(1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี...

35
3.2.3.5 โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร และระบบการส่งต่อ (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช) รายงานความก้าวหน้าโครงการ พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร และระบบการส่งต่อ ให้ที่ประชุมทราบ (เอกสารหมายเลข 3.2.3.5) (2) ข้อเสนอ เพื่อทราบ () มติที่ประชุม

Transcript of (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี...

Page 1: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

3.2.3.5 โครงการพฒันาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร และระบบการสง่ต่อ

(1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช) รายงานความก้าวหน้าโครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร และระบบการส่งต่อ ให้ที่ประชุมทราบ (เอกสารหมายเลข 3.2.3.5) (2) ข้อเสนอ เพ่ือทราบ (๓) มตทิีป่ระชุม

Page 2: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5
Page 3: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ข้อเสนอการปฏิรูประบบการแพทย์ฉุกเฉินEmergency Care System(ECS) Reform

Page 4: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

Goal : Top 3 ECS in ASIA

KPI : อัตราการเสียชีวิตจากการ

เจ็บป่วยฉุกเฉิน < 10%

Goal : Quality

complianceKPI : อัตราการเสียชีวิตจากการเจ็บป่วยฉุกเฉิน < 25%

Goal : Better Quality

KPI : อัตราการเสียชีวิตจากการเจ็บป่วยฉุกเฉิน < 20%

Goal : Leader in QualityKPI : อัตราการเสียชีวิตจากการเจ็บป่วยฉุกเฉิน < 15%

Roadmap แผนพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 20 ปี

SMART ECS

SUPERIOR

STANDARD

STARTUP

ปฏิรูประบบระยะที่ 1 : 2560-2564

สร้างความเข้มแข็งระยะที่ 2 : 2565-2569

สู่ความยั่งยืนระยะที่ 3 : 2570-2574

เป็น 1 ใน 3 ของเอเชียระยะที่ 4 : 2574-2579

Page 5: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

PP SERVICE

ห่วงโซ่คุณภาพเพื่อห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต(Chain of Survival)

PEOPLE GOVERNANCE

อภิบาลระบบสู่ความยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

เพียงพอ ผูกพัน พัฒนา

Project Priorities : ECS 4.0 , ER คุณภาพ , การวางแผนอัตรากำลัง

ประชาชนเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพและมาตรฐานสากล

ภายในปี 2579

ประชาชนมีความรู้ด้านสุขภาพการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

EMS ER REFER DISASTERECS function :

MASTERY ORIGIANALITY PEOPLE-CENTER APPROACH HUMILITYค่านิยม

รวมพลังเครือข่ายพัฒนาห่วงโซ่คุณภาพและมาตรฐานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

วิสัยทัศน์

พันธกิจ

VALUE

ภาพรวมยุทธศาสตร์ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

Page 6: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

แนวคิดการปฏิรูป

1) ใช้หลักระบบสุขภาพอย่างมีคุณค่า (Value-Based Healthcare Approach)2) ใช้หลักการพัฒนาทั้งระบบ (System-Wide Approach)3) ใช้หลักการพัฒนาด้วยนวัตกรรม(Innovation Approach)

ECS 4.0คือการรวมพลังภาคีเครือข่ายสร้างห่วงโซ่แห่งคุณภาพเพื่อเป็นห่วงโซ่ของการรอดชีวิต(Chain of Survival) ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่เท่าเทียม ทั่วถึง ปลอดภัย และลดการเสียชีวิต ภาวะทุพพลภาพจากการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

Page 7: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

Community

Primary Emergency Care;

รพสต. ,PCC

ER-F: Level 3

ER-M :

Level 2ER-S:

Level 1

EMS SuperTrack

Emergency Stream Urgent Stream

ER-A : Level 1+

Chain of Survival : One Region One ECS One ER

Transport Mode :การเคลื่อนย้ายทางบก,อากาศ, ทางนํ้า

ศักยภาพ : ALS,BLS,FR

ศูนย์สั่งการ(Dispatch Center)

