บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ...

26
บทที่ 4 แนวคิด หลักการและทฤษฎี ที่เกี่ยวของกับการเรียนรู ผูริเริ่มทฤษฎีเรียนรู ไดแก นักคิด นักจิตวิทยา รวมถึงนักการศึกษา เปนที่ยอมรับวา สามารถนํามาใชประยุกตในการจัดการเรียนการสอน เพื่อสรางแรงจูงใจใหผูเรียนเกิดการเรียนรู หรือ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในแนวทางที่พึงประสงคของผูสอน การเรียนรู หมายถึง การใช กระบวนการเรียนรูคนหาองคความรูและสรางสิ่งประดิษฐหรือชิ้นงานหรือผลผลิต กระบวนการเรียนรู หมายถึง การใชกระบวนการคิด และกระบวนการทางสังคม รวมถึงกระบวนการกลุม เพื่อคนควา ความรู หาผลผลิต ดังนั้น ผูเรียนมิใชเรียนรูเพียงเนื้อหาสาระ จําได ระลึกได เขาใจได แตการเรียนรู ในความหมายที่แทจริง หมายถึง การใชกระบวนการเรียนรู คนหาองคความรูและสรางสิ่งประดิษฐ หรือชิ้นงาน ทฤษฎีการเรียนรู ทิศนา แขมมณี (2548) กลาววา ทฤษฎีเกิดขึ้นไดเพราะคนเรามีความสนใจสิ่งรอบตัว และการสังเกตปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้น แลวเกิดความคิดเบื้องตน (assumption) โดยอาศัย ความคิดสรางสรรค ประกอบกับความคิดอุปนัย (induction) และความคิดนิรนัย (deduction) ซึ่ง ความคิดเบื้องตนที่เกิดขึ้นตองไดรับการยอมรับหรือไมไดรับการยอมรับก็ได ดังนั้นผูที่คิดคน ตอง แสวงหาหลักฐานที่จะสามารถมายืนยันความคิดของตน เรียกวา สมมุติฐาน (hypothesis) เพื่อ นําไปสูการพิสูจนทดสอบ เมื่อทดสอบสมมุติฐานจนเปนที่พอใจแลว ผูคิดคน ก็จะนําความคิดเบื้องตน มาจัดทําหรือเขียนเปนทฤษฎีขึ้น ในลักษณะที่กวาง ไมใชกลาวเฉพาะเจาะจงสถานการณใน สถานการณหนึ่งเทานั้น ทฤษฎีที่ตั้งขึ้นและถือวาเปนทฤษฎีไดตองมีคุณสมบัติอยางนอย 3 ประการ คือ สามารถ อธิบายความจริงหลักของปรากฏการณที่เกิดขึ้นได สามารถนิรนัยความจริงหลักนั้นออกมาเปนกฎ หรือความจริงอื่นๆ ได และสามารถทํานายปรากฏการณนั้นได ทฤษฎีการเรียนรูสําคัญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา ในศตวรรษที21 ผูเขียนไดศึกษา สรุป และวิเคราะหผลงานของ ทิศนา แขมมณี (2548) ใจทิพย ณ สงขลา (2550) สุมาลี ชัยเจริญ (2551) ณัฐกร สงคราม (2553) และสุรางค โควตระกูล (2554) ไดจัดเปนกลุมใหญ 3 กลุม ไดแก (1) ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม (behaviorism) (2) ทฤษฎีการเรียนรูกลุปญญานิยม (cognitivism) และ (3) ทฤษฎีการเรียนรูกลุมคอนสตรัคติวิสต (constructivism) ดังนี1. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรม (behavioral learning theories) แนวคิดพื้นฐานของนักจิตวิทยากลุมพฤติกรรมนิยม คือ ทฤษฎีแรงขับ โดยถือหลักของ ความสมดุล ที่กลาววาโดยธรรมชาติแลวมนุษยเราแสวงหาสถานภาพสมดุลอยูเสมอ หรือมีความโนม

Transcript of บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ...

Page 1: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

บทท่ี 4

แนวคิด หลักการและทฤษฎี ท่ีเก่ียวของกับการเรียนรู

ผูริเริ่มทฤษฎีเรียนรู ไดแก นักคิด นักจิตวิทยา รวมถึงนักการศึกษา เปนที่ยอมรับวาสามารถนํามาใชประยุกตในการจดัการเรียนการสอน เพื่อสรางแรงจูงใจใหผูเรียนเกิดการเรียนรู หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในแนวทางที่พึงประสงคของผูสอน การเรียนรู หมายถึง การใชกระบวนการเรียนรูคนหาองคความรูและสรางสิ่งประดิษฐหรอืช้ินงานหรอืผลผลิต กระบวนการเรียนรู หมายถึง การใชกระบวนการคิด และกระบวนการทางสังคม รวมถึงกระบวนการกลุม เพื่อคนควาความรู หาผลผลิต ดังน้ัน ผูเรียนมิใชเรียนรูเพียงเน้ือหาสาระ จําได ระลึกได เขาใจได แตการเรียนรู ในความหมายที่แทจริง หมายถึง การใชกระบวนการเรียนรู คนหาองคความรูและสรางสิ่งประดิษฐหรือช้ินงาน

ทฤษฎีการเรียนรู

ทิศนา แขมมณี (2548) กลาววา ทฤษฎีเกิดข้ึนไดเพราะคนเรามีความสนใจสิ่งรอบตัว และการสังเกตปรากฏการณตางๆ ที่เกิดข้ึน แลวเกิดความคิดเบื้องตน (assumption) โดยอาศัย ความคิดสรางสรรค ประกอบกับความคิดอุปนัย (induction) และความคิดนิรนัย (deduction) ซึ่งความคิดเบื้องตนที่เกิดข้ึนตองไดรับการยอมรับหรือไมไดรับการยอมรับก็ได ดังน้ันผูที่คิดคน ตองแสวงหาหลักฐานที่จะสามารถมายืนยันความคิดของตน เรียกวา สมมุติฐาน (hypothesis) เพื่อนําไปสูการพิสูจนทดสอบ เมื่อทดสอบสมมุติฐานจนเปนที่พอใจแลว ผูคิดคน ก็จะนําความคิดเบื้องตนมาจัดทําหรือเขียนเปนทฤษฎีข้ึน ในลักษณะที่กวาง ไมใชกลาวเฉพาะเจาะจงสถานการณในสถานการณหน่ึงเทาน้ัน

ทฤษฎีที่ต้ังข้ึนและถือวาเปนทฤษฎีไดตองมีคุณสมบัติอยางนอย 3 ประการ คือ สามารถอธิบายความจริงหลักของปรากฏการณที่เกิดข้ึนได สามารถนิรนัยความจริงหลักน้ันออกมาเปนกฎหรือความจริงอื่นๆ ได และสามารถทํานายปรากฏการณน้ันได

ทฤษฎีการเรียนรูสําคัญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 ผูเขียนไดศึกษา สรุป และวิเคราะหผลงานของ ทิศนา แขมมณี (2548) ใจทิพย ณ สงขลา (2550) สุมาลี ชัยเจริญ (2551) ณัฐกร สงคราม (2553) และสุรางค โควตระกูล (2554) ไดจัดเปนกลุมใหญ 3 กลุม ไดแก (1) ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม (behaviorism) (2) ทฤษฎีการเรียนรูกลุมปญญานิยม (cognitivism) และ (3) ทฤษฎีการเรียนรูกลุมคอนสตรัคติวิสต (constructivism) ดังน้ี

1. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรม (behavioral learning theories)

แนวคิดพื้นฐานของนักจิตวิทยากลุมพฤติกรรมนิยม คือ ทฤษฎีแรงขับ โดยถือหลักของความสมดุล ที่กลาววาโดยธรรมชาติแลวมนุษยเราแสวงหาสถานภาพสมดุลอยูเสมอ หรือมีความโนม

Page 2: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

75

ภาพท่ี 4.2 พาฟลอฟ

เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เชน ความหิว เปนแรงขับใหเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีน้ี ฮัล (hull) ไดใหช่ือวา ทฤษฎีลดแรงขับ (drive reduce theory) มีคําอธิบายดังตอไปน้ี

ภาพท่ี 4.1 ทฤษฎีลดแรงขับ ท่ีมา : สุรางค โควตระกลู (2554: 155)

จากภาพที่ 4.1 แสดงใหเห็นถึงการเกิดพฤติกรรมใดๆ จะมีสิ่งเราที่ทําใหเกิดพฤติกรรม

ข้ึนมากอน จากน้ันจึงเกิดความตองการ ความตองการน้ีเองคือแรงผลัก ที่มนุษยแสวงหาสถานภาพสมดุล จึงแสดงพฤติกรรมออกมา เพื่อลดความตองการลง เชน เมื่อหิว ความตองการคือความหิว และเปนแรงขับหรือแรงกระตุนใหแสวงหาอาหาร และเมื่อรับประทานอาหารอิ่มแลว จะเกิดการลดความตองการ ความหิวเปนแรงขับ (drive) หรือแรงจูงใจ (motive)

ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม เกิดข้ึนในชวงกลางศตวรรษที่ 20 ไดรับการยอมรับจากนักการศึกษาอยางกวางขวางต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน เช่ือวาการเรียนรูของมนุษยน้ัน เปนวิธีการทางวิทยาศาสตร ที่สามารถสังเกตและวัดพฤติกรรมไดจากผูประเมินภายนอกอยางเปนรูปธรรม กลุมน้ีมองวาธรรมชาติของมนุษยเหมือนผาขาวที่วางเปลา ไมมีดานดีหรือดานเลว การกระทําตางๆ ที่แสดงออกมาเกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดลอมที่เกิดข้ึน ถูกจัดกระทําหรือถูกต้ังเงื่อนไขไวลวงหนา พฤติกรรมที่แสดงออกมาใหเห็นน้ัน เกิดข้ึนจากการตอบสนองจากสิ่งเรา การเรียนรูจึงเกิดจากการเช่ือมโยงระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง เชน ตัวอยางงานของ บี เอฟ สกินเนอร ไดใหหลักการวา การเรียนรู เปนการอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมตางๆ ของผูเรียนที่กระทําในการตอบสนองเหตุการณในสิ่งแวดลอมน้ันๆ การเรียนรูตามแนวคิดกลุมพฤติกรรมนิยม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเปนผลอันเน่ืองมาจากประสบการณที่คนเรามีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมหรือจากการฝกหัดงาน ผูสอนมีหนาที่จัดสิง่แวดลอมทาง และกระบวนการเรียนรูใหมีดีที่สุดเพื่อทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ องคประกอบของการเรียนรูมี 4 ประการ ไดแก (1) แรงขับ (2) สิ่งเรา (3) การตอบสนอง และ (4) การเสริมแรง มีแนวคิดสําคัญ ดังน้ี

1.1 ทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ (Pavlov's classical conditioning theory) อีแวน พาโตรวิช พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov, 1849-1936) นักสรีรวิทยา

ชาวรัสเซีย ไดรับรางวัลโนเบลจากการวิจัยเรื่อง สรีรวิทยาการยอยอาหาร เมื่อป ค.ศ.1904 ขณะวิจัยเขาสังเกตสุนัขมีนํ้าลายไหลออกมาเมื่อเห็นผูทดลองนําอาหาร

สิ่งเรากอนเกิดพฤติกรรม (antecedent stimulus)

ความตองการ

(needs)

แรงขับ (drive)

การตอบสนองหรือพฤติกรรม (response or behavior)

การลดความตองการ (need reduction)

