน วฒันวรางกูร กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ3. นายไกรฤทธิ ์ บุณยเกียรติ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ4. นายณรงค โชควัฒนา กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ5. นางดวงสมร วรฤทธ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ6. นายบญุชัย เบญจรงคกุล กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ

7. ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยยงยทุธ วัชรดุลย กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ8. ศาสตราจารย ดร. บวรศักดิ ์ อุวรรณโณ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ9. ศ.เกียรติคุณประหยัด พงษดาํ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ10. นายพิสิฐ เจริญวงศ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ11. นายภราเดช พยัฆวิเชียร กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ12 นายนธิิ สถาปตานนท กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ13. นางวัลลภา ไตรโสรัส กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ14. ดร.โอฬาร ไชยประวัติ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ15. นางเมตตา อุทถะพันธุ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ16. รองศาสตราจารย ดร. บรรเจิด สิงคเนต ิ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒ ิ17. รองศาสตราจารยระพีพรรณ ฉลองสุข เลขานุการกรรมการสภา ฯ

1 2 3 4 5 6

7 8 9 10 11 12

13 14 15 16

Page 19: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

- 11 -

กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผูบริหาร 1. อาจารย ดร. อุทัย ดุลยเกษม อธิการบด ี2. อาจารย ดร.ชาคร วิภูษณวานิช รองอธิการบด ี(พระราชวังสนามจันทร) 3. รองศาสตราจารย ดร.มาน ี เหลืองธนะอนนัต รองอธิการบด ี(วิชาการ)

4. รองศาสตราจารยชินศักดิ ์ ตัณฑิกุล คณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตร

5. ผูชวยศาสตราจารย ดร.มณีปน พรหมสุทธิลักษณ คณบดีคณะอกัษรศาสตร

6. ผูชวยศาสตราจารย ดร. จรุงแสง ลักษณบญุสง คณบดีคณะวทิยาศาสตร

7. อาจารยธนาทร เจียรกุล คณบดีคณะดริุยางคศาสตร

8. รองศาสตราจารย ดร. วิชัย กอประดิษฐสกุล คณบดีคณะสตัวศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร

9. รองศาสตราจารย ดร. ศิริชัย ชินะตังกูร คณบดีบัณฑติวิทยาลัย

10. รองศาสตราจารย ดร.สุพรรณี ฉายะบตุร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทคณาจารย 1. ผูชวยศาสตราจารยถาวร โกอุดมวิทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ 2. รองศาสตราจารยชูวิทย สุจฉายา คณะสถาปตยกรรมศาสตร 3. อาจารยเอกพงษ ตรีตรง คณะมัณฑนศลิป 4. ผูชวยศาสตราจารยเพ็ญพรรณ เจริญพร คณะโบราณคด ี

5. รองศาสตราจารย ดร.วิชัย ศรีคํา คณะอักษรศาสตร 6. ผูชวยศาสตราจารย ดร. คีรีบูน จงวุฒิเวศย คณะศึกษาศาสตร 7. รองศาสตราจารย ดร. ดวงเดือน ไกรลาศ คณะวิทยาศาสตร 8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อวยพร อภิรักษอรามวง คณะเภสัชศาสตร

9. ผูชวยศาสตราจารย ดร. เจษฎาวรรณ วิจิตรเวชการ คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

10. อาจารยวันชัย ลีลากวีวงค ประธานสภาคณาจารย

Page 20: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

- 12 -

ผูบริหารมหาวิทยาลัย

1. อาจารย ดร. อุทัย ดุลยเกษม อธิการบดี

2. รองศาสตราจารยระพีพรรณ ฉลองสุข รองอธิการบดี (บริหาร)

3. รองศาสตราจารยชาคร วิภูษณวนิช รองอธิการบดี (พระราชวังสนามจันทร) 4. รองศาสตราจารย ดร. มานี เหลืองธนะอนันต รองอธิการบดี (วิชาการและวิจัย) 5. รองศาสตราจารยจรัญพัฒน ภูวนันท รองอธิการบดี (วางแผนและพัฒนา) 6. อาจารยพรสวรรค อัมรานนท รองอธิการบดี (กิจการนักศึกษา)

7. ผูชวยศาสตราจารยญาณวิทย กุญแจทอง รองอธิการบดี (ศิลปวัฒนธรรม)

8. รองศาสตราจารย ดร. เรณู เวชรัชตพิบูล รองอธิการบดี (ประกันคุณภาพการศึกษา)

9. อาจารยวันชัย เจือบุญ รองอธิการบดี (เพชรบุรี)

10. อาจารย ดร. โอภา บางเจริญพรพงศ ผูชวยอธิการบดี (วิชาการและวิจัย)

11. รองศาสตราจารยทินกร กาษรสุวรรณ ผูชวยอธิการบดี (กิจการนักศึกษา วังทาพระ) 12. อาจารย ดร.นนท คุณค้ําชู ผูชวยอธิการบดี (วางแผนและพัฒนา)

13. ผูชวยศาสตราจารยปญจพล เหลาพูนพัฒน ผูชวยอธิการบดี (กิจการนักศึกษา พระราชวังสนามจันทร) 14. ผูชวยศาสตราจารยอุไรวรรณ ไอยสุวรรณ ผูชวยอธิการบดี (กิจการนักศึกษา เพชรบุรี) 15. อาจารยสมบัติ วงศอัศวนฤมล ผูชวยอธิการบดี (วังทาพระ)

Page 21: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

- 13 -

ผูบริหารคณะวิชา /ศูนย /สถาบัน /สํานัก

1. คณบดีคณะจติรกรรมประติมากรรมและ

ภาพพิมพ อาจารยปญญา วิจินธนสาร

2. คณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตร รองศาสตราจารยชินศักดิ ์ ตันฑิกุล

3. คณบดีคณะโบราณคด ี รองศาสตราจารยสุรพล นาถะพนิธ ุ4. คณบดีคณะมณัฑนศิลป ผูชวยศาสตราจารยวัฒนพันธุ ครุฑะเสน 5. คณบดีคณะอกัษรศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร. มณปีน พรหมสุทธิลักษณ

6. คณบดีคณะศกึษาศาสตร รองศาสตราจารยคณิต เขียววิชัย 7. คณบดีคณะวทิยาศาสตร ผูชวยศาสตราจารย ดร. จรุงแสง ลักษณบญุสง

8. คณบดีคณะเภสัชศาสตร รองศาสตราจารย ดร. สินธุชัย แกวกิติชัย 9. คณบดีคณะวศิวกรรมศาสตร

และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผูชวยศาสตราจารย ดร. พิทยา หลิวเสรี

10. คณบดีคณะดริุยางคศาสตร อาจารยธนาทร เจียรกุล 11. คณบดีคณะสตัวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร รองศาสตราจารย ดร. วิชัย กอประดิษฐสกุล

12. คณบดีคณะวทิยาการจัดการ ผูชวยศาสตราจารย ดร. วันชัย สุทธะนันท 13. คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร อาจารยชัยชาญ ถาวรเวช

14. ผูอํานวยการวิทยาลัยนานาชาต ิ ผูชวยศาสตราจารย ดร. สมพิศ ขัตติยพิกุล 15. คณบดีบัณฑติวิทยาลัย รองศาสตราจารย ดร. ศิริชัย ชินะตังกูร

16. ผูอํานวยการสํานักหอสมุดกลาง ผูชวยศาสตราจารย ดร. นรงค ฉิมพาลี 17. ผูอํานวยการหอศิลป ผูชวยศาสตราจารยสน สีมาตรัง

18. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา อาจารย ดร. สุพรรณี ฉายะบตุร 19. ผูอํานวยการศนูยคอมพิวเตอร ผูชวยศาสตราจารย ดร. ปานใจ ธารทัศนวงศ 20. ผูอํานวยการสํานักบริการวิชาการ อ.ดร.กลางพล

(รักษาการ)

กมลโชติ

Page 22: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

- 14 -

อธิการบด ี

สภามหาวิทยาลัย

ที่ประชุม คณบด ีที่ประชุม ก.บ.ม. ก.บ.พ.

สภาคณาจารย

คณะกรรมการ ประจําวิทยาเขต

รองอธิการบด ีผูชวยอธิการบด ี

ผูอํานวยการกอง

คณะกรรมการ สงเสริมกิจการ

ของ มหาวิทยาลัย

ผูอํานวยการศนูย /

สถาบัน / สํานกั

คณบด ี

รองคณบด ี

หัวหนาภาควชิา

เลขานุการคณะ

โครงสรางการบริหารงานของมหาวิทยาลัย

Page 23: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551

- 15 -

* จัดตั้งเปนหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะวิชา

- คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ - คณะสถาปตยกรรมศาสตร - คณะโบราณคดี - คณะมัณฑนศิลป - คณะอักษรศาสตร - คณะศึกษาศาสตร - คณะวิทยาศาสตร - คณะเภสัชศาสตร - คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม - คณะดุริยางคศาสตร* - คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร*

- คณะวิทยาการจัดการ*

- คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่สาร*

- วิทยาลัยนานาชาต*ิ

- บัณฑิตวิทยาลัย

ศูนย / สถาบัน /สํานัก

- สถาบันวจิัยและพฒันา - ศูนยคอมพวิเตอร - สํานักหอสมุดกลาง - หอศิลป - สถาบันวฒันธรรมภูมิภาค

ตะวันตก*

- สํานักบริการวิชาการ*

- ศูนยสงเสริมและฝกอบรม*

สํานักงานอธิการบดี

- กองกลาง - กองแผนงาน - กองบริการการศึกษา - กองกิจการนักศึกษา - กองงานวิทยาเขต - กองการเจาหนาที*่ - กองคลัง* - กองบริการอาคารสถานที่และยานพาหนะ พระราชวัง

สนามจันทร* - สํานักงานตรวจสอบภายใน *

- วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี*

- สํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา *

- สํานักงานสภามหาวิทยาลัย *

โครงสรางการแบงสวนราชการ

Page 24: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 25: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 16 -

การบริหารจัดการ ในรอบปการศึกษา 2550 (1 มิถุนายน 2550 – 31 พฤษภาคม 2551) และปงบประมาณ 2551

(1 ตุลาคม 2550 – 30 กันยายน 2551) มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินกิจกรรม เพ่ือสงเสริมพัฒนาการ

บริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยใหมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับปณิธาน เปาหมาย และพันธกิจของ

มหาวิทยาลัยในดานตาง ๆ โดยมีการพัฒนาในเรื่องตาง ๆ ดังนี้ คํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ 2550

จากการที่รัฐบาลไดนโยบายกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาระบบบริหารราชการที่ดี เปนยุทธศาสตร

หนึ่งในการพัฒนาประเทศ และเพ่ือใหบรรลุตามยุทธศาสตรนี ้ รัฐบาลจึงไดแตงตัง้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือ ก.พ.ร. พรอมทั้งมอบหมายใหกําหนดแนวทางในการสรางแรงจูงใจสําหรับเสริมสรางการบริหารกิจการบานเมอืงใหดีข้ึน ซึ่งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไดรางแนวทาง หลักเกณฑ วิธีการ รายละเอียดการดําเนินงานแลวนําเสนอตอคณะรัฐมนตรี ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบในหลักการและรายละเอียด

และกําหนดใหทุกสวนราชการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการ นับเนื่องจากปงบประมาณ 2546 เปนตนมา ซึ่งในรอบปงบประมาณ 2551 ทางคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการไดกําหนดใหทุกสวนราชการจัดทําแผนยุทธศาสตรของกระทรวง กลุมภารกิจ และกรม ที่มีความสอดคลองกัน และใหมีการจัดทํารับรองการปฏิบัติราชการในทุกระดับ ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากรนั้น ไดมีการดําเนนิการจดัทําคาํรับรองการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ 2550 ตามหลักเกณฑของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ โดยมีรายละเอียดของตัวชี้วัดและผลการดาํเนินงาน ดังนี ้ แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยศิลปากร

ประเด็นยุทธศาสตร

1. การสรางโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต 2. การอนุรักษสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมทีด่ีงาม 3. การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประชาชนโดยใชความรูเปนฐาน

ทั้งนี้ในปงบประมาณ พ.ศ. 2550 สามารถดําเนินงานตามคํารบัรองการปฏิบัติราชการไดดังนี ้

Page 26: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 17 -

ตารางสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2550

เกณฑการใหคะแนน ผลการดําเนินงาน ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติ

ราชการ หนวยวัด

น้ําหนัก (รอยละ) 1 2 3 4 5

ผลการดําเนินงาน

คาคะแนนท่ีได

คะแนนถวง

น้ําหนัก

มิติที่ 1 มิติดานประสิทธิผล 55 3.9369 2.1653

1. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเ ป า ห ม า ย ต าม แ ผนปฏิ บั ติราชการของกระทรวง

ระดับ 5 1 2 3 4 5 4.0857 4.0857 0.2042

2. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเ ป า ห ม า ย ต าม แ ผนปฏิ บั ติร า ช ก า ร ข อ ง สํ า นั ก ง า นคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ระดับ 5 1 2 3 4 5 4.6752 4.6752 0.2337

3. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเ ป า ห ม า ย ต าม แ ผนปฏิ บั ติราชการของสถาบัน อุดมศึกษา

ระดับ 15 4.8433 0.7265

3.1 จํานวนการจัดอบรมและสัมมนา

ครั้ง 2.5 104 106 108 110 112 112.0000 5.0000 0.1250

3.2 ผูสําเร็จการศึกษาจบการ ศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่กําหนด

รอยละ 2.5 83.5 84.5 85.5 86.5 87.5 92.2762 5.0000 0.1250

3.3 จํานวนผูสําเร็จการศึกษา คน 2.5 143 148 153 158 163 186.0000 5.0000 0.1250

3.4 จํานวนผูสําเร็จการศึกษา คน 2.5 615 665 715 765 815 768.0000 4.0600 0.1015

3.5 จํานวนโครงการวิจัยใหม โครงการ 2.5 22 23 24 25 26 228.0000 5.0000 0.1250

3.6 จํานวนโครงการวิจัยที่แลวเสร็จ

โครงการ 2.5 7 10 13 16 19 184.0000 5.0000 0.1250

4. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ของสถาบันอุดม ศึกษา

ระดับ 28 3.2175 0.9009

4.1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต

8.4 3.1059 0.2609

4.1.1 รอยละของบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ ได ง านทํ าหรื อประกอบอาชีพอิสระภาย ในระยะเวลา 1 ป

รอยละ 1.4 40 50 60 70 80 67.7010 3.7701 0.0527

4.1.2 รอยละของบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา

รอยละ 1.4 76 78 80 82 84 68.8955 1.0000 0.0140

Page 27: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 18 -

เกณฑการใหคะแนน ผลการดําเนินงาน ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติ

ราชการ หนวยวัด

น้ําหนัก (รอยละ) 1 2 3 4 5

ผลการดําเนินงาน

คาคะแนนท่ีได

คะแนนถวง

น้ําหนัก

4.1.3 ระดับความพึงพอใจตอบัณฑิตของผูใชบัณฑิต

ระดับ 1.4 1 2 3 4 5 3.7800 3.7800 0.0529

4.1.4 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณ ยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม

หรือรางวัลทางวิชาการ หรือดานอื่นที่เก่ียวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับ ชาติหรือระดับนานาชาติ

คน 2.1 8 9 10 11 12 188.0000 5.0000 0.1050

4 . 1 . 5 ร อ ย ล ะ ข อ ง บ ท ค ว า มวิทยานิพนธปริญญาโทหรือเอกที่ ตี พิ ม พ เ ผ ย แ พ ร ทั้ ง ใ นระดับชาติหรือระดับนานาชาติตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโทหรือเอก

รอยละ 2.1 19 24 29 34 39 22.6618 1.7323 0.0363

4.2 มาตรฐานดานการวิจัยและการสรางสรรค

8.4 2.8750 0.2415

4.2.1 รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคที่ ตี พิมพ เผยแพรห รื อนํ า ไ ป ใ ช ป ร ะ โ ย ชน ใ นระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ตออาจารยประจํา

รอยละ 1.4 38 39 40 41 42 62.5752 5.0000 0.0700

4.2.2 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตออาจารยประจํา

บาท 1.4 180,000 190,000 200,000 210,000 220,000 196,858.9868 2.6858 0.0376

4.2.3 รอยละของอาจารยประจําที่ไ ด รั บ ทุ น ทํ า วิ จั ย แ ล ะ ง า นสร า งสรรค จ ากภาย ในและภายนอกสถาบันตออาจารยประจํา

รอยละ 1.4 6 11 16 21 26 33.9350 5.0000 0.0700

4.2.4 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐาน ขอมู ลระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ ตออาจารยประจํา

รอยละ 2.1 1 3 5 7 9 3.0949 2.0474 0.0429

4.2.5 จํานวนผลงานวิจัยและงานสร า ง ส ร รค ที่ ไ ด รั บ ก า ร จดทะ เ บี ย นสิ ท ธิ บั ต รห รื อ อนุสิทธิบัตร

ชิ้นงาน 2.1 2 3 4 5 6 0.0000 1.0000 0.0210

Page 28: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 19 -

เกณฑการใหคะแนน ผลการดําเนินงาน ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติ

ราชการ

หนวยวัด

น้ําหนัก (รอยละ) 1 2 3 4 5

ผลการดําเนินงาน

คาคะแนนท่ีได

คะแนนถวง

น้ําหนัก

4.3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ

5.6 3.4446 0.1929

4 . 3 . 1 ร อยละของกิ จ กรรมหรื อโครงการบริการวิชาการและวิ ช า ชี พที่ ต อบสนอ งค ว ามตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชนประเทศชาติหรือนานาชาติตออาจารยประจํา

รอยละ 1.86 18 20 22 24 26 32.1167 5.0000 0.0930

4.3.2 จํานวนชั่วโมงเฉลี่ยที่อาจารยประจําใหบริการวิชาการและวิ ช า ชี พที่ ต อบสนอ งค ว ามตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคมชุมชน

ประเทศชาติหรือนานาชาติตออาจารยประจํา

ชั่วโมง 1.87 - 91 182 273 364 25.2374 1.0000 0.0187

4.3.3 รอยละของอาจารยที่ เปนที่ปรึกษาเปนกรรมการวิทยา

นิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการและกรรมการ วิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา

รอยละ 1.87 17 19 21 23 25 23.6926 4.3463 0.0812

4.4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

5.60 3.6714 0.2056

4.4.1 รอยละของโครงการหรือกิจกรรมในการอนุรักษพัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะแล ะ วั ฒนธร รมต อ จํ า น วนโครงการหรือกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด

รอยละ 1.86 15 หรือ35

15.01-17.50 หรือ

35.51 -35.00

17.51 – 20.00 หรือ

30.01 -32.50

20.01 -22.50 หรือ

27.51 -30.00

22.51 - 27.50

40.4199 1.000 0.0186

4.4.2 รอยละเฉล่ียของนักศึกษาที่เขารวมโครงการในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม

รอยละ 1.87 65 70 75 80 85 91.8031 5.0000 0.0935

4.4.3 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษพัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ

รอยละ 1.87 0.5 0.7 0.9 1.1 1.3 2.7171 5.0000 0.0935

5. ระดับความสําเร็จในการพัฒนาสถาบันสูระดับสากล

ระดับ 2 1 - - - 5 5.0000 5.0000 0.1000

Page 29: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 20 -

เกณฑการใหคะแนน ผลการดําเนินงาน ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติ

ราชการ หนวย

วัด น้ําหนัก (รอยละ) 1 2 3 4 5

ผลการ

ดําเนินงาน คาคะแนน

ท่ีได

คะแนน

ถวง

น้ําหนัก มิติที่ 2 มิติดานคุณภาพ 15 3.1000 0.4650

6. รอยละของระดับความพึงพอ ใจของผูรับบริการ

รอยละ 8 65 70 75 80 85 79.6900 3.9380 0.3150

7 .ระดับความสํ า เร็จของการป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ที่กอให เ กิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเน่ือง

ระดับ 4 1 2 3 4 5 3.0000 3.0000 0.1200

8. ระดับความสําเร็จของการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยของสถาบันอุดมศึกษา

ระดับ 3 1 2 3 4 5 1.0000 1.0000 0.0300

มิติที่ 3 มิติดานประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ

10 2.4030 0.2403

9 . ร อ ยละของอั ตร าการ เบิ กจาย เงินงบประมาณรายจายลงทุน

รอยละ 3 69 71 73 75 77 32.9600 1.0000 0.0300

10. ระดับความสํา เร็จของการดํ า เ นิ น ก า ร ต า มม า ต ร ก า รประหยัดพลังงานของสถาบัน อุดมศึกษา

ระดับ 3 1 2 3 4 5 2.6770 2.6770 0.0803

11. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการลดรอบระยะ เวลาของขั้ นตอนการปฏิบั ติ ร าชการของสถาบัน อุดมศึกษา

ระดับ 2 1 2 3 4 5 4.5000 4.5000 0.0900

12. ระดับความสําเร็จของการจัดทําตนทุนตอหนวยผลผลิต

ระดับ 2 1 2 3 4 5 2.0000 2.0000 0.0400

มิติที่ 4 มิติดานการพัฒนาสถาบัน 20 3.2700 0.6540

13. ระดับคุณภาพของการกํากับดูแลของสภามหาวิทยาลัยหรือสถาบัน

ระดับ 2 1 2 3 4 5 4.7968 4.7968 0.0959

14. ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและรวมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ

ระดับ 2 1 2 3 4 5 2.0000 2.0000 0.0400

15. รอยละของการพัฒนาบุคลากรของถาบันอุดมศึกษา

รอยละ 2 50 60 70 80 90 74.7327 3.4732 0.0694

16. รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา

รอยละ 2 30 32 34 36 38 39.3810 5.0000 0.1000

Page 30: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 21 -

เกณฑการใหคะแนน ผลการดําเนินงาน

ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติราชการ หนวยวัด

น้ําหนัก (รอยละ) 1 2 3 4 5

ผลการดําเนินงาน

คาคะแนนท่ีได

คะแนนถวง

น้ําหนัก

17. ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานขอมูลส า ร ส น เ ท ศ ข อ ง ส ถ า บั น อุดมศึกษา

ระดับ 2 1 2 3 4 5 5.0000 5.0000 0.1000

18. ระดับความสําเร็จของการพั ฒ น า ร ะ บ บ ฐ า น ข อ มู ลอุ ด ม ศึ ก ษ า ด า น นั ก ศึ ก ษ า บุคลากร และหลักสูตร

ระดับ 2 1 2 3 4 5 5.0000 5.0000 0.1000

19. คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุดคอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา

บาท 2 1-4,499 4,500 –

6,999

7,000 -

7,999

8,000 -

8,999

9,000 ขึ้นไป

2,198.5200 1.4395 0.0287

20. ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนการจัดการความรูเพ่ือสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร

ระดับ 2 1 2 3 4 5 2.0000 2.0000 0.0400

21 . รอยละของหลักสูตรที่ ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด

รอยละ 2 60 70 80 90 100 23.9583 1.0000 0.0200

22. ประสิทธิภาพของการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

ระดับ 2 1 - 2 3 - 4 5 6 7 5.0000 3.0000 0.0600

น้ําหนักรวม 100.00 คาคะแนนที่ได 3.5246

การจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ.2551 - 2554)

มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดทําแผนปฎิบัติราชการ 4 ป พ.ศ. 2551-2554 ภายใตกรอบของแผน

ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร (ฉบับสภามหาวิทยาลัยอนุมัติวันที่ 10 กันยายน 2546 และทบทวนแผน

ยุทธศาสตร เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2549) และแนวนโยบายการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2551-2554

ของรัฐบาล ทั้งนี้เพ่ือใหผูบริหารของมหาวิทยาลัยใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินพันธกิจของมหาวิทยาลัย

และเปนกลไกในการเรงรัด กํากับติดตามการดําเนินงานของคณะวิชา/หนวยงาน ทั้งนี้แผนดังกลาวของ

มหาวิทยาลัย ประกอบดวย 5 ประเด็นยุทธศาสตร 7 เปาประสงค และ 7 ยุทธศาสตร โดยมีจํานวน 41

มาตรการและ 42 ตัวชี้วัด ดังนี้

Page 31: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 22 -

ประเด็นยุทธศาสตร 1 : การพัฒนาสถาบัน อุดมศึกษาที่มีความเปนเลิศทางวิชาการ และมุงพัฒนาสูระดับ

สากลเพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค เปาประสงคที่ 1 : สถาบันอุดมศึกษาช้ันนําทางดานวิชาการ

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ ยุทธศาสตรที่ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากรเปนผูนํ าการ

ถ า ย ท อดค ว า ม รู ศิ ล ป วั ฒน ธ ร รม

วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีทั้ งใน

ระดับชาติและนานาชาติ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.นักศึกษาที่ไดเขารวมกิจกรรมทางดานวิชาการที่

มีความรวมมือกับนานาชาติ 2. รอยละของบทความวิทยานิพนธปริญญาโทหรือ

เอกท่ีตีพิมพเผยแพร/จัดแสดงผลงานทั้งในระดับชาติ

ตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโทหรือเอก ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

3. ระดับความสําเร็จในการพัฒนาสถาบันสูระดับ

สากล 4. รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตร 5. รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิการศึกษา

ระดับปริญญาเอกหรือเทียบเทา 6. รอยละของอาจารยประจําที่มีตําแหนงทาง

วิชาการ 7. นายจางมีความพอใจตอผลการดําเนินงานของ

ผูสําเร็จการศึกษา

8. รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา ตัวชี้วัดเวลา

9. รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา

หรือประกอบอาชีพอิสระภายในระยะเวลา 1 ป

1.พัฒนาหลักสูตรที่มีลักษณะสหวิทยาการ

โดยเนนการบูรณาการความรูดานศิลปะและ

วัฒนธรรม วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เพื่อใหเกิด

ความหลากหลายทางการศึกษาและการใช

ทรัพยากรรวมกัน 2.จัดการเรียนการสอนและสนับสนุนปจจัย

ทางการศึกษาที่เหมาะสมสําหรับบุคคลทั่วไป

ผูดอยโอกาส ผูขาดแคลน และผูมีความสามารถ

พิเศษ 3. ผลิต ถายทอด และใหบริการขอมูล

ส า รสน เทศทา งด า นศิ ลป ะ วัฒนธร รม

วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแก

สาธารณชน 4. สรางเครือขายและแสวงหาความรวมมือ

กับมหาวิทยาลัย ทั้งในและตางประเทศ 5. สงเสริมใหนักศึกษาและอาจารยใหมีการ

เผยแพรผลงานทางวิชาการรวมกับหนวยงาน

ภายนอกทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

เปาประสงคที่ 2: บัณฑิตมีความรู คุณธรรม จริยธรรม

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ ยุทธศาสตรที่ 5 นักศึกษามีความรูทางวิชาการและทักษะ

