-๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน...

30

Transcript of -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน...

Page 1: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว
Page 2: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว
Page 3: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว
Page 4: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ใบสมัคร

เข้าร่วมโครงการคัดเลือกชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรดีเด่น ด้านการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ประจ าปีพุทธศักราช ๒๕๕๙

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม *************************

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลผู้สมคัร ๑.๑ ชื่อชุมชน หน่วยงานหรือองค์กร (ที่มีคุณสมบัติตามประกาศ)..........................................................................

สถานทีต่ั้ง.........................................หมู่ที่....................ซอย...................................ถนน......... ......................... ต าบล.............................อ าเภอ............................. จังหวัด.............................. รหสัไปรษณีย์......................... โทรศัพท์..........................................โทรสาร..............................Email………………………………………..…………..

โดยมผีู้แทน หรือผู้ประสานงานชุมชน หน่วยงาน หรือองค์กร ดังนี้ ชื่อ (นาย/นาง/น.ส./อื่น ๆ (ระบุ) .................................................................................. .................................. ที่อยู่เลขท่ี......................หมู่ที่....................ซอย...................................ถนน............................... ...................... ต าบล.............................อ าเภอ............................. จังหวัด............................ รหัสไปรษณีย์........................... โทรศัพท์..........................................โทรสาร.......................................Email…………………………….………………

๑.๒ หน่วยงาน องค์กร หรือสถาบันอ่ืนที่เสนอ (กรณี ชุมชน หน่วยงาน องค์กรที่ไม่ได้สมัครด้วยตนเอง ให้แนบใบยินยอมตามท้ายประกาศ)

ชื่อหน่วยงาน องค์กร หรือสถาบัน................................................................................................... ................ ที่อยู่เลขท่ี......................หมู่ที่....................ซอย................ ถนน....................................................................... ต าบล.............................อ าเภอ............................. จังหวัด......................... รหสัไปรษณีย์.............................. โทรศัพท์..........................................โทรสาร.......................................Email……………………………….….……..… โดยมผีู้แทน หรือผู้ประสานงาน ดังนี้ ชื่อ (นาย/นาง/น.ส./อื่น ๆ (ระบุ) .................................................................................. .................................. ที่อยู่เลขท่ี......................หมู่ที่....................ซอย...................................ถนน........................................... .......... ต าบล.............................อ าเภอ............................. จังหวัด............................ รหัสไปรษณีย์........................... โทรศัพท์..........................................โทรสาร.......................................Email…………………………….………………

Page 5: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

-๒-

ส่วนที่ ๒ ข้อมูลการด าเนินงานส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒.๑ ชื่อรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม.....................................................................................................

๒.๒ สาขา (ระบุได้มากกว่า ๑ สาขา)

วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา ศิลปะการแสดง แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล งานช่างฝีมือดั้งเดิม การเล่นพ้ืนบ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว

๒.๓ อธิบายคุณค่า ความหมาย ความส าคัญของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ในระดับชุมชน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ โดยสังเขป (ไม่เกิน ๒ หน้า)

............................................................................................................................. ...........................…...............

.......................................................................................................................................... ..............…….............

........................................................................................................... ..............……............................................

.................................................................................................... ..............……...................................................

.......................................................................................................................................... ..............…….............

............................................................................................................................. ....................……....................

๒.๔ อธิบายแนวคิด หลักการ เป้าหมาย (ระยะสั้น ระยะยาว) ในการส่งเสริมและรักษา ( เช่น การวิจัย

การศึกษา การจัดการความรู้ การเผยแพร่ อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู สืบสาน และพัฒนา) มรดกภูมิปัญญาทาง

วัฒนธรรมที่เหมาะสมสอดคล้องและตอบสนองต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรม และพ่ึงตนเองได้ (ไม่เกิน ๒ หน้า)

............................................................................................................................. ...........................……...................

......................................................... ............................................................................................ ...……...................

............................................................................................................................. ...........................……...................

............................................................................................................................. ..........……....................................

..................................................................................................................................................... ...……...................

