1 9 22 38 50 58 75 87 · 2019-01-11 · Satisfaction of the people towards the service of Tambon U...

310
สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า ความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตาบลท้าวอู่ทอง 1 อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี กรณ์ฐวีร์ วิริยะยุทมา การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น 9 ขององค์การบริหารส่วนตาบลบ้านปวง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน กิตติ ธงสิบสอง ผู้นากลุ่มวิสาหกิจชุมชนกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในภาคกลางตอนล่าง 22 กิรญาวดีร์ กาญจนาทวี บทบาทของผู้บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององการส่วนบริหารตาบลสารภี 38 อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ จักรกฤษณ์ สมใจ การพัฒนาสานักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู50 เจนจิรา กันแก้ว การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตาบลสมหวัง 58 อาเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง ชลแดน นวลเกลี้ยง ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอาเภอบาเจาะ 75 จังหวัดนราธิวาส ซัลมา นาวะกานิง ความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 87 ขององค์การบริหารส่วนตาบลช่องด่าน อาเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ญาดา เต้นพิทักษ์

Transcript of 1 9 22 38 50 58 75 87 · 2019-01-11 · Satisfaction of the people towards the service of Tambon U...

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า ความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง 1 อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี กรณ์ฐวีร์ วิริยะยุทมา การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น 9 ขององค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน กิตติ ธงสิบสอง ผู้น ากลุ่มวิสาหกิจชุมชนกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในภาคกลางตอนล่าง 22

    กิรญาวดีร์ กาญจนาทวี

    บทบาทของผู้บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององการส่วนบริหารต าบลสารภี 38 อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ จักรกฤษณ์ สมใจ การพัฒนาส านักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 50 เจนจิรา กันแก้ว การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลต าบลสมหวัง 58 อ าเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง ชลแดน นวลเกลี้ยง ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอ าเภอบาเจาะ 75 จังหวัดนราธิวาส ซัลมา นาวะกานิง ความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 87 ขององค์การบริหารส่วนต าบลช่องด่าน อ าเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ญาดา เต้นพิทักษ์

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า ภาวะผู้น าของผู้บริหาร กรณีศึกษา บริษัทแบ๊กส์บริการภาคพ้ืน จ ากัด สถานีกระบ่ี 96 . ฐาปนี อัครานุภาพพงศ์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และประสิทธิผลการท างาน 108 ของข้าราชการต ารวจตรวจคนเข้าเมือง จังหวัดกระบี่ ด.ต.ปิยบุตร สังข์หยู ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการกับความเป็นองค์กรสมรรถนะสูง 122 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดล าพูน ธนวัฒน์ สิทธิใหญ ่ ความส าเร็จการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนขององค์การบริหารส่วนต าบลกื้ดช้าง 133 อ าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ธีรศานต์ ศรีกาญจน์ บทบาทของคณะกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนย่อย 143 ในเขตเทศบาลเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี นภัสวรรณ คงทอง ประสิทธิภาพในการปฏิบัตภิารกิจด้านการรกัษาความสงบเรยีบร้อย 150 และความมั่นคงภายในของสมาชกิกองอาสารกัษาดินแดน (สมาชิก อส.) นรภัทร ธนะขว้าง มาตรฐานการจัดสวัสดิการให้กับผู้ต้องขังเรือนจ าจังหวัดชัยนาท 158 บุญญาฤทธิ์ ศรีเอี่ยมโฉม ประสิทธิผลในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน 169 ไพฑูรย์ ส าราญไพรวัลย์

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนต าบลบึงนคร 180 อ าเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด เมธี อ่อนพุทธา ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการเรือนจ าจังหวัดชัยนาท กรมราชทัณฑ์ 190 ยุทธนา นุ่มดี ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการต ารวจงานสืบสวน 209 สถานีต ารวจภูธรสัตหีบ ร.ต.ท.เอกชัย ปราบหงส์ การพัฒนาบุคลากรของข้าราชการต ารวจกลุ่มงานสัตวแพทย์ และสัตวบาล 215 กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการ ต ารวจนครบาล ส านักงานต ารวจแห่งชาติ

    ร.ต.อ. ธนศักดิ์ เชยบัวแก้ว

    ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บรกิารของเจา้หน้าที่ 228 ที่ว่าการอ าเภอยะหริ่ง จังหวัดปตัตานี วาฮิดล ตะเหลบ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลต าบลแม่ตาว 235 อ าเภอแม่สอด จังหวัดตาก ศรศักดิ์ ดวงมณี ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะของเทศบาลต าบลป่าแงะ 244 อ าเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย ศรัญญา นันทะ