ทางวิชาการวิชาชีพที่ทันสมัย มีจิตสํานึก

รับผิดชอบ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.จํานวนนักศึกษาที่ เขารวมกิจกรรมทางดาน

วิชาการ วิชาชีพ และสหกิจศึกษา 2. จํานวนนักศึกษาที่เขารวมโครงการ/บําเพ็ญ

ประโยชน ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม 3. จํานวนนักศึกษา หรือศิษย เกาที่ ไดรับการ

ประกาศเกียรติคุณ ยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือดาน

อื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติหรือ

ระดับนานาชาติ 4. รอยละเฉลี่ยของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ผาน

การสอบใบประกอบวิชาชีพจากผูเขาสอบทั้งหมด

1.สงเสริมใหนักศึกษามีความรูและทักษะ

วิชาชีพตามคุณลักษณะอันพึงประสงคของ

สาขาวิชา 2 . ส ง เ ส ริ ม ใ ห นั ก ศึ ก ษ า มี ค ว า ม รู

ความสามารถใชภาษา ตางประเทศอยางนอย

หนึ่งภาษาและมีทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

ที่เหมาะสม 3. สงเสริมใหนักศึกษาดําเนินโครงการ/

กิจกรรมเสริมหลักสูตร บํา เพ็ญประโยชน

และสหกิจศึกษา

Page 32: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 23 -

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 : การบูรณาการองคความรูระหวางศาสตรเพ่ือสรางความเปนเลิศดานการวิจัย เปาประสงคที่ 3: เปนมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยเฉพาะดานการวิจัยเชิงบูรณาการทางดาน ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ 4.เสริมสรางนักศึกษาใหมีคุณธรรม

จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพและความ

รับผิดชอบตอสังคม สามารถนาํองคความรูไป

ประยุกตใชในการประกอบวิชาชีพ 5. สรางเครือขายความสัมพันธระหวาง

นักศึกษาปจจุบันและนักศึกษาเกาทั้งภายในและ

ภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ

นักศึกษาและบัณฑิต

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ ยุทธศาสตรที่ 2 เพ่ือสรางสังคมฐานความรู บรูณาการ

ความเชี่ยวชาญทางดานศิลปวัฒนธรรม

สั ง ค มศ า ส ต ร แ ล ะ มนุ ษ ย ศ า ส ต ร

วิ ท ย าศ าสตร และ เทค โน โ ล ยี ให

มหาวิทยาลัยศิลปากรเปนแหลงทุนทาง

ศิลปวัฒนธรรมของชาติ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนโครงการวิจัยและงานสรางสรรคที่

ไดรับงบประมาณจากภายในและภายนอกสถาบัน 2. จํานวนโครงการวิจัยบูรณาการระหวางศาสตร

สาขาตางๆ ที่ไดรับงบประมาณจากภายในและ

ภายนอกสถาบัน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

3. จํ านวนเงินสนับสนุนงานวิ จัยและงาน

สรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอ

อาจารยประจําและนักวิจัยประจํา 4. จํานวนโครงการวิจัยและงานสรางสรรคที่มี

การเผยแพรในวารสารหรือนําไปอางอิงในระดับชาติ

หรือนานาชาติหรือนําไปใชงาน 5. รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคที่

ตีพิมพ เผยแพรหรือนําไปใชประโยชนในระดับชาติ

หรือระดับนานาชาติหรือระดับนานาชาติ ตออาจารย

ประจําและนักวิจัยประจํา 6. รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยประจําที่

ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในและ

ภายนอกสถาบันตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา 7. รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง

(Citation) ใน refereed Journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติ ตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

8. จํานวนผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับ

การจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ตัวชี้วัดเชิงเวลา

9. โครงการวิจัยที่แลวเสร็จภายในระยะเวลาที่

กําหนด

1. จัดทําแผนแมบทเพ่ือกําหนดทิศทางการ

วิจัยและงานสรางสรรคของมหาวิทยาลัย 2. เพิ่ มประสิท ธิภาพการบริหาร จัดการ

ทรัพยากรทางการวิจัยเพื่อใหเกิดการวิจัยเชิงบูรณา

การระหวางศาสตรสาขาตางๆ 3 . พัฒนา ร ะบบและกล ไกก า รติ ดต าม

ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร วิ จั ย ข อ ง

มหาวิทยาลัย 4. สรางองคความรูใหมจากงานวิจัยขั้นพื้นฐาน

ในทุกสาขาวิชา 5. พัฒนางานวิ จัยเชิงบูรณาการเพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพการปองกันแกไขปญหาของชุมชน

หรือสังคมของประเทศโดยเฉพาะอยางย่ิงในพื้นที่

ภูมิภาคตะวันตก 6. พัฒนาระบบฐานขอมู ลงานวิ จั ยด าน

ศิลปวัฒนธรรมเพื่อเปนศูนยกลางขอมูลและแหลง

ทุนทางดานศิลปวัฒนธรรมของชาติโดยรวมมือกับ

หนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศ 7. สงเสริมและผลักดันใหเกิดการทําวิจัยของ

บุคลากรทุกระดับและทุกสาขาในมหาวิทยาลัย 8. พัฒนาระบบการสนับสนุนและการจัดสรร

ผล ประโยชนจากการวิจัยและงานสรางสรรค 9. พัฒนาระบบ และกลไก สนับสนุนการทํา

วิจัยรวมกับสถาบันทั้งในประเทศและตางประเทศ

Page 33: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 24 -

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : การสรางความเขมแข็งใหสังคมและชุมชน เปาประสงคที่ 4 : สังคมและชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 : การอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของชาติ เปาประสงคที่ 5 : เปนผูนําทางดานศิลปวัฒนธรรม

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ ยุทธศาสตรที่ 3 ใหบริการวิชาการที่สรางคุณคา

และมูลคาแกมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนการจัดอบรม/สัมมนาเพื่อถายทอดองค

ความรูสูสังคมและชุมชน 2. จํานวนผูเขารับบริการ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 3. จํานวนชั่วโมงเฉลี่ยที่อาจารยประจําใหบริการ

วิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนา

และเสริมสร างความเข็มแข็ งของสั งคม ชุมชน

ประเทศชาติ หรือนานาชาติตออาจารยประจําและ

นักวิจัยประจํา 4. รอยละของอาจารยประจําที่เปนที่ปรึกษา เปน

กรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบันเปนกรรมการ

วิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับ

นานาชาติตออาจารยประจํา ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5. รอยละของโครงการหรือกิจกรรมบริการวิชาการ

และวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและ

เสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ

หรือนานาชาติตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา 6. รอยละความพึงพอใจของผูเขารับบริการ

1. ใหบริการวิชาการที่สรางคุณคาแก

มหาวิทยาลัยและสรางความเขมแข็งใหชุมชน 2. ประยุกตและถายทอดเทคโนโลยีและภูมิ

ปญญาทองถิ่นเพื่อสรางมูลคาเพ่ิมในสินคา

และบริการของชุมชน 3. เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

การใหบริการและจัดกิจกรรมทางวิชาการ จาก

ทรัพยสินทางปญญา และวสิาหกิจเพื่อมุงเนน

การสรางรายไดแกมหาวิทยาลัย

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ ยุทธศาสตรที่ 4 สืบสาน สรางสรรค สนับสนุน

บูรณาการ ศิลปะ และวัฒนธรรม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนโครงการศิลปวัฒนธรรม 2. จํานวนผูเขารวมโครงการ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 3. รอยละของโครงการหรือ กิจกรรมในการอนุรักษ

พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรม

ตอจํานวนโครงการหรือกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด 4. รอยละเฉลี่ยของนักศึกษาที่เขารวมโครงการในการ

อนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและ

วัฒนธรรม 5. รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ

พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรม

ตองบดําเนินการ

1. เผยแพรความรูและสรางจิตสํานึกในการ

อนุรักษศิลปะและวัฒนธรรม

2. ปรับโครงสรางการบริหารจัดการเพื่อสราง

เครือขายการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมใน

ระดับทองถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ 3. มีระบบสารสนเทศเพื่อการทํานุบํารุง

ศิลปะและวัฒนธรรม 4. สงเสริมใหมีการบูรณาการศาสตรของแต

ละสาขาวิชา รวมกับการสืบสาน สรางสรรค

ศิลปะและวัฒนธรรม 5. เปนศูนยกลางระดับชาติที่ทํ าหน าที่

สงเสริมใหเกิดการพัฒนาการสรางสรรคศิลปะ

และวัฒนธรรม

Page 34: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 25 -

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 : การพัฒนาการบริหารจัดการองคกรที่มีประสิทธิภาพ

เปาประสงคที่ 6 : องคกรมีหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

เปาประสงคที่ 7 : บุคลากรไดรับการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ ยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารองคกรดวยหลักการ

บริหารกิจการบานเมืองที่ดี

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพ

ในที่กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

อยางตอเนื่อง 2. ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตาม

ม า ต ร ก า ร ป ร ะ ห ยั ด พ ลั ง ง า น ข อ ง

สถาบันอุดมศึกษา 3. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวง

น้ําหนักของอัตราการเบิกจายเงินงบประมาณ

รายจายลงทุน 4. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวง

น้ําหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการ

ใหบริการ 5. ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวง

น้ําหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการ

ใหบริการ 6. ระดับความสําเร็จของการจัดทําตนทุนตอ

หนวยผลผลิต 7. รอยละของความสําเร็จในการปรับปรุง

ฐานขอมูลที่เปนปจจุบันตอฐานขอมูลทั้งหมด

1. จัดทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะสั้น ระยะกลาง

ระยะยาวและแผนปฏิบัติการ 2. ติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุ งแผน

ยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการ 3. พัฒนาสถาบันใหเปนองคกรแหงการเรียนรู 4. บริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคา

ในเชิงภารกิจ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ดวยการปรับปรุง

โครงสรางองคกรและลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการและการประกัน

คุณภาพการศึกษา 7.เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศเพื่อการ

บริห ารจั ดกา ร เพื่ อ สนับสนุนการดํ า เนิ น ง านของ

มหาวิทยาลัย 8. สงเสริมใหประชาคมและประชาชนมีสวนรวมในการ

พัฒนามหาวิทยาลัย

ยุทธศาสตร ตัวชี้วัด กลยุทธ/มาตรการ ยุทธศาสตรที่ 7 การบริหารและพัฒนาบุคลากร

เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในพันธกิจของ

มหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนบุคลากรที่ไดรับการพฒันา

บุคลากร

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2. ระดับความสําเรจ็ของแผนพัฒนา

บุคลากรของสถาบนัอุดมศึกษา

1. กําหนดสัดสวนอัตรากําลังและคุณวุฒิใหเหมาะกับ

ภารกิจและพันธกิจของหนวยงาน 2. กําหนดคาตอบแทนและสวสัดิการบุคลากรเพื่อความ

สามารถทางการแขงขัน 3. ประเมินประสทิธิภาพในการปฏิบัติงานของ

ผูบริหารและบุคลากรของมหาวิทยาลยั 4. เพ่ิมพูนประสบการณทํางานความเชี่ยวชาญทางภาษา

และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธ์ิในพันธกิจ

ของมหาวิทยาลัย 5. สรางบุคลากรทดแทนใหสอดคลองกับพันธกิจของ

มหาวิทยาลัย 6. จัดทําแผนพัฒนาบุคลากรในแตละสายงาน ให

เอื้ออํานวยและสอดคลองกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตรของ

มหาวิทยาลัย

Page 35: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 26 -

การปรับโครงสรางและจัดตั้งหนวยงานในกํากับภายในสํานักงานอธิการบดี เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามแนวทางที่สภามหาวิทยาลัยศิลปากรกําหนดและสอดคลองกับการบริหาร

ราชการที่มุงเนนความสําเร็จเชิงยุทธศาสตร มีการปรับปรุงประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพ และพัฒนาระบบการ

บริหารจัดการกาวตามทันตอความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงไดปรับโครงสรางและจัดตั้ง

หนวยงานในกํากับภายในสํานักอธิการบดี ตามมติสภามหาวิทยาลัยศิลปากรในการประชุมครั้งที่ 5/2550 เมื่อวันที่

12 กันยายน 2550 จากโครงสรางเดิมเปนโครงสราง ดังนี้ 1. กองกลางมีการจัดแบงออกเปน 3 กอง ดังนี้

1.1 กองการเจาหนาที่ ประกอบดวย 4 งาน ไดแก งานบริหารงานบุคคล งานทะเบียนประวัติ งาน

พัฒนาและฝกอบรม และงานวินัยและนิติการ 1.2 กองคลัง ประกอบดวย 4 งาน ไดแก งานงบประมาณ งานพัสดุ งานการเงิน และงานบัญชี

1.3 กองบริการอาคารสถานที ่และยานพาหนะพระราชวังสนามจันทร ประกอบดวย 6 งาน ไดแก

งานธุรการ งานอาคารและรักษาความปลอดภัย งานบริการและสวัสดิการ งานบํารุงรักษาสวนและสนาม งาน

สาธารณูปโภค และซอมบํารุง และงานยานพาหนะ 2. สาํนักงานตรวจสอบภายใน ประกอบดวย 4 งาน ไดแก งานตรวจสอบที่ 1 งานตรวจสอบได 2 งานวิชาการ

และวางแผน และงานบริหารและธุรการ 3. สาํนักงานประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบดวย 5 งาน ไดแก งานวางแผนพัฒนาและประเมินผลงาน

ติดตามตรวจสอบ งานสารสนเทศและประชาสัมพันธ งานจัดการความรู และงานธุรการ 4. สาํนักงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบรุี ประกอบดวย 7 งาน ไดแก งานบริหารทั่วไป งานสวัสดิการและ

กิจการนักศึกษา งานอาคารและยานพาหนะ งานบริการการสอน งานสวน สนาม และรักษาความปลอดภัย งานชาง

และงานคลังและพัสด ุ5. สาํนักงานสภามหาวิทยาลยั ประกอบดวย 4 งาน ไดแก งานบริหารงานทั่วไป งานประชุมและเลขานกุาร งาน

ยุทธศาสตรและสารสนเทศ และงานกิจการพเิศษ 6. งานนักศึกษาเกาสัมพันธ

การจัดตั้งโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา)

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดเปดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา ภายใตการดําเนินงานของโรงเรียน

สาธิต นับแตปการศึกษา 2517 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนแหลงปฏิบัติการตามแนวทฤษฎีการศึกษาแลการสาธิต

สําหรับนักศึกษาในคณะศึกษาศาสตรไดสังเกตการณสอนและฝกหัดสอน รวมถึงเปนแหลงวิจัยคนควาทางการศึกษา

พรอมทั้งเปนแหลงใหการศึกษาแกเยาวชน และใชเปนสวัสดิการทางการศึกษาของบุตร อาจารย ขาราชการ ลูกจาง

ของมหาวิทยาลัย ซ่ึงโรงเรียนสาธิตไดดําเนินการตามวัตถุประสงคดังกลาวอยางตอเน่ืองและดวยความตองการ

พัฒนาการจัดการศึกษาใหครอบคลุมตั้งแตระดับแรก เพื่อความตอเนื่องในการคนควาวิจัยทฤษฎีตางๆ ทางคณะ

ศึกษาศาสตรจึงไดดําเนินการจัดตั้งโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและปฐมศึกษา) เขาสูการพิจารณา

ของสภามหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2551 และสภาฯไดมีมติใหจัดตั้งโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย

ศิลปากร (ปฐมวัยและปฐมศึกษา) เปนหนวยงานในกํากับในคณะศึกษาศาสตร ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร

วาดวยการจัดตั้งและการบริหารงานหนวยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใชตั้งแต

วันที่ 21 พฤษภาคม 2551 เปนตนไป

Page 36: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 27 -

การประชุมเพื่อเตรียมความพรอมการจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร

ป พ.ศ. 2550 เปนปเร่ิมตนของการใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ระยะที่ 10 (พ.ศ.

2550-2554) เพ่ือใหสอดคลองกับการดําเนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และประเด็น

เชิงนโยบายอุดมศึกษาสําหรับการจัดทําแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565)

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมทั้งที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 10

มกราคม 2550 เห็นสมควรใหจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากรเพื่อกําหนดแนวทางเชิงยุทธศาสตร

และเปาหมายในการพัฒนามหาวิทยาลัย รวมทั้งเปนกรอบแนวทางในการจัดทําแผนแผนพัฒนาการศึกษา

มหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)

มหาวิทยาลัยจึงไดเตรียมความพรอมเพ่ือจัดทําแผนยุทธศาสตรและแผนพัฒนาการศึกษา

มหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) โดยแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อศึกษาและประมวล

ความคิดเห็นเพื่อกําหนดแนวทางเชิงยุทธศาสตรและเปาหมายในการพัฒนามหาวิทยาลัย ประกอบดวย

1. คณะกรรมการจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร ตามคําส่ังที่ 217/2550 ลงวันที่

7 กุมภาพันธ 2550 2. คณะกรรมการกําหนดแนวทางเชิงยุทธศาสตรในการพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร ตามคําส่ังที่

290/2550 ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ 2550

เลขานุการคณะกรรมการจัดทําแผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร ไดจัดประชุม

คณะกรรมการจัดทําแผนยุทธศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จํานวน 2 ครั้ง เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2550 และ

วันที่ 15 พฤษภาคม 2550 โดยคณะกรรมการมีมติใหนําประเด็นที่เปนสาระสําคัญจากแผนยุทธศาสตรเดิม

ของมหาวิทยาลัยมาเปนกรอบแนวทางของการจัดทําแผน และรวบรวมแผนยุทธศาสตรจากคณะวิชา/

หนวยงานเพื่อประมวลและยกรางเปนแผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย

ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยวาระพิเศษ ครั้งที่ 3/2550 วันที่ 8 สิงหาคม 2550 ไดจัดระดม

ความคิดรวมกับผูบริหารมหาวิทยาลยัเพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยในระยะ 5 ป และมอบหมาย

Page 37: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 28 -

ใหประธานคณะกรรมการกําหนดแนวทางเชิงยุทธศาสตรในการพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร (นายบุญชัย

เบญจรงคกุล) จัดประชุมรับฟงความคิดเห็นจากผูบริหารและประชาคมเพื่อจัดทําแผนยุทธศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งคณะกรรมการกําหนดแนวทางเชิงยุทธศาสตรในการพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร

ไดจัดประชุมจํานวน 2 ครั้ง เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 จัดประชุมคณบดี ผูบริหารมหาวิทยาลัยศิลปากร วัง

ทาพระ และวันที่ 23 สิงหาคม 2550 จัดประชุมคณบดี ผูบริหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง

สนามจันทร โดยไดหารือเก่ียวกับเปาหมายและจัดทําแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยวาควรกําหนดทิศทางหลัก

ของการพัฒนา โดยมองในเชิงบูรณาการและสะทอนใหเห็นถึงความโดดเดนทางดานศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้ใน

การจัดทําแผนยุทธศาสตรจะตองกําหนดวิสัยทัศน และเปาหมายใหชัดเจน และเปดโอกาสใหมีการแลกเปลีย่น

ความคิดเห็น ขอมูลตางๆระหวางบุคลากรในมหาวิทยาลัย

คณะทํางานผูรับผิดชอบการจัดทําแผนยุทธศาสตรไดจัดทํารางแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัย

ศิลปากรเสนอที่ประชุมคณบดี ครั้งที่ 17/2550 เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2550 ที่ประชุมคณบดีมีมติใหจัด

ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง “การจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร ป พ.ศ.2550” ในวันที่ 4-5 ตุลาคม 2550 ณ โรงแรมเมธาวลัย จังหวัดเพชรบุรี เพ่ือรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจาก

ผูบริหารระดับกลางขึ้นไป และจากการประชุมดังกลาว ไดจัดทําประเด็นยุทธศาสตรจากการจัดประชุมระดมความคิด และการทบทวนและเพิ่มเติมประเด็นยุทธศาสตร/ขอเสนอแนะ จากคณะวิชา/หนวยงาน เสนอท่ี

ประชุมสภามหาวิทยาลัยวาระพิเศษ ครั้งที่ 2/2551 วันที่ 20 กุมภาพันธ 2551 พิจารณา ที่ประชุมมีความ

คิดเห็นและขอเสนอแนะในการจัดทํายุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร สรุปไดดังนี้ 1. ควรเพิ่มจํานวนครั้งในการจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพ่ือระดมความคิดเห็นและให

ประชาคมมีสวนรวม 2. ควรใหทุกคนรวมเสนอความคิดเห็นวาตองการใหมหาวิทยาลัยเปนอยางไร แลวนํามารวบรวม

สังเคราะหเปนประเด็นหลักที่สําคัญ นํามาจัดทําแผน เปาหมาย ยุทธศาสตร ของมหาวิทยาลัย 3. สภามหาวิทยาลัยควรมีการกําหนดแผน นโยบายของสภาฯ นอกเหนือจากการระดมความ

คิดเห็นจากประชาคม หนวยงาน คณะวิชา 4. มหาวิทยาลัยจะตองมีทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจนวาตองการใหมหาวิทยาลัยเปนอยางไร เพราะ

หากความชัดเจนเมื่อเขียนแผนไปแลว ภาพของมหาวิทยาลัยอาจะไมเปนดังเชนในปจจุบัน

Page 38: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 29 -

5. การกําหนดแผนยุทธศาสตร ควรใชความดีงามในการเขาถึงความจริงและปญญา ผนวกกับ

ความรู เพ่ือใหมหาวิทยาลัยเปนแหลงปญญาที่จะชวยนักศึกษาและแกไขปญหาสังคมประเทศชาติ 6. มหาวิทยาลัยควรมีความเขาใจในความหมายของคําตาง ๆ ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรให

ชัดเจน เพ่ือความเขาใจที่ตรงกันในการจัดทําแผน 7. มหาวิทยาลัยควรจัดใหมีการนัดพบกับคณบดีและคณะวิชา เพ่ือเปนการมีสวนรวมในลักษณะ

ของการรวมความคิดเห็นทั้งหมดของประชาคมทุกระดับ 8. การจัดทําแผนยุทธศาสตรควรตอบสนองกับยุทธศาสตรของประเทศ และแผนยุทธศาสตรของ

มหาวิทยาลัยควรมาจากรากฐานทางวัฒนธรรมและรากฐานทางวิธีคิดที่ใชศิลปะและวัฒนธรรมเปนตัวจุด

ประกายและเปนตัวเปดโลกทัศน พรอมกันนั้นไดนําเสนอความคืบหนาการดําเนินงานการจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัย

ศิลปากรใหมหาวิทยาลัยรับทราบ พรอมทั้งเสนอทางเลือกเพ่ือเปนแนวทางการดําเนินการจัดทําแผน

ยุทธศาสตรเพ่ือใหสภามหาวิทยาลัยพิจารณาตอไป การสรรหาอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินการสรรหาผูสมควรดํารงตําแหนงอธิการบดี มหาวิทยาลัย

ศิลปากร ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการสรรหาอธิการบดี พ.ศ. 2548 แกไขเพิ่มเติมโดย

ขอบังคับฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 โดยมีคณะกรรมการสรรหาผูสมควรดํารงตําแหนงอธิการบดี

มหาวิทยาลัยศิลปากรเปนผูดําเนินการ ซึ่งในการสรรหาครั้งนี้คณะกรรมการสรรหาฯ ไดดําเนินการให

หนวยงานตางๆ ในมหาวิทยาลัยศิลปากรนําสงเอกสารสรุปความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานภาพ

สถานการณ และความตองการของหนวยงาน รวมทั้งเสนอรายชื่อบุคคลผูสมควรดํารงตําแหนงอธิการบดี

และประกาศรับสมัครบุคคลภายนอกที่มีมีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

เมื่อคณะกรรมการสรรหาฯ ไดตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตนและสงหนังสือทาบทามผูไดรับการเสนอ

ช่ือจากหนวยงานในมหาวิทยาลัยและผูที่ย่ืนใบสมัครเองเรียบรอยแลว จึงไดประกาศรายชื่อผูเขารับการสรร

หาเพื่อดํารงตําแหนงอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร จํานวนทั้งส้ิน 12 ทาน และไดกําหนดใหผูที่มีรายชื่อ

ดังกลาวแสดงวิสัยทัศนและแนวคิดดานนโยบายในการพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากรตอประชาคมศิลปากรและ

คณะกรรมการสรรหาฯ ในวันพุธที่ 16 มกราคม 2551 หลังจากที่ผูเขารับการสรรหาเพื่อดํารงตําแหนงอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากรทุกทานไดแสดง

วิสัยทัศนและแนวคิดดานนโยบายในการพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากรเสร็จสิ้นแลว คณะกรรมการสรรหาฯ

ไดทําการพิจารณาและเสนอชื่อ อาจารย ดร. อุทัย ดุลยเกษม เปนผูสมควรดํารงตําแหนงอธิการบดี ตอสภา

มหาวิทยาลัยศิลปากร และในการประชุมสภามหาวิทยาลัยศิลปากร วาระพิเศษ/2551 เมื่อวันที่ 20

มกราคม 2551 มติที่ประชุมเห็นชอบให อาจารย ดร.อุทัย ดุลยเกษม เปนผูสมควรดํารงตําแหนง

อธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ตามที่คณะกรรมการสรรหา ฯ เสนอ

Page 39: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 40: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 30 -

การจัดการศึกษาและพัฒนาทางวิชาการ

มหาวิทยาลยัศิลปากร เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐที่มุงมั่นจะผลิตนักศึกษาใหเปนบณัฑิตที่

มีความรู ความสามารถ คุณธรรมและจริยธรรม ในการจัดการศึกษาจึงยังเนนในสาขาวิชาที่ชวยสงเสรมิตอการพัฒนา

ความรู ความสามารถ และมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ เชื่อมโยงความรูกับนานาชาติ ปลูกฝงคุณลักษณะอัน

พึงประสงคของบัณฑิตใหเปนที่ตองการ และการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาใหสอดคลองกับ

สภาพความตองการของสังคม รองรับการดําเนินการทางการคนควา วิจัย ตลอดจนเนนการดําเนินงานตาม

หลักธรรมภิบาล สนับสนุนการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการเรียนการสอน เพื่อมุงไปสูการเปน

สถาบันอุดมศึกษาระดับชั้นนําของประเทศ

ในปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยมีการจดัการศึกษาในคณะวิชา ตาง ๆ ประกอบดวย คณะจิตรกรรม

ประติมากรรมและภาพพิมพ คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะโบราณคดี คณะมัณฑนศิลป คณะศึกษาศาสตร คณะ

อักษรศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะดุริยางค

ศาสตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

วิทยาลัยนานาชาติ ทั้งนี้มีบัณฑิตวิทยาลัยเปนหนวยงานที่ทาํหนาทีใ่นการประสานการเรยีนในระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อ

ทําหนาที่ประสานงานใหคณะวิชาตาง ๆ ใหไดตามมาตรฐานการศึกษาที่กําหนด โดยทําหนาที่วางแผนกําหนด

แนวนโยบายและดูแลงานดานวิชาการที่เก่ียวของกับหนวยงานตาง ๆ หลักสูตรการศึกษา ในปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยศิลปากรมีหลักสูตรที่เปดการเรียนการสอนทุกระดับการศึกษา รวม

ทั้งสิ้น 180 หลักสูตร จําแนกเปนหลักสูตรในระดับอนุปริญญา 3 หลักสูตร ระดับปริญญาตรี 85 หลักสูตร ระดับ

ประกาศนียบัตร 2 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 70 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 20 หลักสูตร โดยในระดับปริญญาตรีมีสัดสวนของกลุมสาขาวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร : สาขาวิชาวิทยาศาสตร

เทคโนโลยี : สาขาวิทยสุขภาพ เปน 63.6 : 34.1 : 2.3 และในระดับบัณฑิตศึกษามีสัดสวน 54.4 : 31.5 : 14.1

ป.โท, 38.89 %ป.นียบัตร

, 1.11%

ป.ตรี, 47.22 %

อนุปริญญา

, 1.67%ป.เอก, 11.11%

Page 41: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 31 -

ทั้งนี้ ในปการศึกษา 2550 คณะวิชาตาง ๆ ในมหาวิทยาลัยศิลปากร มีการเปดหลักสูตรใหมในทุกระดับ

จํานวนทั้งสิ้น 11 หลักสูตร ประกอบดวยระดับปริญญาตรี 4 หลักสูตร ปริญญาโท 4 หลักสูตร และปริญญาเอก 3

หลักสูตร

ปริญญา สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี - คณะ วิ ศ ว ก ร ร มศ าสต ร แ ล ะ เ ทค โ น โ ล ยี

อุตสาหกรรม

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) - คณะวิทยาการจัดการ

บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.)