Page 3: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

76

มาให เขาสนใจพฤติกรรมน้ีมาก จนหันมาสนใจเกี่ยวกับดานจิตเวช จึงคิดศึกษาเรื่องน้ีอยางมีระบบระเบียบ ใชวิธีการทางวิทยาศาสตรอยางละเอียด เพื่อศึกษาพฤติกรรม ที่มีวิธีการควบคุมอยางดี ทฤษฎีของเขาสามารถแสดงใหเห็นวา การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยการทดลองที่ทําใหสุนัขนํ้าลายไหลเมื่อไดยินเสียงกระด่ิง และพบหลักการเรียนรู ที่เรียกวา classical conditioning วิธีการศึกษาคือ เริ่มจากการฝกสุนัขใหยืนน่ิงในที่ตรึงในหองทดลอง ที่ขางแกมของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของนํ้าลาย จากน้ันเขาสูกระบวนการวางเงื่อนไข โดยการสั่นกระด่ิงและใหผงเน้ือแกสุนัข โดยทําซ้ําควบคูกันหลายครั้งและในที่สุดหยุดใหอาหาร เพียงแตสั่นกระด่ิงอยางเดียว ปรากฏวาสุนัขยังคงนํ้าลายไหลอยู ลักษณะน้ีคือการตอบสนองที่ตองวางเงื่อนไข (conditional response : CR) ที่เปนผลจากการเรียนรูแบบวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก เขาเช่ือวาการเรียนรูของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไขหรือมีการสรางสถานการณใหเกิดข้ึน เมื่อสุนัขไดยินเสียงกระด่ิงแลวนํ้าลายไหล เสียงกระด่ิง คือ สิ่งเราที่วางเงื่อนไขไวแลว (conditioned stimulus: S) เพื่อใหเกิดการเรียนรู จึงเรียกพฤติกรรมเชนน้ีวา พฤติกรรมเสปอนเดนท (respondent behavior)

การเรียนรูของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการตอบสนองที่เปนไปโดยอัตโนมัติเมื่อนําสิ่งเราใหมที่วางเงื่อนไขไวแลว มาควบคูกับสิ่งเราเดิมที่ไมไดวางเงื่อนไข ทิศนา แขมมณี (2548) สรุปไวดังน้ี

1) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยเกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองตอความตองการทางธรรมชาติ (สุนัขนํ้าลายไหลเมื่อไดรับผงเน้ือ)

2) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยสามารถเกิดข้ึนไดจากสิ่งเราที่เช่ือมโยงกับสิ่งเราธรรมชาติ (สุนัขนํ้าลายไหลเมื่อไดยินเสียงกระด่ิง)

3) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยตอสิ่งเราที่เช่ือมโยงกับสิ่งเราตามธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อไมไดรับการตอบสนองตามธรรมชาติและหยุดลงในที่สุดหากไมไดรับการตอบสนองตามธรรมชาติ (เมื่อสั่นกระด่ิงโดยไมใหผงเน้ือ ติดๆกันหลายครั้งสุนัขจะหยุดนํ้าลายไหล)

4) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย ตอสิ่งเราที่เช่ือมโยงกับสิง่เราตามธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อไมไดรับการตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลับมาปรากฏข้ึนไดอีกโดยไมตองใชสิ่งเราตามธรรมชาติ

5) มนุษยมีแนวโนมที่จะรับรูสิ่งเราที่มีลักษณะคลายๆ กัน และจะตอบสนองเหมือนๆ กัน

6) บุคคลมีแนวโนมที่จะจําแนกลักษณะของสิ่งเราใหแตกตางกันและเลือกตอบสนองไดถูกตอง

7) กฎแหงการลดภาวะ (law of extinction) พาฟลอฟ กลาววา ความเขมของการตอบสนองจะลดลงเรื่อยๆ หากบุคคลไดรับแตสิ่งเราที่วางเงื่อนไขอยางเดียว หรือความสัมพันธระหวางสิ่งเราที่วางเงื่อนไขกับสิ่งเราที่ไมวางเงื่อนไขหางกันออกไปมากข้ึน

8) กฎแหงการฟนคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ (law of spontaneous recovery) คือ การตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไขทีล่ดลง สามารถเกิดข้ึนไดอีก โดยไมตองใชสิ่งเราที่มีวางเงื่อนไขมาเขาคู

Page 4: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

77

ภาพท่ี 4.3 วัตสัน

9) กฎแหงการถายโยงการเรียนรูสูสถานการณอื่นๆ (law of generalization) กลาวคือ เมื่อเกิดการเรียนรูจากการวางเงื่อนไขแลว หากมีสิ่งเราคลายๆ กับสิ่งเราที่วางเงื่อนไขมากระตุน อาจทําใหเกิดการตอบสนองที่เหมือนกันได

10) กฎแหงการจําแนกความแตกตาง (law of discrimination) หากมีการใชสิ่งเราที่วางเงื่อนไขหลายแบบ สามารถชวยใหเกิดการเรียนรูไดโดยสามารถแยกความแตกตางและเลือกตอบสนองเฉพาะสิ่งเราที่วางเงื่อนไขเทาน้ันได

การนําไปใชเปนหลักการในการจัดการเรียนการสอน มีแนวทาง ดังตอไปน้ี 1) การนําความตองการทางธรรมชาติของผูเรียนมาใชเปนสิ่งเรา สามารถชวยใหผูเรียน

เกิดการเรียนรูไดดี ตัวอยางเชน ถาเด็กชอบเลนตุกตาสัตว ผูสอนควรสนใหเด็กอานและเขียนช่ือสัตวตางๆ โดยใหตุกตาสัตวเปนรางวัล

2) การจะสอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูในเรื่องใด อาจใชวิธีเสนอสิ่งที่จะสอนไปพรอมๆ กับสิ่งเราที่ผูเรียนชอบตามธรรมชาติ ตัวอยางเชน ผูสอนรูวาเด็กชอบฟงนิทาน จึงใหเด็กเขียนคําศัพทที่ใชในนิทานน้ันไปพรอมๆ กับการเลานิทาน

3) การนําเรื่องที่เคยสอนไปแลวมาสอนใหม จะชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูตามที่ตองการได 4) การจัดกิจกรรมการเรียนใหตอเน่ืองและมีลักษณะคลายคลึงกัน สามารถใหผูเรียนเกิด

การเรียนรูไดงายข้ึน เพราะมีการถายโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหม 5) การเสนอสิ่งเราที่ชัดเจนในการสอน จะสามารถจะสามารถชวยใหผูเรยีนเกิดการเรยีนรู

และตอบสนองไดขัดเจนข้ึน 6) หากตองการใหผูเรยีนเกิดพฤติกรรมใด ควรมีการใชสิ่งเราหลายแบบ แตตองมีสิ่งเราที่

มีการตอบสนองโดยไมมีเงื่อนไขควบคูอยูดวย เชน ถาผูสอนตองการใหผูเรียนเขาหองเรียนตรงเวลา และผูสอนรูวาผูเรียนตองการรูคะแนนสอบของตน ครูอาจต้ังเงื่อนไขวาจะมีการสอบยอยเรื่องที่เรียนไปแลวในตอนตนช่ัวโมงทุกครั้ง ผูเรียนจะตอบสนองโดยการเขาเรียนตรงเวลา แตเงื่อนไขน้ีครูตองอยางสม่ําเสมอและมีเหตุผล ถาทําไมสม่ําเสมอ อาจเกิดการลดภาวะได

1.2 ทฤษฎีการวางเง่ือนไขของวัตสัน (Watson's conditioning theory) จอหน บี วัตสัน (John B. Watson, 1878-1958) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ถือไดวา

เปนบิดาของจิตวิทยาพฤติกรรมนิยมเปนผูริเริม่คําศัพท Behaviorism เพราะถือวา จิตวิทยาเปนวิทยาศาสตรอยางแทจรงิ เพราะสามารถวัดและสังเกตเห็นไดอยางเปน รูปธรรม และเปนการศึกษาแบบปรนัยมากกวาอัตวิสัย ที่เกี่ยวของกับความรูสึกนึก คิดของคน วัตสัน ไดนําเอาทฤษฎีของพาฟลอฟ มาเปนหลักสําคัญในการอธิบายเรื่องการเรียน เขามีความเห็นวา บุคคลเกิดการเรียนรูไดเพราะมีการวางเงื่อนไข และผลจากการวางเงื่อนไขน้ีเองจะสรางพฤติกรรมการเรียนรูใหเกิดข้ึนอยางสม่ําเสมอกับบุคคล กลายเปนพฤติกรรมความเคยชิน และจะคงทนถาวรนานเพียงใดไมไดข้ึนอยูกับรางวัลหรือการเสริมแรง แตเกิดจากการที่บุคคลสรางความสัมพันธเช่ือมโยงกับสิ่งเราบอยครั้งเพียงใด โดยเฉพาะกับความกลัวซึ่งเปนอารมณที่สามารถตอบสนองสิ่งเราไดเองตามธรรมชาติโดยไมตองมีการวางเงื่อนไข เขาเช่ือวาจะสามารถวางเงื่อนไขพฤติกรรมความกลัวกับสิง่เราอื่นตามตองการและสามารถลบพฤติกรรมความกลัวใหหายไปได

Page 5: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

78

วัตสัน ไดทําการทดลองโดยรวมมือกับผูหญิงคนหน่ึง ที่อนุญาตใหนําลูกชายวัย 11 เดือนช่ือ อัลเบิรต มารวมทดลอง โดยใหเลนกับหนูขาว โดยเขาใหขอสังเกตวาโดยธรรมชาติของเด็กเล็กจะกลัวเสียงที่ดังข้ึนอยางกะทันหัน แตมักจะไมกลัวสัตวเลี้ยงประเภทหนูหรือกระตาย ดังภาพที่ 4.4

ภาพท่ี 4.4 ข้ันตอนการทดลองของวัตสัน ท่ีมา: http://dandradebehaviorism.weebly.com และ http://www.simplypsychology.org

การทดลองเริ่มตนโดยนําหนูขาวสงใหกับอัลเบิรต เด็กย่ืนมือมารับและเลนกับหนูขาว

อยางไมกลัว (ภาพ A1-A3) ในขณะน้ันเอง วัตสันรอใหเด็กเผลอ จึงใหผูชวยตีแผนเหล็กใหเกิดเสียงดังสน่ัน น่ันคือใหเสียงดังกลาวเปนสิ่งเราที่ไมตองวางเงื่อนไข (unconditioned stimulus: UCS) ซึ่งจะกอใหเกิดการตอบสนองที่ไมตองการวางเงื่อนไข (conditioned response: CR) คือความกลัว จนเด็กตกใจกลัวรองให (ภาพที่ B1-B3) หลังจากน้ันในครั้งตอๆ ไป เมื่อเด็กกําลังย่ืนมือมารับหนูขาว ซึ่งเปนสิ่งเราที่ตองวางเงื่อนไข (conditioned stimulus: CS) ผูชวยตีแผนเหล็กใหเกิดเสียงดังสน่ันอีก โดยทําซ้ําๆ หลายครั้ง โดยแตละครั้ง พฤติกรรมการตอบสนองของเด็กตอสิ่งเราทั้งสองเริ่มเขมขนข้ึนเรื่อยๆ จนตอมาเมื่อย่ืนหนูขาวใหเพียงอยางเดียวโดยไมตองตีแผนเหล็ก เด็กก็ตกใจคลานหนีไปรอบๆ เพียง 7 ครั้งในระยะเวลา 1 สัปดาห ตอมาวัตสันทดลองใหอัลเบิรตหายกลัว โดยขณะที่นําหนูขาวมาให แมจะคอยกอดเด็กไว ทําใหเด็กรูสึกปลอดภัย ทําเชนน้ีบอยๆ ครั้ง จนพฤติกรรมการกลัวหนูของเด็กลดลงและในที่สุดก็หายกลัวและสามารถรับหนูขาวมาเลนไดเหมือนเดิม หลักการน้ีเรียกวา counter conditioning ซึ่งภายหลังจิตแพทยช่ือโวลเพ (Wolpe) ไดนําวิธีการน้ีมาใชรักษาคนไขที่มีความกลัวในสิ่งแปลกๆ และตอมาเขาไดเปนบิดาแหงการบําบัด วัตสันไดสรุปเปนกฎการเรียนรู ดังน้ี