Non-Urgent Stream

10-20% 30-40% 30-40%1669

Urgent Care Call Center

ECS 4.0

Page 8: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ป้องกันการ

เจ็บป่วยฉุกเฉิน

แจ้งเหตุFirst

Responder BLS ALS ER Refer

Definitive Care

เจ็บป่วยฉุกเฉิน

บูรณาการภาคีเครือข่าย

EMS คุณภาพ

คุณภาพและมาตรฐาน

ER คุณภาพ

Service Plan

Referคุณภาพ

ห่วงโซ่คุณภาพ(Chain of Quality) สู่ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต(Chain of Survival)

Page 9: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

มาตรการรักษาพยาบาล2 EIR

RTI & Emergency

ศนูย์รับแจ้งเหต+ุศนูย์สัง่การ

ER TriageDiagnosisTreatmentDisposition

Alert teamบคุลากรอปุกรณ์

“Fast Tract Emergency”Protocol

DetectionReportResponseOn Scene CareCare on TransitDelivery to Definitive Care

EMSEffective communication &

command

1669

เตรียมความพร้อมI ทีมและการกระจายทีมII การสื่อสาร สัง่การIII Protocol of out of

hospital care

“ EMS”

ALSBLSFR

Key Success factorI ประสิทธิภาพการแจ้งเหตุ

II การสัง่การ ศนูย์สัง่การIII ประสิทธิภาพของ EMS teamIV ER + In hospital care & Fast TractV การบริหารจดัการ

- Commander- ผู้บริหารสนบัสนนุ- ความพร้อมของทีม

In hospital care : Definitive care

1.OR2.WARD

- Surgery- Trauma

3.ICU

TEAMMultiple InjuryNeuro Surg.Vascular SurgOrthopaedicsOther

การเตรียมความพร้อม Logistic supportMed EquipmentBlood & ComponentSurgical setsอปุกรณ์สนบัสนนุ ฯ

Elective caseSpace

TEA Unit

REFER

กรมการแพทย์ 21/12/16

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดบริการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

Page 10: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ECS 4.0 : ขับเคลื่อนทั้ง Value Chain

Community

Primary Emergency Care;

รพสต. ,PCC

ER-F: Level 3

ER-M :

Level 2ER-S:

Level 1

EMS SuperTrack

Emergency Stream Urgent Stream

ER-A : Level 1+

Chain of Survival : One Region One ECS One ER

Transport Mode :การเคลื่อนย้ายทางบก,อากาศ, ทางนํ้า

ศักยภาพ : ALS,BLS,FR

ศูนย์สั่งการ(Dispatch Center)

Non-Urgent Stream

10-20% 30-40% 30-40%1669

Urgent Care Call Center

ECS จาก สู่ โครงการ

EMS คุณภาพ

โรงพยาบาลเป็นฐาน (Hospital Based)

บูรณาการระหว่างโรงพยาบาลและชุมชน(Integrated Community and Hospital)

SMART EMS•การแจ้งเหตุอัจฉริยะ(SMART Notification)•SMART EOC/Dispatch center•EMS SuperTrack

ERคุณภาพ

เน้นการจัดบริการ เน้นคุณภาพและมาตรฐาน •SMART ER •Primary Emergency Care •Personnel Safety

Referคุณภาพ

โรงพยาบาลแยกส่วน(Fragment)

เสมือนโรงพยาบาลเดียวกัน (One Hospital)

•SMART REFER

Disaster คุณภาพ

เน้นการตอบโต ้โรคและภัยสุขภาพ

เน้นการเฝ้าระวังและลดความเสี่ยงจากโรคและภัยสุขภาพ

•SMART EOC •ยกระดับ MERT สู่มาตรฐานสากล

Page 11: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ขอบคุณครับ

Page 12: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ข้อเสนอขับเคลื่อนนโยบาย ER คุณภาพ

Page 13: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

4 องค์ประกอบ ER คุณภาพ

Staff

• อัตรากำลัง• ทักษะ• ความปลอดภัยของบุคลากร

System

• ระดับศักยภาพ

• ER Service Delivery

• Standard

Structure

• มาตรฐานอาคารสถานที่

• การรายงานข้อมูล

Performance

• ตัวชี้วัดคุณภาพและประสิทธิภาพ

Page 14: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

1) กำหนดศักยภาพการบริการในห้องฉุกเฉิน2) กำหนด ER Service Delivery 3) กำหนดคุณภาพและมาตรฐานการบริการในแต่ละ ER Service Delivery4) กำหนด HR และ Equipment Package5) จัดทำมาตรฐานตัวชี้วัดในห้องฉุกเฉิน6) กำหนดขั้นตอนการพัฒนา ER 4 ระดับ (จาก Startup ER สู่ SMART ER)