1 . วิ ศ ว ก ร ร ม อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส แ ล ะ ร ะ บ บ

คอมพิวเตอร 2. ธุรกิจโรงแรมและที่พัก 3. การจัดการธุรกิจ และภาษาอังกฤษ 4. นิเทศศาสตร

ระดับปริญญาโท - คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ

ศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.) - คณะเภสัชศาสตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) - คณะวิทยาการจัดการ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม) - วิทยาลัยนานาชาติ Master of Business Administration (M.B.A.)

1. ทฤษฎีศิลป 2. นิติวิทยาศาสตร (หลักสูตรนานาชาติ) 3. การจัดการภาครัฐและเอกชน 4. International Business

ระดับปริญญาเอก - คณะศึกษาศาสตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

- คณะวิทยาศาสตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

1. หลักสูตรและการนิเทศ 2. คณิตศาสตร 3. ฟสิกส

นักศึกษาใหม

การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยศิลปากรในปการศึกษา 2550 ยังคงสอดคลองกับการพัฒนาและความ

ตองการของประเทศ ในการที่จะผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่หลากหลาย ทั้งทางดานสังคมศาสตรมนุษยศาสตร

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยศิลปากร สามารถจัดการศึกษาไดในทุกระดับ

การศึกษา ในปการศึกษา 2550 มีนักศึกษาใหมทั้งสิ้น จํานวน 5,801 คน ซ่ึงสามารถจําแนกตามระดับการศึกษา

Page 42: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 32 -

4,115

4,889

50 56

682 795

66 61

0500

1,0001,5002,0002,5003,0003,5004,0004,5005,000

ป.ตรี ประกาศนยีบัตร ป.โท ป.เอก

ดังนี้ นักศึกษาในระดับปริญญาตรี 4,889 คน นักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 56 คน นักศึกษาในระดับ

ปริญญาโท 795 คน และนักศึกษาในระดับปริญญาเอก 61 คน

จากการศึกษาเปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาใหมปการศึกษา 2549 กับปการศึกษา 2550 จําแนกตามระดับ

การศึกษา พบวา มีนักศึกษาใหมเพิ่มขึ้นโดยรวม 888 คน (รอยละ 18.1) โดยนักศึกษาใหมในระดับปริญญาตรี มี

สัดสวนการเพิ่มของนักศึกษาใหมสูงสุด จํานวน 774 คน (รอยละ 18.8) ระดับประกาศนียบัตร เพิ่มขึ้น 6 คน

(รอยละ 12.0) ระดับปริญญาโท เพิ่มขึ้น 113 คน (รอยละ 16.6) สวนในระดับปริญญาเอก มีจํานวนนักศึกษา

ใหมลดลง 5 คน (รอยละ -7.6) นักศึกษารวม

มหาวิทยาลัยศิลปากรมีนักศึกษารวมทั้งหมดในปการศึกษา 2550 มีจํานวนทั้งสิ้น 18,609 คน จําแนก

นักศึกษาตามระดับการศึกษาเปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 15,774 คน ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

จํานวน 56 คน ระดับปริญญาโท จํานวน 2,506 คน และระดับปริญญาเอก จํานวน 273 คน เมื่อจําแนกตามระดับการศึกษา พบวา จํานวนนักศึกษาในทุกระดับมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยระดับปริญญา

เอก มีสัดสวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นสูงสุด เปนจํานวน 49 คน (รอยละ 21.9) ระดับปริญญาโทมีสัดสวนนักศึกษาเพิ่มขึ้น

จํานวน 325 คน (รอยละ 14.9) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตมีสัดสวนนักศึกษาเพิ่มขึ้น จํานวน 7 คน (รอยละ

14.3) และระดับปริญญาตรี มีสัดสวนนักศึกษาเพิ่มขึ้น จํานวน 1,919 คน (รอยละ 13.9)

13,85515,774

49 562,181 2,506

224 273

0

5,000

10,000

15,000

20,000

ป.ตรี ประกาศนียบัตร ป.โท ป.เอก

ป 2549 ป 2550

ป 2550 ป 2549 จํานวน (คน)

จํานวน (คน)

Page 43: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 33 -

ผูสําเร็จการศึกษา

มหาวิทยาลัยศิลปากรมีผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2550 จํานวนทั้งสิ้น 3,381 คน จําแนกเปนระดับ

อนุปริญญา จํานวน 1 คน ระดับปริญญาตรี จํานวน 2,806 คน ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวน 54 คน

ระดับปริญญาโท จํานวน 485 คน และระดับปริญญาเอกจํานวน 36 คน

2 1

2,383

2,806

49 54

587 485

8 36

0

500

1,000

1,500

2,000

2,500

3,000

อนุปริญญา ป.ตรี ประกาศนียบัตรฯ ป.โท ป.เอก

จากการศึกษาเปรียบเทียบจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2549 กับปการศึกษา 2550 จําแนกตาม

ระดับการศึกษา พบวา มีผูสําเร็จการศึกษาเพิ่มขึ้นโดยรวม 452 คน (รอยละ 15.4) โดยผูสําเร็จการศึกษาระดับ

ปริญญาเอก มีสัดสวนการสําเร็จการศึกษาเพิ่มขึ้นสูงสุด จํานวน 28 คน (รอยละ 350.0) ระดับปริญญาตรี เพิ่มขึ้น

423 คน (รอยละ 17.8) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต เพิ่มขึ้น 5 คน (รอยละ10.2) สวนในระดับปริญญาโท มี

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาลดลง 102 คน (รอยละ - 17.4) และระดับอนุปริญญา ลดลง 1 คน (รอยละ - 50.0)

ภาวะการมีงานทําของบัณฑิต

สําหรับบัณฑิตระดับปริญญาตรีในปการศึกษา 2550 ที่ไดกรอกแบบสํารวจภาวะการมีงานทําในวันซอม

ใหญ เนื่องในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร (เดือนกรกฎาคม 2551 ) จํานวน 2,621 คน ระบุวากําลัง/ตองการ

ศึกษาตอ 412 คน (รอยละ 15.72) มีงานทําแลวจํานวน 1,322 คน (รอยละ 50.44)ในจํานวนนี้เปนบัณฑิตที่

ไดงานทําตรงตามสาขาวิชาที่สําเร็จการศึกษา 927 คน (รอยละ 70.13) และมีเงินเดือนที่เปนไปตามเกณฑที่ กพ.

กําหนดในแตละสาขาวิชา จํานวน 1,280 คน (รอยละ 96.83)

ยังไมไดทํางาน 33.84 % มีงานทํา 50.44 %

ศึกษาตอ 15.72%

ป 2549 ป 2550 จํานวน (คน)

Page 44: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 34 -

การพัฒนานักศึกษา และกิจกรรมนักศึกษา

ยุทธศาสตรหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร คือ การพัฒนานักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่พึงประสงค ดังนั้นการ

ดําเนินการเพื่อสนับสนุนนักศึกษา จึงมุงเนนสนับสนุนการผลิต

บัณฑิตใหบรรลุตามเปาหมายดังกลาว โดยการจัดบริการและ

สวัสดิการ นักศึกษา การพัฒนากิจกรรมตางๆ ที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและการจัดสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการพัฒนานักศึกษา

เพื่อใหสําเร็จเปนบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ มีความสมบูรณทางรางกายและจิตใจ ความมีคุณธรรมจริยธรรมและจิตสํานึกตอ

สังคม ความมีระเบียบวินัยและความภาคภูมิใจในสถาบัน

มหาวิทยาลัยศิลปากรสงเสริมใหนักศึกษาจัดกิจกรรมดานตาง ๆ ไดแก ดานบําเพ็ญประโยชน ดานศิลปวัฒน ธรรม ดานกีฬาและนันทนาการดาน

วิชาการและจริยธรรม ดานสงเสริมการเรียนรูเพื่อ

ปองกันและแกไขปญหาเอดส ดานรณรงคเพื่อ

ปองกันยาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษาโดยมีองคกร

นักศึกษา คือ สโมสรนักศึกษา คณะกรรมการ

นักศึกษา คณะ และชมรมเปนผูดําเนินการ

การพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัย สามารถจําแนกเปนดานตาง ๆ ไดดังนี้

๏ ดานกีฬาและนันทนาการ

มหาวิทยาลัยมีสนามกีฬาไวบริการ ไดแก สนาม

บาสเกตบอล สนามเปตอง สนามยูโด โตะเทเบิลเทนนิส สนามแบ

ตมินตัน สนามฟุตบอล โรงฝกพลศึกษา สระวายน้ํา สนาม

วอลเลยบอล หองบริการรางกาย และจัดใหมีหองศูนยกีฬาสําหรับบริการดานวัสดุอุปกรณกีฬาที่ใชสําหรับนักศึกษา และบุคลากร

ภายในวิทยาเขตตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังสนับสนุน

และสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาและบุคลากรในดานกีฬาและ

นันทนาการ ในโครงการสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ

Page 45: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 35 -

๏ ดานการแนะแนวและจัดหางาน มหาวิทยาลัยมีบริการแนะแนวใหการปรึกษาแกนักศึกษาที่ประสบกับปญหาตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

ทั้งดานการเรียน การปรับตัว การเลือกอาชีพ ฯลฯ โดยมีนักแนะแนวใหคําปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาเปนผูใหการปรึกษา เพื่อชวยใหนักศึกษามีแนวทางในการแกไขปญหาและสามารถปรับตัวไดเปนอยางดี และยังได

จัดบริการใหนักศึกษาไดฝกฝนตนเองและใชชีวิตรวมกับผูอ่ืนจากประสบการณกลุมพัฒนาตนและกลุมพัฒนา

บุคลิกภาพในหลักสูตรตาง ๆ

นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเตรียมความพรอมในการทํางานใหบัณฑิตและนักศึกษา โดยจัดบริการจัดหางาน

ใหแกนักศึกษาและบัณฑิต แนะแนวการเตรียมตัวเพื่อ

ประกอบอาชีพ จัดอบรมความรูเก่ียวกับการสมัครงาน การสัมภาษณงาน ชวยจัดหางานชั่วคราวสําหรับนักศึกษาที่

ตองการทํางานชวงเวลาวางระหวางศึกษา จัดสงนักศึกษาเขาฝกงานในองคกรตาง ๆ แนะแนวการศึกษาตอในประเทศ

และตางประเทศ มีการจัดทําหองสมุดอาชีพไวเปนที่รวบรวมขอมูลในเรื่องตาง ๆ เชน ขอมูลลักษณะอาชีพ แนวโนม

ตลาดแรงงาน ตําแหนงงานวาง ขอแนะนําในการเตรียมตัวประกอบอาชีพ ขอมูลประกอบการตัดสินใจเลือกศึกษาตอสถาบันการศึกษาตาง ๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ แหลงทุนการศึกษาตอ ซ่ึงนักศึกษาและบัณฑิต สามารถติดตอขอใชบริการไดที่กองกิจการนักศึกษา ในทุกวิทยาเขต

๏ ดานสุขภาพอนามัย มหาวิทยาลัยไดจัดหองพยาบาลเพื่อการปฐมพยาบาล

เบื้องตน เชน การทําแผล บริการจายยา การปฐมพยาบาล กรณีที่มีการเจ็บปวยรุนแรงจะนําสงโรงพยาบาล โดยในวันราชการจะมี

พยาบาลประจําตลอดทุกวัน และมีการจัดบริการตรวจสุขภาพ

ประจําปทุกป สําหรับนักศึกษา อาจารย และบุคลากร นอกจากนี้ยังจัดใหนักศึกษาทุกคนทําประกันอุบัติเหตุสวนบุคคล ในวัน

ลงทะเบียนภาคการศึกษาตน โดยจะไดรับความคุมครอง คา

รักษาพยาบาล และคาสินไหมทดแทนตออุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ในแต

ละครั้ง พรอมกันนี้ยังไดสงเสริมดานสุขภาพอนามัยใหแกนักศึกษาอยางตอเนื่อง รวมทั้งการบําเพ็ญประโยชน เชน การบริจาคโลหิตเปนตน

๏ ดานการบริการหอพักนักศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร และวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มีหอพัก

สําหรับนักศึกษาชาย และนักศึกษาหญิงที่มีภูมิลําเนาอยูหางไกลจากมหาวิทยาลัย เพื่ออํานวยความสะดวกใหแก

นักศึกษาในการศึกษาเลาเรียน อีกทั้งยังเปนการฝกฝนใหนักศึกษาไดเรียนรูการใชชีวิตอยูรวมกันอยางมีความ

รับผิดชอบ โดยในปการศึกษา 2550 หอพักของมหาวิทยาลัยศิลปากร ภายในวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร มี

Page 46: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 36 -

จํานวน 10 อาคาร สามารถรับนักศึกษาเขาพักไดประมาณ 2,956 คน และวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มีจํานวน 5

อาคาร สามารถรับนักศึกษาเขาพักไดประมาณ 2,099 คน

๏ ดานกิจกรรมนักศึกษา การผลิตบัณฑิตใหออกไปรับใชสังคมไดอยางสมบูรณนั้น มหาวิทยาลัยตองปลูกฝงและพัฒนาแนวคิด

ของนักศึกษาใหเปนผูมีจิตสํานึกในการรับใชสังคมนับแตการกาวเขาสูรั้วมหาวิทยาลัย ซ่ึงภาระกิจที่สําคัญประการ

หนึ่งที่มหาวิทยาลัยศิลปากรดําเนินการคือการสงเสริมใหนักศึกษาที่กาวเขามาใชชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยมีทัศนคติ

คุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ ตลอดจนการเอาใจใสตอสังคม ขณะที่สภาวะแวดลอมของสังคมกาวไปสูความ

นิยมในดานวัตถุเพิ่มมากขึ้น ขณะเดียวกันการพัฒนานักศึกษาใหรูจักการใชชีวิตที่นอกเหนือจากการศึกษาเพียงประการเดียว ยอมจะ

สงผลใหนักศึกษามีความสามารถในการปรับตัวและ

เขาใจถึงสภาพสังคมภายนอกรั้วมหาวิทยาลัยไดดี

ยิ่งขึ้น ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงจัดใหมีอาจารยที่ปรึกษา

ฝายกิจกรรมนักศึกษาในทุกคณะวิชา และกองกิจการ

นักศึกษาทําหนาที่ดูแลใหคําปรึกษา แนะนํา การจัด

กิจกรรมตาง ๆ โดยสนับสนุนใหนักศึกษาทํากิจกรรม

บําเพ็ญประโยชน กีฬา นันทนาการ ศิลปวัฒนธรรม

จริยธรรม วิชาการ ซ่ึงในปการศึกษา 2550 มี

โครงการตาง ๆ ที่ไดดําเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงคในเบื้องตนพอสังเขป ดังนี้ - โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ประจําปการศึกษา 2550 - กิจกรรมการไหวครูของคณะวิชา ประจําปการศึกษา 2550 - กิจกรรม Freshy Games จัดโดยสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร

- การแสดงดนตรีและบรรยายทางวิชาการของนักศึกษาคณะดุริยางคศาสตร ระหวางการจัดกิจกรรมตาง ๆ - กิจกรรมสานความสัมพันธนองพี่ I.M. ครั้งที่ 9 ของคณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

- การจัดคายกิจกรรม “English Business Camp 2007” ของนักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจและ

ภาษาอังกฤษ คณะวิทยาการจัดการ เพื่อเตรียมความพรอมดานภาษา และสรางความสัมพันธระหวางอาจารยและ

นักศึกษา - กิจกรรมการปลูกตนไมและปลอยพันธุสัตวน้ําในงาน “สัตวศาสตรอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ” ณ

อุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ - การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมและการจัดทําแผนพัฒนาบัณฑิตอุดมศึกษา

ไทย โดยมีเครือขายของสถาบันภูมิภาคตะวันตก 22 สถาบันเขารวม - โครงการศาสนิกสัมพันธ : ปฏิบัติตามหลักศาสนาเพื่อลดปญหาความรุนแรง โดยเนนใหเกิดความเขาใจ

หลักธรรมคําสอนนําไปสูการปฏิบัติในการดําเนินชีวิตอยางสันติสุข สรางเจนคติที่ดีและความเขาใจที่ถูกตองของแตละ

ศาสนา

Page 47: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 37 -

- โครงการรณรงค ลด ละ เลิก อบายมุขเพื่อพัฒนา

สุขภาพ - กิจกรรมปจฉิมนิเทศนักศึกษาปสุดทายของคณะวิชา

ตาง ๆ - กิจกรรมเทคนิคการรับสมัครงานและสัมภาษณงานเพื่อ

เตรียมความพรอมและเพิ่มศักยภาพแกบัณฑิตใหมที่จะสําเร็จ

การศึกษา - กิจกรรมคายผูนํานิสิต นักศึกษาเกษตรรุนใหม “คาย

ผูนํา 4 จอบ” ครั้งที่ 5 ประจําป พ.ศ. 2550 โดยมีนักศึกษาสาขาเกษตรศาสตรจากมหาวิทยาลัย 12 แหง เขารวม

กิจกรรม เพื่อฝกฝนความเปนผูนํา รวมถึงการใชชีวิตอยูรวมกัน - กิจกรรมคายอาสาพัฒนาและปรับปรุงโรงเรียนนอง ของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ - การสัมมนาเชิงปฏิบัติการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาสถาบันอุดมศึกษา เครือขาย

ภาคตะวันตก เรื่อง “พฤติกรรมวัยรุนกับแนวคิดเศรษฐกิจ

พอเพียง”

ในปการศึกษา 2550 ไดจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา

นักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่พึงประสงคโดยคณะวิชา และ

หนวยกิจกรรมนักศึกษาไดจัด กิจกรรมในด านต างๆ

ออกเปน 8 ประเภท ไดแก การแนะแนวการศึกษา วิชาการ

ศิลปวัฒนธรรม การบําเพ็ญประโยชน

การสงเสริมจริยธรรมคุณธรรม สุขภาพอนามัย

สันทนาการ และกิจกรรมดานอื่นๆ จํานวนทั้งสิ้น 326 โครงการ โดยมีงบประมาณที่ใชในการดําเนินการ

9,231,377 บาท

Page 48: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 38 -

ศิลปวัฒนธรรม

, 17.79%บําเพ็ญประโยชน

, 11.96%

สงเสริมคุณธรรม

, 10.12%

สขุภาพอนามัย

, 11.35%

สนัทนาการ, 11.66%อ่ืนๆ, 5.52%

วิชาการ, 28.22%

แนะแนวการศึกษา

, 3.37%

กิจกรรมนักศกึษา จําแนกตามประเภทที่จัดขึ้น ประจําปการศึกษา 2550

จํานวนกิจกรรมนักศึกษา ผูเขารวม และงบประมาณในการดําเนินการ ประจําปการศึกษา 2550

ประเภทกิจกรรม รวม

คณะวิชา

แนะแนวการศึกษา

วิชาการ

ศิลปวัฒนธรรม

บําเพ็ญประโยชน

สงเสริมจริยธรรม

คุณธรรม

สุขภาพอานามัย

สันทนาการ

อื่นๆ

กิจกรรม

/โครงการ

รอยละ

ผูเขารวม

(คน)

งบประมาณ

(บาท

)

กองกิจการนักศึกษา 0 4 0 2 11 6 2 5 30 9.20 75,514 1,692,490

จิตรกรรมฯ 0 6 4 2 1 5 4 0 22 6.74 ไมระบุ ไมระบุ

สถาปตย ฯ 4 12 0 0 0 1 3 0 20 6.13 ไมระบุ 501,500

โบราณคดี 0 18 6 2 0 0 6 0 32 9.82 1,804 946,694

ดุริยางคศาสตร 1 8 1 2 0 0 15 0 27 8.28 ไมระบุ ไมระบุ อักษรศาสตร 0 4 2 2 7 3 0 0 18 5.52 5,507 411,805

ศึกษาศาสตร 1 2 3 3 3 1 0 1 14 4.29 4,037 332,000

วิทยาศาสตร 0 12 16 6 0 7 4 0 45 13.80 12,314 1,296,703

วิศวกรรมศาสตร ฯ 0 11 9 7 1 5 0 8 41 12.57 10,022 1,527,211

เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 3 2 6 3 0 2 1 18 5.52 2,673 1,050,764

วิทยการจัดการ 0 10 11 6 5 9 0 0 41 12.57 7,985 1,472,210

สัตวศาสตร ฯ 4 2 4 1 2 0 2 3 18 5.52 3,896 281,096

รวม 11 92 58 39 33 37 38 18 326 100.00 119,856 9,231,377 รอยละ 3.37 28.22 17.79 11.96 10.12 11.35 11.66 5.52

ที่มา : รายงานประจําป และรายงานผลการประเมินตนเอง ของกองกิจการนักศึกษา และคณะวิชาตางๆ ประจําป 2550

Page 49: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 39 -

ทุนการศึกษาและสวัสดิการ

มหาวิทยาลัยศิลปากรตระหนักถึงการเปดโอกาสใหแกผูที่มีความสามารถ หากขาดแคลนทรัพยไดเขารับ

การศึกษา พรอมทั้งชวยสงเสริมกําลังใจใหแกผูที่เรียนดี โดยมีการมอบทุนการศึกษาในประเภทตางๆ ใหแก

นักศึกษา ภายใตการสนับสนุนจากทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซ่ึงในปการศึกษา 2550มหาวิทยาลัยมีการ

จัดสรรทุนประเภทตางๆ ทุนทรัพยสวนพระองคและกองทุนการศึกษา ทุนที่ไดรับการจัดสรรจากงบประมาณ

แผนดิน ทุนยกเวนคาธรรมเนียมพิเศษ ทุนยกเวนคาหนวยกิต ทุนจากหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ ทุนจาก

ธนาคาร ทุนจากบริษัท หางราน ทุนจากนิสิตเกาของมหาวิทยาลัย ทุนจากมูลนิธิ ทุนจากผูมีจิตศรัทธา ทุนจาก

สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง(สกย.) รวมถึงทุนจากคณะวิชา เปนตน

การจัดสรรทุนการศึกษาใหแกนักศึกษาในรอบปการศึกษา 2550 นี้มีการจัดสรรตามประเภทตางๆ ดังนี้

คือ ทุนจากคณะวิชา จํานวน 1,308 ทุน (รอยละ 59.52) รองลงมาคือ ทุนจากบริษัท หาง ราน จํานวน 131 ทุน

(รอยละ 5.96) ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผนดิน จํานวน 100 ทุน (รอยละ 4.55) ตามลําดับ และนอยที่สุด คือ

ทุนจากหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ จํานวน 7 ทุน (รอยละ 0.32)

ทุนการศึกษา จําแนกตามประเภททุน ประจําปการศึกษา 2550

ทุนจากคณะวิชา

59.52%

ทุนจากศิษยเกา

0.41%

ทุนจากราชการและรัฐวิสาหกิจ

0.32%ทุนจากธนาคาร

0.55%

ทุนยกเวนคาหนวยกิต

12.06%

ทุนจากมูลนิธิ

2.37%

ทุนจากผูมีจิตศรัทธา

1.05%

ทุนจาก สกย.