............................................................................................................................. ...........................……...................

............................................................................................................................. ...........................……...................

Page 6: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

-๓- ๒.๕ อธิบายวธิีท าหรือการด าเนินงานในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่แสดงถึง ความสามารถในการพ่ึงตนเอง การจัดการกันเองได้ภายในชุมชนและพ้ืนที่อย่างประหยัดเรียบง่าย โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้มากที่สุด และใช้เทคนิควิทยาการที่เหมาะสม ซึ่งแสดงให้เห็นแนวโน้ม เรื่องความยั่งยืนในระยะยาว (ไม่เกิน ๒ หน้า) ............................................................................................................................. ...........................……................................................................................................................................................. ...........................…….................................................................................................... ........................................................................... ...…….................................................................................................................................................. ..........................…….......................................................................................................................................... .........................……..................................................................................................... ................................................................... ...……..................

๒.๖ อธิบายให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมขององค์กร หน่วยงาน ชุมชน กลุ่มคน และบุคคล ในการส่งเสริมและรักษา

รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่เสนอขอรับรางวัล และประโยชน์ที่ได้จากการมีส่วนร่วม

............................................................................................................................. ...........................……...................

.............................................................................................................................. ...........................……..................

.................................................................................. ........................................................................... ...……...........

....................................................................................................................................... ..........................……..........

................................................................................................................................ .........................……..................

................................................................................... ................................................................... ...……..................

๒.๗ อธิบายผลการปฏิบัติงานในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ส าเร็จเป็น

รูปธรรมซ่ึงด าเนินการได้ด้วยตนเอง หรือร่วมมือกับเครือข่ายอ่ืน รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อจ ากัด

(ไม่เกิน ๒ หน้า)

............................................................................................................................. ...........................……...................

.............................................................................................................................. ...........................……..................

.................................................................................. ........................................................................... ...……...........

....................................................................................................................................... ..........................……..........

................................................................................................................................ .........................……..................

................................................................................... ................................................................... ...……..................

Page 7: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

-๔- ๒.๘ แสดงแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

ที่เสนอขอรับรางวัลอย่างยั่งยืน (ไม่เกิน ๒ หน้า) ............................................................................................................................. ...........................……................................................................................................................................................. ...........................…….................................................................................................... ........................................................................... ...…….................................................................................................................................................. ..........................…….......................................................................................................................................... .........................……..................................................................................................... ................................................................... ...…….................. ๒.๙ หลักฐานอื่น ๆ

ภาพประกอบ (ภาพนิ่ง)

ภาพเคลื่อนไหว (วีดีทัศน์)

หนังสือ/เอกสารประกอบ

แผนที่แสดงที่ตั้งของชุมชน หน่วยงานหรือองค์กร

อ่ืน ๆ โปรดระบุ………………………………………

Page 8: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

-๕-

แผนท่ีโดยสังเขป

(ลงชื่อ)..........................................................ผู้ยื่นใบสมัคร/ผู้แทน/ผู้ประสานงาน (..........................................................)

............./............................../................

หมายเหตุ: ในกรณีที่ไม่อาจระบุรายละเอียดได้ครบถ้วน ให้แนบเอกสารเพ่ิมเติม โดยระบุหัวข้อ รายละเอียดที่เพ่ิมเติมดังกล่าวด้วย

Page 9: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

คำแนะนำในการกรอกใบสมัคร

ใบสมัครเข้าร่วมโครงการการคัดเลือกชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรดีเด่น

ด้านการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๙

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม*************************

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลผู้สมัคร๑.๑ ชื่อชุมชน หน่วยงานหรือองค์กร (ที่มีคุณสมบัติตามประกาศ)...................................................................

สถานที่ตั้ง..................หมู่ที่...................ซอย..................................ถนน.................................................... ตำบล......................อำเภอ....................... จังหวัด...........................รหัสไปรษณีย์.................................. โทรศัพท์...................................... โทรสาร...........................Email…………………………………………..