1. พฤติกรรมเปนสิ่งที่สามารถควบคุมใหเกิดไดโดยการควบคุมสิ่งเราที่วางเงื่อนไขใหสัมพันธกับสิ่งเราตามธรรมชาติ และการเรียนรูก็จะคงทนถาวร หากมีการใหสิ่งเราที่สัมพันธกันน้ันควบคูกันไปอยางสม่ําเสมอ

2. เมื่อสามารถทําใหเกิดพฤติกรรมใดๆ ได ก็สามารถลดพฤติกรรมน้ันใหหายไปได สําหรับการนําไปใชเปนหลักการในการจัดการเรียนการสอน มีแนวทาง ดังน้ี

Page 6: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

79

ภาพท่ี 4.5 ธอรนไดค

2.1 ในการสรางพฤติกรรมอยางใดอยางหน่ึงใหเกิดข้ึนในผูเรียน ควรพิจารณาสิ่งจูงใจหรือสิ่งเราที่เหมาะสมกับภูมิหลังและความตองการของผูเรียน มาใชเปนสิ่งเราควบคูกันไปกับสิ่งเรา ที่วางเงื่อนไข เชน ถาตองการใหเด็กตอบคําถามผูสอน ก็ควรต้ังคําถามใหเด็กตอบโดยแสดงทาทางที่ใหความอบอุนใจและใหกําลังใจแกเด็ก จะทําใหเด็กเกิดความมั่นใจในการตอบคําถาม และถาผูสอนใชวิธีการน้ีซ้ําๆ อยางสม่ําเสมอ เด็กจะเกิดการเรียนรูและมีความคงทนในการแสดงพฤติกรรม

2.2 การลบพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนา สามารถทําไดโดยหาสิ่งเราตามธรรมชาติที่ไมไดวางเงื่อนไขมาชวย เชน หากผูเรียนไมชอบทําการบานคณิตศาสตร ผูสอนอาจใชความเปนมิตร และเปนกันเอง ใหความดูแลเอาใจใสและใหความชวยเหลืออยางใกลชิด สิ่งเราเหลาน้ีตามธรรมชาติเหลาน้ีสามารถชวยเปลี่ยนพฤติกรรมได

1.3 ทฤษฎีความสัมพันธเชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike's connectionism theory) เอ็ดเวิรด ลี ธอรนไดค (Edward Lee Thorndike, 1814-1949) นักจิตวิทยาและ

นักการศึกษา ชาวอเมริกัน เปน บิดาแหงจิตวิทยาการศึกษา เขาเช่ือวาการเรียนรู เกิดจากการเช่ือมโยงระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะ

มีการลองผิดลองถูก (trial and error) ปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกวาจะพบรูปแบบการ ตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียว และจะพยายามใชรูปแบบน้ันเช่ือมโยงกับสิ่ง

เราในการเรียนรูตอไปเรื่อยๆ เรียกวา S-R Model รวมถึงใหความสําคัญตอการใหการเสริมแรง (reinforcement) ที่จะทําใหเกิดการเช่ือมโยงและการตอบสนองเพิ่มข้ึน กลาวไดวาสิ่งเราใดที่ทําใหเกิดการตอบสนองและการตอบสนองน้ันไดรับการเสริมแรง จะทําใหเกิดการเช่ือมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองน้ันเพิ่มมากข้ึน โดยเนนการใหรางวัลมากกวาลงโทษ เขาเริ่มการทดลองเมื่อ ค.ศ.1898 โดยใชกรงปริศนาหรือหีบกล

ภาพท่ี 4.6 Thorndike's Puzzle-Box ท่ีมา: http://4.bp.blogspot.com

ธอรนไดค จับแมวที่กําลังหิวจัดใสเขาไปในกลองปญหา (Puzzle-Box) ที่มีแผนไม

กระเด่ือง ซึ่งมีกลไกเช่ือมอยูกับประตู และนําจานใสปลาแซลมอนวางไวนอกกรง ในตําแหนงที่แมวสามารถมองเห็นและไดกลิ่น เมื่อนําแมวใสในกลองครั้งแรก แมวแสดงพฤติกรรมตางๆ เพื่อหาทางออกมากินปลา เชน เดินวนไปมา ปนปาย ตะกุย แหยขาออกมาขางนอก เปนตน จากน้ันบังเอิญแมวไป

Page 7: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

80

ภาพท่ี 4.7 สกินเนอร

เหยียบถูกแผนไมกระเด่ืองทําใหประตูเปดและสามารถออกมากินปลาได ในการทดลองครั้งตอๆ ไป เมื่อปลอยแมวตัวเดิมลงไปในกลอง ผลปรากฏวาพฤติกรรม เดินวนไปมา ปนปาย ลดดอยลง สวนพฤติกรรมเหยียบแผนไมกระเด่ือง แมวสามารถทําไดเร็วข้ึน จนในที่สุดหลักจากการทดลองครบ 100 ครั้ง โดยทิ้งระยะเวลานานประมาณ 1 สัปดาหแลวทดสอบ เมื่อจับแมวตัวเดิมมาทําใหหิวแลวจับใสในกลองใหม แมวจะใชเทาเหยียบแผนไมกระเด่ืองออกมากินอาหารทางประตูที่กั้นดวยไมกระเด่ืองทันที ลักษณะเชนน้ี ไมใชการใชสติปญญาในการแกปญหาเขาอธิบายไดดวยทฤษฎีการเช่ือมโยง ซึ่งเปนการเช่ือมโยงระหวางสิ่งเรา (stimulus: S) กับการตอบสนอง (response: R) โดยมีหลักเบื้องตนวา การเรียนรูเกิดจากการเช่ือมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเปนรูปแบบตางๆ หลายรูปแบบ น่ันคือการเลือกตอบสนองของผูเรียนจะกระทําดวยตนเอง ไมมีผูใดมากําหนดหรือช้ีชองทางในการปฏิบัติให และเมื่อเกิดการเรียนรูข้ึนแลว การตอบสนองหลายรูปแบบจะหายไป เหลือเพียงการตอบสนองรูปแบบเดียวที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทําใหการตอบสนองเชนน้ันเช่ือโยงกับสิ่งเราที่ตองการใหเรียนรูตอไปเรื่อยๆ ดังน้ัน จากการทดลอง สรุปเปนกฎไดวา

1) กฎแหงความพรอม (law of readiness) การเรียนรูจะเกิดข้ึนไดดี ถาหากผูเรียนมีความพรอมทั้งรางกายและจิตใจ

2) กฎแหงการฝกหัด (law of exercise) การฝกหัดหรือกระทําบอยๆ ดวยความเขาใจจะทําใหการเรียนรูน้ันคงทนถาวร ถาไมไดกระทําซ้ําบอยๆ การเรียนรู

3) กฎแหงการใช (law of use and disuse) การเรียนรู เกิดจากการเช่ือมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง ความมั่นคงของการเรียนรูจะเกิดข้ึน หากมีการนําไปใชบอยๆ หากไมมีการนําไปใชอาจมีการลืมเกิดข้ึนได

4) กฎแหงผลที่พึงพอใจ (law of effect) เมื่อบุคคลไดรับผลที่พึงพอใจยอมอยากจะเรียนรูตอไป แตถาไมไดรับผลที่พึงพอใจ จะไมอยากเรียนรู ดังน้ันการไดรับผลที่พึงพอใจ จึงเปนปจจัยสําคัญในการเรียนรู

การนําไปใชเปนหลักการในการจัดการเรียนการสอน มีแนวทาง ดังตอไปน้ี 1) เปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนแบบลองผิดลองถูกบาง จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูใน

วิธีการแกปญหา จดจําและมีความภาคภูมิใจในการกระทําสิ่งตางๆ ดวยตนเอง 2) สํารวจความพรอมหรือสรางความพรอมของผูเรียน เชน สรางบรรยากาศใหผูเรียนเกิด

ความอยากรูอยากเรียน การสํารวจความรูพื้นฐานเพื่อเช่ือมความรูเดิมกับความรูใหม 3) หากตองการใหผูเรียนมีทักษะดานใดจะตองชวยใหเขาเกิดความเขาใจในเรื่องน้ันอยาง

แทจริงใหฝกฝนโดยกระทําสิ่งน้ันบอยๆ แตตองไมใหซ้ําซากจนผูเรียนเบื่อหนาย 4) เมื่อผูเรียนเกิดการเรียนรูแลวตองใหผูเรียนนําการเรียนรูน้ันไปใชบอยๆ 5) ใหสิ่งเราหรือรางวัลเพื่อใหผูเรียนพอใจ เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู

1.4 ทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบโอเปอรแรนต ( Skinner's operant conditioning theory) เบอรฮัส เอฟ สกินเนอร (Burhus F. Skinner, 1904-1990) เจาของทฤษฎีการวาง

เงื่อนไขแบบการกระทํา เปนนักจิตวิทยาและนักการศึกษา ชาวอเมริกัน ที่มีช่ือเสียง

Page 8: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

81

เขามีแนวคิดคานกับพาฟลอฟและวัตสัน วาพฤติกรรมการเรียนรูทั้งหลายของมนุษย น้ันเกิดจากการที่รางกายเปนตัวสั่งใหแสดงการกระทําเพื่อตอบสนองตอสิ่งเราหรือ สถานการณทั้งหลาย ไมใชสิ่งเราหรือสถานการณมากระตุนใหรางกายกระทํา พฤติกรรมเชนน้ี เรียกวา พฤติกรรมโอเปอรแรนต หรือแบบการกระทํา เขาเห็นคลองกับธอรนไดคในเรื่องการเสรมิแรง เพราะพฤติกรรมใดที่มีการเสริมแรง จะมีแนวโนมที่จะเกิดข้ึนซ้ําอีก สวนพฤติกรรมที่ไมไดรับการเสริมแรงจะมีแนวโนมลดลงและหายไปในที่สุด และเปนผูคนคิด teaching machine และ skinner box ดังภาพที่ 4.8 และ 3.9

ภาพท่ี 4.8 teaching machine ท่ีมา: http://luderacy.com

นอกจากน้ีเขายังเปนผูคิดคนบทเรียนแบบสําเร็จรูปหรือการสอนแบบโปรแกรม

(programmed instruction) ซึ่งมีประโยชนตอวงการศึกษาเปนอยางมากและถือวาเปนตนกําเนิดของมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา เขากลาววา คําวา สอน และการวางเง่ือนไขแบบโอเปอรแรนต ควรมีความหมายเหมือนกัน เพราะผูสอนมุงหวังที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมของผูเรียนวาจะใหเรียนรูอะไร

สกินเนอรไดทดลองตามแนวคิดของเขาดวยการใชหนูและนกเปนสัตวทดลอง โดยใหหนูที่หิวอาหารเขาไปอยูใน skinner box ภายในกลองมีคาน เมื่อหนูกดแลวจะมีอาหารใหกินพรอมกับเงื่อนไขที่มีเสียงดังแกรก ผลการทดลองปรากฏวา ครั้งแรกน้ันเมื่อหนูว่ิงไปมาแลวบังเอิญไปกดถูกคานแลวมีอาหารหลนลงมา หนูกินและเวียนมากดคานและรับอาหาร เปนการเรียนรูแบบ generalization คือ กดคานเทาน้ันแลวไดรับอาหาร แสดงวาคานคือสิ่งเรา อาหารเปนตัวเสริมแรง ตอมาหนูเรียนรูวากดคานแลวมีเสียงดัง จึงจะไดรับอาหาร เปนการเรียนรูแบบ discrimination จากน้ันเขาเปลี่ยนการทดลอง โดยงดใหอาหารเมื่อหนูกดคานแตยังมีเสียงดังตามปกติ พบวาหนูจะกดคานตออีก 2-3 ครั้งเทาน้ัน ก็เลิกกด