1.41%

ทุนคาธรรมเนียมพิเศษ

9.42%ทุนงบประมาณแผนดิน

4.55%ทุนทรัพสวนพระองค

2.41%

ทุนจากบริษัท หาง ราน

5.96%

Page 50: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 40 -

* เฉพาะคณะวิชาที่ไดแจงจํานวนทุนการศึกษาที่มอบให

ขอมูลอางอิงจากสูจิบัตรพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยประจําปการศึกษา 2550

ลําดับ ประเภททุนการศึกษา จํานวนทุน รอยละ จํานวนเงิน

1 ทุนที่ไดรับจากการพระราชทานทุนทรัพยสวนพระองค และกองทุนการศึกษา 53 2.41 723,600

2 ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผนดิน 100 4.55 500,000

3 ทุนการศึกษายกเวนคาธรรมเนียมพิเศษ 207 9.42 1,175,000

4 ทุนยกเวนคาหนวยกิต 265 12.06 2,028,330

5 ทุนการศึกษาที่ไดรับจากหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ 7 0.32 88,000

6 ทุนการศึกษาที่ไดรับจากธนาคาร 12 0.55 70,000

7 ทุนการศึกษาที่ไดรับจากบริษัท หาง ราน 131 5.96 1,095,000

8 ทุนการศึกษาที่ไดรับจากศิษยเกา 9 0.41 66,000

9 ทุนการศึกษาที่ไดรับจากมูลนิธิ 52 2.37 840,000

10 ทุนการศึกษาที่ไดรับจากผูมีจิตศรัทธา 23 1.05 170,000

11 ทุนการศึกษาจาก สกย. 31 1.41 724,000

12 ทุนจากคณะวิชา

- คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ 103 4.69 1,188,000

- คณะสถาปตยกรรมศาสตร 120 5.46 828,000

- คณะอักษรศาสตร 163 7.41 ไมระบุ

จํานวนเงิน

- คณะศึกษาศาสตร 74 3.36 486,000

- คณะวิทยาศาสตร 336 15.28 1,989,000

- คณะดุริยางคศาสตร 170 7.73 2,375,000

- คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 160 7.28 1,737,260

- คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 68 3.09 744,000

- คณะวิทยาการจัดการ 114 5.19 1,172,900

รวม 2,198 100.00 18,000,090

Page 51: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 41 -

ในสวนของทุนการศึกษาจากเงินงบประมาณแผนดิน เปนการจัดสรรใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดย

พิจารณาตามสัดสวนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนในปการศึกษา 2550 ซ่ึงจําแนกทุนที่แตละคณะวิชาไดรับจัดสรร ดังนี้

คณะวิชา จํานวนทุน จํานวนเงิน 1. จิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ 4 20,000

2. สถาปตยกรรมศาสตร 4 20,000

3. โบราณคดี 10 50,000

4. มัณฑนศิลป 8 40,000

5. อักษรศาสตร 18 90,000

6. ศึกษาศาสตร 11 55,000

7. วิทยาศาสตร 15 75,000

8. เภสัชศาสตร 3 15,000

9. วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 18 90,000

10. สัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 6 30,000

11. วิทยาการจัดการ 3 15,000

รวม 100 500,000

การสงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ พ.ศ.2551 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดพัฒนาระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศ ทั้งในดานการสนับสนุนการเรียนการสอน และการบริการวิชาการโดยใหบริการงานดานตางๆ ตาม

นโยบายของมหาวิทยาลัย ผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แกนักศึกษา อาจารย และบุคลากรของมหาวิทยาลัย

ศิลปากร ดังรายละเอียดตอไปนี้

การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดมอบหมายใหศูนยคอมพิวเตอรเปนผูใหบริการคอมพิวเตอรสําหรับนักศึกษาใน

ทุกวิทยาเขต รวมทั้งใหคณะวิชาที่ตองการใชคอมพิวเตอรในการเรียนการสอน ซ่ึงไดจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร

จํานวน 196 ชุด สําหรับการใหบริการนักศึกษาและคณะวิชา เปดอบรมพิเศษทางคอมพิวเตอรสําหรับบุคคลทั่วไป

และหนวยงานภายนอก นอกจากนี้ ยังไดพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย ในดานตาง ๆ ดังนี้

๏ จัดพื้นที่ Open Learning Space บริเวณอาคารตางๆ สําหรับใหบริการนักศึกษาผานระบบ SU-Wi-Fi จํานวนทั้งสิ้น 5 แหง ภายในวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ๏ การใหบริการเครือขาย Internet กับทุกหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย และเปน Regional Node ของภูมิภาคตะวันตกในเครือขาย UniNet ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

Page 52: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 42 -

๏ ขยายวงจรเครือขาย (Lease Line) จากวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร - วิทยาเขตสารสนเทศ

เพชรบุรี เปน100 Mbps ๏ ติดตั้งระบบ Wireless เพื่อใหนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย ไดใชงานระบบเครือขายไดอยาง

ทั่วถึง โดยติดตั้งที่วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร จํานวน 148 จุด วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี จํานวน 53 จุด วัง

ทาพระ จํานวน 39 จุด และสํานักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน จํานวน 23 จุด

๏ ดานการสอนสอนทางไกลและสื่อการสอน e-Learning ใหบริการหองเรียนทางไกล วิทยาเขตละ 1 หอง

โดยทําการสอนผานเครือขายทุกวิทยาเขต และผลิตสื่อการสอนแบบ www จํานวน 50 รายวิชา เปนสาขาที่เปดสอน

ในระดับปริญญาตรี ในคณะตางๆ และจัดโครงการอบรมดาน e-Learning จํานวน 3 โครงการ ๏ ใหบริการหองประชุมทางไกล การสอบวิทยานิพนธ และการใหบริการการถายทอดสด กิจกรรมตาง ๆ ที่

สําคัญของมหาวิทยาลัย ผานทาง Internet เชน พิธีพระราชทานปริญญาบัตร การประชุมสภามหาวิทยาลัย เปนตน

๏ การใหบริการตรวจขอสอบและประเมินผลการสอน ซ่ึงเปนการตรวจสอบวัดความรูของนักเรียนในการ

สมัครคัดเลือกเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมทั้งดําเนินการรับสมัคร

สอบในภูมิภาคตะวันตก ๏ พัฒนาระบบประเมินผลการสอนสําหรับอาจารยผูสอนผานทางระบบบริการการศึกษา โดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในวิชาใด สามารถประเมินผลการสอนของอาจารยผูสอนในรายวิชาได

๏ ดานระบบบริการการศึกษาผาน Internet เปนระบบทะเบียน Online ที่ใหนักศึกษาสามารถลงทะเบียน

ผาน Internet โดยใหบริการดานการลงทะเบียน ตรวจสอบผลการศึกษา ตรวจสอบตารางเรียน ตารางสอบ

ตรวจสอบการสําเร็จการศึกษา ตรวจสอบตารางการสอนของอาจารย รวมถึงติดตอกับกองบริการการศึกษา ๏ การใหบริการโฮมเพจของมหาวิทยาลัย เพื่อเสนอขาวประชาสัมพันธ ขาวกิจกรรมนักศึกษา ขาวการ

อบรมตาง ๆ ขาวการประชุมสัมมนา ขาวการรับสมัครงาน ขาวการประกวดราคา และขาวอื่น ๆ ๏ จัดบริการการรับสมัครสอบ และการคัดเลือกนักศึกษาของมหาวิทยาลัยดวยโควตาพิเศษ ๏ จัดตั้งสถานีวิทยุอินเตอรเน็ต ประชาสัมพันธและเผยแพรขาวสารขอมูลทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น

ๆ ในมหาวิทยาลัยสูนักศึกษา อาจารย บุคลากรและประชาชนทั่วไป ๏ พัฒนาดานสารสนเทศภูมิศาสตร โดยพัฒนาระบบฐานขอมูลในดานตาง ๆ เชน ทรัพยากรและขอมูล

ทักษะความชํานาญภูมิปญญาทองถ่ินระดับจังหวัด ขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรของจังหวัดนครปฐม เปนตน โดย

จัดทําในลักษณะ Web Application GIS นอกจากนี้ยังใหบริการการเรียนการสอนดาน GIS แกนักศึกษา บุคลากร

และบุคคลภายนอก รวมทั้งใหบริการ Hardware และ Software ดาน GIS ๏ จัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหกับหนวยงานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ตามแผนแมบท

ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ๏ ดูแลตรวจสอบอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขายภายในมหาวิทยาลัยในทุก วิทยาเขตเพื่อใหการ

ดําเนินงานของมหาวิทยาลัยเปนไปอยางเรียบรอย

การพัฒนาบริหารจัดการในหนวยงาน

มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดดําเนินการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ออํานวยความสะดวกใหแก

ผูบริหาร คณาจารย และบุคลากรของมหาวิทยาลัย โดยการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชงานในดานบริหาร

จัดการ การปฏิบัติงาน ฐานขอมูล และการติดตอสื่อสาร ดังมีรายละเอียด ตอไปนี้

Page 53: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 43 -

๏ การพัฒนาระบบ MIS ของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่ไดดําเนินการจัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูบริหารในการบริหารจัดการ และวางแผน ใหเปนไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย เชนระบบงบประมาณ ระบบ

พัสดุ ระบบการเงินและบัญชี เปนตน ๏ การพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส (e-Document) โดยเปนการรับสงเอกสารอิเล็กทรอนิกส

ระหวางหนวยงานผานระบบเครือขายของมหาวิทยาลัยศิลปากร ซ่ึงสามารถดําเนินการได 2 ชองทาง คือ รับสง

เอกสารผานโปรแกรมที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร และใชงานระบบบนเครือขาย Web Browser ๏ การพัฒนาระบบบุคลากรและระบบงานเงินเดือน โดยบุคลากรสามารถคนหาประวัติตางๆ ของบุคลากร

มหาวิทยาลัย ซ่ึงมีการกําหนดประเภทของขอมูลที่บุคคลทั่วไปสามารถดูได และมีการเชื่อมโยงกับระบบงานเงินเดือน ๏ การพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ๏ การพัฒนาระบบการจัดการความรู (Knowledge management) เพื่อจัดการความรูของศูนย

คอมพิวเตอร โดยจัดทําเปนลักษณะ Web Application ซ่ึงเปนการดําเนินการในระยะแรก ๏ การพัฒนาระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส (e-Meeting) ของมหาวิทยาลัย ซ่ึงมีระบบการทํางานในลักษณะ

เว็บ (Web Based program) ใชงานรวมกับ Video Conference ในการประชุมได โดยผูเขารวมประชุมสามารถดูวาระการประชุมและดูสรุปผลการประชุมครั้งกอนหนาได

๏ การพัฒนาระบบการจองหอง LAB คอมพิวเตอร โดยนักศึกษาสามารถลงเวลาขอใชเครื่องคอมพิวเตอรผานระบบเครือขาย Internet ได

๏ การพัฒนาฐานขอมูลงานวิจัยและงานสรางสรรค โดยรวมกับสถาบันวิจัยและพัฒนา ฐานขอมูลในระบบ

สามารถจัดเก็บขอมูลตางๆ ของงานวิจัยและงานสรางสรรค ใหเปนหมวดหมู และสามารถเผยแพรตอ

บุคคลภายนอกได

การพัฒนาความรวมมือทางวิชาการ เพื่อสงเสริมและพัฒนาคุณภาพทางวิชาการใหสอดคลองกับการเปลีย่นแปลงและสถานการณในยุคปจจุบนั

หนวยงานภายในมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงไดทําความตกลงรวมมือทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ ในการปรับปรุง

พัฒนารวมมือทางวิชาการโดยในปการศึกษา 2550 มีการดําเนินงานที่สาํคัญเพื่อพัฒนาทางวิชาการ ดงัตอไปนี้ การริเร่ิมความรวมมือกับศูนยสงเสริมการศึกษาไทย-จีน

วันที่ 9 สิงหาคม 2550 รองศาสตราจารย ดร.เกษร จันทรศิริ รักษาราชการแทนรองอธิการบดีฝาย

วิชาการ ใหการตอนรับอาจารยณัฐพงศ พรรณเชษฐ ผูอํานวยการศูนยสงเสริมการศึกษาไทย-จีน ในโอกาสมา

พบปะผูบริหารและผูแทนคณะวิชาที่เก่ียวของ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการพัฒนาความรวมมือดานการศึกษา

และวัฒนธรรมระหวางประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน อาจารยณัฐพงศ พรรณเชษฐ เคยนําคณะผูแทน

จากสถาบัน China Institute of Defence Science and Technology(CIDST) สาธารณรัฐประชาชนจีน เดินทางมา

เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางสถาบัน และหารือความรวมมือทางวิชาการกับฝายวิเทศสัมพันธเมื่อเดือนพฤษภาคม

ที่ผานมา ซ่ึงในครั้งน้ันผูอํานวยการศูนยสงเสริมการศึกษาไทย-จีน ประสงคที่จะพบปะผูบริหารและผูแทนคณะวิชา

ที่ใหความสนใจในการประสานความรวมมือกับสาธารณรัฐมหาวิทยาลัยตอไป และจากการหารือทางวิชาการรวมกัน

ในครั้งนี้ ปรากฏวามีคณะวิชาและหนวยงานภายในไดเห็นความสําคัญในการประสานความรวมมือระหวางกัน อาทิ

คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะโบราณคดี คณะมัณฑนศิลป คณะอักษรศาสตร คณะวิทาศาสตร และศูนย

Page 54: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 44 -

คอมพิวเตอร เปนตน ในการนี้ ศูนยสงเสริมไทย-จีน ไดนําเสนอขอมูลที่เปนประโยชนในสวนที่เก่ียวของกับระ

การศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาของสาธารณรัฐประชาชนจีน รวมทั้งแนวทางปฏิบัติและขอเสนอแนะในการจัดทํา

ความรวมมือกับจีนในดานวัฒนธรรมและการศึกษา ซ่ึงไดรับทราบขอมูลตลอดจนความสนใจในการทําความรวมมือ

จากคณะวิชาและหนวยงานของมหาวิทยาลัย โดยงานวิเทศสัมพันธจะไดประสานและขยายผลตอไป

การสัมมนานานาชาติ “วิกฤตการรับรูและการธํารงชาติพันธุในสุวรรณภูมิ” ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี จัดสัมมนาทางวิชาการนานาชาติ เรื่อง “วิกฤตการรับรูและการธาํรง

ชาติพันธุในสุวรรณภูม”ิ ระหวางวันที่ 30-31 สิงหาคม 2550 ณ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) เพื่อ

เปนเวทีใหกลุมชาติพันธุตางๆ ไดนําเสนอและถายทอดตัวตนของตนเองรวมไปถึงปญหาตามสถานการณที่กําลัง

เผชิญอยูในขณะนี้ นอกจากนี้เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนทางวิชาการดานชาตพิันธุและความหลากหลายทางภาษา

ศิลปะ และวัฒนธรรม อีกทั้งยงัชวยใหเกิดความเขาใจอันดีระหวางวัฒนธรรมและการธํารงอัตลักษณทางชาติพันธุ

เพื่อประโยชนทางดานวิชาการและแนวทางในการพัฒนาแกไขปญหาโดยปราศจากอคติ ผูรวมสัมมนาไดรับฟง

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “วิกฤติการรับรูและการธาํรงชาติพันธุในสุวรรณภูม”ิ โดยรองศาสตราจารยศรีศักร วัลลิโภดม

มูลนิธเิล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ และตอดวยการสัมมนาในหัวขอตางๆ ทีน่าสนใจ โดยวิทยากรผูเชี่ยวชาญทั้งชาวไทย

และชาวตางประเทศ ลงนามขอตกลงความรวมมือดานชีววัตถุ กับองคการเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยคณะเภสัชศาสตร รองศาสตราจารย ดร.สินธุชัย แกวกิติชัย ลงนามบันทึก

ขอตกลงกับองคการเภสัชกรรม นายแพทยวิทิต อรรถเวชกุล ในการรวมมือดานชีววัตถุในโครงการผลิตวัคซีน

ปองกันโรคไขหวัดใหญ /ไขหวัดนก ในระดับหองปฏิบัติการระดับ Biosafety level 3 (BSL-3) ซ่ึงนายภราเดช พยัฆ

วิเชียร รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนายแพทยวิชัย โชควิวัฒน ประธานกรรมการองคการ

เภสัชกรรมเปนประธานในพิธีลงนามเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2550 ณ สํานักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน การลงนามความรวมมือในครั้งน้ีเปนการรวมมือดานการผลิตชีววัตถุโดยองคการเภสัชกรรมเขาไปใช

หองปฏิบัติการ และอุปกรณตลอดจนเครื่องมือวิทยาศาสตร ที่เก่ียวของกับหองปฏิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรและ

งานชีววัตถุ โดยดําเนินการวิจัยพัฒนาและผลิตวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ/ไขหวัดนก ในระดับหองปฏิบัติการ

ทั้งนี้ เนื่องจากคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนแหงเดียวที่มีความพรอมในการดําเนินการครั้งนี้ โดยมี

การลงทุนทั้งดานบุคลากร ครุภัณฑ อุปกรณ อาคารสถานที่ ระบบตางๆที่เก่ียวของกับเทคโนโลยีชีวภาพและ

อุตสาหกรรม มีอาคารสถานที่พรอมระบบหองปฏิบัติการและการวิจัยทางชีววัตถุโดยเฉพาะที่สําคัญยังมีฐานขอมูลที่

เปนปจจุบันของระบบยาและระบบสุขภาพที่เก่ียวของ

ลงนามความรวมมือวิชาการ หลักสูตรการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2550 นายภราเดช พยัฆวิเชียร รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัย

ศิลปากร และ Professor Tony Moon จาก University of Technology Sydney ประเทศออสเตรเลีย รวมลงนาม

Page 55: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 45 -

บันทึกความเขาใจระหวางวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร กับ University of Technology Sydney ณ

สํานักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน เพื่อสงนักศึกษามหาบัณฑิต หลักสูตรการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ จากวิทยาลัย

นานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากรเขาศึกษาที่ประเทศออสเตรเลีย

นิทรรศการแลกเปลี่ยนศิลปะภาพพิมพไทย-ญ่ีปุน “กาวขาม (Cross Borders)” มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดการแสดงนิทรรศการผลงานภาพพิมพของนักศึกษาภาพพิมพ คณะจิตรกรรม

ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร และนักศึกษาภาพพิมพของสถาบันชั้นนําดานศิลปะ ประเทศ

ญ่ีปุน ในหัวขอ “กาวขาม (Cross Borders)” ขึ้น เพื่อรวมเฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระ

ชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 และเนื่องในโอกาสครบรอบ 120 ป ความสัมพันธทางการทูตระหวาง

ประเทศญี่ปุนและประเทศไทย รวมทั้งเพื่อเปนกิจกรรมเนื่องในโอกาสที่มหาวิทยาลัยศิลปากรครบรอบ 65 ป ในป

พ.ศ. 2551 การจัดแสดงนิทรรศการจัดขึ้นระหวางวันที่ 23 พฤศจิกายน – 14 ธันวาคม 2550 ณ หอศิลป PSG Art

Gallery คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ซ่ึงมีสถาบันศิลปะชั้นนําของประเทศ

ญ่ีปุนที่สงผลงานเขารวมในการแสดงครั้งนี้ ประกอบดวย 5 สถาบัน ไดแก มหาวิทยาลัย Aichi Prefectural

University of Fine Arts and Music มหาวิทยาลัย Kyoto City University of Arts มหาวิทยาลัย Musashino Art

University มหาวิทยาลัย Tama Art University และมหาวิทยาลัย Toko National University of Fine Art and Music

นอกจากจะเปนผลงานของนักศึกษาจากประเทศญี่ปุนแลวยังมีผลงานของนักศึกษาชาติตางๆ ทั้งทวีปเอเชีย ยุโรป

อเมริกาที่ศึกษาใน 5 สถาบันดังกลาว ซ่ึงจัดแสดงรวมกับผลงานของนักศึกษาไทย โดยมีผลงานภาพพิมพรวมแสดง

ทั้งสิ้นประมาณ 100 ชิ้น

ลงนามความรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2550 รองศาสตราจารยคณิต เขียววิชัย คณบดีคณะศึกษาศาสตร ลงนามความ

รวมมือทางวิชาการกับคณะผูบริหารจากมหาวิทยาลัยยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน

โครงการจัดตั้งสถาบันกัลยาณิวัฒนาเพื่อความเปนเลิศดานดนตรีคลาสสิค คณะดุริยางคศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยการสนับสนุนจากกระทรวงวัฒนธรรม มีโครงการจัดตั้ง

สถาบันกัลยาณิวัฒนา เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรม

หลวงนราธิวาสราชนครินทร ทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา เมื่อปพุทธศักราช 2550 และเพื่อเทิดพระเกียรติ

สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทในฐานะองคอุปถัมภวงการดนตรีคลาส

สิคของประเทศไทย โดยสภามหาวิทยาลัยศิลปากร มีมติเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2550 เห็นชอบใหสถาบันดังกลาว

เปนหนวยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยศิลปากร วัตถุประสงคหลักที่สําคัญ คือ เปนสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนา

ศักยภาพและทักษะดานดนตรีคลาสสิคสําหรับผูมีความสามารถพิเศษและบุคคลทั่วไปทั้งในระบบและนอกระบบ

การศึกษา ตั้งแตปฐมวัยตอเนื่องจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญา รวมทั้งทําหนาที่เผยแพรดนตรี

Page 56: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 46 -

คลาสสิคแกสาธารณชนในลักษณะของการแสดงดนตรี การฝกอบรม และกิจกรรมเสริมทักษะอ่ืนๆ เพื่อการบริการ

ทางวิชาการแกสังคมและการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ซ่ึงคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550

เห็นชอบในหลักการจัดตั้งสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา โดยอนุมัติงบประมาณในเบื้องตน 22.5 ลานบาท และใหหารือ

กับกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องสถานที่ตั้งสถาบันฯ ณ บริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน(เดิม) ดานหลังพระบรมราชานุสาว

รีย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล เชิงสะพานพระราม 8 ซ่ึงมีพื้นที่ประมาณ 10 ไร โดยงบประมาณ

รวมตลอดโครงการประมาณ 810.5 ลานบาท

ลงนามความรวมมือสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษดานดนตรี เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2551 อาจารยธนาทร เจียรกุล คณบดีคณะดุริยางคศาสตร ลงนามความรวมมือ

ทางวิชาการกับนายธวัช ชุมชอบ ผูอํานวยการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร พะเยา โดยจัดทํา

หลักสูตรตามโครงการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษดานดนตรี (Music Talent

Program) สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4 -6) ซ่ึงจะเปดรับนักเรียนในปการศึกษา 2551 เปนปแรก

หลักสูตรนี้สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่มีความสามารถพิเศษหรือมีอัจฉริยภาพทางดนตรีไดมีโอกาสเขา

เรียนดนตรีในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีคณาจารยจากคณะดุริยางคศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ดูแล

และจัดการหลักสูตรนี้ตลอด 3 ปการศึกษา หลักสูตรนี้นอกจากจะเนนหนักทางดานดนตรีแลว ยังเนนเรื่องทักษะทาง

ภาษาอังกฤษที่สอนโดยอาจารยชาวตางประเทศรวมทั้งทักษะทางดานคอมพิวเตอรอีกดวย

การเจรจาความรวมมือทางวิชาการ ของคณะวิทยาการจัดการ ณ สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2551 ผูชวยศาสตราจารย ดร.วันชัย สุทธะนันท คณบดีคณะวิทยาการจัดการ

พรอมดวยผูบริหารคณะ เดินทางไปศึกษาดูงานของสถาบันอุดมศึกษา Birmingham City University ณ ประเทศ

สหราชอาณาจักร รวมทั้งไดเจรจาความรวมมือทางวิชาการกับ Professor Brian Anderton,Associate Dean

(Academic Planning and Development) เก่ียวกับการจัดการสอนระดับปริญญาเอก ตลอดจนการสงคณาจารย

ของคณะไปฝกอบรมกับ Business School, Birmingham City University และฟงการบรรยายเกี่ยวกับการจัดการ

เรียนการสอนในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท เมื่อวันที่ 18 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2551 ผูชวยศาสตราจารย ดร.วันชัย สุทธะนันท คณบดีคณะ

วิทยาการจัดการ และอาจารยวันชัย เจือบุญ หัวหนาสาขาวิชาการจัดการชุมชน เดินทางไปเยี่ยมชมและประสาน

ความรวมมือในการนําคณาจารยของคณะวิทยาการจัดการเขาฝกอบรม ณ University of Missouri, Columbia

สหรัฐอเมริกา ในการเดินทางครั้งนี้ไดเขาพบและเจรจาความรวมมือทางวิชาการกับ Professor SANG S.Kim,

Director.Asian Affairs Center .UM-Columbia หลังจากนั้นเดินทางไปเยี่ยมชม Ohio University และ University of

California at Los Angelis และ University of Southern California (USC)

Page 57: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 47 -

ลงนามความรวมมือโควตาพิเศษ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะผูบริหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี พรอมดวย รองศาสตราจารย ดร.วิชัย

กอประดิษฐสกุล คณบดีคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ผูชวยศาสตราจารยดาวลอย กาญจนมณีเสถียร

รองคณบดีฝายวิชาการ และผูแทนคณบดีคณะวิทยาการจัดการ รวมลงนามบันทึกความรวมมือโครงการโควตา

พิเศษสําหรับผูมีคุณธรรมและบริการสังคม โดยมีผูรวมลงนามจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ นายพิสิษฐ สุนทรีรัตน

รองผูวาราชการจังหวัดเพชรบุรี นายคะนึง ยอยเสริฐสุด ผูอํานวยการ สพท. ประจวบคีรีขันธเขต 1 วาที่รอยตรี

วัฒนา ไกรนุกูล ผูอํานวยการ สพท. ประจวบคีรีขันธ เขต 2 โดยความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยา

เขตสารสนเทศเพชรบุรี และสํานักงานพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ ณ ศาลากลางจังหวัดประจวบคีรีขันธ

Page 58: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 59: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 48 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

การวิจัย

การวิจัยและพัฒนาเปนภารกิจหลักภารกิจหนึ่งที่มหาวิทยาลัยศิลปากรใหความสําคัญ โดยมหาวิทยาลัย

ไดจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร เพ่ือการสนับสนุนการวิจัยพื้นฐานเพื่อสรางองคความรู