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า การสร้างฐานอ านาจทางการเมืองภายใต้รูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น 256 ของ นายรามเนตร ใจกว้าง นายกเทศมนตรีนครเกาะสมุย อ าเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี สาธิต เจริญสุข การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น 270 ขององค์การบริหารส่วนต าบลโคกสี อ าเภอวังยาง จังหวัดนครพนม สาวิตรี ยศทะราช การบริหารทรัพยากรบุคคลของส านักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง 279 สุชานา สิทธิไชย นโยบายการบริหารที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานในองค์กรของกองปฏิบัติการดับเพลิง 3 293 ส านักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร อนุชา ค าหล้า

  • ความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี SATISFACTION OF THE PEOPLE TOWARD THE SERVICE OF THAO U THONG

    DISTRICT, U THONG DISTRICT SUPHANBURI PROVINCE

    ผู้วิจัย กรณ์ฐวีร์ วิริยะยุทมา

    สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พภัสสรณ์ วรภัทร์ถิระกุล

    ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

    บทคัดย่อ การวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัด

    สุพรรณบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จ านวน 13,518 คน ได้กลุ่มตัวอย่างจ านวน 400 คน จากการใช้สูตรค านวณของ ทาโร่ ยามาเน่ สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t – test และ ค่า F – test ผลการวิจัยพบว่า ระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านการจัดให้มีและบ ารุงเส้นทางคมนาคมทางบก โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านจัดให้มีน้ าอุปโภคบริโภค โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการป้องกันและระงับโรคติดต่อ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการให้บริการจากเจ้าหน้าที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการดูแลผู้สูงอายุ สตรี และเยาวชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยการทดสอบค่า t-test และ ค่า F-test ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ โดยรวมไม่แตกต่างกัน ค าส าคัญ : ความพึงพอใจ / การบริการ / เทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง Abstract Satisfaction of the people towards the services of Tha U Thong District, U Thong

    District, Suphan Buri Province. 2) To compare the level of satisfaction of the people with the

    service of Tha U Thong District, U Thong District, Suphan Buri Province. Suphanburi

    Province Quantitative research The population in this study was 13,518 people living in

    Tambon U Thong, Amphoe U Thong, Suphan Buri. The sample size was 400 persons.

    Percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test. This research is

    1

  • Satisfaction of the people towards the service of Tambon U Thong District, U Thong

    District, Suphan Buri Province. The overall level was moderate. By providing and maintaining

    transportation routes. The overall level was moderate. Provide water for consumption. Overall,

    it was at a high level. Disease prevention and control. Overall, it was at a high level. The

    service from the staff. Overall, it was at a high level. Elderly care for women and youth is at a

    moderate level. Comparison of the satisfaction of the residents toward the services of Tha U

    Thong District, U Thong District, Suphan Buri Province. The t-test and F-test were not

    significantly different among sex, age, education, Overall, no difference

    Keywords : Satisfaction / Services / Thao U Thong District

    บทน า

    องค์การบริหารส่วนต าบล เป็นการปกครองท้องถิ่นรูปแบบใหม่ ซึ่งจัดตั้งตามพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ.2537 โดยเป็นการปกครองท้องถิ่นรูปแบบนี้ ก็เพื่อเป็นการสร้างฐานการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างทั่วถึง ทั้งยังเป็นการส่งเสริมการกระจายอ านาจการปกครองของประเทศ เพื่อเป็นการน าไปสู่การพัฒนากระบวนการต่าง ๆ อย่างสมบูรณ์ในอนาคต เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศและเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิด ร่วมตรวจสอบควบคุมการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ รัฐบาลจึงได้พยายามด าเนินการในการกระจายอ านาจ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งมีผลต่อการปรับปรุงในหลายรูปแบบด้วยกัน จนถึงปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้เหมาะสมโดยองค์การบริหารส่วนต าบล เป็นการปกครองส่วนท้อ งถิ่นรูปแบบหนึ่งในจ านวน 6 รูปแบบ ตามพระราชาบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 โดยแยกออกเป็นดังนี้ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลองค์การบริหารส่วนต าบลกรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ๆ ตามที่มีกฎหมายก าหนด

    จากรูปแบบการปกครองดังกล่าว การปกครองรูปแบบองค์การบริหารส่วนต าบลที่ยกฐานะจากสภาต าบลเป็นองค์การบริหารส่วนต าบลได้นั้นต้องมีรายได้ 3 ปี ย้อนหลังไม่น้อยกว่า 150,000 บาท ไม่รวมเงินอุดหนุน โดยท าเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทยและให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยเทศบาล อาจจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต าบลขึ้นเป็นเทศบาลได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา

    องค์การบริหารส่วนต าบลมีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนต าบล และคณะกรรมการบริหารส่วนต าบล ตามพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ.2537 จะเห็นได้ว่าองค์การบริหารส่วนต าบลมีการแบ่งแยกอ านาจนิติบัญญัติและอ านาจบริหารอย่างชัดเจน และมีประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนต าบล จึงเป็นสิ่งที่วัดค่าของการบริหารการปกครองตามรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น “องค์การบริหารส่วนต าบล” จะสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับประชาชนในเขตการปกครองที่มีต่อการให้บริหารสาธารณะที่ได้รับจากการบริหารส่วนต าบลได้มากน้อยเพียงใด

    2

  • วัตถุประสงค์ของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

    2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

    กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยเร่ืองความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการศึกษาถึงความพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยท าการศึกษาในด้าน 1) การจัดให้มีและบ ารุงเส้นทางคมนาคมทางบก 2) จัดให้มีน้ าอุปโภคบริโภค 3) การป้องกันและระงับโรคติดต่อ 4) การให้บริการจากเจ้าหน้าที่ 5) การดูแลผู้สูงอายุ สตรี และเยาวชน และ 6) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มาเป็นกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย

    ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

    ปัจจัยส่วนบุคคล 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 3. สถานภาพ 4. รายได้

    ความพึงพอใจของประชนที่มีตอ่การให้บริการ

    ของเทศบาลต าบลทา้วอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุร ีในด้าน

    1. การจัดให้มีและบ ารุงเส้นทางคมนาคมทางบก

    2. จัดให้มีน้ าอุปโภคบริโภค 3. การป้องกันและระงับโรคติดต่อ 4. การให้บริการจากเจ้าหน้าที่ 5. การดูแลผู้สูงอายุ สตรี และเยาวชน

    วิธีด าเนินการวิจัย

    การวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จ านวน 13,518 คน ได้กลุ่มตัวอย่างจ านวน 400 คน จากการใช้สูตรค านวณของ ทาโร่ ยามาเน่ สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t – test และ ค่า F – test

    3

  • ผล/สรุปผล 1. ผลการวิเคราะห์รายละเอียดของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการหาค่าร้อยละ พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย

    มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59 เพศหญิงร้อยละ 41 โดยส่วนมากมีอายุระหว่าง 21 – 40 ปี จ านวน 265 คน คิดเป็นร้อยละ 71.04 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา, ปวช. ปวส. จ านวน 171 คน คิดเป็นร้อยละ 45.84 มีสถานภาพสมรสแล้ว จ านวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 48.26 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป จ านวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 35.12 และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีรายได้โดยประมาณ 4,001 – 6,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.80

    2. ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภอ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่าระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.42) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า

    2.1 ด้านการจัดให้มีและบ ารุงเส้นทางคมนาคมทางบก โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.27) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมอย่างเพียงพอ ( X =3.40) รองลงมา คือ เทศบาลต าบลดูแลบ ารุงสะพานให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีตลอดเวลา ( X = 3.36) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด คือ เส้นทางคมนาคมมีความสะอาด สวยงามตลอดเวลา ( X =3.31)

    2.2 ด้านจัดให้มีน้ าอุปโภคบริโภค โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.61) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีบริการน้ าสะอาดส าหรับดื่มเพียงพอ ( X =3.81) รองลงมา คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีการเก็บน้ าฝนส าหรับดื่มบริหารแก่ชุมชนอย่างเพียงพอ ( X = 3.80) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีบริการระบบประปาหมู่บ้านส าหรับให้ประชาชนใช้บริโภคอย่างเพียงพอ ( X =3.68)

    2.3 ด้านการป้องกันและระงับโรคติดต่อ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.52) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีเครื่องเครื่องพ่นหมกควันก าจัดยุงลายอย่างเพียงพอ ( X =3.73) รองลงมา คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีการก าจัดยุงลายโดยพ่นหมอกควันอย่างสม่ าเสมอ ( X = 3.63) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีบริการหยอดวัคซีนเด็กป้องกันโรคโปลิโอ อย่างทั่วถึง ( X =3.30)

    2.4 ด้านการให้บริการจากเจ้าหน้าที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.52) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลให้ความเสมอภาคในการให้บริการแก่ประชาชน ( X =3.40) รองลงมา เจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลมีความกระตือรือร้นในการให้บริการแก่ประชาชน ( X = 3.35) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด คือ เจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลบริการต้อนรับประชาชนอย่างดีทุกครั้ง ( X =3.03)

    2.5 ด้านการดูแลผู้สูงอายุ สตรี และเยาวชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.41) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า เทศบาลต าบลมีการจัดตั้งศูนย์กีฬาประจ าต าบล เพื่อให้เด็กและเยาวชนใช้เล่นกีฬาเพื่อออกก าลังกาย ( X =3.46) รองลงมา คือ เทศบาลต าบลให้มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ( X = 3.45) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด คือ เทศบาลต าบลจัดให้มีบริการเบิกจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุอย่างสะดวกรวดเร็ว ( X =3.26)