โดยมีผู้แทน หรือผู้ประสานงานชุมชน หน่วยงาน หรือองค์กร ดังนี้ ชื่อ (นาย/นาง/น.ส./อื่น ๆ (ระบุ)............................................................................................................ ที่อยู่เลขที่................................หมู่ที่....................ซอย...............................ถนน........................................ ตำบล.....................อำเภอ..................... จังหวัด.......................... รหัสไปรษณีย์....................................... โทรศัพท์..........................................โทรสาร.......................................Email…………………………….…………(ระบุชื่อชุมชน หน่วยงานหรือองค์กร พร้อมข้อมูลที่ติดต่อได้ของผู้ที่

เป็นเจ้าของ ผู้ประพฤติปฏิบัติ หรือผู้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม) ๑.๒ หน่วยงาน องค์กร หรือสถาบันอื่นที่เสนอ (กรณี ชุมชน หน่วยงานองค์กรที่ไม่ได้สมัครด้วยตนเอง ให้แนบใบยินยอมตามท้ายประกาศ)

Page 10: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ชื่อหน่วยงาน องค์กร หรือสถาบัน............................................................................................................. ที่อยู่เลขที่......................หมู่ที่....................ซอย................ถนน................................................................ ตำบล.............................อำเภอ.............................จังหวัด...................... รหัสไปรษณีย์.......................... โทรศัพท์..........................................โทรสาร.......................................Email…………………………….……..…

-๒-

โดยมีผู้แทน หรือผู้ประสานงาน ดังนี้ ชื่อ (นาย/นาง/น.ส./อื่น ๆ (ระบุ)............................................................................................................... ที่อยู่เลขที่......................หมู่ที่....................ซอย...................................ถนน................................................ ตำบล.............................อำเภอ.............................จังหวัด.......................... รหัสไปรษณีย์........................ โทรศัพท์..........................................โทรสาร.......................................Email…………………………….………… (ระบุชื่อหน่วยงาน องค์กร หรือสถาบัน พร้อมข้อมูลที่สามารถ

ติดต่อได้ ของผู้ที่ไม่ได้เป็นเจ้าของประพฤติปฏิบัติ หรือมีส่วนร่วมในการส่งเสริมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม แต่ประสงค์จะเสนอแทน) ส่วนที่ ๒ ข้อมูลการดำเนินงานส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม๒.๑ ชื่อรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม.....................................................................................................

(รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ประกาศขึ้นทะเบียนระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ถึง ๒๕๕๘ จำนวน ๓๑๘ รายการ ตามเอกสารแนบท้าย) ๒.๒ สาขา (ระบุได้มากกว่า ๑ สาขา)

(ให้ระบุสาขาที่เห็นว่ารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมมีความเกี่ยวข้อง โดยพิจารณา จากความหมายและประเภทของมรดก

Page 11: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมทั้ง ๖ สาขา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศ ทั้งนี้สามารถระบุได้มากกว่า ๑ สาขา) วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา ศิลปะการแสดง

แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล งานช่างฝีมือดั้งเดิม การเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว

๒.๓ อธิบายคุณค่า ความหมาย ความสำคัญของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ในระดับชุมชน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ โดยสังเขป (ไม่เกิน ๒ หน้า)

ให้เล่าประวัติ ความเป็นมา รายละเอียดที่สำคัญของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมโดยย่อ พร้อมอธิบายคุณค่าความหมายและความสำคัญของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีต่อชุมชน ชาติหรือนานาชาติ อาทิ คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ จิตใจ ศาสนาวัฒนธรรม สังคม ฯลฯ)

-๓-

๒.๔ อธิบายแนวคิด หลักการ เป้าหมาย (ระยะสั้น ระยะยาว) ในการส่งเสริมและรักษา (เช่น การวิจัย การศึกษา การจัดการความรู้การเผยแพร่ อนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน และพัฒนา) มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่เหมาะสมสอดคล้องและตอบสนองต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรมและพึ่งตนเองได้ (ไม่เกิน ๒ หน้า)