ใหม การวิจัยดานถายทอดเทคโนโลยีสูสังคมและชุมชน การวิจัยเชิงบูรณาการ การวิจัยดานตาง ๆ และเปน

ศูนยขอมูลการวิจัย และทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัย

งานวิจัย ปงบประมาณ พ.ศ. 2551

สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2551 มหาวิทยาลัยไดดําเนินการโครงการวิจัยที่สําคัญเพื่อสนับสนุนการ

พัฒนางานดานวิจัยหลายโครงการ อาทิเชน

ชุดโครงการวิจัยเรื่อง เพคติกโอลิโกแชคคาไรดจากเลือกผลสมโอ : การศึกษาคุณสมบัติการทดสอบ

ฤทธิ์ทางชีวภาพและการใชประโยชน

ชุดโครงการวิจัยเรื่อง ฤทธิ์ชีวภาพและการพัฒนาสารสกัดมาตรฐานจากลําพูเพ่ือประยุกตใชใน

อุตสาหกรรมยาและเครื่องสําอาง

ชุดโครงการวิจัยเรื่อง นวัตกรรมและการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑจากมะพราว

ชุดโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาการเก็บรักษาปลายขาวและการใชประโยชนจากปลายขาวและสตารช

เพ่ือเพ่ิมมูลคาในการสงออกและทดแทนการนําเขา

ชุดโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาพันธุกรรม low-phytic acid ในขาวโพดและปรับปรุงเพ่ือใชประโยชนในฟารมปศุสัตวภายในประเทศ

ชุดโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาและการประยุกตใชอนุพันธไคโตแซนในอุตสาหกรรมยาและ

เครื่องสําอางโดยใชวัตถุดิบจากแหลงผลิตของประเทศไทย

มหาวิทยาลัยไดรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อการสนับสนุนงานวิจัย รวม 265 โครงการ รวมเปนเงิน

140,501,831 บาท จําแนกตามแหลงเงินและโครงการไดดังนี้

งบประมาณแผนดิน ประจําป 2551 จํานวน 26 โครงการ จํานวน 40,700,700 บาท งบประมาณเงินรายได จํานวน 55 โครงการ จํานวน 6,772,700 บาท งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณรายไดโครงการพิเศษ จํานวน 23 โครงการ จํานวน 5,482,070 บาท งบประมาณจากแหลงงบประมาณอื่น จํานวน 161 โครงการ จํานวน 87,546,361 บาท

Page 60: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 49 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

งบประมาณ

โครงการพิเศษ

4.82%

งบประมาณภายนอก

จากแหลงอ่ืน 62.31%

งบประมาณเงินแผนดิน

28.97 %

งบประมาณเงินรายได

3.90%

เปรียบเทียบสัดสวนงบประมาณดานการวิจัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2551

จําแนกตามสัดสวนงบประมาณ (แผนดิน : รายได : โครงการพิเศษ : งบประมาณจากแหลงอ่ืน)

ทิศทางการวิจัย (งบประมาณแผนดิน)

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับงบประมาณแผนดินเพื่อดําเนินการงานวิจัย

และผลงานสรางสรรค 26 โครงการ เปนจํานวนเงิน 40,700,700 บาท สามารถจัดแบงออกเปน 3 ประเภท

คือ

1. จัดแบงตามประเภทกลุมงานวิจัย ประกอบดวย การวิจัยและพัฒนาเพื่อการถายทอดเทคโนโลยี

จํานวน 18 โครงการ งบประมาณ 34,720,700 บาท (รอยละ 85.3) และการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรู

จํานวน 8 โครงการ งบประมาณ 5,980,000 บาท (รอยละ 14.7)

2. จัดแบงกลุมตามสาขาวิชา ประกอบดวย โครงการวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวน 16

โครงการ งบประมาณ 22,614,700 บาท (รอยละ 55.6) โครงการวิจัยดานวิทยาศาสตรสุขภาพ จํานวน 4

โครงการ งบประมาณ 14,357,000 บาท (รอยละ 35.3) และโครงการวิจัยดานสังคมศาสตรและ

มนุษยศาสตร จํานวน 6 โครงการ งบประมาณ 3,729,000 บาท

3. จัดแบงกลุมตามลักษณะโครงการ คือ เปนโครงการวิจัยใหม หรือเปนโครงการวิจัยตอเนื่อง พบวา

ในปงบประมาณ 2551 มีโครงการวิจัยใหม จํานวน 14 โครงการ งบประมาณ 23,545,700 บาท

(รอยละ 57.9) และเปนโครงการตอเนื่อง จํานวน 12 โครงการ งบประมาณ 17,155,000 บาท (รอยละ

42.1)

Page 61: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 50 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

รายละเอียดงานวิจัยและผลงานสรางสรรคที่ไดงบประมาณแผนดิน ประจําป พ.ศ. 2550

โครงการ งบประมาณ

การวิจยัและพัฒนาเพื่อการถายทอดเทคโนโลย ี(จํานวน 18 โครงการ) 34,720,700

(โครงการตอเน่ือง) (จํานวน 7 โครงการ) 12,004,000

กลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี (จํานวน 5 โครงการ) 9,275,000

คณะสถาปตยกรรมศาสตร (จํานวน 1 โครงการ) 700,000

1 การศึกษาและออกแบบผนังโฟมสําเรจ็รูปที่ใชเปนแบบหลอคอนกรีตไดในตัวเพื่อ 700,000

ใชในการกอสรางบานประหยัดพลังงานและเพ่ือการผลติทางอุตสาหกรรม (ปที่ 2)

โครงการ 2 ป

คณะวิทยาศาสตร (จํานวน 1 โครงการ) 1,562,000

2 ชุดโครงการวิจัย เรื่อง การประเมินความปลอดภัยของสารฆาแมลงจากพืช 1,562,000

(botanical insecticede) ดวยวิธีตรวจผลที่ทําใหเกิดความผิดปกติของสาร

พันธุกรรม (genotoxiciey) และพิษตอพืช (phytotoxicity) ในสิ่งมีชีวิต (ปที่ 2)

(โครงการ 2 ป)

คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโยยีอุตสาหกรรม (จํานวน 2 โครงการ) 5,563,000

3 ชุดโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาการเก็บรักษาปลายขาวและการใชประโยชนจาก 4,625,000

ปลายขาวและสตารชเพื่อเพิ่มมูลคาในการสงออกและทดแทนการนําเขา (ปที่ 3)

(โครงการ 5 ป)

4 การพัฒนาตัวเรงปฏิกิริยานาโนเพื่อการผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงสังเคราะหโดยปฏิกิริยา 938,000

ฟชเชอร-โทรป (ปที่ 2) โครงการ 2 ป

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร (จํานวน 1 โครงการ) 1,450,000

5 ชุดโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาพันธุกรรม low-phytic acid ในขาวโพดและปรับ 1,450,000

ปรุงพันธุเพื่อใชประโยชนในฟารมปศสุัตวภายในประเทศ (ปที่ 2) โครงการ 3 ป

กลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ (จํานวน 2 โครงการ) 2,729,000

คณะเภสัชศาสตร (จํานวน 2 โครงการ) 2,729,000

6 ชุดโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาและการประยุกตใชอนุพันธไคโตแซนใน 1,783,000

อุตสาหกรรมยาและเครื่องสําอางโดยใชวัตถุดิบจากแหลงผลิตของประเทศไทย

(ปที่ 3) โครงการ 3 ป

7 การพัฒนาและผลติแอนติบดีของ postate specific antigen สําหรับตรวจวินิจฉัย 946,000

โรคตอมลูกหมากโตและมะเร็งตอมลกูหมาก (ปที่ 3) โครงการ 3 ป

(โครงการใหม) (จํานวน 11 โครงการ) 22,716,700

กลุมสาขาสังคมศาสตรมนุษยศาสตร (จํานวน 2 โครงการ) 1,676,000

คณะมัณฑนศิลป (จํานวน 1 โครงการ) 405,000

8 การออกแบบตกแตงภายในสถาบันการศึกษาดานศิลปะและการออกแบบเพื่อคนพิการ 405,000

คณะอักษรศาสตร (จํานวน 1 โครงการ) 1,271,000 9 โลกาภิวัตนและความเหลื่อมล้ําของภมูิภาคในประเทศไทย : ในบริบทของการพัฒนาอุตสาหกรรม 1,271,000

Page 62: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 51 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

โครงการ งบประมาณ

กลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ (จํานวน 2 โครงการ) 11,628,000

คณะเภสัชศาสตร (จํานวน 2 โครงการ) 11,628,000

10 ชุดโครงการวิจัยเรื่อง เพคติน/เพคตกิโอลิโกแชคคาไรดจากเปลือกผลสมโอ : การ 5,956,000

ศึกษาสมบัติการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและการใชประโยชน (ปที่ 1) โครงการ 2 ป

11 ชุดโครงการวิจัยเรื่อง ฤทธ์ิชีวภาพและการพัฒนาสารสกดัมาตรฐานจากลําพูเพ่ือ 5,672,000

ประยุกตใชในอุตสาหกรรมยาและเครือ่งสําอาง (ปที่ 1) โครงการ 3 ป

กลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี (จํานวน 7 โครงการ) 9,412,700

คณะวิทยาศาสตร (จํานวน 2 โครงการ) 1,415,000

12 การศึกษาเปรียบเทียบผลของโคโตซานตอการยายปลูก และการเจริญาเติบโตของ 491,000

กลวยไมตัดดอกสายพันธุออนซิเดียน และมอคคารา (ปที่ 1) โครงการ 2 ป

13 การเกิดสารกลุมไตรฮาโลมีเทนและสารกลุมกรดฮาโลอะซิติกในสระวายน้ําที่ฆาเช้ือ 924,000

ดวยคลอรีนและการประเมินความเสี่ยงตอสุขภาพจากการไดรับสารเหลานี้ (ปที่ 1)โครงการ 2 ป

คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (จํานวน 4 โครงการ) 7,747,700

14 การเตรียมและการประยุกตใชสารประกอบโลหะออกไซดที่มีขนาดนาโนเมตร เพ่ือ 750,000

ปรับปรุงสมบัตขิองพอลิเมอร (ปที่ 1) โครงการ 2 ป

15 การศึกษาการใชซิลกิาเจล ขนาดนาโนชนิดมีรูพุรน ที่สังเคราะหจากเถาแกลบ 348,000

เพื่อเสริมแรงในยางธรรมชาติ โดยกระบวนการโซลเจน

16 การวิจัยและพัฒนาระบบเยื่อแผนเหลวเพื่อการสกดัแยกไอออนโลหะหายากผานหอสกัด 1,840,000

พัลสแบบจานมีร ู(ปที่ 1) โครงการ 3 ป

17 ชุดโครงการวิจัยเรื่อง นวัตกรรมและการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑจากมะพราว 4,809,700

(ปที่ 1) โครงการ 2 ป

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร (จํานวน 1 โครงการ) 250,000

18 บทบาทของปุยกํามะถันที่มีตอผลผลติ และคุณภาพของหญาแพงโกลาและอิทธิพล 250,000

ที่มีตอสมรรถนะการผลิตของโคนมในสภาพการแทะเลม็ (ปที่ 1) โครงการ 2 ป

การวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรู (จํานวน 8 โครงการ) 5,980,000

(โครงการตอเน่ือง) (จํานวน 5 โครงการ) 5,151,000

กลุมสาขาสังคมศาสตรมนุษยศาสตร (จํานวน 3 โครงการ) 1,811,000

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ (จํานวน 1 โครงการ) 871,000

1 ศิลปะสมัยใหมในประเทศไทย : วิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสรางความมั่นคงแหงราก 871,000

ทางศิลปวฒันธรรมของชาติ (ปที่ 2) โครงการ 2 ป

คณะโบราณคดี (จํานวน 2 โครงการ) 940,000

2 พัฒนาการของลวดลายประดับกบัเอกลักษณของความเปนไทย (ปที่ 2) 470,000

โครงการ 2 ป

3 พระพุทธรูปในประเทศไทย : รูปแบบพัฒนาและความเชือ่ของคนไทย (ปที่ 2) โครงการ 2 ป 470,000

Page 63: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 52 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

งบประมาณภายใน

52,995,470 บาท

37.7%

งบประมาณภายนอก

87,546,361 บาท

62.3%

ผลการดําเนินงานดานงานวิจัย ตามมติตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2551 (ต.ค. 2550 – ก.ย. 2551)

1) ดานจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับงบประมาณเพื่อการดําเนินงานดานการวิจัย 140,501,831บาท

สามารถจําแนกเปนงบประมาณภายใน จํานวน 52,955,470 บาท งบประมาณภายนอก จํานวน 87,546,361 บาท เมื่อพิจารณาสัดสวนจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอ

อาจารยประจําและนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง มีจํานวน 157,867.23 บาท / คน

แผนภูมิแสดงสัดสวนจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค จากภายในและภายนอกสถาบัน

โครงการ งบประมาณ

กลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี (จํานวน 2 โครงการ) 3,340,000

คณะวิทยาศาสตร (จํานวน 1 โครงการ) 3,190,000

4 การศึกษาการตดิเชือ้ตัวออนระยะเชอรคาเรียของหอยน้ําจืดตระกูล Thiaridae 3,190,000

ในประเทศไทย (ปที่ 3) โครงการ 4 ป

คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (จํานวน 1 โครงการ) 150,000

5 อิทธิพลของการใชความรอนชื้นที่มีตอขาวเปลือกและคณุภาพตาง ๆ ของขาวนึ่ง 150,000

(ปที่ 2) โครงการ 2 ป (5)

(โครงการใหม) (จํานวน 3 โครงการ) 829,000

กลุมสาขาสังคมศาสตรมนุษยศาสตร (จํานวน 1 โครงการ) 242,000

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ (จํานวน 1 โครงการ) 242,000

6 ความหมายของสังคมและการเมืองในสถาปตยกรรมสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ 242,000

ยอดฟาจุฬาโลก

กลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี (จํานวน 2 โครงการ) 587,000

คณะสถาปตยกรรมศาสตร (จํานวน 2 โครงการ) 587,000

7 ลายดอกพุดตานในศิลปะและสถาปตยกรรมไทย 273,000

8 ศิลปรัตนโกสินทรแบบผสมผสานศิลปะตะวันตก : กรณีศึกษาศิลปกรรมทีว่ัดราชา 314,000

ธิวาสราชวรวิหาร (ปที่ 1) โครงการ 2 ป

รวมงบประมาณโครงการวิจัย 40,700,700

Page 64: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 53 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

ตารางแสดงสัดสวนจํานวนเงินสนับสนนุงานวิจัยและงานสรางสรรค จากภายในและภายนอกสถาบันตออาจารยประจําและนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง

จําแนกตามกลุมสาขาวิชา

สัดสวนจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค จากภายในและภายนอกสถาบันตออาจารยประจําและนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง

จําแนกตามคณะวิชา

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน

กลุมสาขาวิชา

จํานวนอาจารย

ประจําและ

นักวิจัยที่

ปฏิบัติงาน ภายใน ภายนอก รวม

สัดสวนจาํนวนเงิน

สนับสนุนงานวิจัยและงาน

สรางสรรคฯตออาจารย

และนักวิจัยที่ปฏิบัติงาน

กลุมสังคมศาสตรและ

มนุษยศาสตร 506 7,297,865 29,352,207 36,650,072 72,430.97

กลุมวิทยาศาสตรสขุภาพ 85 17,063,498 7,145,393 24,208,891 284,810.48

กลุมวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี 295 28,240,034 50,453,046 78,693,080 266,756.20

หนวยงานอื่น ๆ 4 354,073 595,715 949,788 237,447.00

รวม 890 52,955,470 87,546,361 140,501,831 157,867.23

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน

คณะวิชา

จํานวนอาจารย

ประจําและ

นักวิจัยที่

ปฏิบัติงาน ภายใน ภายนอก รวม

สัดสวนจาํนวนเงิน

สนับสนุนงานวิจัยและงาน

สรางสรรคฯตออาจารย

และนักวิจัยที่ปฏิบัติงาน

จิตรกรรมฯ 49 1,662,500.00 300,000.00 1,962,500.00 40,051.02

สถาปตยกรรมศาสตร 62 1,479,990.00 1,328,012.00 2,808,002.00 45,290.35

โบราณคดี 79 2,643,487.00 20,122,222.00 22,765,709.00 288,173.53

มัณฑนศิลป 71 1,086,574.00 90,000.00 1,176,574.00 16,571.46

อักษรศาสตร 137 1,172,417.00 7,800,483.00 8,972,900.00 65,495.62

ศึกษาศาสตร 71 261,806.00 422,835.00 684,641.00 9,642.83

วิทยาศาสตร 119 10,023,824.00 35,714,829.00 45,738,653.00 384,358.43

เภสัชศาสตร 85 17,063,498.00 7,145,393.00 24,208,891.00 284,810.48

วิศวกรรมศาสตรฯ 73 13,815,834.00 12,624,217.00 26,440,051.00 362,192.48

ดุริยางคศาสตร 25 239,900.00 - 239,900.00 9,596.00

สัตวศาสตรฯ 25 2,920,386.00 785,988.00 3,706,374.00 148,254.96

วิทยาการจัดการ 56 231,181.00 616,667.00 847,848.00 15,140.14

เทคโนโลยีสารสนเทศฯ 16 - - - -

วิทยาลัยนานาชาต ิ 18 - - - -

สถาบันวิจัยฯ 4

รวม 890 52,955,470.00 87,546,361.00 140,501,831.00 157,867.23

Page 65: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 54 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

2) อาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน

รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอก

สถาบันตออาจารยประจําและนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง เทากับ รอยละ 44.94 เมื่อจําแนกเปนกลุมสาขาวิชา

พบวา กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพมีจํานวนรอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรือ

งานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตออาจารยประจําและนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริงมากที่สุด คือ รอย

ละ 65.88 รองลงมา คือ กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รอยละ 61.02 กลุมสาขาวิชา

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร รอยละ 32.02 และหนวยงานอื่น ๆ รอยละ 50.00

ตารางแสดงสัดสวนจํานวนอาจารยประจํา

ที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน จําแนกตามกลุมสาขาวิชา

3) งานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือ นําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับ

นานาชาติ

รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพรหรือนําไปใชประโยชนในระดับชาติหรือ

ระดับนานาชาติตออาจารยประจํา เทากับ รอยละ 94.04 จําแนกเปนงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ

เผยแพร และ/หรือ นําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติ จํานวน 568 ผลงาน และงานวิจัยและงานสรางสรรคที่

ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือ นําไปใชประโยชนทั้งในระดับนานาชาติ จํานวน 837 ผลงาน เมื่อจําแนกเปนกลุมสาขาวิชา พบวา กลุมสาขาวิชาดานวิทยาศาสตรสุขภาพมีจํานวนรอยละของ

งานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพรหรือนําไปใชประโยชนในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตอ

อาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอก

สถาบัน (ไมนับซํ้า) (2) กลุมสาขาวิชา

จํานวนอาจารย

ประจําและ

นักวิจัยที่

ปฏิบัติงานจริง (ไมนับรวมที่ลาศึกษาตอ) (1)

เฉพาะ ภาย ใน

เฉพาะ ภาย นอก

ภายใน

และภาย นอก

รวม

รอยละของอาจารยประจํา

และนักวิจัยที่ไดรับทุนทํา

วิจัยหรืองานสรางสรรค

จากภายในและภายนอก

สถาบันตออาจารยประจํา

และนักวิจัยที่ปฏิบัติงาน

จริง (3) = (2)/(1)*100 กลุมสังคมศาสตรและ

มนุษยศาสตร 506 78 36 48 162 32.02

กลุมวิทยาศาสตร

สุขภาพ 85 26 9 21 56 65.88

กลุมวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลย ี295 60 28 92 180 61.02

หนวยงานอื่น ๆ 4 1 1 - 2 50.00

รวม 890 165 74 161 400 44.94

Page 66: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 55 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

อาจารยประจํามากที่สุด คือ รอยละ 155.29 รองลงมา คือ กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รอยละ

117.63 กลุมสาขาวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร รอยละ 70.55 และหนวยงานอื่น ๆ รอยละ 25.00 งานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร

และ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตามมติตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร. ประจําป งบประมาณงบประมาณ พ.ศ. 2551

จําแนกตามกลุมสาขาวิชา

4) บทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง(Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติ

หรือระดับนานาชาติ ตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา เทากับ รอยละ 19.05 จําแนกเปนอางอิง (Citation)

ใน refereed journal จํานวน 49 ผลงาน ฐานขอมูลระดับชาติ จํานวน 23 ผลงาน และฐานขอมูลระดับ

นานาชาติ จํานวน 193 ผลงาน

เมื่อจําแนกเปนกลุมสาขาวิชา พบวา กลุมสาขาวิชาดานวิทยาศาสตรสุขภาพมีรอยละของบทความวิจัยที่

ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํามากที่สุด คือ รอยละ 40.57 รองลงมา คือ กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

รอยละ 37.08 และกลุมสาขาวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร รอยละ 3.29

จํานวนงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตพีิมพฯ (ไมนับซ้าํ) (2)

กลุมสาขาวิชา

จํานวนอาจารยและ

นักวิจัยที่

ปฏิบัติงานจริง(ไม

นับรวมอาจารย

ประจําและนักวิจัย

ที่ลาศึกษาตอ) (1)

ระดับชาต ิระดับ

นานาชาต ิรวม

รอยละของงานวิจัยและ

งานสรางสรรคที่ตพีิมพ เผยแพรหรือนําไปใช

ประโยชนในระดับชาติ

หรือระดับนานาชาติตอ

อาจารยประจําและ

นักวิจัยประจํา (3) =

(2)/(1)*100

กลุมสังคมศาสตรและ

มนุษยศาสตร 506 301 56 357 70.55

กลุมวิทยาศาสตรสขุภาพ 85 58 74 132 155.29

กลุมวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี 295 208 139 347 117.63

หนวยงานอื่น ๆ 4 1 - 1 25.00

รวม 890 568 269 387 94.04

Page 67: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 56 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

งานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

ตามมติตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร. ประจําป งบประมาณงบประมาณ พ.ศ. 2551 จําแนกตามกลุมสาขาวิชา

5) ผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 ผลการดําเนินงานดานงานวิจัยของมหาวิทยาลัยศิลปากร ตามมติตัวชี้วัดของ ก.พ.ร. ในดานรอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุ

สิทธิบัตร ตอจํานวนอาจารยประจํา เทากับ รอยละ 0.11 โดยมีจํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับ

การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร จํานวน 1 ผลงาน

จํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจําทั้งหมด [1] จํานวนบทความวิจัยที่ไดรับการอางองิ

(citation) (ไมนับซ้ํา) [2]

ประเภท ปฏิบัติ

งานจริง ศึกษา

ตอ รวม

อางอิง (citation) ใน

refereed journal

ฐาน ขอมูล

ระดับ ชาติ

ฐาน ขอมูล

นานา ชาติ

รวม

* [3] = [2]/[1]*100

กลุมสังคมศาสตรและ

มนุษยศาสตร 506 41 547 - 18 - 18 3.29

กลุมวิทยาศาสตรสขุภาพ 85 21 106 43 - - 43 40.57

กลุมวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี 295 61 356 6 5 121 132 37.08

หนวยงานอื่น ๆ 4 - 4 - - - - 0.00

รวม 890 123 1,013 49 23 121 193 19.05

* หมายถึง รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรอืระดับนานาชาต ิตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

Page 68: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

- 57 -

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรค ที่ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร ตอจํานวนอาจารยประจํา

ตามมติตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร. ประจําป งบประมาณงบประมาณ พ.ศ. 2551

ผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ตามมติตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร. ประจําป งบประมาณงบประมาณ พ.ศ. 2551

จํานวนงานวิจัยและงานสรางสรรคที่

ไดรับการจดทะเบยีนทรัพยสินทาง

ปญญาหรืออนุสิทธิบัตร [1]

จํานวนอาจารยประจํา

และนักวิจัย (ไมรวมลาศึกษาตอ) [2]

รอยละของงานวิจัยและงาน

สรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบยีน

ทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบตัร ตอจํานวนอาจารยประจํา

[3]=[1]/[2]*100

1 890 0.11

ลําดับที่

ช่ือผลงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคท่ีไดรับการจด

ทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุ

สิทธิบัตร (ท้ังในประเทศและตางประเทศ)

ช่ือ-นามสกุล ผูประดิษฐ/สรางสรรคผลงาน ทุกทาน

วัน / เดือน / ป ท่ีไดรับการจดทะเบียน (ดูจาก

วัน/เดือน/ป ในใบ

ประกาศ หมายเหต ุไมนับรวมกรณีอยูในระหวางยื่น

จดทะเบียน

ประเภท ประเทศ ท่ีจด

มาณพ ปานะโปย

บุศรินทร เฆษะปะบุตร

1 เครื่องพนสารละลายขนาดพกพา

โดยใชไฟฟาสถิต

ธนพล เฉลิมกิต ิ

11 ม.ค. 51 กรมทรัพยสินทางปญญา ประเทศไทย

สิทธิบัตร ประเทศไทย

เชาวนวศั ไหวคร ู

อรรถพล เอี่ยมศิลา

Page 69: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 70: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 58 58 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

การบริการวิชาการแกสังคม

มหาวิทยาลัยศิลปากรใหความสําคัญกับการบริการวิชาการทางสังคม ซึ่งถือเปนภารกิจที่สําคัญ

ประการหนี่ งที่ อยู ในความรับผิดชอบ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึ ง ไดจัดตั้ งสํ านักบริการวิ ชาการ

มหาวิทยาลัยศิลปากร เ พ่ือเปนตัวแทนของมหาวิทยาลัยหรือหนวยงานตาง ๆ ในมหาวิทยาลัย

รับผิดชอบการบริหารโครงการบริการวิชาการ และดําเนินการจัดทําโครงการฝกอบรม

ในสาขาที่มหาวิทยาลัยเปดสอนหรือสาขาที่มหาวิทยาลัยมีศักยภาพ สามารถใหบริการประสานงาน

แล ะ ส ง เ ส ริ ม ใ ห เ กิ ด ค ว า ม ร ว มมื อ ร ะห ว า ง คณะ วิ ช า ห รื อ หน ว ย ง า น จ า กภายในและภายนอก