สกินเนอรทําการทดลองกับนกพิราบ โดยนํานกที่กําลังหิวใสลงไปในกลอง ภายในมีแปนสีตางๆ หลายสี แตมีเพียงสีแดงเทาน้ันที่นกจิกจะมีอาหารหลนลงมา เขาสังเกตวา เมื่อนกพิราบเขาไปในกลองมันจะแสดงพฤติกรรมเชนเดียวกับหนู คือเดินไปเดินมาแลวจิกไปทั่ว ไมวาจะเปนกลอง

Page 9: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

82

แปนสี จนบังเอิญนกจิกแปนสีแดงแลวอาหารหลนลงมาใหนกไดกิน และเวลาในการแสดงพฤติกรรมตางๆ กอนจิกแปนสีแดงก็ลดลงไปเรื่อยๆ สุดทายเมื่อนกเขาไปในกลอง จะตรงไปจิกแปนสีแดงทันที แสดงวานกพิราบเกิดการเรียนรูเชนเดียวกันกับหนู ดังภาพที่ 4.9

ภาพท่ี 4.9 skinner box ท่ีมา: http://www.minnesotaalumni.org

สกินเนอร แบงการเสริมแรงออกเปน 2 ประเภท คือ (1) การเสริมแรงทางบวก

(positive reinforcement) และ (2) การเสริมแรงทางลบ (negative reinforcement) การเสริมแรงทางบวก หมายถึง สิ่งของ คําพูด หรือสภาพการณ ที่จะชวยกระตุนให

คนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคเพิ่มข้ึน เชน การใหของขวัญ รางวัล คําชมเชยเมื่อผูเรียนตอบคําถามไดถูกตอง สวนการเสริมแรงทางลบ หมายถึง การเปลี่ยนสภาพการณ หรือเปลี่ยนสิ่งแวดลอมบางอยาง โดยการงด ไมให หรือดึงเอาสิ่งเราที่ผูเรียนพึงพอใจออกไป แตไมใชการลงโทษ เพราะการลงโทษ มักจะทําหลังจากผูเรียนมีพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนา โดยหยุดพฤติกรรมน้ันทันที แรงเสริมมี 2 ชนิด คือ (1) การใหแรงเสริมทุกครั้ง และ (2) การใหแรงเสริมเปนครั้งคราว โดยแบงยอเปน 4 ประเภท คือ การใหแรงเสริมตามชวงเวลาที่แนนอน ชวงเวลาที่ไมแนนอน ตามอัตราสวนที่แนนอน และอัตราสวนที่ไมแนนอน จากผลการทดลองของสกินเนอร สรุปเปนกฎการเรียนรูไดดังน้ี

1) การกระทําใดๆ ถาไดรับการเสริมแรงจะมีแนวโนมที่จะเกิดข้ึนอีก ถาไมมีการเสริมแรง แนวโนมของความถ่ีในการกระทําน้ันจะลดลงและหายไปในที่สุด

2) การเสริมแรงที่ไมแนนอนทําใหการตอบสนองคงทนมากกวาการเสริมแรงที่แนนอน

3) การลงโทษทําใหเรียนรูเร็วและลืมเร็ว 4) การใหแรงเสริมหรือรางวัลกับพฤติกรรมที่ตองการ ชวยปรับ/ปลูกฝงนิสัยที่

ตองการได

Page 10: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

83

ภาพท่ี 4.10 เพียเจต

การนําไปใชเปนหลักการในการจัดการเรียนการสอน มีแนวทาง ดังตอไปน้ี 1) ใหการเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสมของเด็กชวยเพิ่มอัตราการ

ตอบสนองน้ัน 2) การเวนระยะการเสรมิแรงอยางไมเปนระบบหรือเปลี่ยนรปูแบบการเสริมแรงชวย

ใหการตอบสนองของผูเรียนคงทนถาวร 3) การลงโทษที่รุนแรงเกินไปมีผลเสียมาก ผูเรียนอาจไมเรียนรูหรือจําในสิ่งที่เรียน

ไดเลย 4) หากตองการปลูกฝงนิสัย ใหแยกปฏิกิริยาตอบสนองออกเปนลําดับข้ันตอน

2. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมปญญานิยม (cognitivism learning theories)

แนวคิดของกลุมปญญานิยมมองตางจากกลุมพฤติกรรมนิยม ที่วาพฤติกรรมของมนุษยไมใชผาขาวที่สามารถยอมใหเปนสีใดก็ได แตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจะเกิดข้ึนภายในตัวมนุษยเอง การเรียนรูเปนผลของกระบวนการคิด การรับรูสิ่งเราที่มากระตุน เช่ือมตอกับประสบการณเดิมและสรางประสบการณใหม ทําใหเกิดการเรียนรูข้ึน ตามโครงสรางทางปญญา (schema) ภายในที่มีลักษณะเปนโหนด (node) ข้ันแรกมนุษยจะนําความรูใหมไปเก็บพักที่ความจําระยะสั้น (short-term memory) เมื่อถูกกระตุนหรอืมีวิธีการจดจําหรือเขาใจความรูใหมแลว จะนําไปเช่ือมโยงกับความรูเดิม (prior knowledge) เกิดเปนความรูและจดจําอยางถาวร (long-term memory) พรอมที่จะคนคืนหรือระลึกไดในที่สุด (recall) ลักษณะเชนน้ีจําเปนตองอาศัยกระบวนการทางปญญา (cognitive process) เขามาเปนสวนหน่ึงของกระบวนการเรียนรูดวย นอกจากน้ีกลุมปญญานิยมยังเนนการรับรู การคิดอยางมีเหตุผล การตัดสินใจ การแกปญหา และการสรางจินตนาการ มากกวาการวางเงื่อนไขเพื่อใหเกิดพฤติกรรรม รวมทั้งคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลดวย มีแนวคิดสําคัญ ดังน้ี

2.1 ทฤษฎีพัฒนาการเชาวปญญาของเพียเจต (cognitive development theory) ฌอง เพียเจต (Jean Piaget, 1896 - 1980) นักจิตวิทยาชาวสวิสเซอรแลนด เขาได

ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางดานสติปญญาของเด็กวามีข้ันตอนหรือกระบวนการอยางไร เขาสรุปวาพัฒนาการทางสติปญญาของบุคคลเปนไปตามวัยตางๆ ตามลําดับข้ัน ดังน้ี

1.ข้ันการรับรูดวยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว ต้ังแตแรกเกิดจนถึง 2 ป เด็กวัยน้ี จะยึดตัวเองเปนศูนยกลางและยังไมสามารถเขาใจความคิดของผูอื่น

2. ข้ันกอนปฏิบัติการคิด ชวงอายุ 2-7 ป ความคิดข้ึนอยูกับการเรียนรูและการใชสัญลักษณ ไมสามารถใชเหตุผลลกึซึง้ มีพัฒนาการดานการใชภาษาเปนรูปประโยค รูจักคําเพิ่มข้ึนและคิดในใจได

3. ข้ันการคิดอยางมเีหตุผลและเปนรูปธรรม ชวงอายุ 7-11 ป พัฒนาการจะสูงกวาข้ันที่ 2 มาก สามารถใชเหตุผลในการตัดสินใจในปญหาตางๆ ไดดี มีการจินตนาการในความคิดของตน เปรียบเทียบหรือจัดหมวดหมูสิ่งรอบตัวได เรียงลําดับสิ่งที่มีคุณสมบัติที่ตางกันได และคิดยอนกลับไปมาได

Page 11: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

84

ภาพท่ี 4.11 บรูเนอร

4. ข้ันการคิดอยางมีเหตุผลและนามธรรม อายุ 12 ป จนถึงวัยผูใหญ เปนระยะพัฒนาการถึงจุดสูงสุด เริ่มคิดแบบผูใหญ เขาใจสิ่งที่เปนนามธรรมได ต้ังสมมุติฐานและสรางทฤษฎีแบบนักวิทยาศาสตรได เปนตัวของตัวเอง ตองการอิสระ ไมยึดตนเองเปนศูนยกลาง รูจักใชเหตุผลและคิดยอนกลับไปมาไดดีข้ึน

จากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา เพียเจตไดนําเสนอหลักการเรียนรูสําหรับเด็ก ดังน้ี 1. ในการจัดประสบการณควรคํานึงถึงพัฒนาการของเด็ก แมอายุเทากันแต

พัฒนาการอาจไมเทากัน ไมควรเปรียบเทียบเด็กหรอืบังคับ ควรใหอิสระ เพราะเด็กจะเกิดเจตคติที่ไมดีตอการเรียนรู

2. ใหความสนใจและสังเกตเด็กอยางใกลชิด จะชวยใหทราบลักษณะเฉพาะตัวของเด็ก 3. เด็กจะรับรูสวนรวมไดดีกวาสวนยอยดังน้ันควรสอนภาพรวมกอนแลวแยกสอนที่

ละสวน 4. สอนในสิ่งที่เด็กคุนเคยหรือมีประสบการณกอนแลวจึงเสนอสิ่งใหมที่สัมพันธกับ

สิ่งเกา จะชวยใหกระบวนการซึมซับและจัดระบบความรูของเด็กเปนไปดวยดี 5. การเปดโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณและมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมมากๆ

ชวยใหเด็กดูดซึมขอมูลเขาสูโครงสรางทางสติปญญา ชวยสงเสริมพัฒนาการทางสติปญญาของเด็ก

2.2 ทฤษฎีการเรียนรูโดยการคนพบของบรูเนอร (discovery learning theory) เจอรโรม บรูเนอร (Jerome Bruner, 1915-ปจจุบัน) ศาสตราจารยทางจิตวิทยา

แหงมหาวิทยาวิทยาลัยฮาวารด เขาสนใจในงานของเพียเจต และเห็นดวยที่วาเรา มีโครงสรางทางปญญา หรือ cognitive structure และการเรียนรูที่ไดผลดีที่สุดคือ

ผูเรียนคนพบการเรียนรูดวยตนเอง เขาไดแบงพัฒนาการทางสติปญญาและการคิด ของมนุษย ออกเปน 3 ข้ัน คือ

1. ขั้นแสดงออกดวยการกระทํา (enactive stage) เปนข้ันการรับรูดวยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของเพยีเจต เด็กเรียนรูข้ันน้ีจากการกระทํา (learning by doing) มากที่สุด

2. ขั้นสรางภาพแทนใจ (iconic stage) เปนข้ันปฏิบัติการคิดและข้ันนึกออกเองโดยไมตองใชเหตุผล เกิดความคิดจากการรับรูความจริงเปนสวนใหญ มีจินตนาการบางแตไมสามารถคิดไดลึกซึ้ง

3. ขั้นใชสัญลักษณ (symbolic stage) เปนพัฒนาการข้ันสูงสุด เกิดความคิดรวบยอดในสิ่งตางๆ ที่ซับซอนไดมากข้ึนดวยการจัดระเบียบโครงรางตางๆ ข้ึนมาดวยตนเอง

Page 12: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

85

ภาพท่ี 4.13 ออซูเบล

ภาพท่ี 4.12 พัฒนาการทางสติปญญาและการคิดของมนุษย ท่ีมา: ปรบัจาก http://brunerwiki.wikispaces.com

บรูเนอรไดสรุปขอดีและขอจํากัดของการจัดการเรียนรูโดยการคนพบ ดังน้ี 1. การเรียนรูโดยการคนพบ จะชวยฝกทักษะการสังเกตและพัฒนาความคิดของ

ผูเรียนโดยเฉพาะการคิดที่มีเหตุผลและสมเหตุสมผล 2. ผูเรียนจะจดจําสิ่งที่เรียนรูโดยการคนพบไดนาน เพราะเรียนรูจากประสบการณตรง 3. การเรียนรูโดยการคนพบเปนการเรียนรูที่เกิดจากแรงจูงใจภายในเพื่อเรียนรูและ

ทําใหผูเรียนเกิดความภูมิใจในตนเองที่สามารถคนพบคําตอบที่ถูกตองได 4. ไมสามารถใชการเรียนรูโดยการคนพบทุกแขนงวิชา โดยเฉพาะวิชาที่เสี่ยง