(ในข้อนี้ ควรแสดงให้เห็นว่าชุมชน หน่วยงาน หรือองค์กรตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอย่างแท้จริง และได้พยายามดำเนินการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้อยู่รอดยั่งยืนอย่างไรให้เหมาะสมสอดคล้อง และตอบสนองต่อวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น และสามารถพึ่งตนเองได้ โดยอธิบายหลักการ เป้าหมายทั้งระยะสั้น และระยะยาว และแนวทางต่าง ๆ ที่ได้ดำเนินการในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซึ่งอาจจะเป็นการวิจัย การศึกษา การจัดการความรู้ การเผยแพร่ อนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน และพัฒนา)

Page 12: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

๒.๕ อธิบายวิธีทำหรือการดำเนินงานในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่แสดงถึง ความสามารถในการพึ่งตนเอง การจัดการกันเองได้ภายในชุมชนและพื้นที่อย่างประหยัดเรียบง่าย โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้มากที่สุด และใช้เทคนิควิทยาการที่เหมาะสม ซึ่งแสดงให้เห็นแนวโน้ม เรื่องความยั่งยืนในระยะยาว (ไม่เกิน ๒ หน้า)

(ข้อนี้ควรอธิบายรายละเอียดให้เห็นว่าชุมชน หน่วยงาน หรือองค์กร มีวิธีทำหรือการดำเนินงานอะไร ที่ไหน เมื่อไร และอย่างไร ในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ในแบบที่พึ่งพาตนเองจัดการกันเองได้ภายในชุมชนพื้นที่อย่างประหยัดเรียบง่าย โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติ หรือวัสดุอุปกรณ์ ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และเหมาะสมที่สุด ซึ่งไม่รวมถึงคน และใช้เทคนิควิทยาการใดมาดำเนินการ เพื่อช่วยให้รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมมีความยั่งยืน) ๒.๖ อธิบายให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมขององค์กร หน่วยงาน ชุมชน กลุ่ม

คน และบุคคล ในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และประโยชน์ที่ได้จากการมีส่วนร่วม

(ข้อนี้ควรแสดงให้เห็นถึงบทบาทหน้าที่และความหลากหลายขององค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน และบุคคลต่าง ๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ว่าประกอบด้วยใครบ้าง โดยระบุชื่อและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน และเข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะอย่างไร เช่น ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมลงมือทำ ร่วมสนับสนุน และประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เช่น ความภาคภูมิใจรายได้จากการท่องเที่ยว ฯลฯ)

Page 13: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

-๔-

๒.๗ อธิบายผลการปฏิบัติงานในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่สำเร็จเป็นรูปธรรมซึ่งดำเนินการได้ด้วยตนเอง หรือร่วมมือกับเครือข่ายอื่น รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัด (ไม่เกิน ๒ หน้า)

(ข้อนี้ ให้อธิบาย ผลผลิต และผลลัพธ์ ซึ่งเป็นผลสำเร็จจาการส่งเสริมและรักษารายการมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ของชุมชนหน่วยงานหรือองค์กรผู้เป็นเจ้าของประพฤติปฏิบัติ หรือมีส่วนร่วม ในรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมว่าที่ได้ดำเนินการด้วยตนเองหรือร่วมมือกับเครือข่ายอื่น มีด้านใดบ้าง เช่น เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาสุขอนามัย เป็นต้น พร้อมอธิบายปัญหา อุปสรรค์ และข้อจำกัดที่พบในการดำเนินการ) ๒.๘ แสดงแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมในการส่งเสริมและรักษารายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม อย่างยั่งยืน (ไม่เกิน ๒ หน้า)

(ข้อนี้ให้แสดงแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่จะดำเนินการเพื่อให้รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม อยู่รอดอย่างยั่งยืน โดยให้ระบุระยะเวลาดำเนินการระยะสั้น ระยะยาว งบประมาณ และผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน) ๒.๙ หลักฐานอื่น ๆ

(ให้กาเครื่องหมายลงในกรอบสี่เหลี่ยม เพื่อระบุถึงหลักฐานที่ส่งแนบมาพร้อมกับสมัคร)