ในกรณีที่เปนโครงการสหวิทยาการ พรอมทั้งสงเสริมใหบุคลากรของมหาวิทยาลัยมีโอกาสเพ่ิมพูน

ความรูความสามารถ ทักษะในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม รวมทั้งคณะวิชายังเปนสวนหนึ่งที่ชวย

สงเสริมพัฒนาศักยภาพของชุมชนใหมีความเข็มแข็งเพ่ิมขึ้น

การบริการวิชาการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2551

สําหรับในปงบประมาณ 2551 มหาวิทยาลัยไดรับการจัดสรรงบประมาณ เพ่ือการสนับสนุน

งานบริการวิชาการ 293 โครงการ โดยไดรับจัดสรรงบประมาณจากงบประมาณแผนดิน จํานวน

27,365,393.10 บาท งบประมาณเงินรายได จํานวน 4,176,062.34 บาท และเปนงบประมาณ

จากแหลงอ่ืนๆ จํานวน 96,649,381.61 บาท

งบประมาณดานงานบริการวิชาการแกสังคม

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2551 จําแนกตามแหลงงบประมาณ

เงินรายได

3.26%

เงินจากแหลงอ่ืนๆ

75.39%

เงินงบประมาณแผนดนิ 21.35%

Page 71: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 59 59 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยศิลปากรมีการดําเนินการดานโครงการบริการวิชาการในลักษณะที่แตกตางกันไป

โดยมีโครงการบริการวิชาการที่ไดรับงบประมาณแผนดิน ที่มีจํานวนเงินมากกวา 500,000 บาท ดังนี้

คณะวิชา / หนวยงาน โครงการ จํานวนเงิน (บาท)

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ 1.โครงการสรางสรรคศิลปกรรมนานาชาติ

“ศักยภาพของไทยและความพรอมในการ

เปนผูนําและศูนยกลางการศึกษาศิลปะ รวมสมัย

ในอาเซียน”

3,000,000

คณะโบราณคดี 2. โครงการสัมมนาทางวิชาการนานาชาติ เรื่อง

วิกฤติการรับรูและการธํารงชาติพันธุในสุวรรณภูมิ

600,000

คณะวิทยาศาสตร 3. โครงการภายใต โครงการสรางองคความรู

เพ่ือเฝาระวังมลพิษ ฟนฟูคุณภาพชีวิตและ

สิ่งแวดลอม โดยพลัง 3 ประสาน บ ว ร (บาน

วัด โรงเรียน)

6,000,000

คณะเภสัชศาสตร 4.โครงการความรูเรื่องยาและการดูแลสุขภาพ

เบื้องตนสําหรับกลุมเปาหมายตางๆ

900,000

คณะวิศวกรรมศาสตร

และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

5. โครงการขับเคลื่อนเทคโนโลยีการผลิต

กลวยอบแหงและผลิตภัณฑตามมาตรฐาน

การผลิตอาหารดีท่ีเหมาะสมใหเปนรากฐาน

ของชุมชนในการผลิตอาหาร ปลอดภัย

890,000

คณะสัตวศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร 6. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการ

อบรมและถายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรีย

เพ่ือเกษตรที่ย่ังยืน

605,000

7. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง

“ระบบการผลิตพืชปลอดภัย (ครั้งท่ี 2)”

556,000

8. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง

“การพัฒนาและการแกไขปญหาการผสมพันธุโดย

ใชเทคโนโลยีชีวภาพทางการสืบพันธุและการผสม

เทียมโค”

770,000

สํานักงานอธิการบดี 9. โครงการฉลองมหาวิทยาลัยศิลปากร 65 ป

พ.ศ. 2551

2,500,000

10. โครงการงานศลิปวัฒนธรรมอุดมศึกษา

ครั้งท่ี 10

3,000,000

Page 72: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 60 60 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดมีการจัดทําโครงการบริการวิชาการสําหรับคณะวิชาและหนวยงานภายใน

จําแนกตามจํานวนโครงการและงบประมาณ ไดตามนี้

งบประมาณแผนดิน เงินนอกงบประมาณ

คณะวิชา / หนวยงาน โครงการ

(จํานวน)

จํานวนเงิน

(บาท)

โครงการ

(จํานวน)

เงินรายได เงินจาก

แหลงอื่นๆ

คณะจิตรกรมประติมากรรรมและภาพพิมพ 1 3,000,000 - - -

คณะสถาปตยกรรมศาสตร 3 880,000 10 125,000 410,904

คณะโบราณคดี 10 2,565,000 28 159,260 20,823,814

คณะมัณฑนศิลป 2 520,000 6 808,000 -

คณะดุริยางคศาสตร - - 66 1,445,499.56 -

คณะอักษรศาสตร 6 260,063.10 15 80,166.24 1,634,911

คณะศึกษาศาสตร 9 1,039,000 8 60,000 3,118,000*

คณะวิทยาศาสตร 2 6,480,000 30 1,092,890 10,817,943

คณะเภสัชศาสตร 1 1,490,330 24 355,246.54 2,791,459.61

คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2 1,040,000 11 - 17,676,050

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 5 2,451,000 1 - 100,000

คณะวิทยาการจัดการ 4 790,000 ** 24 - 36,291,300

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3 300,000 2 50,000 -

วิทยาลัยนานาชาติ - - - - -

บัณฑิตวิทยาลัย 1 50,000 6 - 35,000

สํานักงานอธิการบดี (ฝายศิลปวัฒนธรรม) 2 5,500,000 - - -

ศูนยคอมพิวเตอร - - 3 - 2,950,000

สถาบันวิจัยและพัฒนา - - 6 ไมระบุจํานวนเงนิ

สํานักหอสมุดกลาง 1 500,000 - - -

หอศิลป 1 500,000 - - -

รวม 53 27,365,393.10 240 4,176,062.34 96,649,381.61

หมายเหตุ * คณะศึกษาศาสตร เงินจากแหลงอื่นๆ เปนเงินจํานวน 2,394,000 บาท ประกอบกับมีมูลคาในการ

บริการวิชาการและวิชาชีพเพ่ือสังคม จํานวน 724,000 บาท

** คณะวิทยาการจัดการ เงินงบประมาณแผนดินแบงเปน ปงบประมาณ 2550 จํานวนเงิน 500,000 บาท

และปงบประมาณ 2551 จํานวนเงิน 290,000 บาท

Page 73: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 61 61 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

การเปนวิทยากร / อาจารยพิเศษ / ปรึกษาวิชาการ / กรรมการวิชาการ /

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ภายนอกมหาวิทยาลัย นอกจากการใหบริการวิชาการที่เปนการอบรม สัมมนา ประชุมทางวิชาการ การจัดนิทรรศการ

การเผยแพรความรูแลว มหาวิทยาลัยศิลปากรยังทําหนาที่ของการเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

อาจารยพิเศษ วิทยากร กรรมการวิชาการภายนอกมหาวิทยาลัย ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยใน ป

การศึกษา พ.ศ. 2550 มีจํานวนอาจารยที่ทําหนาที่ดังกลาว จํานวน 326 คน จากจํานวนอาจารยประจํา

ทั้งหมด 972 คน ทั้งนี้สามารถแสดงจํานวนอาจารยจําแนกตามคณะวิชาและสัดสวนของจํานวนอาจารยตอ

อาจารยที่ทําหนาที่เปนกรรมการในรูปแบบตางๆ ไดดังนี้

คณะวิชา / หนวยงาน

จํานวนอาจารยที่เปนที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ /

กรรมการวิชาการ /

ที่ปรึกษาวิชาการ

ภายนอกมหาวิทยาลัยใน

ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ

(คน) (1)

จาํนวนอาจารย

ประจําทั้งหมด

(คน) (2)

รอยละของจํานวน

อาจารยที่เปนที่

ปรึกษาตออาจารย

ประจาํ

(1)/(2)*100

จิตรกรรมประติมากรรมฯ 30 50 60.00

สถาปตยกรรมศาสตร 25 71 35.21

โบราณคดี 15 88 17.06

มัณฑนศิลป 37 73 50.68

อักษรศาสตร 27 145 18.62

ศึกษาศาสตร 8 76 10.53

วิทยาศาสตร 54 149 36.24

เภสัชศาสตร 27 97 27.84

วิศวกรรมศาสตรฯ 40 90 44.44

ดุริยางคศาสตร 19 20 95.00

สัตวศาสตร 12 31 38.71

วิทยาการจัดการ 21 46 45.65

เทคโนโลยีสารสนเทศฯ 8 19 42.11

วิทยาลัยนานาชาติ 3 17 17.65

รวม 326 972 33.54

หมายเหตุ : อางอิงขอมูลจากรายงานการประเมินตนเองของคณะวิชา

Page 74: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 75: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 62 -

งบประมาณเงินรายได

25.15%

งบประมาณเงินรายรับ

โครงการพิเศษ 7.30%

งบประมาณเงินแผนดิน

67.56 %

การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ภารกิจการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไทย เปนหนึ่งในภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยที่ตอง

ดําเนินการ ซึ่งตองดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมในรูปแบบตาง ๆ

ใหแกบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย นิสิต นักศึกษา เพ่ือใหเกิดจิตสํานึกและตระหนักในคุณคา

ความเปนเอกลักษณของชาติในทุกดาน ทั้งยังเปนการชวยอนุรักษมรดกของชาติใหแกอนุชนรุนหลังไดสืบ

สานตอไป

ตลอดจนมหาวิทยาลัยศิลปากรถือเปนมหาวิทยาลัยในฐานะผูนําดานศิลปะมหาวิทยาลัยหนึ่งของ

ประเทศ จึงตระหนักถึงภารกิจดานนี้เปนอยางย่ิง โดยมีหนวยงานที่รับผิดชอบในการดําเนินงานดานการทํานุ

บํารุงและเปนหนวยงานที่มีการเรียนการสอนในเชิงศิลปะและประยุกตศิลป สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร

ไดแก คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะโบราณคดี คณะ

มัณฑนศิลป คณะศึกษาศาสตร และคณะอักษรศาสตร และมีหนวยงานที่รับผิดชอบดานการทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ไดแก ฝายศิลปวัฒนธรรม หอศิลป ทั้งนี้เพ่ือใหการดําเนินงานดาน

การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมใหมีความหลากหลาย สงเสริมใหเกิดการสรางสรรคงานศิลปะระดับชาติ

ระดับนานาชิต และคงรักษาเอกลักษณ คุณลักษณะของความเปนผูนําดานศิลปะของมหาวิทยาลัย

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับงบประมาณเพื่อการดําเนินงานดานการ

ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 15,911,100 บาท จํานวน 95 โครงการ โดยสามารถจําแนกเปนงบประมาณ

แผนดิน 10,000,000 บาท จํานวน 21 โครงการ งบประมาณเงินรายได 5,001,100 บาท จํานวน 65

โครงการ และงบประมาณเงินรายรับโครงการพิเศษ 910,000 บาท จํานวน 9 โครงการ

แผนภูมิเปรียบเทียบสดัสวนโครงการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ประจําป 2551 จําแนกตามประเภทงบประมาณ

Page 76: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 63 -

สําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2551 มหาวิทยาลัยไดดําเนินการโครงการทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรมที่สําคัญเพื่อสนับสนุนการพัฒนางานดายวิจัยหลายโครงการ ดังเชน 1) การจัดงานวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรครบรวม 64 ป

เมื่ อวันที่ 12 ตุลาคม พ .ศ . 2550

มหาวิทยาลัยไดงานวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัย

ศิลปากรครบรอบ 64 ป โดยภายในงานประกอบดวย

พิธีสงฆ พิธีมอบของที่ระลึกแกผูมีอุปการคุณ ผูนํา

ช่ือเสียง และผูนําคุณประโยชน พิธีมอบทุนโบราณคดี

ทัศนาจรของศาสตราจารย หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล

พิธีมอบโลและเกียรติบัตรใหแกนักศึกษาเกาดีเดนของ

มหาวิทยาลัย ประจําป 2550 การจัดบรรยายเฉลิม

พระเกียรติ ครั้งที่ 2 เร่ือง “พระมหากรุณาธิคุณในการ

แกปญหาจราจรของกรุงเทพมหานคร” เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครอบ 60 ป และเนื่องในโอกาส

มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

2) การแสดงนิทรรศการผลงานศิลปช้ันยอด “ศิลปนศิษยเกาศิลปากร เทิดไท 80 พรรษา

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว องคอัครศิลปน” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม

ราชกุมารี เสด็จพระราชดํ า เนินทรงเปน

ประธานในพิธีเปดการแสดงนิทรรศการ และ

ทรงพระราชทานภาพวาดฝพระหัตถ “ผีนอย

ตนที่ 2” ใหแกมหาวิทยาลัยศิลปากรเพื่อใชเปนสัญลักษณเนื่องในวาระครบรอบ 65 ป

มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยการจัดงานครั้งนี้

จัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหา

มงคลเฉลิมพระชนพรรษา 80 พรรษา 5

ธันวาคม 2550 และเนื่องในวาระครบรอบ 65

ป มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งผลงานศิลปกรรม

ที่ นํ า ม า จั ดแสดงประกอบด ว ย ผลง าน

จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ ส่ือผสม

และอื่น ๆ จํานวนทั้งส้ิน 138 ช้ินจากศิลปน 101 คน ซึ่งเปนศิษยเกาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรที่มีช่ือเสียง

Page 77: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 64 -

รวมทั้งจัดประมูลผลงานจํานวน 69 ช้ิน จากศิลปน 65 คน โดยรายไดจากการประมูลรวม 8,511,000 บาท

สวนหนึ่งจะนําข้ึนทูลเกลา ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย

จัดแสดงระหวางวันที่ 14 – 25 พฤศจิกายน 2550 ณ บริเวณอิเด็นฮอลล ศูนยสรรพสินคา เซ็นทรัลเวิลด

3) งานฉลอง 100 ป พระราชวังสนามจันทร เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาสมหามงคล

เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550

เมื่ อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ .ศ .

2550 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม

บรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดงาน

“ฉลอง 100 ป พระราชวังสนามจันทร” ณ

พระราชวังสนามจันทร จังหวัดนครปฐม โดย

การจัดงานครั้งนี้จัดโดยสํานักพระราชวัง รวมกับ

จังหวัดนครปฐม และมหาวิทยาลัยศิลปากร

ภายในงานประกอบดวยการจัดแสดงนิทรรศการ

ประวัติและความเปนมาของพระราชวังสนาม

จันทร การแสดงนาฏศิลปไทย การแสดงดนตรี

ไทย ดนตรีสากล และการจัดเสวนาเรื่อง “คุยเรื่องเกาเลาความหลัง วังสนามจันทร” ตลอดจนการออกรานและจําหนายผลิตภัณฑ ของที่ระลึกจากโครงการสวนพระองค

4) ถวายพระกฐินพระราชทาน

มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดรับพระราชทานพระกฐินที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรด

เกลาโปรดกระหมอมพระราชทานใหมหาวิทยาลัยศิลปากร

นําไปถวายแดพระภิกษุสงฆที่จําพรรษา ณ พระรามหลวง

วัดมัชณิมาวาส ตําบลหมากแขง อําเภอเมือง จังหวัด

อุดรธานี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยมีผูจิต

ศรัทธารวมบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลในครั้งนี้ เปนเงิน

ทั้งส้ิน 1,108,999 บาท

5) การจัด แสดงนิทรรศการ “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกับงานศิลปะและการออกแบบ” วันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณา

โปรดเกลาโปรดกระหมอม เสด็จพระราชดําเนินทรงเปนประธานในพิธี เปดการแสดงนิทรรศการ

“พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกับงานศิลปะและการออกแบบ” ณ หอศิลป วังทาพระ กรุงเทพฯ การจัดงาน

Page 78: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 65 -

ครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ในป พุทธศักราช 2549 และเนื่องในโอกาสมหามงคล

เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

การจัดกิจกรรมประกอบดวย การ

แสดงนิทรรศการ “พระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหัวกับงานศิลปะและการออกแบบ” โดยนําเสนอพระรากรณียกิจดานตาง ๆ

ไดแก ดานจิตรกรรม : ผลงานภาพจิตรกรรมในพระราชนิพนธพระมหาชนกที่ทรงมี

พระราชดําริและพระบรมราชวินิจฉัยให

ศิลปนไทย ทั้งศิลปนอาวุโส และศิลปนรุน

ใหม จํ านวน 8 คน สร างสรรคผลงาน

จิตรกรรมที่งดงาม ดานสถาปตยกรรม : ประกอบดวยพระราชกรณียกิจดานสถาปตยกรรมไทย สถาปตยกรรมไทยรวมสมัย นาวาสถาปตยกรรม การ

อนุรักษสถาปตยกรรม ดานผังเมืองและส่ิงแวดลอม อาทิ พระมหาธาตุเฉลิมราชศรัทธา พระอุโบสถวัดพุทธ

ปทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การออกแบบเรือใบ เรือพระที่นั่งนารายณทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 เปน

ตน ดานมัณฑนศิลป : ประกอบดวยพระราชกรณียกิจดานการออกแบบตกแตงภายใน การออกแบบนิเทศ

ศิลป การออกแบบผลิตภัณฑ อาทิ การออกแบบตกแตงภายในพระที่นั่งบรมราชสถิตมโหฬาร การออกแบบ

บัตรสงความสุขปใหม ตราสัญลักษณเฉลิมพระเกียรติ กังหันน้ําชัยพัฒนา เปนตน การจัดทําหนังสือรวบรวม

พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยรวยไดรายจากการจําหนายจะนําทูลเกลา ฯ ถวาย

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตอไป

6) การจัดงานวันนริศ ประจําป 2551 มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดงานวันนริศ เพ่ือ

นอมรําลึกถึงสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรม

พระยานริศรานุวัดติวงศ นายชางใหญแหงกรุงสยาม

ในวันพฤหัสดีที่ 25 เมษายน 2551 ณ มหาวิทยาลัย

ศิลปากร โดยจัดกิจกรรมดังนี้ เสวนาทางวิชาการเรื่อง

“หิมพานตอยูหนไหน ? ในจักรวาล” และเร่ือง “การ

ประโคมดนตรีในงานพระศพ” การจัดนิทรรศการ

“พระเมรุมาศ และพระเมรุสมัยกรุงรัตนโกสินทร” การ

จัดนิทรรศการภาพถายนานาชาติ “ศิลปวัฒนธรรมไทย

ครั้งที่ 4” หัวขอ “วิถีชีวิต”

Page 79: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 66 -

7) โครงการแลกเปลี่ยนนิทรรศการศิลปะรวมสมัย : Mode in Bangkok : Common Currency

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมกับวิทยาลัยศิลปะและ

การออกแบบ ประเทศนิวซีแลนด โดยการสนับสนุนจากกระทรวงการตางประเทศ จัดโครงการ แลกเปลี่ยน

นิทรรศการศิลปะรวมสมัย แลกเปล่ียนนิทรรศการศิลปะรวมสมัย : Mode in Bangkok : Common Currency โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเผยแพรผลงานทั้งทางดานศิลปะและดานวิชาการของไทยใหแพรหลาย เพ่ือเปนการ

สรางความเขาใจและสานความสัมพันธอันดีระหวางประเทศไทยและประเทศนิวซีแลนดใหแนนแฟนมากยิ่งข้ึน

จัดแสดงระหวางวันที่ 23 เมษายน - 16 พฤษภาคม 2551 ณ D&A Gallery วิทยาลัยศิลปะและการ

ออกแบบ ประเทศนิวซีแลนด

8) งานสัปดาหอนุรักษมรดกไทย “รังสรรคศิลปมรดกไทย รอยผสานสายใยวัฒนธรรม ครั้งที่ 1”

มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดงาน

สัปดาหอนุรักษมรดกไทย “รังสรรคศิลปมรดกไทย รอยผสานสายใยวัฒนธรรม ครั้ง

ที่ 1” ระหวางวันที่ 10 – 11 มิถุนายน

2551 ณ สถาบันวัฒนธรรมภูมิตะวันตก

(ทับเจริญ) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต

พระราชวังสนามจันทร จังหวัดนครปฐม

โดยมีวัตถุประสงคการจัดงานเพื่อรวมฉลอง

เนื่องในโอกาสครบรอบ 65 ป มหาวิทยาลัย

ศิลปากร และเพ่ือเผยแพรความรูความ

เขาใจเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรมไทยให

เปนที่แพรหลาย

ประกอบดวยกิจกรรมหลากหลาย ไดแก การแสดงหนังใหญวัดขนอน เร่ือง “รามเกียรติ์ ตอน

มังกรทศกัณฐ” (เพ่ือนรักหักเหล่ียมโหด) การแสดงเพลงพื้นบานภาคกลาง โดยคณะแมขวัญจิต ศรีประจันต

จังหวัดสุพรรณบุรี การแสดงหุนกระบอก เร่ือง “แกวหนามา” และการเหเพลงเรือบก ของคณะสี่ดรุณี จังหวัด

เพชรบุรี การสาธิตและอบรมทําขนมไทย โดยวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม การสาธิตการรอยมาลัยดอกไม

สด การจัดพานพุม โดยวิทยาลัยในวังหญิง การสาธิตและอบรมการทําเคร่ืองประดับละคร และขาวถักพุทธ

บูชา โดยโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนตน

Page 80: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 67 -

9) งานวันพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ประจําป 2551

มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมกับ

วัดพระเชตุพนวิมลมัคลาราม จัดงานวัน

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว โดยรวมจัดเสวนาและแสดงนิทรรศการใน

หัวขอ “จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมัคลาราม

: มหาวิทยาลัยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ

พระนั่งเกลาเจาอยูหัว” ระหวางวันที่ 1 – 3

สิงหาคม 2551 ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร

และวัดวัดพระเชตุพนวิมลมัคลาราม การ

จัด ง านประกอบด วยการอ านบทกวี

เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่ง

เกลาเจาอยูหัว การเสวนาเรื่อง “ความรู

เร่ืองโยคะจากภาพฤาษีดัดตนที่วัดโพธิ์” การประกวดภาพเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจในพระนั่งเกลาเจาอยูหัวของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาและ

มัธยมศึกษา การตอบปญหาทางวิชาการ และการจัดทัศนศึกษาวัดพระเชตุพนวิมลมัคลาราม

10) การจัดสัมมนาการสรางสรรคศิลปกรรมนานาชาติ หัวขอ “ศักยภาพของไทยและความพรอม

ในการเปนผูนําและศูนยกลางทางการศึกษาศิลปะรวมสมัยในอาเซียน”

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดโครงการการสรางสรรค

ศิลปกรรมนาชาติ “ศักยภาพของไทยและความพรอมในการเปนผูนําและศูนยกลางทางการศึกษาศิลปะรวม

สมัยในอาเซียน” โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมความรวมมือและสรางความสัมพันธในวงวิชาชีพและวิชาการ

ทางศิลปะทั้งในประเทศและตางประเทศ จัดขึ้นระหวางวันที่ 1 – 10 สิงหาคม 2551 ณ อาคารศูนย

ปฏิบัติการทัศนศิลปสิรินธร คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

จังหวัดนครปฐม

Page 81: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 68 -

11) การจัดประกวดและแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 54 มหาวิทยา ลัยศิลปากร

รวมกับกรมศิลปากร โดยการ

สนับสนุนจากบริษัทเอสโซ

( ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ) จํ า กั ด

( ม ห า ช น ) แ ล ะ

ธ น า ค า ร ก รุ ง ไ ท ย จํ า กั ด

(มหาชน) จัดแสดงศิลปกรรม

แหงชาติ ครั้งที่ 54 ประจําป

2551 ระหวางวันที่ 1 – 30

กั น ย า ย น 2 5 5 1 ณ

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอ

ศิลปะ ถนนเจาฟา กรุงเทพฯ

และ ณ อาคารศิลปกรรมไทยและศิลปะรวมสมัย (หอศิลปใหม) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง

สนามจันทร จังหวัดนครปฐม โดยประกอบดวยผลงานศิลปกรรม 4 ประเภท ไดแก ประเภทจิตรกรรม

ประติมากรรม ภาพพิมพ และส่ือประสม

12) การจัดประกวดและแสดงศิลปกรรม

รวมสมัยของศิลปนรุนเยาว ครั้งที่ 25 มหาวิทยาลัย จัดการแสดงศิลปกรรม

รวมสมัยของศิลปนรุนเยาว ครั้งที่ 25 โดยมี

วัตถุประสงค เ พ่ือจุดประกายความคิดริ เ ร่ิม

สรางสรรคใหแกเยาวชนใหเกิดการเรียนรูและ

ส ง เส ริมการเ รียนรู ด านศิลปกรรม ส ง เส ริม

พัฒนาการดานศิลปะใหแกเยาวชน ตลอดจนเพื่อ

สนับสนุนใหเยาวชนสรางสรรคผลงานศิลปะมาก

ย่ิงข้ึน โดยเปนผลงานศิลปกรรมที่สรางสรรคทาง

ทัศนศิลปที่มีความคิดและเทคนิคอิสระแสดงออก

โดยงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ ส่ือ

ประสม และอ่ืน ๆ ซึ่งมีเยาวชนรวมสงผลงานประกวด จํานวน 235 ช้ิน เปนผลงานที่ผานการคัดเลือกรวม

แสดงนิทรรศการ จํานวน 163 คน จัดแสดงระหวางวันที่ 2 – 30 กันยายน 2551 ณ หอศิลปะรรมไทยและ

ศิลปะรวมสมัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร จังหวัดนครปฐม

Page 82: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 69 -

13) โครงการจัดงานวันศิลป พีระศรี ประจําป 2551

มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมกับกรมศิลปากร

สมาคมนักศึกษาเกามหาวิทยาลัยศิลปากร จัดงานวันศิลป พี

ระศรี ประจําป 2551 เพ่ือเปนการนอมรําลึกในพระคุณของ

บิดาแหงวงการศิลปะรวมสมัยของไทย ศาสตราจารยศิลป พี

ระศรี โดยมีการจัดกิจกรรมหลายประเภท อาทิ พิธีสงฆและ

วางชอดอกไมเพ่ือรวมรําลึกถึงศาสตราจารยศิลป พีระศรี

การแสดงนิทรรศการของคณะวิชาตาง ๆ การแสดงปาฐกถา

ศิลป พีระศรี ครั้งที่ 13 หัวขอ “ศิลปะสมัยสุโขทัย : กอนสมัย

– ในสมัย และส้ินสมัย” การจัดเสวนาทางวิชาการ “เมื่อ

ศิลปวัฒนธรรมถูกคุกคาม...ชีวิตคนก็ไรคา กรณีศึกษา..บานศิลปนแหงชาติ : จักรพันธุ โปษยกฤต” การจัด