    3. เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยการทดสอบค่า t-test และ ค่า F-test ด้านด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ โดยรวมไม่แตกต่างกัน

    4

  • อภิปรายผล จากผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง

    อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่าระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า

    1. ด้านการจัดให้มีและบ ารุงเส้นทางคมนาคมทางบก โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง คือเทศบาลต าบลจัดให้มีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมอย่างเพียงพอ เทศบาลต าบลดูแลบ ารุงสะพานให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี เส้นทางคมนาคมมีความสะอาด สวยงามตลอดเวลานั้น มาจากว่าเทศบาลต าบลได้มีการปรับปรุง พัฒนา เส้นทางคมนาคม ให้ใช้งานได้อยู่ตลอดเวลา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของสนิท ขาวสะอาด (2539 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องปัจจัยส าคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับท้องถิ่น โดยศึกษากรณีโครงการประปาหมู่บ้าน อ าเภอเมืองนครพนม และอ าเภอธาตุพนมจังหวัดนครพนม พบว่า ปัจจัยด้านผู้น าทางสังคมและผู้น าในครอบครัว ปัจจัยทางด้านการจัดการของเจ้าหน้าที่รัฐในด้านการนิเทศงาน ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจและผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ เป็นปัจจัยส าคัญที่มีอิทธิพลต่อการเข้ามีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสาธารณะท้องถ่ิน การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นนั้น เป็นหลักพื้นฐานส าคัญที่ท าให้ประชาชนเห็นคุณค่าของประชาธิปไตยคุ้นเคยกับการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น การเรียนรู้ทางการเมืองของประชาชน และเป็นการสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง ซึ่งจะเป็นปัจจัยเอื้ออ านวยต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในระดับท้องถิ่น และในระดับชาติ

    2. ด้านจัดให้มีน้ าอุปโภคบริโภค โดยรวมอยู่ในระดับมากที่พบว่า เทศบาลต าบลจัดให้มีบริการน้ าสะอาดส าหรับดื่มเพียงพอ เทศบาลต าบลจัดให้มีการเก็บน้ าฝนส าหรับดื่มบริหารแก่ชุมชนอย่างเพียงพอ และเทศบาลต าบลจัดให้มีบริการระบบประปาหมู่บ้านส าหรับให้ประชาชนใช้บริโภคอย่างเพียงพอนั้น ได้สอดคล้องกับงานวิจัยของ สนิท ขาวสะอาด (2539 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องปัจจัยส าคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับท้องถิ่น โดยศึกษากรณีโครงการประปาหมู่บ้าน อ าเภอเมืองนครพนม และอ าเภอธาตุพนมจังหวัดนครพนม พบว่า ปัจจัยด้านผู้น าทางสังคมและผู้น าในครอบครัว ปัจจัยทางด้านการจัดการของเจ้าหน้าที่รัฐในด้านการนิเทศงาน ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจและผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ เป็นปัจจัยส าคัญที่มีอิทธิพลต่อการเข้ามีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสาธารณะท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นนั้น เป็นหลักพื้นฐานส าคัญที่ท าให้ประชาชนเห็นคุณค่าของประชาธิปไตยคุ้นเคยกับการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น การเรียนรู้ทางการเมืองของประชาชน และเป็นการสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง ซึ่งจะเป็นปัจจัยเอ้ืออ านวยต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในระดับท้องถิ่นและในระดับชาติ

    3. ด้านการป้องกันและระงับโรคติดต่อ โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเทศบาลต าบลจัดให้มีเครื่องเคร่ืองพ่นหมกควันก าจัดยุงลายอย่างเพียงพอ เทศบาลต าบลจัดให้มีการก าจัดยุงลายโดยพ่นหมอกควันอย่างสม่ าเสมอ และเทศบาลต าบลจัดให้มีบริการหยอดวัคซีนเด็กป้องกันโรคโปลิโออย่างทั่วถึง เนื่องจากประชานได้รับบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของพงษ์ไพบูล์ ศิลาวราเวทย์ และทิฆัมพร คุ้มวงศ์ (2551) ได้วิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของผู้มารับบริการจากเทศบาลต าบลท่าล้อ อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ผลการศึกษา พบว่า 1) ด้านความพึงพอใจกระบวนการและขั้นตอนในการให้บริการ พบว่าความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาลต าบลท่าล้อ โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการก าหนดกระบวนงานหรือขั้นตอนในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยเอดส์อย่างชัดเจนมากที่สุด รองลงมาคือผู้รับบริการสามารถตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้สูงอายุ 2) ด้านความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ พบว่าเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยจ าแนกตามล าดับดังนี้