ภาพประกอบ (ภาพนิ่ง) รูปภาพการจัดกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ จำนวน ๕ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว (วีดีทัศน์) รูปแบบของ CD หรือ DVD

หนังสือ/เอกสารประกอบ แผนที่แสดงที่ตั้งของชุมชน หน่วยงานหรือองค์กร อื่น ๆ โปรดระบุ………………………………………

Page 14: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

-๕-

แผนที่โดยสังเขป

Page 15: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

(ลงชื่อ)..........................................................ผู้ยื่นใบสมัคร/ผู้แทน/ผู้

ประสานงาน (..........................................................)

............./............................../................

หมายเหตุ: ในกรณีที่ไม่อาจระบุรายละเอียดได้ครบถ้วน ให้แนบเอกสารเพิ่มเติม โดยระบุหัวข้อ รายละเอียดที่เพิ่มเติมดังกล่าวด้วย

Page 16: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ความหมายมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม“มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” หมายความว่า ความรู้ การ

แสดงออก การประพฤติปฏิบัติ หรือทักษะ ทางวัฒนธรรมที่แสดงออกผ่านบุคคล เครื่องมือ หรือวัตถุ ซึ่งบุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชนยอมรับและรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีการสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งโดยอาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

(๑) วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา(๒) ศิลปะการแสดง(๓) แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล(๔) ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล(๕) งานช่างฝีมือดั้งเดิม(๖) การเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกัน

ตัว

ลักษณะที่ ๑ วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา๑.๑ วรรณกรรมพื้นบ้าน หมายถึง เรื่องราวที่ถ่ายทอดอยู่ในวิถี

ชีวิต ด้วยวิธีการบอกเล่า เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเป็นภาพ โดยแบ่งออกเป็น ๗ ประเภท ดังต่อไปนี้

(๑) นิทานพื้นบ้าน หมายถึง เรื่องเล่าพื้นบ้าน เช่น นิทานจักรๆ วงศ์ๆ นิทานประจำถิ่น นิทานคติ นิทานอธิบายเหตุ นิทานเรื่องสัตว์ นิทานเรื่องผี นิทานมุขตลก นิทานเรื่องโม้ นิทานลูกโซ่ ฯลฯ

(๒) ตำนานพื้นบ้าน หมายถึง เรื่องเล่าที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ พิธีกรรม ศาสนา และประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น

(๓) บทร้องพื้นบ้าน หมายถึง คำร้องที่ถ่ายทอดในโอกาสต่างๆ เช่น บทกล่อมเด็ก บทร้องเล่น บทเกี้ยวพาราสี บทจ๊อย คำเซิ้งฯลฯ

(๔) บทสวดหรือบทกล่าวในพิธีกรรม หมายถึง คำสวดที่ใช้ประกอบในพิธีกรรมต่างๆ เช่น คำบูชา คำสมา คำเวนทาน คำให้พร คำอธิษฐาน คาถา บททำขวัญ บทอานิสงส์ บทประกอบการรักษาโรคพื้นบ้าน ฯลฯ

(๕) สำนวน ภาษิต หมายถึง คำพูดหรือคำกล่าวที่ใช้ในการสั่งสอน มักมีสัมผัสคล้องจองกัน เช่น โวหาร คำคม คำพังเพย คำอุปมาอุปไมย คำผวน ฯลฯ

(๖) ปริศนาคำทาย หมายถึง ข้อความที่ตั้งเป็นคำถามเพื่อให้ผู้ตอบได้ทายหรือตอบปัญหา เช่น คำทาย ปัญหาเชาวน์ ผะหมีฯลฯ

(๗) ตำรา หมายถึง องค์ความรู้ที่มีการเขียนบันทึกใน

Page 17: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

เอกสารโบราณ เช่น ตำราโหราศาสตร์ ตำราดูลักษณะคนและสัตว์ตำรายา ฯลฯ

๑.๒ ภาษา หมายถึง เครื่องมือที่ใช้สื่อสารในวิถีชีวิต ซึ่งสะท้อนโลกทัศน์ ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มชน ทั้งเสียงพูด ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ โดยแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังต่อไปนี้