นิทรรศการศิลปกรรมของอาจารยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ หัวขอ “โลกรักศิลปน ศิลปนรัก

โลก” การจัดนิทรรศการ สถาปตยเรขา 50 แสดงผลงานนักศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท คณะ

สถาปตยกรรมศาสตร การจัดนิทรรศการสรางสรรคผลงานคณาจารยคณะมัณฑนศิลป ป 2551 ครั้งที่ 11

หัวขอ “GREEN WORLD & WASTELESS” และ

การจัดนิทรรศการศิลปะมหกรรมรวมสมัย “วันศิลป

พี ร ะศ รี ” และ เนื่ อ ง ใ น ว า ร ะค รบรอบ 65 ป

มหาวิทยาลัยศิลปากร หัวขอ “รัก” โดยจัดงานเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2551 ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร

วังทาพระ และจัดแสดงนิทรรศการระหวางวันที่ 15 –

30 กันยายน 2551

งานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมที่ไดงบประมาณแผนดิน ประจําป พ.ศ. 2551 สําหรับการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม มีหนวยงานที่รับผิดชอบทั้งในสวนของการจัดการเรียน

การสอนในเชิงศิลปะและประยุกตศิลป สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร ไดแก คณะจิตรกรรมประติมากรรม

และภาพพิมพ คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะโบราณคดี คณะมัณฑนศิลป คณะศึกษาศาสตร และคณะ

อักษรศาสตร รวมถึงหนวยงานที่รับผิดชอบดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ไดแก ฝาย

ศิลปวัฒนธรรม หอศิลป โดยลักษณะโครงการที่ดําเนินงาน มีความหลากหลายและยังคงรักษาเอกลักษณ

คุณลักษณะของความเปนผูนําดานศิลปะของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้มีรายละเอียดโครงการและงบประมาณแผนดิน

ที่ประจําป พ.ศ 2551 ไดรับจัดสรรดังนี้

Page 83: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 70 -

ช่ือโครงการ งบประมาณ

1. นิทรรศการศิลปสถาปตยกรรมวัสดุเทพวรารามเนื่องในงานสมโภชพระอารามครบ 200 ป 160,000

2. ศิลปกรรมอาจารยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งท่ี 25

500,000

3. การเสาวนาสรรสาระวัฒนธรรม (ปท่ี 9) 150,000

4. การสัมมนาทางวิชาการดานประวัติศาสตรศิลปะ 100,000

5. การประชุมวิชาการทางดานโบราณคดี พิพิธภัณฑศึกษาและการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม

300,000

6. เสนทางสูระดับสากลของนักออกแบบไทยระยะที่ 3 (Designer of the Year 2006) 800,000

7. การอบรมเชิงปฏิบัติการแรงบันดาลใจที่ไดมาจากธรรมชาติ "มนุษยนอย ๆ กับศิลปะ

เครื่องประดับ" 200,000

8. การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งท่ี 54 1,000,000

9. การแสดงศิลปกรรมรวมสมัยของศิลปนรุนเยาว ครั้งท่ี 25 700,000

10. มหกรรมศิลปะรวมสมัยในวันศิลป พีระศรี ประจําป 2551 500,000

11. ศิลปกรรมไทยครั้งท่ี 9 ป 2008 700,000 12. การเชิดชูเกียรติศิลปนยอดเยี่ยมแหงประเทศไทยรางวัลศิลป พีระศรี ครั้ง 8 1,000,000 13. การประชุมเชิงปฏิบัติการทางศิลปะรวมสมัยไทย-ยุโรป-เอเชีย และอเมริกา 500,000 14. นิทรรศการศิลปกรรมของศิลปนแหงชาติ ศิลปนชั้นเยี่ยม 300,000 15. ศิลปะรวมสมัย : ลําน้ําโขง โดยศิลปน 6 ประเทศในลุมน้ําโขง 340,000 16. การประชุมเชิงปฏิบัติการทางดานศิลปะรวมสมัยไทย-เอเชีย Project : Thai - Asia 500,000 17. การจัดทําสวนประติมากรรม ณ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี 700,000 18. การซอมแซมและอนุรักษผลงานศิลปกรรมของมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2550 700,000 19. การเฉลิมพระเกียรติดานศิลปะเนื่องในวันนริศ ประจําป พ.ศ. 2551 350,000 20. การเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวประจําป พ.ศ. 2551 300,000 21. การแสดงปาฐกถาศิลป พีระศรี ประจําป พ.ศ. 2551 200,000 รวมทั้งส้ิน 10,000,000

Page 84: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

- 71 -

เมื่อจําแนกผูดําเนินโครงการและผูเขารวมโครงการในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 มีรายละเอียดดังนี้

คณะวิชา / หนวยงาน จํานวนโครงการศิลปวัฒนธรรม

จํานวนผูเขารวมโครงการศิลปวัฒนธรรม

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ - -

คณะสถาปตยกรรมศาสตร 7 1,109

คณะโบราณคด ี 19 3,890

คณะมัณฑนศิลป 12 3,174

คณะอักษรศาสตร 14 1,740

คณะศึกษาศาสตร 2 670

คณะวิทยาศาสตร 28 7,256

คณะเภสัชศาสตร 8 2,110

คณะวิศวกรรมศาสตร 18 3,043

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 8 0

คณะดุริยางคศาสตร 6 4,660

คณะวิทยาการจัดการ 12 2,665

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2 440

วิทยาลัยนานาชาต ิ 2 280

หอศิลป 8 1,943

สนง.วิทยาเขตเพชรบุรี 6 1,688

ฝายศิลปวัฒนธรรม สนง.อธิการบดี 6 3,462

รวม 158 38,130

ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติราชการ (ก.พ.ร.) ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัยศิลปากร

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2551 รอบ 12 เดือน ตัวชี้วัดที่ 3.2.25-26

Page 85: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 86: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 72 72 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

การประกันคุณภาพการศึกษา

มหาวิทยาลัยไดเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและไดดําเนินการพัฒนา ระบบกลไก

การประกันคุณภาพมาอยางตอเน่ือง ซ่ึงองคประกอบหลักของระบบการประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยมีดวยกัน 3

สวน คือ 1. การควบคุมคุณภาพภายในระดับหนวยงาน โดยคณะวิชา / ภาควิชา / สาขาวิชา

2. การประกันคุณภาพภายในโดยมหาวิทยาลัย เพื่อประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (internal quality

assessment) ซ่ึงเปนการประเมินเชิงคุณภาพ (qualitative assessment) เพื่อใหไดทราบถึงประสิทธิภาพ

ประสิทธิผลและคุณภาพของการดําเนินงานการประกันคุณภาพ จุดแข็ง จุดออน แนวทางแกไข แนวทางเสริม ให

สามารถนําผลการประเมินไปใชประโยชนและใชเปนแนวทางพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ ตลอดจนสงเสริม

สนับสนุนการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยใหมีประสิทธิภาพและคุณภาพยิ่งขึ้น โดยมีกระบวนการดังนี้

2.1 สงเสริมใหมีการประกันคุณภาพภายในระดับคณะวิชา และหนวยงาน

2.2 จัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ของคณะวิชา/หนวยงาน

และมหาวิทยาลัยเพื่อรายงานผลการดําเนินงานตอสภามหาวิทยาลัยและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

2.3 มีการประเมินคุณภาพภายในประจําปและนําผลการประเมินไปใชในการพัฒนาอยางตอเนื่อง

3. การประเมินคุณภาพภายนอก ดําเนินการโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

(สมศ.) เพื่อนําไปสูการรับรองคุณภาพและมาตรฐานของมหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาใหไดตามมาตรฐานที่

กําหนด

ในปการศึกษา 2550 และปงบประมาณ 2551 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินการดาน การประกัน

คุณภาพภายใน ตามนโยบายและแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีรองอธิการบดีฝายประกันคุณภาพ

การศึกษากํากับดูแลโดยตรง ซ่ึงกลไกการดําเนินงาน ปรากฎในรูปคณะกรรมการภายใตความรับผิดชอบของ

สํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา และ คณะกรรมการ 3 ชุด ดังนี้

Page 87: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 73 73 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

1. คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย

2. คณะกรรมการประสานงานประกันคุณภาพการศึกษา (ระดับมหาวิทยาลัย)

2.1 คณะกรรมการประสานงานประกันคุณภาพการศึกษา (ระดับคณะวิชา)

2.2 คณะกรรมการประสานงานประกันคุณภาพการศึกษา (ระดับหนวยงานสนับสนุนวิชาการ)

3. คณะกรรมการ (ดําเนินงาน) ประกันคุณภาพการศึกษา (ระดับคณะวิชา/หนวยงาน)

มหาวิทยาลัยศิลปากรมีการพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประเมินคุณภาพภายในอยางตอเนื่อง สําหรับการ

จัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําปการศึกษา 2550 ซ่ึงประเมินผลการดําเนินงานระหวาง 1 มิถุนายน 2550

ถึง 31 พฤษภาคม 2551 นั้น ไดกําหนดใหคณะวิชาดําเนินการตามตัวบงชี้และเกณฑการประเมินตามองคประกอบ

คุณภาพในคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา (สกอ.) ซ่ึงกําหนดตัวบงชี้และเกณฑมาตรฐาน จํานวน 9 องคประกอบ 41 ตัวบงชี้ 152 เกณฑ

มาตรฐาน สวนหนวยงานสนับสนุนวิชาการ กําหนดใหประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตามตัวบงชี้และเกณฑการ

ประเมินตามตัวบงชี้กลางของมหาวิทยาลัยโดยใชชวงเวลาตามปงบประมาณแผนดิน

การประเมินคุณภาพภายนอก

ในปการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินการประกันคุณภาพภายนอก และไดปรากฎผล

• ผลการประเมินภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา ระดับกลุมสาขาวิชา

คาคะแนนผลการประเมินคุณภาพรายกลุมสาขาวิชา ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อจัดลําดับตามกลุมสาขา

แสดงได ดังนี้ 1. กลุมสาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร / วิจิตรศิลปฯ คาเฉลี่ย 4.50 ระดับการประเมิน ดี

2. กลุมสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร คาเฉลี่ย 4.47 ระดับการประเมิน ดี

3. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ คาเฉลี่ย 4.30 ระดับการประเมิน ดี

Page 88: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 74 74 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

4. กลุมสาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร คาเฉลี่ย 4.25 ระดับการประเมิน ดี

5. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ / ชีวภาพ คาเฉลี่ย 4.15 ระดับการประเมิน ดี

6. กลุมสาขาวิชาครุศาสตร / ศึกษาศาสตร คาเฉลี่ย 3.82 ระดับการประเมิน ดี

7. กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตร / สังคมศาสตร คาเฉลี่ย 3.76 ระดับการประเมิน ดี

8. กลุมสาขาวิชาเกษตรศาสตร คาเฉลี่ย 3.39 ระดับการประเมิน พอใช

• ผลการประเมินภายนอกเพื่อการรบัรองมาตรฐานการศึกษา ตามมาตรฐาน

มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดกลุมสถาบันอยูในกลุมที่ 1 ไดมุงเนนการผลิตบัณฑิตและการวิจัย งานสรางสรรค

โดยสภามหาวิทยาลัยเห็นชอบในการกระจายน้ําหนัก ใน 4 พันธกิจหลักดังนี้ คุณภาพบัณฑิต การวิจัยและงาน

สรางสรรค เทากับ 30 การบริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปะและ วัฒนธรรม 20 ตามลําดับ จากการประเมิน

ตนเองในระดับมหาวิทยาลัย ตามเกณฑของสํานักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา รวม 45 ตัวบงชี้ ผลการประเมินสรุปไดดังนี้

ที่ ตัวบงชี้ น้ําหนัก ผลการดําเนินงาน

1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 30 3.75 ดี

2 มาตรฐานดานการวิจัยและงานสรางสรรค 30 3.33 พอใช

3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 20 5.00 ดีมาก

4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 20 4.00 ดี

คาเฉลี่ยถวงน้ําหนักมาตรฐานที่ 1 – 4 100 3.93 ดีมาก

5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 20 4.55 ดีมาก

6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 20 3.78 ดี

7 มาตรฐานดานระบบการประกันคุณภาพ 20 5.00 ดีมาก

คาเฉลี่ยถวงน้ําหนักมาตรฐานที่ 1 – 7 160 4.12 ดี

ผลการประเมินระดับมหาวิทยาลัยในภาพรวม ในภาพรวม 7 มาตรฐาน ไดคะแนนเฉลี่ย 4.12

อยูในระดับดี เมื่อพิจารณารายมาตรฐานพบวามาตรฐานที่อยูในระดับดีมาก ไดแก มาตรฐานดานการบริการ

วิชาการ ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร และดานระบบการประกัน คุณภาพ สวนมาตรฐานดานการทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรม ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน และดานมาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต อยูในระดับดี มีคาเฉลี่ย

ถวงน้ําหนัก ที่ 4.00 3.78 และ 3.75 ตามลําดับ ที่สําคัญคือมาตรฐานดานการวิจัยและงานสรางสรรคซ่ึง

มหาวิทยาลัยใหความสําคัญ และกําหนดน้ําหนักไวสูงถึง 30 มีผลการดําเนินงานอยูที่ พอใช ดวยคะแนน 3.33

ดังนั้น ทั้งมาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิตและการวิจัย และงานสรางสรรค ที่มีคาน้ําหนักสูง ทั้งสองมาตรฐาน

มหาวิทยาลัยศิลปากรมีผลการดําเนินงานที่ปรากฎอยูในระดับดีและพอใช ซ่ึงจะตองเรงพัฒนาไปอีกระดับหนึ่ง

เพราะมีผลกระทบกับคุณภาพการดําเนินงานคอนขางสูง คณะกรรมการประเมินเห็นสมควรรับรองมาตรฐานดาน

การวิจัยและงานสรางสรรคอยางมีเงื่อนไข โดยตองมีการปรับปรุงพัฒนาอยางเรงดวนภายในระยะเวลา 12 เดือน

และตองสงผลการดําเนินงานใน มาตรฐานนี้ให สมศ.ประเมินซํ้า

Page 89: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 75 75 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

บทสรุปและขอเสนอแนะในการพัฒนา

มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนสถาบันที่ไดจัดตั้งมาเปนเวลากวา 60 ป เปนมหาวิทยาลัยแหง ภูมิภาคตะวันตก

ไดรับความเชื่อถือ ศรัทธาและการยอมรับเปนอยางมากมาแตครั้งอดีต มีศิษยที่จบไปแลวไดสรางชื่อเสียงและได

ประสบความสําเร็จจํานวนมาก ปจจุบันมีการเรียนการสอนในหลากหลายสาขา จึงควรรวมพลังคณาจารยและ

บุคลากร รวมมือกันสรางความโดดเดนทางดานคุณภาพ

ของนักศึกษาและผลงานวิจัย ใหเปนที่ยอมรับมากขึ้น

จากผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมา แสดงใหเห็นผลประกอบการวายังตองพัฒนาเรื่อง หลักๆของ

อุดมศึกษาอีกมาก เพื่อพัฒนาใหสถาบันมีคุณภาพในระดับดีมาก คณะผูประเมินมี ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา

ดังนี้

1. การประกาศทิศทางที่ชัดเจนในการเปน “มหาวิทยาลัยแหงการวิจัย” มหาวิทยาลัยศิลปากร ควร

ปรับปรุงจัดบริหารการเชิงกลยุทธ ที่เพื่อมุงเนนผลสัมฤทธิ์และตอบสนองตามยุทธศาสตร และเปาหมายไปสูการ

เปนมหาวิทยาลัยแหงการวิจัยอยางแทจริง ปรับปรุงระบบการบริหารระบบงาน ปรับโครงสรางองคกรของคณะวิชา

และหนวยงานสนับสนุนทั่วทั้งมหาวิทยาลัย เพื่อใหเกิดความคลองตัว ในการบริหาร ระบบการบริหารการวิจัย และ

สนับสนุนการวิจัยโดยการจัดสรรงบประมาณเงินรายได จากมหาวิทยาลัยใหกับทุกคณะ บูรณาการงานวิจัย

หรือศูนยวิจัยเฉพาะทาง เพื่อสนับสนุนการเรียน การสอน การผลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐที่ยื่นขอจดสิทธิบัตร / อนุ

สิทธิบัตร รวมทั้งการจัดใหมีกลไกของ

การนํานวัตกรรมและองคความรูไปถายทอดเทคโนโลยี

2. พัฒนาการใหบริการวิชาการและการทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรมสูชุมชนทองถ่ิน เนื่องจากมหาวิทยาลัย

ไดขยายวิทยาเขตไปยังพระราชวังสนามจันทรและเพชรบุรี ไดสรางสัมพันธที่ดีกับ ชุมชนทองถ่ินมายาวนาน สงผล

ใหมีโอกาสในการสรางโครงการวิจัยเชิงบูรณาการ และโครงการพัฒนาที่ รวมมือกับภาคธุรกิจและชุมชนทองถ่ินได

หลากหลายใหเปนหนึ่งของภูมิภาคใหได

3. มหาวิทยาลัยควรเรงรัดการดําเนินการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศภายในมหาวิทยาลัย ใหมีระบบ

ฐานขอมูลสารสนเทศ (MIS : Management Information System) ที่สามารถใชขอมูลรวมกัน

ไดทั้งมหาวิทยาลัย เพื่อสามารถเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็วและถูกตองแมนยํา ครอบคลุมทุกดาน และใชขอมูลเท็จ

จริง รวมทั้งนําผลการประกันคุณภาพ มาใชเพื่อการตัดสินใจในการบริหารจัดการ เพื่อการสื่อสารแกไขปญหาขอ

ขัดแยงในองคกร เพื่อการพัฒนางานของมหาวิทยาลัยใหรุดหนาอยาง รวดเร็วและแมนยําตอไป

4. ควรใหความสําคัญกับระบบคุณภาพ โดยใหอยูในกระบวนการและวิถีปฏิบัติ เปนวัฒนธรรมคุณภาพ

ขององคกร เนื่องจาพบวามหาวิทยาลัยไมไดนําขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจาก การประเมินในรอบที่ผานมาไป

ปรับปรุงแกไขหรือสรางประโยชนจากการประเมินใหเห็นเปนรูปธรรม เพื่อมุงปฏิบัติและพัฒนาภารกิจของ

มหาวิทยาลัย ใหบรรลุสมบูรณตามปรัชญา วัตถุประสงค วิสัยทัศน ที่มหาวิทยาลัยไดกําหนดไว

Page 90: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 76 76 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

การประเมินคุณภาพภายใน

เพื่อใหการประเมินการประกันคุณภาพเปนไปตามระบบและกลไกที่กําหนดไว มหาวิทยาลัยศิลปากร จึง

ไดรับการประเมินคุณภาพภายใน เมื่อวันที่ 21 – 22 สิงหาคม 2551

โดยมีการแจงผลการประเมินใหกับมหาวิทยาลัย ในวันที่ 3 กันยายน 2551 ซ่ึงผลการประเมินแยกตาม

องคประกอบสรุปไดดังน้ี

องคประกอบคุณภาพ / ตัวบงชี้ คะแนนการประเมิน

(ตามเกณฑ สกอ.)

ผลการประเมิน

องคประกอบที่ 1 : ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการ

ดําเนินการ

2.00 พอใช

องคประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน 1.69 พอใช

องคประกอบที่ 3 : กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 3.00 ดีมาก

องคประกอบที่ 4 : การวิจัย 2.80 ดีมาก

องคประกอบที่ 5 : การบริการวิชาการแกสังคม 2.75 ดีมาก

องคประกอบที่ 6 : การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 3.00 ดีมาก

องคประกอบที่ 7 : การบริหารและการจัดการ 2.11 ดี

องคประกอบที่ 8 : การเงินและงบประมาณ 2.50 ดี

องคประกอบที่ 9 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 2.67 ดีมาก

คาเฉลี่ยของทุกองคประกอบ 2.24 ดี

ในสวนของขอเสนอแนะที่มหาวิทยาลัยควรดําเนินการพัฒนาอยางเรงดวนนั้น คณะกรรมการไดให

ขอคิดเห็น ดังนี้

1) สภามหาวิทยาลัยควรใหความสําคัญในการกําหนดนโยบายและกลยุทธการบริหารของ

มหาวิทยาลัยมากขึ้น 2) กําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน

วิชาการ เพื่อใหสอดคลองกับพันธกิจและแผนดําเนินงานของหลักสูตร

Page 91: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

-- 77 77 --

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

3) ปรับปรุงระบบการจัดเก็บขอมูลการไดงานทําของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและ ประกอบ

อาชีพอิสระภายใน 1 ป เพื่อใหไดขอมูลที่สมบูรณครบถวน

4) จัดใหมีการฝกงานและฝกประสบการณ หรือปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ หรือศึกษา

และแกปญหาใหชุมชนมากขึ้น

5) ควรมีฐานขอมูลใหครอบคลุมทุกสาขาและใหมีความเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย

6) สงเสริมงานวิจัยที่เปนบูรณาการระหวางคณะและระหวางมหาวิทยาลัย และองคกรภายนอก

ทั้งภาครัฐและเอกชน

7) จัดใหมีการประเมินคุณภาพของหนวยงานในสํานักงานอธิการบดีในรอบปการศึกษา

เชนเดียวกับคณะเพื่อความเปนเอกภาพ

8) เพิ่มการประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางบุคลากรในคณะตางๆ กับผูบริหาร

มหาวิทยาลัย เพื่อใหเห็นถึงความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา ความเขาใจที่ถูกตองตรงกันของ

องคประกอบและตัวบงชี้ และการบูรณาการผลการดําเนินงานรวมกัน

Page 92: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 93: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 78 78 --

การวิเทศสัมพันธ

การสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานสถาบันอุดมศึกษาทั้งในภาครัฐ และ

เอกชน ระดับนานาประเทศ เปนหนาที่และภารกิจที่มหาวิทยาลัยศิลปากรตระหนักถึงความสําคัญเปนอยางยิ่ง ดังนั้น

จึงสนับสนุนใหเกิดความรวมมือดังกลาวเพ่ือเปนแนวทางใหบุคลากรในมหาวิทยาลัยไดมีโอกาสในการแลกเปลี่ยน

ความรู ประสบการณตางๆ ใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการ สอดคลองกับการที่เปลี่ยนแปลงของโลกภายใตการทํา

หนาที่ดานวิเทศสัมพันธทั้งจากสวนกลางและคณะวิชา โดยในปงบประมาณ 2551 ไดมีการดําเนินงานดานวิเทศ

สัมพันธ ดังนี้

ความรวมมือทางวิชาการ

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินการดานวิเทศสัมพันธ โดยการสนับสนุนของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทั้ง

ในสวนของการแลกเปลี่ยนทุนการศึกษา การใหบริการทางวิชาการ ความรวมมือทางวิชาการกับสถาบันตางประเทศ

ตางๆ มีการดําเนินงานดังนี้

• โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาไทยกับตางประเทศ (University

Mobility in Asia and the Pacific - UMAP)

เปนโครงการที่สนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาไทยกับตางประเทศตางเทศ

เนื่องจากกิจกรรมตางๆ เปนปจจัยสําคัญในการสรางความเปนสากลและนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในสวน

ของมหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับจัดสรรทุน จํานวน 6 ทุน รวมเปนเงิน 967,000 บาท ดังนี้

1. นายกิตติศักดิ์ พรพิทักษพงศ นักศึกษาคณะอักษรศาสตร ณ Institut National des Langues et

Civilisations Orientales ประเทศฝรั่งเศส เปนเงินจํานวน 235,500 บาท

2. นายมานะ กาญจนมณีเสถียร รองศาสตราจารย ระดับ 9 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

ณ The University of Queenland ประเทศออสเตรเลียเปนเงิน 38,500 บาท

Page 94: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 7 79 9 --

3. นายนรินทร ปริยวิชญภักดี อาจารยคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ณ The Ohio State

University ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนเงินจํานวน 77,000 บาท

4. นายกัมปนาท หวลบุตตา นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร ณ University of Western Australia ประเทศ

ออสเตรเลีย เปนเงินจํานวน 153,500 บาท

5. นายแสงหิรัญ สาครินทร นักศึกษาคณะอักษรศาสตร ณ Institut National des Langues et

Civilisations Orientales ประเทศฝรั่งเศส เปนเงินจํานวน 223,500 บาท

6. นางสาวกนกพร บูรพาพัธ นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร ณ University of Apply Sciences ประเทศ

สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน เปนเงินจํานวน 239,000 บาท

• โครงการความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion - GMS)

เปนโครงการที่รัฐบาลไทยตองการใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของภูมิภาคลุม

แมน้ําโขง 6 ประเทศ ประกอบไปดวย ประเทศกัมพูชา จีน (ตอนใต) พมา ลาว เวียดนาม และไทย และเปนความ

รวมมือทางวิชาการรวมพัฒนาหลักสูตรการสอนทางดานภูมิภาคศึกษา ใชระยะเวลา 1-2 เดือน ในสวนของ

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับจัดสรรทุน GMS จาก สกอ. ในป 2551 ไดรับจัดสรร 10 ทุน จํานวนเงิน 840,500 บาท

โดยมีรายละเอียดดังน้ี

1. คณะวิทยาศาสตรได 1 ทุน เปนเงินจํานวน 48,500 บาท

2. คณะอักษรศาสตรได 9 ทุน ทุนละ 88,000 บาท รวมเปนเงินจํานวน 792,000 บาท

• โครงการใหนักวิชาการไทยที่อยูตางประเทศกลับมารวมพัฒนาการอุดมศึกษาไทย

(สมองไหลกลับ - MUA - RBD) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดดําเนินโครงการนี้ตั้งแต ป 2539 ไดรับงบประมาณปละ 24.5

ลานบาท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อบรรเทาปญหาขาดแคลนอาจารยและถายทอดเทคโนโลยีชั้นสูงที่จําเปนตอการพัฒนา

สูประเทศไทย เชน ดานวิทยาศาสตร แพทย วิศวกรรมศาสตรและคอมพิวเตอร ใหมีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ

โดยสงอาจารยจํานวนหนึ่งไปศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกในตางประเทศ ซ่ึงจะตองใชเวลาไมนอยกวา 5 ป

จึงกลับมาชวยพัฒนามหาวิทยาลัยได

1. คณะเภสัชศาสตร ไดรับอนุมัติโครงการสัมมนาเรื่อง Application of Synchrotron and Neutron in

life Sciences เปนจํานวนเงิน 218,000 บาท

2. คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรไดรับอนุมัติใหนักวิชาการไทยที่อยูในตางประเทศกลับมารวมพัฒนาโครงการวิจัยทางสัตวศาสตรเปนเงินจํานวน 117,000 บาท

• โครงการความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยในทวีปยุโรปและมหาวิทยาลัยในภูมิภาค เอเชียตะวันออก

เฉียงใต (ASEA - UNINET)

โครงการความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยในทวีปยุโรปและมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง

ใต (ASEA - UNINET) เปนโครงการขยายความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยในทวีปยุโรปและมหาวิทยาลัย ใน

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางเครือขายในการดําเนินกิจกรรมความรวมมือทางดาน

Page 95: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 80 80 --

วิชาการ วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและศิลปะรวมกันระหวางมหาวิทยาลัยตางๆ ในกลุมประเทศสมาชิก โดยรัฐบาล

ออสเตรียไดใหทุนการศึกษา ทุนวิจัย และทุนฝกอบรมแกสถาบันอุดมศึกษาไทย ในรอบปที่ผานมามีกิจกรรม ดังนี้

1. นางสาว นคนันทินี วรคีตานันท นักศึกษาชั้นปที่ 4 คณะดุริยางคศาสตร มหาวิทยาลัยศลิปากร

ไดรับคัดเลือกใหเขารบัทุนฝกอบรมดานการขับรองดนตรีคลาสลิค ณ สาธารณรัฐออสเตรยี เปนเวลา 9 เดือน

2. อาจารยศรันย สืบสันติวงศ ไดรับทุนฝกอบรมระยะสั้น (27 เม.ย. - 9 พ.ค. 2551) ดานการขับ

รองดนตรีคลาสลิค ณ Institute for Voice and Musical Theatre, University of Music and Performing Art Vienna

3. การฝกอบรม Master Class ดานการขับรอง (คลาสสิค) ภายใตโครงการความมือ ดาน

วิทยาศาสตรเทคโนโลยี และศิลปะระหวางไทยและออสเตรีย ในวันที่ 31 ต.ค. 2550 ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย Prof.