    5

  • เจ้าหน้าที่ของเทศบาลเป็นผู้มีอัธยาศัยไมตรีที่ดีแก่ผู้มารับบริการ เช่น การยิ้มแย้มแจ่มใจ พูดจาไพเราะและมีความสุภาพ เป็นล าดับมากที่สุด รองลงมาคือ เจ้าหน้าที่ของเทศบาลเป็นบุคคลที่มีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่มีการเรียกรับผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ จากการให้บริการ และเจ้าหน้าที่ของเทศบาลได้เปิดโอกาสให้ประชาชนได้ซักถาม ทุกประเด็นเกี่ยวกับการสงเคราะห์กลุ่มเป้าหมายจนกระทั่งหมดความสงสัย ตามล าดับ และ 3) ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก พบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยจ าแนกเป็นดังนี้ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพด้วยวิธีการรับเป็นเงินสดมากที่สุด รองลงมาผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านระหว่างรอรับบริการได้รับความสะดวกในสิ่งที่เทศบาลจัดไว้เป็นอย่างดี ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการจัดเตรียมสถานที่ที่ เหมาะสมเพื่อให้บริการแก่ผู้รับบริการ ตามล าดับ

    4. ด้านการให้บริการจากเจ้าหน้าที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก คือเจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลให้ความเสมอภาคในการให้บริการแก่ประชาชน เจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลมีความกระตือรือร้นในการให้บริการแก่ประชาชน และเจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลบริการต้อนรับประชาชนอย่างดีทุกครั้ง เป็นเพราะประชาชนได้รับบริการที่ดีจากเทศบาล สอดคล้องกับงานวิจัยของ สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติ (2553) การวิจัย เร่ือง ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลเวียงพางค า อ าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พบว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจต่อการให้บริการและความเชื่อมั่นในการให้บริการของเทศบาลต าบลเวียงพางค า อยู่ในระดับมาก และหากเทียบกับค่าร้อยละ จะมีค่าร้อยละอยู่ระหว่าง 76-80 หากพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนที่มีต่อความเชื่อมั่นในการให้บริการต่อประชาชนของเทศบาลต าบลเวียงพางค า มากที่สุดใน 3 อันดับแรก คือ “การอ านวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน การเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของหน่วยงาน และการเกิดประโยชน์สุขของประชาชน และ พงษ์ไพบูล์ ศิลาวราเวทย์ และทิฆัมพร คุ้มวงศ์ (2551) ได้วิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของผู้มารับบริการจากเทศบาลต าบลท่าล้อ อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ผลการศึกษา พบว่า 1) ด้านความพึงพอใจกระบวนการและขั้นตอนในการให้บริการ พบว่าความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาลต าบลท่าล้อ โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการก าหนดกระบวนงานหรือขั้นตอนในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยเอดส์อย่างชัดเจนมากที่สุด รองลงมาคือผู้รับบริการสามารถตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้สูงอายุ 2) ด้านความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ พบว่าเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยจ าแนกตามล าดับดังนี้ เจ้าหน้าที่ของเทศบาลเป็นผู้มีอัธยาศัยไมตรีที่ดีแก่ผู้มารับบริการ เช่น การยิ้มแย้มแจ่มใจ พูดจาไพเราะและมีความสุภาพ เป็นล าดับมากที่สุด รองลงมาคือ เจ้าหน้าที่ของเทศบาลเป็นบุคคลที่มีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่มีการเรียกรับผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ จากการให้บริการ และเจ้าหน้าที่ของเทศบาลได้เปิดโอกาสให้ประชาชนได้ซักถาม ทุกประเด็นเกี่ยวกับการสงเคราะห์กลุ่มเป้าหมายจนกระทั่งหมดความสงสัย ตามล าดับ และ 3) ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก พบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยจ าแนกเป็นดังนี้ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพด้วยวิธีการรับเป็นเงินสดมากที่สุด รองลงมาผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านระหว่างรอรับบริการได้รับความสะดวกในสิ่งที่เทศบาลจัดไว้เป็นอย่างดี ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการจัดเตรียมสถานที่ที่เหมาะสมเพื่อให้บริการแก่ผู้รับบริการ ตามล าดับ

    5. ด้านการดูแลผู้สูงอายุ สตรี และเยาวชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเทศบาลต าบลมีการจัดตั้งศูนย์กีฬาประจ าต าบล เพื่อให้เด็กและเยาวชนใช้เล่นกีฬาเพื่อออกก าลังกาย เทศบาลต าบลให้มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อดูแลเด็กก่อนวัยเรียน และ เทศบาลต าบลจัดให้มีบริการเบิกจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยได้สอดคล้องกับงานวิจัยของพงษ์ไพบูล์ ศิลาวราเวทย์ และทิฆัมพร คุ้มวงศ์ (2551) ได้วิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของผู้มารับบริการจากเทศบาลต าบลท่าล้อ อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ผลการศึกษา พบว่า 1) ด้านความพึงพอใจกระบวนการและขั้นตอนในการให้บริการ พบว่าความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาลต าบลท่าล้อ โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดย

    6

  • ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการก าหนดกระบวนงานหรือขั้นตอนในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยเอดส์อย่างชัดเจนมากที่สุด รองลงมาคือผู้รับบริการสามารถตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้สูงอายุ 2) ด้านความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ พบว่าเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยจ าแนกตามล าดับดังนี้ เจ้าหน้าที่ของเทศบาลเป็นผู้มีอัธยาศัยไมตรีที่ดีแก่ผู้มารับบริการ เช่น การยิ้มแย้มแจ่มใจ พูดจาไพเราะและมีความสุภาพ เป็นล าดับมากที่สุด รองลงมาคือ เจ้าหน้าที่ของเทศบาลเป็นบุคคลทีม่ีความซื่อสัตย์สจุริต ไม่มีการเรียกรับผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ จากการให้บริการ และเจ้าหน้าที่ของเทศบาลได้เปิดโอกาสให้ประชาชนได้ซักถาม ทุกประเด็นเกี่ยวกับการสงเคราะห์กลุ่มเป้าหมายจนกระทั่งหมดความสงสัย ตามล าดับ และ 3) ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก พบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยจ าแนกเป็นดังนี้ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพด้วยวิธีการรับเป็นเงินสดมากที่สุด รองลงมาผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านระหว่างรอรับบริการได้รับความสะดวกในสิ่งที่เทศบาลจัดไว้เป็นอย่างดี ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในด้านการจัดเตรียมสถานที่ที่เหมาะสมเพื่อให้บริการแก่ผู้รับบริการ ตามล าดับ

    ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุร ีโดยการทดสอบค่า t-test และ ค่า F-test ด้านด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ โดยรวมไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับงานวิจัยของวัชราภรณ์ จันทร์พุฒิพงศ์ (2546) ได้ศึกษาความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้บริการสวนสาธารณะอุทยานสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนที่มีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสวนสาธารณะโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยประชาชนที่มีเพศและโรคประจ าตัวต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสวนสาธารณะโดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีอายุ อาชีพ และรายได้ต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสวนสาธารณะโดยรวมแตกต่างกัน วาทิตต์ เรียมริมมะดัน (2556) ความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในเขตพื้นที่ของ องค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนต าบลท่าช้าง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา จ านวน 360 คน และน าข้อมูลที่ได้มาท าการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป ผลจากการศึกษาสรุปได้ว่า ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านไฟฟ้าสาธารณะสูงที่สุด รองลงมาเป็นด้านถนน ด้านน้ าประปาและด้านทางระบายน้ ามีความพึงพอใจต่ าที่สุด ด้านถนนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับความเพียงพอของถนนกับความจ าเป็นในการสัญจรสูงที่สุด ด้านน้ าประปามีความพึงพอใจเกี่ยวกับขนาดท่อส่งน้ าประปามีความเหมาะสมสูงที่สุด ด้านไฟฟ้าสาธารณะมีความพึงพอใจเก่ียวกับจุดติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะมีความเหมาะสมสูงที่สุด ด้านทางระบายน้ ามีความพึงพอใจเกี่ยวกับประเภทของทางระบายน้ ามีความเหมาะสมสูงที่สุด และจากการทดสอบสมมติฐานพบว่า พื้นที่อยู่อาศัยมีผลต่อความพึงพอใจด้านถนน ด้านน้ าประปา ด้านไฟฟ้าสาธารณะ และด้านทางระบายน้ า ข้อเสนอแนะของประชาชน ด้านถนนถนนควรมีการปรับปรุงคุณภาพของถนนให้ดีขึ้น ด้านน้ าประปาควรปรับปรุงคุณภาพน้ า ก่อสร้างทดแทนระบบประปาให้มีคุณภาพมากขึ้น ด้านไฟฟ้าสาธารณะควรติดตั้งโคมไฟที่ได้มาตรฐาน ด้านทางระบายน้ าควรสนับสนุนงบประมาณให้มีการก่อสร้างให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ขุดลอกในจุดที่ตื้นเขิน

    7

  • ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะส าหรับการวิจัยครั้งนี้

    การศึกษาความพึงพอใจของประชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลต าบลท้าวอู่ทอง อ าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่ค้นพบได้จากผลการวิจัย ดังนี้

    1. เส้นทางการคมนาคม ควรจัดให้มีการตรวจสอบ ดูแลถนนให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี ควรมีการช่วยเหลือเมื่อได้รับความเดือนร้อนในการใช้เส้นทาง ควรมีการเพิ่มงบประมาณในการก่อสร้าง และเพิ่มความรวดเร็วในการซ่อมแซม