ER คุณภาพ ✓ Action Plan แนวทางการดำเนินงาน

Page 15: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

System : 1) กำหนดศักยภาพห้องฉุกเฉิน

Level ความหมาย

1+ ให้การรักษาพยาบาลฉุกเฉินแบบเชี่ยวชาญและคลอบคลุม มีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 24/7 มีเครื่องมือที่วินิจฉัยและรักษาระดับเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีขั้นสูงราคาแพง มีแพทย์เฉพาะทางสาขาหลักและให้คำปรึกษา มีภารกิจด้านแพทยศาสตร์ศึกษาและงานวิจัยทางการแพทย์

1 ให้การรักษาพยาบาลฉุกเฉินขั้นสูง มีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินเกือบครบ 24/7 มีเครื่องมือที่วินิจฉัยและรักษาระดับเฉพาะ มีแพทย์เฉพาะทางสาขาหลักให้คำปรึกษา

2 ให้การรักษาพยาบาลฉุกเฉินขั้นปานกลาง มีแพทย์เวชศาสตร์ให้บริการเป็นบางเวลา มีเครื่องมือที่วินิจฉัยและรักษาทั่วไป มีแพทย์เฉพาะทางบางสาขาให้คำปรึกษา

3 ให้การรักษาพยาบาลฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน แพทย์ On-Call ในการให้บริการ

Page 16: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

System : 2) กำหนด ER Service Delivery

ประเภท Service Delivery

บริการ Triage , Resuscitation , FastTrack , Mass Casualty, Acute Care, OPD นอกเวลา

บริการกึ่งผู้ป่วยใน หน่วยสังเกตอาการ

ประสานงาน ศูนย์สั่งการ EMS , ศูนย์ Refer

บริหาร TEA unit

ER Service Delivery

Triage(ER1)

Resuscitation(ER2)

FASTTRACK(ER3)

หน่วย

สังเกต

อาการ(E

R7

)

Mass Casualty

Incident(ER4)

OPD นอกเวลา(ER6)

Acute Care (ER5)

ศูนย์สั่งการ(ER9)

ศูนย์ Refer(ER10)

Ward

ICU

OR

Hospital

Emergency Room

TEA unit(ER8)

กลับบ้าน

ประเภท Service Deliveryในห้องฉุกเฉิน

Page 17: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

System : กําหนดศักยภาพและ ER service Delivery

รพ. ศักยภาพ Triage(ER1)

Resuscitate(ER2)*

FASTTRACK(ER3) Mass

Casualty Incident

(ER4)

AcuteCare

(ER5)*

OPD นอกเวลา

(ER6)

หน่วยสังเกตอาการ(ER7)

TEA unit(ER8)

ศูนย์สั่งการ(ER9)

ศูนย์ Refer

(ER10) SK rTPA ATB ORPost-

ArrestCare

A 1+ ✓ C ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ C ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

S 1 ✓ A ✓ ✓ ✓ ✓ 𝗫 ✓ A ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

M1 2 ✓ I ✓ 𝗫 ✓ ✓ 𝗫 ✓ I ✓ Option ✓ 𝗫 ✓

M2 2 ✓ I ✓ 𝗫 ✓ 𝗫 𝗫 ✓ I ✓ 𝗫 𝗫 𝗫 ✓

F1 3 ✓ B ✓ 𝗫 ✓ 𝗫 𝗫 ✓ B Option 𝗫 𝗫 𝗫 ✓

F2 3 ✓ B 𝗫 𝗫 ✓ 𝗫 𝗫 ✓ B Option 𝗫 𝗫 𝗫 ✓

F3 3 ✓ B 𝗫 𝗫 ✓ 𝗫 𝗫 ✓ B Option 𝗫 𝗫 𝗫 ✓

*C=comprehensive, A=Advance, I=Intermediate, B=Basic

Page 18: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ตัวอย่างการกำหนดคุณภาพและมาตรฐานการบริการในแต่ละ ER Service Delivery