Franz Lukasovky ซ่ึงเปนศาสตราจารยดนตรีผูเชี่ยวชาญดานการขับรองจาก Institute for Voice and Musical Theatre,

University of Music and Performing Art Vienna มาใหการฝกอบรมเทคนิคการขับรอง การแสดงออก การนําเสนอบทเพลง

ใหแกนักศึกษาและอาจารยที่ผาน การคัดเลือกเขารับการฝกอบรม

• ความมือทางวิชาการไทย - จีน

ความมือทางวิชาการไทย - จีนเปนโครงการวิจัยรวมและพัฒนาภายใตโครงการความรวมมือทาง

วิทยาศาสตรและวิชาการไทย - จีน ในสวนของมหาวิทยาลัยศิลปากรนั้น คณะวิทยาศาสตรไดรับอนุมัติโครงการ

“การแยกเชื้อแอคติโนมัยชีสจากพืชสมุนไพรไทย - จีนและการหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื้อแอคนิโนมัยชีส”

ระยะเวลา 2 ป (กรกฎาคม 2549 - มิถุนายน 2551) ผูรับผิดชอบโครงการ คือ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธงชัย เตโช

วิศาล และ Yuemao Shen จากสถาบันศาสตรคุนหมิง (Kunming Institute of Botany, Chinese Academy of

Science, Kunming) ไดรับงบประมาณสนับสนุน เปนเงินจํานวน 480,000 บาท

• ความรวมมือดานอาสาสมัครญี่ปุน/เกาหลี (JICA/KOICA)

ความรวมมือดานอาสาสมัครญี่ปุน/เกาหลี (JICA/KOICA) เปนแนวทางความรวมมือทางดานอาสาสมัคร

ญ่ีปุน/เกาหลี ที่มีความรูความเชี่ยวชาญเขามาปฏิบัติงานตามโครงการตางๆ ตามความตองการของไทย เพื่อชวยให

คําแนะนําตามสาชาวิชาตางๆ ในสวนของมหาวิทยาลัยศิลปากรมีความรวมมือ ดังนี้

1. คณะอักษรศาสตร ไดรับ Dr. Lim Myung Sook จากมูลนิธิเกาหลี มาสอน ภาษาเกาหลี เปนเวลา

2 ป ตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2551 - 31 มิถุนายน 2553

2. คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไดรับ Dr. Hidefusa TAKAHARA เขามา

ปฏิบัติงาน ณ ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ ระหวางวันที่ 18 กันยายน 2550 - 17 กรกฎาคม 2551

• ความชวยเหลือภายใตโครงการ Bureau de Cooperation de Français (BCF)

รัฐบาลฝรั่งเศสไดใหความชวยเหลือดานการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสแกหนวยงานตางๆ ของไทยโดย

ผานสํานักงานความรวมมือเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศ กระทรวงตางประเทศ รายละเอียดของความเหลือมีดังนี้

ผูเชี่ยวชาญ

ทุน

อ่ืนๆ (เชน หนังสือ)

ในสวนของมหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับสนับสนุน ดังนี้

Page 96: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 81 81 --

1. นางสาวเพ็ญลกัษณ วงศใจหาญ ภาควิชาตะวันตก คณะโบราณคดี ไดรบัทุนไปศึกษาระดับ

Master 2 - PhD หลักสูตร French Literature ณ สาธารณรฐัฝรั่งเศส

2. นายอนุสรณ ชมพูพล นักศึกษาระดับปริญญาโท คณะอักษรศาสตร ไดรบัทุนรัฐบาลฝรัง่เศสเพื่อ

ไปศึกษาระดับ Master 1 หลักสูตร French Literatureณ University of Paris III - Sorbonne Nouvelle สาธารณรัฐ

ฝรั่งเศส

• โครงการทุนการศึกษาภายใต ASEM - DUO Fellowship Program (DUO - Thailand)

โครงการนี้ เปนโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและอาจารยระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยและ

สถาบันอุดมศึกษาในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป ASEM-DUO Fellowship Program (DUO - Thailand

Fellowship Program) โดยใหความสําคัญแกสาขาวิชาพลังงานทางเลือก เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยี การอาหาร

วิทยาศาสตรสุขภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโลจิสติกส การออกแบบระบบธุรกิจ เทคโนโลยีไม การ

จัดการทองเท่ียวและการโรงแรม การสมัครเขารวมโครงการฯ จะตองสมัครเปนคู ไดแก นักศึกษาไทย 1 คน และ

นักศึกษาสัญชาติประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป 1 คน โดยผูสมัครและคูแลกเปลี่ยนตองกรอกใบสมัครและสงผาน

สถาบันอุดมศึกษาตนสังกัด ทั้งนี้ การจับคูสมัครเขารวมโครงการนั้นไมจําเปนที่คูแลกเปลี่ยนจะตองรวมกิจกรรม

แลกเปลี่ยนในสาขาเดียวกัน และไมจําเปนตองเดินทางไปแลกเปลี่ยนในชวงเวลาเดียวกัน

ในป 2551 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดอนุมัติคาใชจายสนับสนุนการเขารวมโครงการใหแก

อาจารยของมหาวิทยาลัยศิลปากรและคูแลกเปลี่ยนที่ผานการคัดเลือกจํานวน 2 ราย (1 คู) เปนเงิน

จํานวน 281,400 บาท โดยมีรายชื่อและรายละเอียดดังนี้

1. ผูชวยศาสตราจารยพิมพชนก จตุรพิรีย ตําแหนงผูชวยศาสตราจารย สังกัดภาควิชา

เทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เขารวมโครงการ ในระหวางวันที่ 30

พฤษภาคม 2551 - 7 กรกฎาคม ณ สาธารณรัฐออสเตรีย เปนเงินจํานวน 168,840 บาท

2. Prof. Dietmar Haltrich จาก BOKU University of Natural Resources and Applied Life

Sciences Vienna, Austria เขารวมโครงการ ในระหวางวันที่ 1 - 31 สิงหาคม 2551 เปนเงินจํานวน 112,560 บาท

• โครงการจัดประชุม สัมมนาและนิทรรศการเชิงวิชาการนานาชาติ

สํานักคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดดําเนินโครงการใหสถาบันอุดมศึกษาไทยเปนเจาภาพจัดประชุม

สัมมนา และฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับงบประมาณสนับสนุน ดังนี้

1. คณะวิทยาศาสตร ไดรับงบประมาณสนับสนุนในการจัดการประชุมวิชาการนานาชาติรวมสาขาวิทยาการคอมพิวเตอรและวิศวกรรมซอฟตแวร ประจําป 2551 (The international Joint - Conference on

Computer Science and Software Engineering - JCSE 2008) เปนเงินจํานวน 150,000 บาท

2. คณะสถาปตยกรรมศาสตร ไดรับงบประมาณสนับสนุนในการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

ทางการออกแบบระดับนานาชาติครั้งที่ 3 (3rd Silpakorn International Design Workshop 2008) เปนเงินจํานวน

150,000 บาท

Page 97: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 82 82 --

การทําความตกลงรวมมือทางวิชาการกันสถาบันตางประเทศ

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดทําความรวมมือกับสถาบันตางประเทศและมีขอตกลงที่มีผลบังคับใชทั้งสิ้นจํานวน

33 ฉบับ โดยในปที่ผานมา มหาวิทยาลัยศิลปากรไดตออายุขอตกลงกับสถาบันตางประเทศจํานวน 3 ฉบับ คือ

• มหาวิทยาลัยโอซากา ประเทศญี่ปุน

• University of Florence ประเทศอิตาลี

• Université Paris Descarte สาธารณรัฐฝรั่งเศส

ในป 2551 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดทําขอตกลงกับสถาบันตางประเทศเพิ่มอีก 1 ฉบับ คือ University of

Applied Sciences - Technische Fachhochschule Berlin (TFH Berlin) ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน ใน

สาขาวิชาเภสัชศาสตร

และมหาวิทยาลัยศิลปากรยังมีความรวมมือกับสถาบันตางประเทศที่สําคัญ ดังนี้

1. มหาวิทยาลัย Daegu Cyber ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

คณะผูบริหารมหาวิทยาลัย คณบดี และผูแทนของคณะวิชาที่เก่ียวของเขารวมเจรจาความรวมมือ

ทางวิชาการ ผลสรุปที่ได คือ คณะวิชาประสงคจะทําความรวมมือทางดานวิชาการกับมหาวิทยาลัย Daegu Cyber

โดยเฉพาะทางดาน Art Therapy และ Special Education รวมทั้งทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศดวย

นอกจากนี้ ยังไดตอนรับคณะผูบริหาร และผูแทนจากสถาบันการศึกษาตางประเทศและสถานเอกอัครทูต/

สถานกงสุลใหญประเทศตางๆ ดังน้ี

วัน/เดือน/ป ช่ือสถาบัน ประเทศ หมายเหตุ

20 ธ.ค. 50 University of Balochistan ศรีลังกา เยี่ยมชมและศึกษาดูงาน

6 มี.ค. 51 คณะผูแทนมหาวิทยาลัยตางๆ

จากประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน เยี่ยมชมและศึกษาดูงาน

28 ม.ีค. 51 Daegu Cyber University สาธารณรัฐเกาหล ี หารือความรวมมือทางวิชาการ

18 ส.ค. 51 University Malaysia Kelantan มาเลเซีย หารือความรวมมือทางวิชาการ

การจัดสัมมนาทางวิชาการและนิทรรศการ นอกจากการเจรจาความรวมมือทางวิชาการแลว มหาวิทยาลัยศิลปากร ยังมีความรวมมือในสวนอื่นๆ เชน

การเผยแพรขอมูล การจัดสัมมนาทางวิชาการและนิทรรศการ ซ่ึงมีกิจกรรมที่ไดดําเนินการ ดังนี้

• โครงการประชาสัมพันธและเผยแพรขอมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยศิลปากรดําเนินงานโครงการประชาสัมพันธและเผยแพรขอมูลหลักสูตรระดับปริญญาตรี

ของคณะวิชามหาวิทยาลัยศิลปากร ระหวางวันที่ 1 - 3 พฤษภาคม 2550 ณ จังหวัดอุดรธานี

• งานนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 12

จัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูลหลักสูตร ขอมูลการเขาศึกษาตอในคณะวิชาตางๆ ของ

มหาวิทยาลัยใหแกนักเรียน ผูปกครอง และผูสนใจทั่วไปในเขตภาคเหนือไดรับทราบโดยทั่วกัน ระหวางวันที่ 5-9

ธันวาคม 2550 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย

Page 98: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 99: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 83 83 --

การพัฒนาบุคลากร

มหาวิทยาลัยศิลปากรตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาศักยภาพใหกับบุคลากรของ มหาวิทยาลัย

เนื่องจากทรัพยากรบุคคลมีบทบาทและหนาที่ผลักดันใหองคกรสามารถขับเคลื่อนไปใน ทิศทางที่ตองการ ดังนั้น

นโยบายสนับสนุนใหบุคลากรในหนวยงานตางๆ ของมหาวิทยาลัยไดเพ่ิมพูนความรู โดยการเขารวมฝกอบรม ประชุม

สั มมนาศึ กษ าดู ง าน ศึ กษาต อ ทํ า วิ จั ย และ อ่ืนๆ ทั้ ง ภ าย ในและภ ายนอก ประ เทศจึ ง เ ป นสิ่ ง สํ า คัญ

ทั้ ง นี้ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ข อ ง ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร เ พ่ื อ ใ ห บุ ค ล า ก ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศิ ล ป า ก ร

ไดมีทักษะทางดานความรูและความสามารถ มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ตลอดจนเปนการสงเสริม

ขวัญและกํ าลั ง ใจใหแกบุคลากร ตลอดจนมุ ง เนนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีต า งๆ ใหมีความทันสมัย

สอดคลองกับสภาวะแวดลอม รวมถึงการส ง เส ริมแหลงคนคว าทางวิชาการใหตรงกับความตองการของ

บุคลากรและนักศึกษา

การสงเสริมและพัฒนาบุคลากร

มหาวิทยาลัยศิลปากรไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมใหเกิดการพัฒนาบุคลากร ไดแก การฝกอบรม ประชุมสัมมนา

การศึกษาดูงาน และการศึกษาตอเพ่ือเพ่ิมวุฒิการศึกษา ซึ่งมีทั้งภายในและภายนอกประเทศ สําหรับในปการศึกษา 2550

และปงบประมาณ พ.ศ. 2551 แตละหนวยงานของมหาวิทยาลัยจัดใหมีการ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในภาพรวม ดังนี้

การฝกอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน และพัฒนาบุคลากรอื่นๆ

กิจกรรมการฝกอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน และพัฒนาบุคลากรอื่นๆ ประจําปการศึกษา 2550

มีผูเขารวมทั้งสิ้น 1,138 คน ซึ่งมีผูอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และพัฒนาดานอ่ืนๆภายในประเทศ จํานวน 849 คน

และในตางประเทศ จํานวน 289 คน ซึ่งมีรายละเอียด จําแนกตามหนวยงาน ดังนี้

Page 100: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 84 84 --

บ ุคลากรท่ีไดรับการเพิ่มประสบการณ อาจารยท่ีไดรับ

การอบรม ประชุม สัมมนา

ศึกษาดูงาน และพัฒนาบุคลากร

อื่นๆ สายวิชาการ สายบริหารและ

ปฏิบัติงานทั่วไป คณะวิชา / หนวยงาน

ในประเทศ ตางประเทศ ในประเทศ ต างประเทศ ในประเทศ ต างประเทศ คณะจิตรกรรมประติมากรรม

และภาพพิมพ

19 22 - - 9 1

คณะสถาปตยกรรมศาสตร 51 ** 28 ** - - - -

คณะโบราณคดี 48 ** - - - - -

คณะมัณฑนศิลป 2 - - - 8 -

คณะดุริยางคศาสตร - - 20 6 16 13

คณะอักษรศาสตร 84 ** 27 ** - - - -

คณะศึกษาศาสตร 18 60 20 * - - -

คณะวิทยาศาสตร 62 23 9 2 3 -

คณะเภสัชศาสตร 70 35 33 **** - - -

คณะวิศวกรรมศาสตรและ

เทคโนโลยีอุตสาหกรรม

64 6 41 - - -

คณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร

24 ** - - - - -

คณะวิทยาการจัดการ 36 11 18* - - -

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร

14 29 *** 1 - 4 -

วิทยาลัยนานาชาติ 3 8 - - 4 -

บ ัณฑิตวิทยาลัย - - 1 7 7 6

สำนักงานอธิการบดี - - - - - -

ศ ูนยคอมพิวเตอร - - 17 - 13 -

สถาบันวิจัยและพัฒนา 1 1 3 - 10 1

สํานักหอสมุดกลาง - - - - 101 ** -

หอศิลป 15** 3** - - - -

รวม 511 253 163 15 175 21

หมายเหตุ * บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ไดรับการเพิ่มประสบการณท้ังในประเทศและตางประเทศ

** บุคลากรที่เขารวมการประชุม สัมมนา หรือรวมกิจกรรมทางวิชาการ (รวมอาจารย)

*** ผูบริหาร คณาจารยและบุคลากรคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

**** บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการรวมกับสายบริหารและปฏิบัติงานทั่วไป ภายในประเทศ

Page 101: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

รายงานประจําปการศึกษา 2550 ปงบประมาณ 2551

-- 85 85 --

การลาศึกษาตอทั้งในประเทศและตางประเทศ

สําหรับบุคลากรที่ลาศึกษาตอทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมทั้งการเพ่ิมพูนความรู การทําวิจัย และอบรม

ในปงบประมาณ 2551 มีจํานวนทั้งสิ้น 21 คน โดยแบงเปนการลาศึกษาตอระดับปริญญาเอก ภายในประเทศ 8 คน

ลาศึกษาตอระดับปริญญาโทถึงระดับปริญญาเอกตางประเทศ 1 คน และลาศึกษาตอระดับปริญญาเอกตางประเทศ

12 คน ซึ่งมีรายละเอียดจํานวนบุคลากรที่ลาศึกษาตอ ดังนี้

จํานวนผูลาศึกษา

ตอในประเทศ

(คน)

จํานวนผูลาศึกษา

ตอตางประเทศ

(คน)

หนวยงาน

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ - - - -

คณะสถาปตยกรรมศาสตร - - - 1

คณะโบราณคดี - 1 - 1

คณะมัณฑนศิลป - - - -

คณะดุริยางคศาสตร - - - -

คณะอักษรศาสตร - - - -

คณะศึกษาศาสตร - 1 - -

คณะวิทยาศาสตร - - - 4

คณะเภสัชศาสตร - - - 2

คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม - 3 1* -

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร - - - 2

คณะวิทยาการจัดการ - 2 - 2

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - - - -

วิทยาลัยนานาชาติ - - - -

บ ัณฑิตวิทยาลัย - 1 - -

สำนักงานอธิการบดี - - - -

ศ ูนยคอมพิวเตอร - - - -

สถาบันวิจัยและพัฒนา - - - -

สํานักหอสมุดกลาง - - - -

หอศิลป - - - -

รวม - 8 1 12

* ศึกษาตอต้ังแตะระดับปริญญาโท - ปริญญาเอก

** อางอิงขอมูลจาก กองการเจาหนาท่ี

Page 102: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป
Page 103: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

ก.

หลักสูตร

จํานวนหลักสูตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปการศึกษา 2550

จํานวนหลักสูตร

คณะวิชา อนุปริญญา

ปริญญา

ตรี ประกาศ

นียบัตร ปริญญา

โท ปริญญา

เอก คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ 1 5 5 คณะสถาปตยกรรมศาสตร 2 2 8 1 คณะโบราณคดี 7 9 4 คณะมัณฑนศิลป 7 4 คณะดุริยางคศาสตร 3 คณะอักษรศาสตร 15 5 1 คณะศึกษาศาสตร 9 2 11 6 คณะวิทยาศาสตร 10 12 3 คณะเภสัชศาสตร 2 8 5 คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม 10 5 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 3 คณะวิทยาการจัดการ 6 1 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3 วิทยาลัยนานาชาติ 3 2

รวมทั้งส้ิน 3 85 2 70 20

Page 104: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

ข.

นักศึกษา จํานวนนักศึกษาใหมปการศึกษา 2550 จําแนกตามคณะวิชาและระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา

คณะวิชา / หนวยงาน ปริญญา

ตร ีประกาศ นียบัตร

ปริญญา

โท ปริญญา

เอก คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ 113 43 คณะสถาปตยกรรมศาสตร 79 73 11 คณะโบราณคดี 268 80 5 คณะมัณฑนศิลป 300 66 คณะดุริยางคศาสตร 117 คณะอักษรศาสตร 586 30 คณะศึกษาศาสตร 303 56 181 34 คณะวิทยาศาสตร 620 112 7 คณะเภสัชศาสตร 191 32 4 คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 908 65 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 237 คณะวิทยาการจัดการ 677 96 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่สาร 351 วิทยาลัยนานาชาต ิ 139 17

รวม 4,889 56 795 61

จํานวนนักศึกษารวมปการศึกษา 2550 จําแนกตามคณะวิชาและระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา คณะวิชา / หนวยงาน ปริญญา

ตร ีประกาศ นียบัตร

ปริญญา

โท ปริญญา

เอก คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ 394 143 คณะสถาปตยกรรมศาสตร 442 216 72 คณะโบราณคดี 1,085 208 31 คณะมัณฑนศิลป 1,022 235 คณะดุริยางคศาสตร 411 คณะอักษรศาสตร 2,460 94 6 คณะศึกษาศาสตร 1,069 56 838 138 คณะวิทยาศาสตร 1,769 380 8 คณะเภสัชศาสตร 970 59 18 คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2,735 181 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 646 คณะวิทยาการจัดการ 1,632 96 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่สาร 775 วิทยาลัยนานาชาต ิ 364 56

รวม 15,774 56 2,506 273

Page 105: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

ค.

บุคลากร จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัยประจําปการศึกษา 2550 จําแนกตามประเภท

คณะวิชา/หนวยงาน อาจารย

ประจํา สายชวย

วิชาการ สายชวย

บริหาร พนักงาน ลูกจาง

ประจํา ลูกจาง

ช่ัวคราว คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ 38 3 7 16 6 9 คณะสถาปตยกรรมศาสตร 39 3 6 28 6 5 คณะโบราณคดี 48 5 6 36 10 2 คณะมัณฑนศิลป 45 5 10 24 15 17 คณะดุริยางคศาสตร 30 คณะอักษรศาสตร 97 3 10 48 18 10 คณะศึกษาศาสตร 86 8 18 19 29 20 คณะวิทยาศาสตร 116 21 19 36 24 31 คณะเภสัชศาสตร 75 12 13 42 16 1 คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม 40 5 6 59 18 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 2 36 5 คณะวิทยาการจัดการ 3 56 9 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 16 1 วิทยาลัยนานาชาติ 12 49 สํานักงานอธิการบดี 52 133 91 187 181 บัณฑิตวิทยาลัย 7 5 6 2 2 สํานักหอสมุดกลาง 29 37 5 11 27 หอศิลป 2 7 4 4 6

ศูนยคอมพิวเตอร 12 5 18 2 11 สถาบันวิจัยและพัฒนา 5 5 1 3

รวม 589 224 420 673 518 565

อาจารยประจํา

19.71%

สายชวยวิชาการ

7.49%

พนักงาน

22.52%

ลูกจางประจํา

17.33%

ลูกจางชั่วคราว

18.90%

สายชวยบริหาร

14.05%

Page 106: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป

ง.

งบประมาณ งบประมาณแผนดินประจําป พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2550 จําแนกตามหมวดรายจาย

ปงบประมาณ 2549 ปงบประมาณ 2550 ประเภท / หมวดรายจาย

จํานวนเงิน (บาท) รอยละ จํานวนเงิน (บาท) รอยละ

1. งบดําเนินการ 709,368,500 71.0 796,261,200 74.7

1.1 เงินเดือนและคาจางประจํา 365,522,300 36.6 424,861,600 39.8

1.2 คาจางชั่วคราว 12,162,000 1.2 12,162,000 1.1

1.3 คาตอบแทนพนักงานราชการ 0.0 3645900 0.3

1.4 คาตอบแทนใชสอยและวัสดุ 126,969,900 12.7 126,311,000 11.8

1.5 คาสาธารณูปโภค 34,026,200 3.4 35,610,200 3.3

1.6 เงินอุดหนุน 170,688,100 17.1 193,670,500 18.2

1.7 รายจายอ่ืน 0.0 0.0

2. งบลงทุน 289,159,900 29.0 270,211,100 25.3

2.1 คาครุภัณฑท่ีดินและสิ่งกอสราง 289,159,900 29.0 270,211,100 25.3

รวมทั้งส้ิน 998,528,400 100.0 1,066,373,700 100.0

12,1

62,0

00

12,1

62,0

00

฿3,6

45,9

00

126,

969,

900

126,

311,

000

34,0

26,2

00

35,6

10,2

00

170,

688,

100

193,

670,

50028

9,15

9,90

0

270,

211,

100

365,

522,

300

424,

861,

600

ปงบประมาณ 2549 ปงบประมาณ 2550

เงินเดือนและคาจางประจํา

คาจางชั่วคราว

คาตอบแทนพนักงานราชการ

คาตอบแทนใชสอยและวัสดุ

คาสาธารณูปโภค

เงินอุดหนุน

คาครุภัณฑที่ดินและสิ่งกอสราง

Page 107: ปณิธาน - Silpakorn University50-51).pdf · 2016-11-10 · สารจากอธิการบด ี การดําเนินงานของมหาว ิทยาลัยศิลปากรในรอบป