    2. น้ าส าหรับการอุปโภคและบริโภค ควรปรับปรุงคุณภาพน้ าให้ใสสะอาด ความเหมาะสมของอัตราค่าบริการน้ า และสนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างทดแทนระบบประปาให้มีคุณภาพในการผลิตและมีมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยในการอุปโภคบริโภค และเพิ่มความรวดเร็วในการซ่อมแซม

    3. เทศบาลต าบลควรจัดให้มีการอบรม พัฒนา ฟื้นฟูสมรรถภาพในการปฏิบัติงาน เพื่อเทศบาลต าบลจะได้มีระดับของการให้บริการที่ดียิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะส าหรับการวิจัยครั้งต่อไป

    1. ควรศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เทศบาล เพื่อพัฒนาองค์กรไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม

    2. ควรศึกษาการวิจัยในเชิงลึก อันจะนามาซึ่งผลการด าเนินงานที่ดี และความมุ่งมั่นสู่ความส าเสร็จต่อไป

    เอกสารอ้างอิง พงษ์ไพบูลย์ ศิลาวราเวทย์ และ ทิฆัมพร คุ้มวงศ์. (2551). ความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาลต าบลท่าล้อ

    อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. วัชราภรณ์ จันทร์พุฒิพงศ์. (2546). ความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้บริการส่วนสาธารณะอุทยานสวรรค์ .

    นครสวรรค์ : กรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 8. วาทิตต์, เรียมริมมะดัน. (2556). ความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในเขตพื้นที่ขององค์การบริหาร

    ส่วนต าบลท่าช้าง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ส านักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

    สนิท ขาวสะอาด. (2539). ปจจัยส าคัญตอการมีสวนรวมของประชาชนในระดับท้องถิ่น : ศึกษากรณีโครงการประปาหมูบานอ าเภอเมืองนครพนมและอ าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม . วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการปกครอง, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

    สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติ. (2553). ความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของเทศบาลต าบลเวียงพางค าอ าเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย. เชียงราย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่เชียงราย.

    8

  • การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน PUBLIC PARTICIPATION ON LOCAL DEVELOPMENT PLAN OF BAN

    PUANG SUB-DISTRICT ADMINISTRATIVE ORGANIZATION, TUNG UA CHANG

    DISTRICT,LAMPHUN PROVINCE

    ผู้วิจัย กิตติ ธงสิบสอง

    หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยเวสเทิรน์ อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบพงศ์ สุขสม

    ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยัเวสเทิร์น บทคัดย่อ

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วน ต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน และเพื่อศึกษาปัญหาข้อเสนอแนะในการจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง ซึ่งประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน จ านวน 4,334 คน ใช้กลุ่มตัวอย่าง 367 คน และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล และได้รับข้อมูลกลับคืนมาทั้งหมด โดยใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ ท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

    ผลการศึกษา พบว่า ประชาขนที่อาศัยอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าหญิง มีช่วงอายุระหว่าง 46 – 55 ปีมากที่สุด โดยส่วนใหญ่สมรสแล้ว และมีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา มีอาชีพเกษตรกรเป็นส่วนใหญ่ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 5,000 – 10,000 บาท เป็นส่วนใหญ่

    การมีส่วนร่วมโดยรวมของประชาชนในการมีส่วนของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วน ต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน อยู่ในระดับปานกลาง

    ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วน ต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน เรียงล าดับความถี่จากมากไปหาน้อยตามล าดับ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวงควรมีการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนทราบถึงความส าคัญของแผนพัฒนาท้องถิ่นควรส่งเสริมความเข้าใจให้ประชนชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบผลการด าเนินงานขององค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวงควรรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อน ามาปรับปรุงการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพควรฝึกอบรมประชาชน ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นควรสร้างจิตส านึก การรักท้องถิ่น การมีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อน ามาปรับปรุงการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขั้น ค าส าคัญ : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    9

  • Abstract

    The objectives of the study were to survey the level of public participation on

    local development plan of Ban Puang Sub-district Administrative Organization (SAO),

    Thung Hua Chang District, Lamphun Province and find out problems and suggestions on

    the plan. The 4,334 populations of Ban Puang SAO were recruited to be a number of 367

    samples. The instrument was a questionnaire that was totally completed by an accidental

    random sampling. The data analysis was treated by descriptive statistics such as

    frequency, percentage, mean, and standard deviation.

    The findings were indicated that the number of respondents in Ban Puang SAO

    was more men than women, aged of 46-55, mostly married, elementary educated and

    farming earned with income of between 5,000-10,000 baht per month.