แนวคิด ประเด็นพิจารณา สิ่งที่ต้องการ

Staff Skill ผ่านการอบรม ACLS,ATLS,PALS ผ่านการอบรม Triage

จำนวนต่อเวร ER Level 1+ : พยาบาล 2 คน/เวร , Level 1: พยาบาล1 คน/เวร, , Level 2: พยาบาล 1 คน/เวร, Level 3 : พยาบาล 1 คน/เวร

System Service ขั้นตอนการคัดแยกและการวินิจฉัยภาวะฉุกเฉินในห้องฉุกเฉิน

Standard เกณฑ์มาตรฐานการคัดแยกและการวินิจฉัยภาวะฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินประเทศไทย

KPI อัตราการ Undertriage < 5%

Structure ตำแหน่ง ควรอยู่ด้านหน้าห้องฉุกเฉิน และเห็นชัด

ขนาดพื้นที่ 100 ตารางเมตร

เครื่องมือ เครื่องวัดความดัน , Computer

ER Service Delivery: Triage(ER1)

Page 19: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

SMART ER = • ER คุณภาพ> 80%• KPI ER สูงกว่า 95 percentile• มีการนํา EMR มาใช้ HIMSS ≧ 3

Startup• Gap Analysis

และมี ER Plan

Standard • จัดบริการทุก ER

Service Delivery• ER คุณภาพ 40%• KPI ER > 50

percentile

Superior• ER คุณภาพ> 70%• KPI ER สูงกว่า 75

percentile• มีการนํา EMR มาใช้

HIMSS 1-2

ขั้นตอนการพัฒนาER คุณภาพ 4 ระดับ

Page 20: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

บุคลากร หลักการคํานวณ จํานวนที่ต้องการปี 2579 จํานวนที่มีปี 2560 จํานวนที่ขาด

EP Population-Based 4000 327 -3673

EN/ENP Service-Based 6680 598 -6082

Paramedic Service-Based 4216 253 -3963

EMT-I Service-Based 2108 1967 -141

EMT-B Service-Based 2108 3616 1508

รพ. จํานวนรพ.

EP ที่ควรมี EN/ENP ที่ควรมี Paramedic ที่ควรมี จํานวน EMT-I ที่ควรมี จํานวน EMT-Bที่ควรมี

สัดส่วน จํานวน EP ที่ควรมี สัดส่วน จํานวน จํานวนต่อรพ.

จํานวนทั้งหมด

จํานวนต่อรพ.

จํานวนทั้งหมด

จํานวนต่อรพ.

จํานวนทั้งหมด

A 33

6:100000 ประชาก

ร 4000

8-12

1:3 ของจํานวนพยาบาลห้องฉุกเฉิน

6680

10 330 5 165 5 1658-10S 48 8 384 4 192 4 1924-8

M1 35 6 210 3 105 3 1052-4

M2 88 6 528 3 264 3 2641-2F1 76 4 304 2 152 2 152

F2 516 4 2064 2 1032 2 1032

F3 99 4 396 2 198 2 198

รวม 895 4000 67263 4216 2108 2108

1

จํานวนที่ควรมี

2

จํานวนที่ขาด

ER HR Plan

Page 21: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

1) นโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน(Zero Tolerance Policy)2) ติดตั้งระบบ Access Control และ กล้องวงจรปิดในบริเวณห้องฉุกเฉิน3) มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำห้องฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง4) ส่งเสริมให้บุคลากรรายงานความรุนแรงในห้องฉุกเฉินทั้งวาจาและทางร่างกายผ่านระบบรายงานความเสี่ยงโรงพยาบาล5) ฝึกอบรมบุคลากรในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน6) ให้ดำเนินการตามกฎหมายกรณีเกิดความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

✓ Action Planการป้องกันความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

Page 22: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

Data Element for Emergency Department

System (DEEDS)1) กําหนดมาตรฐานและ Minimal Data Set ของห้องฉุกเฉิน 2) จัดทําแฟ้มมาตรฐานข้อมูลห้องฉุกเฉิน 3) กําหนดการรายงานสถิติบริการและตัวชี้วัดข้อมูลห้องฉุกเฉิน 4) บูรณาการโปรแกรม ISWIN, PHER,ITEMS,HIS