อันตรายหรือวิชาที่เกี่ยวของกับเหตุการณที่ผานมานานแลว เชน วิชาประวัติศาสตร เปนตน 5. เน่ืองจากตองใหผูเรียนคนพบความรูดวยตนเอง การเรียนรูวิธีน้ีจําเปนตองใช

เวลานานกวาวิธีอื่น 2.3 ทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความหมาย (Meaningful learning theory) ของออซูเบล เดวิด ออซูเบล (David Ausubel, 1918-2008) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ทฤษฎีของเขา คือ

1) การเรียนรูอยางมีความเขาใจและอยางมีความหมาย ที่ผูเรียนเช่ือมโยงกับสิ่งใด สิ่งหน่ึงที่รูมากอนและเห็นความสัมพันธกับโครงสรางทางปญญาที่เก็บไวในความ ทรงจําและสามารถระลึกและนํามาใชไดในอนาคต 2) การเรียนรูโดยการคนพบ แต กวาที่ผูเรียนจะคนพบความรูดวยตนเองน้ัน ตองใชเวลามาก และไมสามารถกระทําในหองเรียนธรรมดาได และเหมาะสําหรับเด็กวัยประถมศึกษาตอนตนเทาน้ัน สวนผูเรียนที่อยูช้ัน

Page 13: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

86

ภาพท่ี 4.14 คลอสเมยีร

ประถมปลาย มัธยมตลอดจนมหาวิทยาลัย การเรียนรูอยางมีความเขาใจและความหมาย เปนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพมากกวา

สุรางค โควตระกูล (2554) สรุปวา ออซูเบลไดเสนอแนะวิธีสอนการเรียนรูอยางมีความหมายในแบบที่ครูเปนศูนยกลาง มีหนาที่สําคัญคือ เปนผูที่มีความเขาใจสิ่งที่จะสอนและสามารถจะเตรียมบทเรียน สรุปใจความที่สําคัญของบทเรียนใหคําจํากัดความของความคิดรวบยอดที่สําคัญ เพื่อผูเรียนจะไดใชเปนพื้นฐานในการเช่ือมโยงความรูเดิมภายในโครงสรางทางปญญากับสิ่งที่ครูนําเสนอเน้ือหาใหม การเรียนรูจะเกิดข้ึนก็ตอเมื่อสิ่งที่ครูสอนมีความหมายตอผูเรียน รวมถึงความพรอมของผูเรียน

การเขาเรียนในโรงเรียนกวดวิชาก็ใชวิธีการเรียนรูอยางมีความหมาย เพราะสามารถเขาใจสิ่งที่เรียนรูและจําไดนาน เพราะครูที่เปนติวเตอรใชวิธีการสอนความคิดรวบยอด (concept) หรือกรอบความคิดลวงหนา (advance organizer) โดยจัดเรียงความรูออกเปนหมวดหมูหรือแบงเปนหัวขอและ เนนคําจํากัดความที่สําคัญ จากน้ันทบทวนสรุปสิ่งที่บอกแกผูเรียนและกวดขันใหผูเรียนจดจําใหถูกตอง ช้ีและเนนใหผูเรียนรูจักเปรียบเทียบความคลายคลึงและความแตกตางของความรูที่เรียน โดยการเช่ือมโยงกับความรูเดิมทีม่ีอยูแลว ดังน้ันจึงมีผูนิยมเรียนกวดวิชา เพราะสอนใหผูเรียนเรียนรูอยางมีความหมายและจําไดนาน

2.4 ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลขอมูล (Information Processing Theory) คลอสเมียร (Herbert Klausmeier) ใหความสนใจเกี่ยวกับการทํางานของสมอง ของมนุษยวาสมองสรางกระบวนการทางความคิดข้ึนมาไดอยางไร ไดรับความนิยม มาต้ังแตป ค.ศ.1950 เปนตนมา แนวคิดน้ี มองวาสมองของมนุษยมีกระบวนการ ทํางานคลายคลึงกับการทํางานของคอมพิวเตอร ประกอบไปดวยข้ันตอนดังตอไปน้ี

1. การรับขอมูลเขา (input) ผานทางประสาทรับสัมผัสทั้งหา คือ ปาก หู จมูก ลิ้น และตา บุคคลจะเลือกรับสิ่งเราที่ตนเองรูจักและหรือมีความสนใจ จากน้ันจะบันทึกไวในความจําระยะสั้น (short-term memory) และจะคงอยูในระยะเวลาอันจํากัด การจะจดจําไดในระยะเวลานานตองอาศัยเทคนิควิธีการในการทองจําซ้ําหลายครั้ง จึงจะเรียกคืนขอมูลในภายหลังได 2. การเขารหัส (encoding) เปนการประมวลและเปลี่ยนรูปโดยการเขารหัส เพื่อนําไปเก็บไวในความจําระยะยาว (long-term memory) เพื่อนําไปเก็บไวในความจําระยะยาว ตองอาศัยประสบการณของบคุคลที่สั่งสมมาเกิดการเรียนรูโดยการเช่ือมความรูจากความรูเดิมไปสูความรูใหม เมื่อตองการเรียกใช บุคคลตองมีการถอดรหัสขอมูล (decoding) 3. การแสดงผลขอมูล (output) เปนการแสดงพฤติกรรมทั้งที่แสดงออกและไมแสดงออกเปนผลจากการถอดรหัสขอมูลในความจําระยะยาวของสมองมนุษย

ทฤษฎีการเรียนรูดังกลาว เมื่อนํามาใชในการเรียนการสอน โดยเฉพาะในช้ันเรียน ผูเรียนจะพบวามีสิ่งเราเกิดข้ึนหลายอยาง เชน ตัวครู เสียงครู หนังสือเรียน กระดานดํา พฤติกรรมของเพื่อนนักเรียนรอบขาง ซึ่งทั้งหมดน้ีจะผานประสาททั้งหาของผูเรียน แตก็ใชเวลาอยูในความจําระยะสั้นนอยมากเพียง 15-30 วินาทีเทาน้ัน หากผูเรียนเกิดความใสใจที่จะรับรู และเขารหัสขอมูลน้ันเขาสูความจําระยะยาว ขอมูลน้ันก็จะคงทนอยูนาน วิธีการอาจใชวิธีทองจํา ทบทวน หรือฝกทําซ้ํา

Page 14: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

87

และเช่ือมตอความรูเดิมใหเขากับความรูใหมที่สนใจ หรือมีประสบการณกับสิ่งน้ันมากอน สําหรับการเรียกใชน้ันจะเรียกใชงานผานทางเครื่องกอใหเกิดพฤติกรรมการเคลื่อนไหวหรือการพูดข้ึนมา หากเรียกใชงานความจําระยะยาวออกมาได อาจเปนเพราะไมสามารถที่จะดึงขอมูลข้ึนมาไดจากระดับจิตรูสํานึก (conscious level) หรือเกิดการลืมข้ึน ดังน้ันผูเรียนตองบริหารและควบคุมการประมวลสารสนเทศของตนเองวาตองการที่จะควบคุมกระบวนการคิดของตนเอง ซึ่งเทียบไดกับโปรแกรมแกรมคําสั่งงานของระบบคอมพิวเตอร หรือซอฟตแวร น่ันเอง ดังภาพที่ 5.6

ภาพท่ี 4.15 กระบวนการรูคิดในกรอบทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลขอมูล ท่ีมา: ทิศนา แขมมณี, 2548: 83 3. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมคอนสตรัคติวิสต (constructivist learning theories)

ทฤษฎีน้ีไดรับความสนใจต้ังแตป 1980 เปนตนมา โดยแตกแขนงมาจากกลุมปญญานิยม เนนการศึกษาสิ่งเราภายใน ไดแก ความรูความเขาใจ หรือ กระบวนการคิด ที่ชวยสงเสริมการเรียนรูอยางเขาใจและมีความหมายและเช่ือมตอกบัความรูเดิมของผูเดิม โดยมีเงื่อนไขการเรียนรู 2 ประการ ไดแก (1) การเรียนรูเปนกระบวนการลงมือกระทําที่เกิดข้ึนในแตละบุคคล และ (2) ความรูจะถูกสรางดวยตัวของผูเรียนเอง โดยรับขอมูลใหมมารวมกับขอมูลเดิมและประสบการณเดิมที่มีอยูแลว มาสรางความหมายในการเรียนรูของตนเอง โดยมีแนวคิดพื้นฐาน คือ การที่บุคคลไดลงมือกระทําหรือสรางสรรคความหมายของประสบการณของตน แลวสรางองคความรูผานประสบการณตางๆ ที่มีลักษณะเฉพาะตนและมีความสามารถแตกตางกันไปในแตละคน (สุมาลี ชัยเจริญและณัฐกร สงคราม) การเรียนรู จะเกิดข้ึนอยางมีความหมายเมื่อบุคคลรวมอยูในกิจกรรมทางสังคม ดังน้ันผูสอนจะไมสามารถระบุหรือคาดการณผลลัพธทางการเรียนรูไดเหมือนกันทุกคน แตผูสอนตองวางแนวทางการออกแบบสิ่งแวดลอมทางการเรียนใหเอื้อตอการสรางความรู ใจทิพย ณ สงขลา เสนอแนวทางในการสรางสิ่งแวดลอมทางการเรียน ดังน้ี

1. สรางสิ่งแวดลอมที่สนับสนุนกระบวนการตอรองภายในใจ โดยใหผูเรียนสรางโมเดลภายในใจ แลว อธิบาย คาดการณ ลงความเห็นเพื่อสะทอนความคิด

Page 15: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

88

ภาพท่ี 4.16 เพียเจต

2. สรางสิ่งแวดลอมที่ตองใชภาระงานจริง สนับสนุนใหมีการคนควาในโลกความเปนจริง และแทรกสิ่งแวดลอมใหมๆ ที่เกิดข้ึนตามความตองการและความคาดหวังของผูเรียนเอง

3. สรางสิ่งแวดลอมในโลกความเปนจริงที่มีความหลากหลาย สรางบรรยากาศการเรียนรูโดยใชกรณีปญหาเปนหลัก แทนวิธีการสอนที่กําหนดไวลวงหนา หรือแบบเรียงตามลําดับ และสนับสนุนใหใชกรณีปญหาที่เกิดข้ึนจริงๆ ในสังคมซึ่งมีความซับซอนและไมแนนอน มีการนําเสนอความจริงที่หลากหลาย เทากับเปนการฝกปฏิบัติในชีวิตจริง

4. สรางทักษะการไตรตรองของผูเรียนดวยการฝกปฏิบัติ เตรียมเครื่องมือทางปญญาชวยเหลือผูเรียนใหสรางโมเดลในใจ โดยใชกระบวนการคิด ความเขาใจและวิธีแกปญหาของผูเรียนเอง

5. สรางกระบวนการตอรองทางสังคม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอื่นตองเกิดข้ึนเชนเดียวกันกับการตอรองภายในใจของผูเรียนเอง ไมใชการแขงขันระหวางผูเรียนเพื่อชิงความเดน

6. สรางความรวมมือระหวางผู เรียนและผูสอน โดยผูสอนควรมีบทบาทในการใหคําปรึกษา แทนการปอนความรูและแนะนําผูที่มีทักษะเปนตัวอยางแกผู เรียน โดยอาจจะเปนผูเช่ียวชาญ

แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต แบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ คอนสตรัคติวิสตเชิง

ปญญา กับ คอนสตรัคติวิสตเชิงสังคม รายละเอียด ดังน้ี

3.1 คอนสตรัคติวิสตเชิงปญญา (cognitive constructivism theories) รากฐานทางจิตวิทยาของ ฌอง เพียเจต (Jean Piaget, 1896 - 1980) มีอิทธิพลมาก