(๑) ภาษาไทย หมายถึง ภาษาประจำชาติ หรือภาษาราชการที่ใช้ในประเทศไทย

-๒-(๒) ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาไทยที่ใช้สื่อสารในแต่ละ

ภูมิภาค ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นกลาง ภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาไทยถิ่นเหนือ และภาษาไทยถิ่นใต้

(๓) ภาษาชาติพันธุ์ หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารในชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ ของประเทศไทย เช่น ภาษาเขมรถิ่นไทย ภาษาม้งภาษาชอง ภาษามอแกน ภาษาลื้อ ภาษาญ้อ ภาษาพวน ฯลฯ

(๔) ภาษาสัญลักษณ์ หมายถึง ภาษาที่ใช้ติดต่อสื่อสารด้วยภาษามือ ภาษาท่าทาง อักษร หรือเครื่องหมายต่างๆ เป็นต้น

ลักษณะที่ ๒ ศิลปะการแสดงศิลปะการแสดง หมายถึง รูปแบบและกระบวนการสื่อสารทาง

วัฒนธรรม ผ่านการแสดงออกทางดนตรี นาฏศิลป์ และละคร เพื่อใช้ในพิธีกรรม ความบันเทิง การสื่อความ มีการสืบทอดองค์ความรู้ ความคิดภูมิปัญญา มีการตอบสนองที่อาจนำไปสู่การคิด วิพากษ์ การพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงสังคม โดยแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ดังต่อไปนี้

(๑) ดนตรี หมายถึง เสียงที่เกิดจากเครื่องดนตรีและการขับร้องที่ประกอบกันเป็นทำนอง จังหวะ

(๒) นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะในการแสดงท่าทาง ท่าเต้นท่ารำ ตามทำนอง จังหวะเพลง

(๓) ละคร หมายถึง การแสดงที่เป็นเรื่องราว มีขนบแบบแผนแบบดั้งเดิมหรือมีการประยุกต์เปลี่ยนแปลง

ลักษณะที่ ๓ แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาลแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล หมายถึง

การประพฤติปฏิบัติและการกระทำกิจกรรมในแนวทางเดียวกันของคนในชุมชนที่สืบทอดต่อกันมาบนหนทางของมงคลวิถี นำไปสู่สังคมแห่งสันติสุข แสดงให้เห็นอัตลักษณ์ของชุมชนและชาติพันธุ์นั้นๆ โดยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดังต่อไปนี้

(๑) มารยาท หมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่ดีงามต่อผู้อื่นเช่น การแสดงความเคารพ การส่งและการรับสิ่งของ การกิน การพูดการยืน การเดิน การนั่ง การนอน การแต่งกาย ฯลฯ

(๒) ประเพณี หมายถึง สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี ซึ่งเกี่ยวกับศาสนา เทศกาล วงจรชีวิต และการทำมาหากิน

Page 18: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

(ก) ประเพณีเกี่ยวกับศาสนา เช่น การสวดมนต์ การเทศน์การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณีลากพระ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ฯลฯ

(ข) ประเพณีเกี่ยวกับเทศกาล เช่น งานสงกรานต์ งานลอยกระทง งานบุญเดือนสิบ งานตานก๋วยสลาก งานผีตาโขน งานแข่งเรืองานบุญบั้งไฟ ฯลฯ

(ค) ประเพณีเกี่ยวกับวงจรชีวิต เช่น การเกิด การตั้งชื่อ การบวช การแต่งงาน พิธีบายศรีสู่ขวัญ พิธีกรรมเหยา ประเพณีผูกเสี่ยว การขึ้นบ้านใหม่ การตาย ฯลฯ

(ง) ประเพณีเกี่ยวกับการทำมาหากิน เช่น พิธีบูชาแม่โพสพพิธีทำขวัญข้าว พิธีไหว้ครู พิธีกรรมขอฝน พิธีวางศิลาฤกษ์ ประเพณีลงเลฯลฯ