✓ เป้าประสงค์

Page 23: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

Emergency Department Design

1) ร่วมกับกองแบบแผน กระทรวงสาธารณสุข กำหนดมาตรฐาน ตำแหน่งและพื้นที่ในห้องฉุกเฉิน2) สำรวจอาคารและพื้นที่ห้องฉุกเฉิน3) ร่วมกับกองแบบแผน จัดทำแบบก่อสร้างแผนกฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน4) ลงทุนในระยะยาวเพื่อสร้างห้องฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน

✓ แนวทางการดำเนินงาน

Page 24: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ER Service Delivery

Triage(ER1)

Resuscitation(ER2)

FASTTRACK(ER3)

หน่วย

สังเกต

อาการ(

ER7)

Mass Casualty

Incident(ER4)

OPD นอกเวลา(ER6)

Acute Care (ER5)

ศูนย์สั่งการ(ER9)

ศูนย์ Refer(ER10)

Ward

ICU

OR

Hospital

Emergency Room

TEA unit(ER8)

กลับบ้าน

ตั้งคณะกรรมการ ER (Service Delivery), KPI, DEEDS

พฤษภาคม สิงหาคม

1st Draft : ER Service Delivery, KPI

2nd Draft : ER Service Delivery, KPI1st Draft : DEEDS

• Final Draft ER Service Delivery, KPI

• นำเสนอผู้บริหาร

ตุลาคม

• นำสู่การปฏิบัติ

กรกฎาคมมิถุนายน

นำเสนอ HDC กระทรวง

กันยายน

QUICK WIN ER คุณภาพ

Page 25: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ขอบคุณครับ

Page 26: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ข้อเสนอการวางแผนอัตรากำลังบุคลากรระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

Page 27: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

บุคลากร หลักการคำนวณ จำนวนที่ต้องการปี 2569 จำนวนที่มีปี 2560 จำนวนที่ขาด ถึงเป้าหมาย

EP Pop+Serv.-Based 710,1030(Min,Max) 160 -815,-870 ปี 67

EN/ENP Service-Based 1559,2658(Min , Max) 598 -961,-2060 อยู่ระหว่างดำเนินการ

Paramedic Service-Based 4216 253 -3963 อยู่ระหว่างดำเนินการ

EMT-I Service-Based 2108 1967 -141 อยู่ระหว่างดำเนินการ

EMT-B Service-Based 2108 3616 1508 อยู่ระหว่างดำเนินการ

รพ. จำนวนรพ.

EP ที่ควรม(ี3:100000ประชากร)

EN/ENP ที่ควรมี Paramedic ที่ควรมี จำนวน EMT-I ที่ควรมี จำนวน EMT-Bที่ควรมี

Min Max Max total Min-MaxMin total-Max

totalจำนวนต่อรพ.

จำนวนทั้งหมด

จำนวนต่อรพ.จำนวนทั้งหมด

จำนวนต่อรพ.จำนวนทั้งหมด

A 33

1.5:100000ประชากร

10 330 8-10 264-330 10 330 5 165 5 165

S 48 6-8 384 6-8 288-384 8 384 4 192 4 192

M1 35 2-4 140 4-6 140-210 6 210 3 105 3 105

M2 88 1-2 176 2-4 176-352 6 528 3 264 3 264

F1 76 1-2 76-152 4 304 2 152 2 152

F2 516 1-2 516-1-32 4 2064 2 1032 2 1032

F3 99 1-2 99-198 4 396 2 198 2 198

รวม 895 975 1030 1559-2658 4216 2108 2108

1

จำนวนที่ควรมี

2

จำนวนที่ขาด

สรุป การวางแผนอัตรากำลังความเชี่ยวชาญ EP,EN/ENP, Paramedic, EMT-I, EMT-B

Page 28: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

90 107 121 114 135 150200 200

250 250 250 250 250 250 259

0

100

200

300

56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

ศักยภาพการผลิต

ศักยภาพการผลิต

42 56 61 60 70100 150 150 200 200 200 200 200 200 200141 183 239300 360

430 530680

8301030

12301430

1630

0

400

800

1200

1600

2000

56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

จำนวนแพทย์ EP ต้นสังกัด สป. และรวมสะสม

ต้นสังกัดสป. รวมสะสม

Minimal = 975 คน

Maximum = 1030 (1.58:100000 ประชากร)