ตอแนวคิดพื้นฐานของคอนสตรัคติวิสตเชิงปญญา เปนการพยายามเช่ือมประสบการณ เดิมกับประสบการณใหม ดวยกระบวนการพิสูจนอยางมีเหตุผล และเปนความรูที่ เกิดจากการไตรตรอง ดังน้ันการเรียนรูเกิดจากการปรับเขาสูสภาวะสมดุล ระหวาง อินทรียกับสิ่งแวดลอม โดยมีกระบวนการดังน้ี

1. การดูดซึมเขาสูโครงสรางทางปญญา (assimilation) เปนการตีความ หรือรับขอมูลจากสิ่งปวดลอมมาปรับเขากับโครงสรางทางปญญา

2. การปรับโครงสรางทางปญญา (accommodation) เปนความสามารถในการปรับโครงสรางทางปญญาใหเขากับสิ่งแวดลอม โดยการเช่ือมโยงระหวางความรูเดิมและสิ่งที่ตองเรียนใหม ดังภาพที่ 4.17

Page 16: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

89

ภาพท่ี 4.18 วิก็อทสก ี

ภาพท่ี 4.17 แนวคิดของ cognitive constructivism ท่ีมา: http://www.iteachercafe.com

จากภาพ เพียเจต เช่ือวาคนเราทุกคนต้ังแตเกิดมา พรอมที่จะมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม

โดยที่มนุษย เรามีแนวโนมพื้นฐานที่ ติดตัวมาต้ังแตกําเนิด 2 ชนิด คือ การจัดและรวบรวม (organization) กระบวนการตางๆ ภายในเขาเปนระบบอยางตอเน่ือง เปนระเบียบปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาตราบที่ยังมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม และการปรับตัว (adaptation) ใหเขากับสิ่งแวดลอมเพื่ออยูในสภาพสมดุล ประกอบไปดวยกระบวนการซึมซบัหรือดูดซึม ประสบการณใหมเขาไวในโครงสรางทางปญญา และปรับตัวใหเกิดภาวะสมดุล หากไมสามารถปรับความสมดุลได บุคคลจะเกิดภาวะความขัดแยงหรือไมสมดุลทางปญญา (cognitive conflict or disequilibration)

จากหลักการน้ี ผูเรียนจะถูกกระตุนดวยปญหาที่กอใหเกิดความขัดแยงทางปญญา ผูเรียนตองปรับโครงสรางทางปญญาใหเขาสูสภาวะสมดุล โดยวิธีดูดซับหรือดูดซึม คือ การเช่ือมโยงความรูเดิมที่มีมากอนกับขอมูลสารสนเทศใหม กระทั่งเกิดภาวะสมดุลจนสรางความรูใหม หรือเกิดการเรียนรูน่ันเอง

3.2 คอนสตรัคติวิสตเชิงสังคม (social constructivism) เล็บ ชีมาโนวิช วิก็อทสก ี(Lev Semanovick Vygotsky, 1886 - 1934) เปนนักจิตวิทยา

ชาวรัสเซีย ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับพัฒนาการทางสติปญญา ในสมัยเดียวกันกับเพียเจต แตเขาใหความสําคัญกับวัฒนธรรมและสังคม และการเรียนรูที่มีตอพัฒนาการ เชาวนปญญา มองวาวัฒนธรรมเปนเครื่องมือทางปญญา ไดแก ประวัติศาสตร วัฒนธรรมบริบททางสังคมและภาษา รวมถึงการเขาถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกส

สุมาลี ชัยเจริญ (2551) กลาววา ตามแนวความคิดน้ี ผูเรียนจะถูกพัฒนาการเรียนรูในกลุมสังคมที่จัดข้ึน การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผูสอนควรจะเช่ือมความสัมพันธระหวางกัน มากกวาที่จะแยกผูเรียนจากคนอื่นๆ ควรสงเสริมใหเขารวมในกิจกรรมที่นาสนใจ คอยกระตุนและ

Page 17: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

90

เอื้ออํานวยตอการเรียนรูรวมกับผูสอน และกระตุนใหผูเรียนคิดพิจารณาและต้ังคําถาม แนะนําใหผูเรียนตอสูกับปญหาและเกิดความทาทายซึ่งสิ่งเหลาน้ีเปนพื้นฐานของสถานการณในชีวิตจริง จะทําใหผูเรียนเกิดความสนใจและพึงพอใจในผลงานของพวกเขา จากการลงมือกระทําดวยตนเองเกิดความเจริญทางดานสติปญญาและการเรียนรู

กลยุทธทางการเรียนรูที่สอดคลองกับแนวคิดน้ี อาจไมจําเปนตองจัดกิจกรรมที่เหมือนกันทุกอยางก็ได อาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม โดยประยุกตใชหลัก 4 ประการ ดังน้ี

1. การเรียนรูและพัฒนาดานสังคม คือ กิจกรรมการรวมมือ (collaborative activity) 2. บริ เวณความใกล เคี ยงพั ฒนาการทางเชาวน ป ญญา (the zone of proximal

development) หมายถึง ชวงหางระหวางระดับพัฒนาการทางเชาวนปญญาที่ผูเรียนมีอยูและระดับที่มีศักยภาพไปใหถึง กับระดับที่ผูเรียนจะมีศักยภาพเจริญเติบโต ควรจะสนองตอแนวทางการจัดหลักสูตรและการวางแผนบทเรียน โดยไมจําเปนตองสอนในลักษณะเสนตรงหรืออยูแนวเดียวกัน

ดัง น้ันมี ความเช่ือวา การให ความชวยเหลื อ ช้ีแนะแกผู เรียน ในลักษณ ะของ scaffolding เปนสิ่งสําคัญมาก เพราะสามารถชวยพัฒนาผูเรียนไปถึงระดับที่อยูในศักยภาพของตนได

3. การเรียนรูในโรงเรียนควรจัดสภาพแวดลอมที่มีความหมายและไมควรแยกออกจากการเรียนรูและความรูที่ผูเรียนพัฒนาควรมาจากโลกความเปนจริง

4. ประสบการณนอกโรงเรียน ควรเช่ือมโยงมาสูประสบการณในโรงเรียนของผูเรียน

ภาพท่ี 4.19 แนวคิดของ social constructivism

ท่ีมา: http://www.iteachercafe.com

สรุปวาแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มองผูเรียนเหมือนกลองที่วางเปลา ผูสอนตองทําหนาที่จัดประสบการณใหกับผูเรียน ตองจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูให นอกจากน้ีควรใหคําแนะนํา เสริมแรง กระตุนหรือสรางสิ่งเราใหผูเรียนอยากเรียนรู และตองการใหผูเรียนแสดงพฤติกรรมตอบสนองตอสิ่งเราน้ัน จนกลายเปนพฤติกรรมอัตโนมัติ ดวยการกระทําซ้ําแลวซ้ําอีก ผูเรียนจะบรรลวัุตถุประสงคการเรยีนรูไดก็ตอเมื่อไดแสดงพฤติกรรมเชิงประจักษที่พึงประสงคออกมา

Page 18: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

91

แนวคิดปญญานิยมเนนการแปลความหมายและการใหความหมายตอสิ่งแวดลอมรอบตัวเขา วาเปนอยางไร การที่ผูเรียนเรียนรูดวยการลงมือกระทํา ความรูจะถูกสรางข้ึนไปดวย ดังน้ันชุดของความรูของผูเรียนแตละคนตางก็มีองคความรูและประสบการณที่แตกตางกันออกไป ซึ่งจะกลายเปนแบบในการเรียนรูที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ในที่สุด

แนวคิดพฤติกรรมนิยมและปญญานิยม ผูสอนจะตองออกแบบจุดประสงคของการเรียนการสอนไวลวงหนาและนําพาผูเรียนใหเรียนรูตามหนวยการเรียนรูที่ไดเตรียมไว สวนแนวทางการออกแบบการเรียนการสอนตามแนวทางคอนสตรัคติวิสตน้ัน ครูทําหนาที่เปนเพียงผูอํานวยการหรือจัดการการเรียนรูใหเทาน้ัน ซึ่งมีลักษณะเหมือน โคช มากกวา การนําพาผูเรียนไปสูจุดหมายของการเรียนรู ผูสอนเพียงกําหนดภาระงานใหกับผูเรยีน ผูเรียนตองเปนผูแสวงหาความรูและสรางความรูดวยตนเอง

รูปแบบการเรียนการสอน

ทิศนา แขมมณี (2551) กลาววา รูปแบบ (model) เปนรูปธรรมของความคิดที่เปนนามธรรม ซึ่งบุคคลแสดงออกมาในลักษณะใดลักษณะหน่ึง เชน เปนคําอธิบาย แผนผัง ไดอะแกรม หรือ แผนภาพ เพื่อชวยใหตนเองและบุคคลอื่นสามารถเขาใจไดชัดเจนข้ึน

รูปแบบทางดานศึกษาศาสตร มักจะเปนรูปแบบเชิงสาเหตุ และการใชคําวารูปแบบการเรียน การสอนมีความหมายในลักษณะเดียวกันกับระบบการเรียนการสอน หากพิจารณาตามนัยของคุณสมบัติอันเปนองคประกอบสําคัญ กลาวคือ เปนลักษณะของการเรียนการสอนที่จัดข้ึนอยางเปนระบบระเบียบตามปรัชญา ทฤษฎี หลักการ หรือความเช่ือตางๆ โดยมีความครอบคลุมองคประกอบที่สําคัญๆ ของระบบน้ัน และไดรับการยอมรับหรือพิสูจน ทดสอบ ถึงประสิทธิภาพของระบบน้ันๆ มาแลว อยางไรก็ตาม นักการศึกษาทั่วไป นิยมใชคําวา ระบบ ในความหมายที่เปนระบบใหญหรือการเรียนการสอนในภาพรวม และนิยมใชคําวา รูปแบบ กับระบบที่ยอยกวา หมายถึง วิธีการสอนสามารถนิยามไดวา รูปแบบการเรียนการสอน คือ สภาพหรือลักษณะของการเรียนการสอนที่ครอบคลุมองคประกอบสําคัญซึ่งไดรับการจัดไวอยางเปนระเบียบ ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเช่ือตางๆ ที่ประกอบดวย กระบวนการหรือข้ันตอนสําคัญในการเรียนการสอน รวมทั้งวิธีสอนและเทคนิคการสอนตางๆ ที่สามารถชวยใหสภาพการเรียนการสอนน้ันเปนไปตาม ทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดที่ยึดถือและไดรับการพิสูจน ทดสอบ หรือยอมรับวามีประสิทธิภาพ สามารถใชเปนแบบแผนในการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคเฉพาะของรูปแบบน้ันๆ และสามารถที่จะทํานายผลที่จะเกิดตามมาได และมีศักยภาพในการสรางความคิดรวบยอดและความสัมพันธใหมๆ ได รูปแบบการเรียนการสอนที่เปนสากลที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง สามารถจัดกลุมไดเปน 5 หมวด ดังน้ี

1. รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนนการพัฒนาดานพุทธิพิสัย (cognitive domain) ไดแก รูปแบบการเรียนการสอนมโนทัศน รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกาเย รูปแบบการเรียนการสอนโดยการนําเสนอมโนทัศนกวางลวงหนา รูปแบบการเรียนการสอนเนนการจํา และรูปแบบการเรียนการสอนโดยใชผังกราฟก

Page 19: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

92

2. รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนนการพัฒนาดานจิตพิสัย (affective domain) ไดแก รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการพัฒนาดานจิตพิสัยของแครทโวล บลูม และมาเซีย รูปแบบการเรียนการสอนโดยการซักคาน รูปแบบการเรียนการสอนโดยใชบทบาทสมมุติ

3. รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนนการพัฒนาดานทักษะพิสัย (affective domain) ไดแก รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของชิมพชัน รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรว รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส

4. รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนนการพัฒนาทักษะกระบวนการ (process skills) ไดแก รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรูเปนกลุม รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดอุปนัย รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสรางสรรค รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดแกปญหาอนาคตตามแนวคิดของทอแรนซ

5. รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนนบูรณาการ (integration) รูปแบบการเรียนการสอนทางตรง รูปแบบการเรียนการสอนโดยการสรางเรื่อง รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู 4 MAT รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรูแบบรวมมือ

การนําวิธีการระบบหรือวิธีการทางวิทยาศาสตรมาใชในการวางแผนการสอน คือ การนําเทคโนโลยีของการสอน (Technology of instruction) มาใชในการจัดระบบการสอน ซึ่งเทคโนโลยีการสอนที่นํามาใชในการจัดระบบ หมายถึง การออกแบบการสอนอยางมีระบบซึ่งอาศัยความรูความเขาใจของกระบวนการเรียนรู โดยการรวมองคประกอบและตัวแปรตางๆ เขาไวดวยเพื่อนําไปสูการตัดสินใจในการออกแบบการสอนน้ัน แลวจึงทําการทดสอบและแกไขปรับปรุงจนใชไดผลดี เปนการนําไปสูความสําเร็จในการเรียนรูตามจุดมุงหมายที่ต้ังไว โดยในการใชเทคโนโลยีของการสอนเพื่อการจัดระบบการสอนน้ี จะตองอาศัยกระบวนการของการวางแผนอยางเปนระบบ ประกอบไปดวยข้ันตอนของการตรวจสอบปญหาและความตองการในการเรยีนการอน เพื่อหาทางแกปญหาและแกไขปรับปรุงขอบกพรองตางๆ โดยรวมไปถึงการประเมินดวย วิธีการที่ใชกระบวนการดังกลาวน้ี เรียกวา การออกแบบการสอน (instructional design) ซึ่งมีเปาหมายหลักของการจัดระบบการเรียนการสอนมี 2 ประการ คือ

1. เพื่อใหผูสอนและผูเรยีนมีปฏิสมัพันธกันโดยใชวิธีการตางๆ ในการเอื้ออํานวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดีที่สุด

2. ใชวิธีการเชิงระบบในการออกแบบ การวางแผน การนําไปใช และการประเมินผลของระบบการสอน องคประกอบพื้นฐานของระบบการเรียนการสอนมี 4 ประการ คือ

2.1 วิเคราะหลักษณะของผูเรียนเพื่อการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม

2.2 ต้ังวัตถุประสงค ที่จะทําใหผูเรียนไดเรียนรูสิ่งใดบางในการเรียนการสอนน้ัน 2.3 กําหนดวิธีการและกจิกรรมในการเรียนรูวาควรมีอะไรบาง เพื่อใหผูเรียนสามารถ

เกิดการเรียนรูที่ดีที่สุดได

Page 20: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

93

2.4 กําหนดวิธีการประเมินเพื่อตัดสินวาผูเรียนประสบผลตามที่ต้ังจุดมุงหมายไวหรือไมจากความหมายของการจัดระบบ และองคประกอบของระบบน้ัน สามารถนํามาจัดเปน ข้ันตอนของการจัดระบบการเรียนการสอน โดยแบงเปน 4 ข้ัน ดังน้ี

ขั้นท่ี 1 วิเคราะหระบบ (System Analysis) เปนการสํารวจ แจกแจงและวิเคราะหปญหา เพื่อนําขอมูลตางๆ เหลาน้ันมากําหนดวัตถุประสงคเพื่อแกปญหาดังกลาวได ลําดับตอมาวิเคราะหและกําหนดภาระหนาที่ตางๆ ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ต้ังไว และวิเคราะหงานที่ตองปฏิบัติใหเหมาะสมกับหนาที่ โดยแบงเปน 4 ประการคือ

1.1 วิ เคราะห แนวการป ฏิ บั ติ งาน (Approach Analysis) การพิจารณาแนวทางการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายกําหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน รวมถึงปญหาอุปสรรคและขอบกพรองตางๆ

1.2 วิเคราะหหนาท่ี (Function Analysis) เปนการกําหนดหนาที่ตางๆ อยางละเอียดเพื่อความชัดเจนตอผูปฏิบัติ ที่จะไดปฏิบัติหนาที่ของตนไดอยางครบถวน

1.3 วิเคราะหงาน (Task Analysis) การกําหนดแยกแยะรายละเอียดในหนาที่

1.4 วิเคราะหวิธีการและตัวเลข (Methods and Mean Analysis) เปนการกําหนดหลักการ หรือตัวกลางที่จะนําไปสูจุดมุงหมาย เมื่อวิเคราะหระบบแลวก็จะไดขอมูลตางๆ ที่ผานการวิเคราะหแลว เพื่อนําไปใชในการแกปญหา และดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึน

ขั้นท่ี2 สังเคราะหระบบ เปนวิธีการที่นําขอมูลที่ไดวิเคราะห จัดองคประกอบตางๆใหมีความสัมพันธกัน โดยการเลือกวิธีการที่จะนําไปใช นิยมเขียนในรูปแบบจําลองระบบ

ขั้นท่ี 3 สรางแบบจําลองระบบ เปนวิธีการที่นําเสนอระบบที่จะสะดวกตอการนําไปใช นิยมเขียนแบบจําลองระบบ โดยการเขียนแบบจําลองสามารถเขียนได ดังน้ี

ภาพท่ี 4.20 การเขียนแบบจําลองระบบ

แบบที่ 1 การเขียนตามแนวนอน แบบที่ 2 การเขียนตามแนวตั้ง

แบบที่ 3 การเขียนตามแนวตั้งผสมแนวนอน แบบที่ 1 การเขียนตามแนวนอน

Page 21: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

94

ขั้นท่ี 4 ทดสอบระบบในสถานการณจําลอง เปนการทดลองนําแบบจําลองระบบไปใชในสถานการณจําลองที่สรางข้ึน หากสามารถนําไปแกปญหาได หรือตองการมีการปรับปรุงแลวนําไปแกไขปรับปรุงสวนที่บกพรอง หากสามารถนําไปใชในสถานการณจําลองไดอยางมีประสิทธิภาพแลว ระบบน้ัน ก็สามารถไปใชในสถานการณจริงได

การออกแบบระบบการเรียนการสอน (instructional system design : ISD) เปนที่ยอมรับในหมูนักวิชาการวาเปนการพัฒนาการเรียนการสอน รูปแบบสําหรับการออกแบบการเรียนการสอน (instructional design model) ที่เปนพื้นฐานทั่วไปคือ ADDIE ซึ่งมาจากอักษรตัวแรกของข้ันตอนในการออกแบบ คือ A-analyze คือ การวิเคราะหความจําเปนหรือปญหาอุปสรรค ตัดสินใจวาจะตองเรียนรูเรื่องอะไร D-design คือ การกําหนดวาจะเรียนรูอยางไร ระบุกิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผล เลือกวิธีการและสื่อ D-develop คือ การสรางสื่อและผลิตวัสดุและเครื่องมือตางๆ การตรวจสอบและปรับปรุง I-implement คือ การนําแผนหรือโครงการไปปฏิบัติจริง E-evaluate คือการพิจารณาความเหมาะสมของการเรยีนการสอน ประเมินทุกอยางที่ผานมา ปรับปรุงเพื่อนําไปปฏิบัติตอไป ดังภาพตัวอยางกระบวนการออกแบบสื่อ/นวัตกรรมการศึกษา ดวย ADDIE model

ภาพท่ี 4.21 ข้ันตอนการออกแบบสื่อ/นวัตกรรมการศึกษา ดวย ADDIE model

A-analyze

D-design

D-develop I-implement

E-evaluate

ขั้นการวิเคราะห ๑) วิเคราะหปญหา ๒) กําหนดปญหา ๓) กําหนดแนวทางแกไข / พัฒนา ๔) ระบุประเภทสื่อ/นวัตกรรม ๕) วิเคราะหและเลือกเนื้อหา ๖) เลือกทฤษฏีการเรียนรู ๗) กําหนดวัตถุประสงคการเรียนรู ๘) วิเคราะหผูเรียน ๙) วิเคราะหภาระงาน

ขั้นการออกแบบ 1) การกําหนดวาจะเรียนรูอยางไร 2) ระบุกิจกรรมการเรียนรู 3) การวัดและประเมินผล 4) การเลือกวิธีการและสื่อ/ นวตักรรมการศึกษา

ขั้นการนําไปทดลองใช 1) นําไปทดสอบหาประสิทธิภาพ 2) นําไปใชกับกลุมทดลอง 3) ศึกษาผลการทดลองใชกับกลุมตัวอยาง

ขั้นการพัฒนา 1) การสรางสื่อ/นวัตกรรมการศึกษา 2) เคร่ืองมือหรืออุปกรณการเรียนการสอน 3) การวางแผนการจัดการเรียนรู

ขั้นการประเมินผล 1) ประเมินผลการทดลองใช 2) สรุปปญหาและอุปสรรค 3) ขอเสนอแนะในการนํา สื่อ/นวัตกรรมการศึกษาไปใช

Page 22: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

95

แนวทางการประยุกตใชทฤษฎกีารเรยีนรูกบัการออกแบบและสรางนวัตกรรมการศึกษา

การประยุกตใชแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูทั้ง 3 กลุม ดังไดกลาวมาขางตน เมื่อนํามาใชในการออกแบบและสรางนวัตกรรมการศึกษา จําเปนตองพิจารณาถึงวัตถุประสงคของบทเรียน กลุมเปาหมาย เน้ือหาและสื่อ และวิเคราะหวาควรใชทฤษฎีการเรียนรูจึงจะเหมาะสม เพราะในรายวิชาหน่ึงอาจใชทฤษฎีการเรียนรู ที่แตกตางกันไปในแตละหนวยการเรียนรู หรือบูรณาการ ทฤษฎีการเรียนรูทั้ง 3 กลุมในบางหนวยการเรียนรู เปนตน ดังน้ันผูเขียนขอเสนอการประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรูกับนวัตกรรมการศึกษา โดยพิจารณาจุดเดนและจุดดอยของแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูทั้ง 3 กลุม ดังน้ี

1. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม

จุดเดน จุดดอย 1. สามารถวัดการเรียนรูใหออกมาเปนรูปธรรมที่สังเกตเห็นได

1. การเรียนรูเปนผลมาจากอิทธิพลของสิ่งเราที่มีตอการตอบสนองของผูเรียน จึงจะทําใหเกิดการเรียนรู

2. เปนการเรียนรูในสิ่งที่ซับซอนจากงายไปหายาก คอยเปนคอยไปทีละข้ัน พฤติกรรมที่ซับซอนสามารถแยกเปนพฤติกรรมยอยได เชน เรียนการอาน ทําใหผูเรียนเรียนรูไปตามลําดับข้ัน

2. ตองสรางสภาพแวดลอม หรือสรางสิ่งกระตุนใหผูเรียนเกิดการจําที่คงทนเพื่อเก็บเขาไปไวใน หนวยความจําระยะยาว

3. เหมาะสําหรับผู เรียนที่ไมมีประสบการณในเน้ือหาวิชาที่กําลังเรียน หรือเน้ือหาน้ันตองการใหผูเรียนจดจําขอมูลที่เปนขอเทจ็จริงไมเปลี่ยนแปลง และตองการใชเวลาในการเรียนที่สั้น

3. การเรียนรูตามแนวทางน้ี ผูเรียนจะทําในสิ่งที่พวกเขาไดรับฟงและไมหาทางคิดริเริ่มหาหนทางในการแกไขปญหาดวยตนเอง เพราะถูกกระทําใหมีการตอบสนองอยางอัตโนมั ติหรือทําภาระช้ินงานที่มีการกําหนดเน้ือหา ข้ันตอนและวิธีการไวแลวลวงหนา