-๓-

ลักษณะที่ ๔ ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาลความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล หมายถึง

องค์ความรู้ วิธีการ ทักษะ ความเชื่อ แนวปฏิบัติและการแสดงออกที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติเพื่อการดำรงชีวิต โดยแบ่งออกเป็น ๕ ประเภท ดังต่อไปนี้

(๑) อาหารและโภชนาการ หมายถึง สิ่งที่มนุษย์บริโภค รวมถึงวิธีการปรุงและประกอบอาหาร รูปแบบการบริโภค และคุณค่าทางโภชนาการ

(๒) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน(ก) การแพทย์แผนไทย หมายถึง กระบวนการทางการ

แพทย์ เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บำบัด รักษา หรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์หรือ/และสัตว์ โดยอาศัยความรู้หรือตำราที่ได้ถ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อกันมา

(ข) การแพทย์พื้นบ้าน หมายถึง การดูแลสุขภาพตนเองในชุมชนแบบดั้งเดิม โดยอาศัยความเชื่อ พิธีกรรม และทรัพยากรที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตและสังคม

(๓) โหราศาสตร์และดาราศาสตร์(ก) โหราศาสตร์ หมายถึง ความรู้ในการทำนายโชคชะตา

ทำนายอนาคตของบุคคล และบ้านเมือง โดยอาศัยตำแหน่งของดวงดาวในเวลาที่เกิดเหตุการณ์นั้น

(ข) ดาราศาสตร์ หมายถึง ความรู้จากการสังเกตและอธิบายธรรมชาติของดวงดาวและเทหวัตถุในท้องฟ้าที่นำมาใช้ในการดำรงชีวิต

(๔) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความรู้ในการจัดการระบบนิเวศ เพื่อการอนุรักษ์และการใช้

Page 19: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ประโยชน์อย่างยั่งยืน(๕) ชัยภูมิและการตั้งถิ่นฐาน หมายถึง ความรู้และความเชื่อ

ในการเลือกที่ตั้งเพื่อการอยู่อาศัยหรือวัตถุประสงค์อื่นตามสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของชุมชน

ลักษณะที่ ๕ งานช่างฝีมือดั้งเดิมงานช่างฝีมือดั้งเดิม หมายถึง งานที่สร้างขึ้นจากภูมิปัญญา

ทักษะฝีมือช่าง การเลือกใช้วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ และกลวิธีการสร้างสรรค์ที่แสดงถึงลักษณะเฉพาะ สะท้อนพัฒนาการทางสังคม และวัฒนธรรมที่สืบทอดต่อกันมา โดยแบ่งออกเป็น ๙ ประเภท ดังต่อไปนี้

(๑) ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า หมายถึง งานที่สร้างขึ้นจากเส้นใยด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น ทอ ถัก ปัก ตีเกลียว มัดหมี่ ขิด ยกจก เกาะล้วง พิมพ์ลาย ย้อม ฯลฯ

(๒) เครื่องจักสาน หมายถึง งานที่สร้างจากวัตถุดิบด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น จักตอก สาน ถัก ผูก รัด มัด ร้อย ฯลฯ

(๓) เครื่องรัก หมายถึง งานที่ใช้ยางรักเป็นวัสดุสำคัญด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น ถม ทับ ปิดทองรดน้ำ กำมะลอ ประดับมุกประดับกระจกสี ประดับกระดูก ปั้นกระแหนะ ฯลฯ

-๔-(๔) เครื่องปั้นดินเผา หมายถึง งานที่สร้างจากดินเป็น

วัสดุหลักด้วยวิธีการปั้น ผึ่งแห้ง เผา เคลือบ ฯลฯ(๕) เครื่องโลหะ หมายถึง งานที่สร้างจากโลหะเป็น

วัสดุหลัก ด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น หลอม เผา ตี หล่อ ตัด ติด ขัด เจียรเชื่อม ฯลฯ