Maximum = 1560 (2.4:100000 ประชากร)

Maximum = 1950 (3:100000 ประชากร)

0.240.63

1.042.12.162.3

2.823.3

3.867.7

0 2 4 6 8 10

ThailandPhilipineMalaysia

KoreaSingapore

CanadaJapan

UKHongkong

US

จำนวน EP:100000 ประชากร

จัดสรรตาม Service Plan

เปรียบเทียบจำนวน EP: 100000 ประชากร

รพ. จำนวนรพ. วิธีคิดEP ที่ควรม(ี1.58:100000 ประชากร)

Max Min total-Max total

A 33จำนวนที่ควรม ี

Max= Service-Based

Min=Pop-Based

1.5:10000(975คน)

10 330

S 48 8 384

M1 35 4 140

M2 88 2 176

F1 76

F2 516

F3 99

รวม 895 1030

สถานการณ์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน

Page 29: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

จำนวนแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน

เขตสุขภาพที่ 8 9 คน บึงกาฬ

เขตสุขภาพที่ 7 12 คน

เขตสุขภาพที่ 9 16 คน

ชัยภูมิ

เขตสุขภาพที่ 10 4 คน

อำนาจเจริญ ยโสธร มุกดาหาร

เขตสุขภาพที่ 6 15 คน

สมุทรปราการ ระยอง ตราด สระแก้ว

เขตสุขภาพที่ 12 14 คน ยะลา

แม่ฮ่องสอนเขตสุขภาพที่1

24 คน

เขตสุขภาพที่2 9 คน

เขตสุขภาพที่ 3 6 คนอุทัยธานี

เขตสุขภาพที่ 4 12 คน

ปทุมธานี อ่างทอง

เขตสุขภาพที่ 5 12 คนสมุทรสงคราม

เขตสุขภาพที่ 11 8 คน

ชุมพร ระนอง พังงา

141 คน (23 พค 59)

25

9

8

14

1316

16

6

20

4

15 14

160 คน (เม.ย. 60)

Page 30: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

1. เพิ่มการคงอยู่ ของแพทย ์EP 1.1 ระบบงาน ภาระงาน บรรยากาศการทำงานที่ดี 1.2 แรงจูงใจและค่าตอบแทนที่เหมาะสม 2. การพัฒนาและเพิ่มการฝึกอบรม ร่วมกับวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินและ รร.แพทย์ 2.1 เพิ่มสัดส่วน ต้นสังกัด 2.2 เพิ่มจำนวน ในแหล่งฝึกอบรมเดิม 2.3 เพิ่มแหล่งฝึกอบรม เช่น รพ.พุทธชินราช มหาราชนครศรีธรรมราช ราชบุรี สวรรค์ประชารักษ์ สุราษฏร์ธานี ฯ 2.4 การพัฒนาคู่ขนาน หลักสูตรระยะสั้นสำหรับแพทย์ ในรพ.ระดับ M1 M2 ในระยะ 2-3 ปีแรก 3. การจัดสรรตำแหน่งในเขตสุขภาพ จังหวัด ตามลำดับความสำคัญ รพ.ระดับ A S M1 ครอบคลุม บริการ พัฒนาเครือข่าย การฝึกอบรม

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา

Page 31: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

พยาบาล EN/ENP

ประเทศ จำนวนพยาบาล:

1000 ประชากร

ร้อยละพยาบาลปฏิบัติงานห้องฉุกเฉิน

ร้อยละพยาบาล EN/ENP

Japan 10.5 1.1 0.5

Singapore 6.7 2.8 0.58

SouthKorea

5.7 N/A 0.27

Taiwan 5.1 N/A 5.0

HongKong 4.2 N/A 2.4

Malaysia 1.04 8.8 N/A

Philippines 0.05 15.0 N/A

Thailand 2.3 13.26 0.40

กรอบอัตรากำลัง EN/ENP

บุคลากรจำนวนที่ต้องการ

Min ปี 2569 จำนวนที่ต้องการ Max ปี 2569

จำนวนที่มีจำนวนที่ขาด Min

จำนวนที่ขาด Max

EN/ENP 1559 2658 598 -961 -2060

รพ. จำนวนรพ.EN/ENP ทีควรจัดสรร EN/ENP ที่ต้องมี

Min Max จำนวนต่อรพ. จำนวนที่ต้องการ

A 33 8 10 264 330

S 48 6 8 288 384

M1 35 4 6 140 210

M2 88 2 4 176 352

F1 76 1 2 76 152

F2 516 1 2 516 1032

F3 99 1 2 99 198

รวม 895 1559 2658

วิธีคิด EN/ENP : พยาบาลห้องฉุกเฉินทั้งหมด

Service-Based 1:3เปรียบเทียบจำนวนพยาบาลEN/ENP

Page 32: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาพยาบาล EN/ENP

• 1. เพิ่มแรงจูงใจในการเรียน EN/ENP

• เพิ่มค่าตอบแทนเฉพาะทางที่เหมาะสม รวมถึงภาระเสี่ยง• 2. เพิ่มการพัฒนาการฝึกอบรมร่วมกับ สภาการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยการพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

• เพิ่มจำนวนการฝึกอบรม• เพิ่มแหล่งฝึกของคณะพยาบาลศาสตร์• เพิ่มแหล่งฝึกในวิทยาลัยการพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข• หลักสูตรระยะสั้น 2 อาทิตย์

• 3. การจัดสรรพยาบาล EN/ENP ตามลำดับความสำคัญ

Page 33: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ประเทศ จำนวนประชากร:การใช้บริการ

Ambulance

จำนวนบุคลากร EMS

ร้อยละParamedic

Philippines 2106 3300 0.06

Thailand 4745 25897 1.02

South Korea 6717 19286 55

Taiwan 22042 38569 35

Japan 22240 57968 33

HongKong 39000 2000 N/A

Singapore 207360 320 53

รพ. จํานวนรพ.

Paramedic ที่ควรมี จํานวน EMT-I ที่ควรมี จํานวน EMT-Bที่ควรมี

จํานวนต่อรพ.

จํานวนที่ต้องการ

จํานวนต่อรพ.

จํานวนที่ต้องการ

จํานวนต่อรพ.

จํานวนที่ต้องการ

A 33 10 330 5 165 5 165S 48 8 384 4 192 4 192

M1 35 6 210 3 105 3 105

M2 88 6 528 3 264 3 264

F1 76 4 304 2 152 2 152

F2 516 4 2064 2 1032 2 1032

F3 99 4 396 2 198 2 198

รวม 895 4216 2108 2108

บุคลากร หลักการคํานวณ จํานวนที่ต้องการปี 2579

จํานวนที่มีปี 2560 จํานวนที่ขาด

Paramedic Service-Based 4216 253 -3963

EMT-I Service-Based 2108 1967 -141

EMT-B Service-Based 2108 3616 1508

การวางแผนอัตรากำลัง Paramedic (นักปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์),

EMT-I(เจ้าพนักงานฉุกเฉินทางการแพทย์, EMT-B(พนักงานฉุกเฉินทางการแพทย์)

สถานการณ์ปัจจุบัน

กรอบการจัดสรร Paramedic, EMT-I, EMT-Bวิธีคิด Paremedic :EMT-I:EMT:B

Service-Based 1:0.5:0.5

Page 34: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา Paramedic/EMT-I/EMT-B

• 1. เพิ่มแรงจูงใจ เช่น ค่าตอบแทน ภาระเสี่ยง

• 2. เพิ่มการพัฒนาการฝึกอบรมร่วมกับ คณะแพทย์ศาสตร์มหาสารคาม พะเยา รามาธิบดี นวมินทราธิราช• เพิ่มจำนวนการฝึกอบรม• เพิ่มแหล่งฝึกคณะแพทย์ศาสตร์• ให้โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีการจัดการเรียนการสอนแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์พี่เลี้ยงสาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉินร่วมผลิตกับคณะแพทยศาสตร์

• 3. การจัดสรร Paramedic/EMT-I/EMT-B ตามลำดับความสำคัญ

Page 35: (1) ข้อพิจารณา รองอธิบดี (นายแพทย์ณรงค์อภิกุลวณิชรายงาน ...secretary.dms.moph.go.th/dataconference/data/content3.2.3.5.pdf3.2.3.5

ขอบคุณครับ