Page 23: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

96

2. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมปญญานิยม

3. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมคอนสตรัคติวิสต

จุดเดน จุดดอย 1.เนนความรูที่ผูเรียนสรางข้ึนเอง ซึ่งถือวาเปนความรูที่ดีที่สุดตอตัวของผูเรียนเอง 2.ผูเรียนสามารถสรางความรูข้ึนไดจากการปฏิสัมพันธกับบุคคลในสังคมความรูเปนสิ่งที่สังคมสรางข้ึนเปนผลิตผลของมนุษยและเกิดจากการสรางสมทางสังคมและวัฒนธรรม โดยบุคคลสรางความหมายจากการปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันและจากสิ่งแวดลอมที่อาศัยอยู 3.ผูเรียนมีโอกาสในการแกไขปญหาที่มีความหมายตอตัวเขาและเปนปญหาในชีวิตจริงของผูเรียน ทําใหเกิดประสบการณสามารถนําไปประยุกตใชในโลกแหงความเปนจริง

1.ตองจัดกระบวนการเรียนรูที่ผู เรียนกับบุคคลอื่นมีปฏิสัมพันธตอกันและกันทางสังคม 2.ตองมีแหลงการเรียนรูที่หลากหลายและมีลักษณะทีแตกตางกันมีจํานวนมากพอที่จะจัดหาใหกับผูเรียนเพื่อชวยเหลือในการสืบคนขอมูล 3.ผู ส อนต องจัดเวลาให กับ ผู เรี ยนอยางเพียงพอตอพัฒนาการการสรางองคความรูของเขาเอง ตองชวยเหลือและสนับสนุนผูเรียนบรรลุเปาหมายของการเรียนรู 4.ผูสอนจะมีความยากในการวัดผลการเรียนรู เพราะผูเรียนเปนผูกําหนดความหมายและนัยสํา คัญ ของผลการ เรียนรู ของตนเอง ผูเรียนเปนผูสรางองคความรูดวยตนเอง

จากจุดเดนและจุดดอยของทฤษฎีการเรียนรูทั้ง 3 กลุม พบวาแตละกลุมมีความแตกตาง

กันตามความเช่ือที่เปนรากฐานของทฤษฎี เมื่อนําไปประยุกตใชกับการออกแบบและสรางนวัตกรรมการศึกษา มีขอพิจารณาดังน้ี

จุดเดน จุดดอย 1.มองผูเรียนเหมือนกระจกองคที่สะทองนความรูและทักษะและอยูบนฐานของกระบวนการคิดกอนที่จะแสดงพฤติกรรมใหปรากฏ 2.การเรียนรูจะเปนการแปลงขอมูลในสภาพแวดลอมที่ตนเองกําลังเรียนรูอยูใหสามารถเก็บไวในความจําระยะยาว 3.เลือกที่จะรับรูจากประสาทสัมผัสทั้งหาเพื่อจัดเก็บขอมูลไว ในหนวยความจําระยะสั้นและทําซ้ําจนสามารถถายโอนและดึงมาใชในความจําระยะยาวได 4. เปนการเรียนรูอยางความหมาย สามารถเช่ือมโยงความรูใหมใหเขากับความรูเดิมได

1.ผู เรียนตองมีความรู เดิมในเน้ือหาวิชาที่ตนเองเรียนอยูบางเพื่อเช่ือมตอกับความรูใหม 2.ผูสอนตองมีความสามารถในการสงเสริมให ผูเรียนใชกระบวนการทางจิตหลายอยางผสมผสานกัน เพราะตองใชกระบวนการคิดในการรับรูอยางมีเหตุผล ทั้งการฟง การคิด การเขียน การวิเคราะห ไปพรอมๆ กัน 3.ผูสอนตองคํานึงถึงขอจํากัดความจําระยะสั้นของผูเรียน 4.ผูเรียนตองมีแบบการเรียนรูในลักษณะใฝรูใฝเรียนและมีเปาหมายการเรียนรูที่ชัดเจน

Page 24: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

97

1. กลุมพฤติกรรมนิยม เช่ือวาการเรียนรู เปนพฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งเราภายนอก สามารถสังเกตและวัดไดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ดังน้ันผูสอนจะตองออกแบบและสรางนวัตกรรมการศึกษา ใหอยูในลักษณะกระตุนและเรงเราใหผูเรียนมกีารตอบสนอง มีกลยุทธที่จะทําใหผูเรียนคิดทบทวนและจําความรูน้ันเมื่อเรียนจบบทเรียนแลว และสามารถวัดการเรียนรูของผูเรียนใหออกมาเปนรูปธรรมที่สังเกตเห็นได ประเภทของนวัตกรรม ไดแก ชุดกิจกรรม แบบสอบ แบบวัด แบบประเมิน สื่อการเรียนรู เปนตน

2. กลุมปญญานิยม เช่ือวาการเรียนรูคือระบบการความรูของโครงสรางทางปญญา ที่เกิดจากการสรางของผูเรยีน โดยใชฐานโครงสรางความรูเดิมทีม่ีอยู และใชทฤษฎีปญญานิยมควบคูไปดวย ดังน้ันผูสอนจะตองออกแบบและสรางนวัตกรรมการศึกษา ใหอยูในลักษณะที่ผูเรียนรับรูจากประสาทสัมผัสทั้งหาเพื่อจัดเก็บขอมูลไวในหนวยความจําระยะสั้นและทําซ้ําจนสามารถถายโอนและดึงมาใชในความจําระยะยาวได ผู เรียนตองเปนผูใฝรู รวมถึงเปนการเรียนรูอยางมีความหมาย สามารถเช่ือมโยงความรูใหมใหเขากับความรูเดิมได ประเภทของนวัตกรรม ไดแก รูปแบบ วิธีการสอนและเทคนิคการสอนรวมทั้งแนวการสอน และ การเขียนเชิงสรางสรรค เปนตน

3. กลุมคอนสตรัคติวิสต เช่ือวาผู เรียน เปนผูสรางสรรคความรูดวยตนเอง โดยมีกระบวนการทางสังคมและปฏิสัมพันธกับบุคคลและสิ่งแวดลอมรอบตัว เขามาเปนสิ่งกระตุน ใหผูเรียนเปนผูกําหนดเปาหมายและวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง รวมถึงเปดโอกาสใหผูเรียนแกไขปญหาที่มีความหมายตอตัวเขาและเปนปญหาในชีวิตจริงของผู เรียน ทําใหเกิดการเรียนรูจากประสบการณจริงสามารถนําไปประยุกตใชในโลกแหงความเปนจริง ประเภทของนวัตกรรม ไดแก การสอนโดยใชแนวคิดพื้นฐาน เชน คอนสตรัคติวิสต สตอรี่ไลน การสอบแบบสืบสอบ การสอนแบบโครงงาน และการสอนแบบโครงงานฐานวิจัย เปนตน

แมทฤษฎีการเรียนรูทั้ง 3 กลุม จะมีจุดเดนที่นาสนใจและจุดดอยที่ผูสอนตองระมัดระวัง แนวทางที่เหมาะสมในการนําไปประยุกตใชออกแบบและสรางนวัตกรรมการศึกษา ควรจะเปนการผสมผสานแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูกลุมตางๆ เขาดวยกัน โดยไมจําเปนตองยึดทฤษฎีใดทฤษฎีหน่ึงเพียงอยางเดียว ในทางปฏิบัติ ผูสอนควรจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรูของรายวิชา โดยการหมุนเวียน สลับทฤษฎีการเรียนรูมาใชรวมกัน ตัวอยางเชน รายวิชาคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ในการนําเขาสูบทเรียนชวงสัปดาหแรก ผูสอนอาจใชนวัตกรรมการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดกลุมพฤติกรรมนิยม เน่ืองจากผูเรียนยังไมมีประสบการณ เมื่อผูเรียนมีประสบการณเพิ่มข้ึนแลว ผูสอนสามารถปรับนวัตกรรมการศึกษา ไปใชแนวทางของกลุมปญญานิยม เชน การแกปญหาเบื้องตน หรือการคิดวิเคราะห จําแนกแยกแยะที่จะชวยใหผูเรียนพัฒนาทักษะการคิดระดับสูงข้ึน เพื่อมีความพรอมที่จะนําไปสูการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต ที่มุงเนนการแกปญหาที่สลับซับซอนในสถานการณจริงหลากหลายกรณีตอไป

บทสรุป ทฤษฎีการเรียนรู 3 กลุม ไดแกกลุมพฤติกรรมนิยมที่เช่ือวาการเรียนรูของมนุษย

น้ัน เปนวิธีการทางวิทยาศาสตร ที่สามารถสังเกตและวัดพฤติกรรมไดจากผูประเมินภายนอกอยางเปนรูปธรรม กลุมปญญานิยมที่เช่ือวาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจะเกิดข้ึนภายในตัวมนุษยเองจากประสบการณเดิมและสรางประสบการณใหม ทําใหเกิดการเรียนรูข้ึน และคอนสตรัคติวิสต เช่ือวา

Page 25: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

98

เงื่อนไขการเรียนรู ประกอบไปดวย (1) การเรียนรูเปนกระบวนการลงมือกระทําที่เกิดข้ึนในแตละบุคคล และ (2) ความรูจะถูกสรางดวยตัวของผูเรียนเอง แบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ คอนสตรัคติวิสตเชิงปญญาและเชิงสังคม นอกจากน้ีไดเสนอเรื่องการสื่อสาร ซึ่งเปนกระบวนการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารระหวางบุคคลตอบุคคลหรือบุคคลตอกลุมโดยใชสัญลักษณ สัญญาณหรือพฤติกรรมที่เขาใจกัน รวมถึงรูปแบบการเรียนการสอนที่เปนสากล 5 หมวด และแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาทางไกล สุดทายไดเสนอแนวทางการประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรู ทั้ง 3 กลุมกับการออกแบบและสรางนวัตกรรมการศึกษาที่จะนําเสนอในบทตอไป

Page 26: บทที่ 4 · 2017-08-06 · 75 ภาพที่ 4.2 พาฟลอฟ เอียงที่รักษาความคงตัวภายใน เช น ความหิว

99

ใบงานท่ี 4 สรุปผลการคัดเลือกปญหาการเรียนการสอนในช้ันเรียน

ข้ันตอนที ่ ภาระงาน กิจกรรม

4 สรุปผลการคัดเลือกปญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่ตองการแกไขหรือพัฒนา

ใหสรุปปญหาการเรียนการสอนที่เลือกมาพิ จารณ าแก ไขหรือพัฒนาด วยนวัตกรรมการศึกษา มีขอบขายการสรุป 3 ประเด็น โดยไมตองเรียงลําดับกอนหลัง ไดแก 1) ส่ิงที่คาดหวัง หรือสภาพที่ควรจะเปน 2) ชื่อปญหาการเรียนการสอน และ 3) สภาพที่เปนอยูในป จ จุบัน โดย มีแนวทางในการนําเสนอ ดังภาพ

คําอธิบายใบงานที่ 4 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานน้ี คือ ใหสรุปปญหาการเรียนการสอนที่เลือกมาพิจารณาแกไขหรือพัฒนาดวยนวัตกรรมการศึกษา มีขอบขายการสรุป 3 ประเด็น โดยไมตองเรียงลําดับกอนหลัง ไดแก 1) ส่ิงที่คาดหวัง หรือสภาพที่ควรจะเปน หมายถึง ส่ิงที่ครูวิเคราะหปญหาแลวพบวา มีแนวทางที่สามารถแกไขหรือพัฒนาผูเรียนใหมีศักยภาพสูงขึ้นได 2) ชื่อปญหาที่ไดขัดเกลา เรียบเรียงทําใหเปนประโยคที่ส่ือความหมายและสะทอนถึงปญหาไดชัดเจนวาตองการสรางนวัตกรรมการศึกษาและนําไปทดลองใชเพื่อแกไขปญหา หรือพัฒนาผูเรียนในดานใด เชน ดานความรู ความสามารถ ทักษะ หรือ เจตคติ 3) สภาพที่เปนอยูในปจจุบัน หมายถึง สภาพของการจัดการเรียนการสอนในปจจุบันตามการรับรูของตนเอง