    The opinion’s level of public participation on local development plan was

    moderate. Problems and suggestions were rated from the most to the least frequencies as

    follows. Ban Puang SAO would provide knowledge and understanding of writing a local

    development plan to prepare people to realize the importance of participation on

    planning and checking the performance of the SAO. The SAO would get the opinion

    feedbacks from the people both officially and unofficially in order to improve their

    efficiency of administrative work. It would be also a training program to get people to

    have an awareness of loving local community, participating to make a local development

    plan to improve their working efficiency more.

    Key Word (s) : Public Participation on Local Development Plan of Ban Puang Sub-District Administrative Organization.

    บทน า

    จากการที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พ.ศ. 2550 ได้สงเสริมให้องกรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทและอ านาจหน้าที่ มีอิสระในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตนเองดังจะเห็นได้จาก หมวด 14 ประกอบกับพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 เป็นต้นส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทและอ านาจหน้าที่ต่าง ๆเพิ่มมากขั้น ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว ด้านการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และด้านศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

    อย่างไรก็ดีแม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีอ านาจหน้าที่เพิ่มมากขึ้นแต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังคงมีทรัพยากรจ ากัด ทั้งทรัพยากรบุคคล งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ดั้งนั้น เพื่อให้การด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ท้องถิ่นของตน แผนพัฒนาท้องถิ่น จึงเป็นเครื่องมือที่ส าคัญประการหนึ่งที่จะท าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถด าเนินงานได้ตามเป้าหมายที่วางไว้จึงจ าเป็นต้องมีการก าหนดแผนสามารถตอบสนองต่อการท างานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น แต่ถึงอย่างไรถ้าไม่มีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ ก็ไม่สามารถบ่งชี้ความส าเร็จของแผนได้ ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงได้เพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    10

  • การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงมีส่วนส าคัญในการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ประชาชนเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง รู้ตรงไหนเป็นปัญหา มีวิธีการอย่างไร มีส่วนในการรับรู้ ตัดสินใจ และยอมรับในการตัดสินใจนั้น การแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด จะช่วยลดความไม่แน่นอนและปัญหาความยุ่งยาก ลดความสูญเปล่า และเกิดความชัดเจนขึ้นและตอบสนองตามความต้องการของประชาชนและยังช่วยประหยัดเวลาและทรัพยากรที่มีอย่างจ ากัด สามารถใช้ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด เกิดความส าเร็จตามแผนพัฒนาท้องถิ่น น าความเจริญมาสู่ท้องถ่ิน

    ดังนั้นการวางแผนจึงก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้คือ ท าให้การด าเนินงานบรรลุจุดมุ่งหมายเป็นการลดความไม่แน่นอนใช้เป็นเกณฑ์ในการควบคุมส่งเสริมให้เกิดบรรลุเป้าหมาย ทั้ งยังช่วยพัฒนาแรงจูงใจในการ พัฒนาการแข่งขันและท าให้เกิดการประสานงานทีด่ี และการวางแผนจึงเป็น”การพิจารณาความส าเร็จในอนาคต และการก าหนดแนวทางการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย

    จากพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขจนถึงฉบับปัจจุบันได้ให้ความส าคัญกับแผนพัฒนาต าบลขององค์การบริหารส่วนต าบล โดยได้บัญญัติในมาตรา 59 (1) นายกบริหารองค์การบริหารส่วนต าบลมีอ านาจหน้าที่ก าหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนต าบลให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองค์การบริหารส่ วน ต าบล ข้อบัญญัติ ระเบียบและข้อบังคับของทางราชการ และมาตรา 46 (1) ให้สภาองค์การบริหารส่วนต าบลมีอ านาจหน้าที่ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาต าบลเพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนต าบล และมาตรา 66 องค์การบริหารส่วนต าบลมีอ านาจหน้าที่ในการพัฒนาต าบลทั้ง ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

    จะเห็นได้ว่าองค์การบริหารส่วนต าบลมีอ านาจหน้าที่ในการให้บริการสาธารณะและต้องด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ที่กฎหมายก าหนด การพัฒนาท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้า จึงต้องมีแผนที่ดี โดยให้ประชาชนมีส่านร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนา การมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ประชาชนมีส่วนในการเสนอปัญหา ความต้องการ การแก้ไขปัญหาและการยอมรับในผลที่เกิดตามมาและใส่ใจในอ านาจหน้าที่ของตนมากน้อยเพียงได และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาขององค์กร

    จากความส าคัญดังกล่าว น าไปสู่ความสนใจในการวิจัยระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน วัตถุประสงค์ของการวิจัย

    1. เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนของประชาชนในการจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง อ าเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน

    2. เพื่อศึกษาปัญหาข้อเสนอแนะในการจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านปวง

    11

  • กรอบแนวคิดในการวิจัย เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่า