(๖) เครื่องไม้ หมายถึง งานที่สร้างจากไม้เป็นวัสดุหลักด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น แปรรูป ตัด เลื่อย แกะ สลัก สับ ขุด เจาะถาก กลึง ขูด ขัด ตกแต่งผิว ฯลฯ

(๗) เครื่องหนัง หมายถึง งานที่สร้างจากหนังสัตว์เป็นวัสดุหลักด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น หมัก ฟอก ตากแห้ง ตัด เจาะ ฉลุ ลงสี ฯลฯ

(๘) เครื่องประดับ หมายถึง งานที่ประดิษฐ์จากวัสดุ เช่นหิน เปลือกหอย โลหะมีค่า และอัญมณี ฯลฯ ด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น หลอม หล่อ ดึง ตี ทุบ บุ ดุน เลี่ยมแกะ สลัก ร้อย เชื่อม ติด ฯลฯ

(๙) งานช่างฝีมือดั้งเดิมที่ไม่สามารถจัดอยู่ใน ๘ ประเภทที่กล่าวมาข้างต้น

ลักษณะที่ ๖ การเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว

การเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว หมายถึง กิจกรรมทางกายและการออกแรง เพื่อจุดมุ่งหมายต่างๆ เช่น เพื่อ

Page 20: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ความสนุกสนานเพลิดเพลิน เพื่อชัยชนะ หรือเพื่อการป้องกันตัว มีรูปแบบและวีธีการเล่นตามลักษณะเฉพาะของท้องถิ่น ที่ปฏิบัติกันอยู่ในประเทศไทยและมีเอกลักษณ์สะท้อนวิถีไทย โดยแบ่งออกเป็น ๔ ประเภทดังต่อไปนี้

(๑) การเล่นพื้นบ้าน หมายถึง กิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายที่ทำด้วยความสมัครใจ เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน ไม่จริงจัง ไม่มุ่งเน้นการแข่งขันและไม่หวังผลแพ้ชนะ

(๒) เกมพื้นบ้าน หมายถึง กิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายที่มีลักษณะของการแข่งขันมีกฎกติกาง่าย ๆ ที่ยอมรับกันในหมู่ผู้เล่น

(๓) กีฬาพื้นบ้าน หมายถึง การแข่งขันทักษะทางกายที่ต้องใช้ความสามารถทางการเคลื่อนไหว ตามกฎกติกา โดยมุ่งหวังผลแพ้ชนะ

(๔) ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว หมายถึง วิธีการหรือรูปแบบการต่อสู้หรือการป้องกันตัวที่ใช้ร่างกายหรืออุปกรณ์ โดยได้รับการฝึกฝนตามวัฒนธรรมที่ได้รับการถ่ายทอดกันมา

************************

Page 21: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

๑รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ประกาศขึ้นทะเบียนระ

หว่างปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ – ๒๕๕๘ จำนวน ๓๑๘ รายการ

สาขา/ปี

ศิลปะการแสดง

งานช่างฝีมือดั้งเดิม

วรรณกรรมพื้นบ้าน

กีฬาภูมิปัญญา

ไทย

แนวปฏิบัติ

ทางสังคมพิธีกรรมและงานเทศกาล

ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ

และจักรวาล

ภาษา รวม

๒๕๕๒ ๑๒ ๑๓ - - - - - ๒๕๒๕๕๓ ๖ ๓ ๑๕ ๑ - - - ๒๕๒๕๕๔ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ - ๓๐๒๕๕๕ ๑๓ ๑๑ ๑๔ ๘ ๗ ๑๑ ๖ ๗๐๒๕๕๖ ๑๕ ๑๐ ๙ ๖ ๑๐ ๙ ๙ ๖๘๒๕๕๗ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๘ ๑๐ ๑๐ ๖๘๒๕๕๘ ๖ ๕ ๕ ๔ ๕ ๕ ๒ ๓๒รวม ๖๗ ๕๗ ๕๘ ๓๔ ๓๕ ๔๐ ๒๗๓๑๘

สาขาศิลปะการแสดงปี พ.ศ.๒๕๕๒

ปี พ.ศ. ๒๕๕๓

ประเภท รายการ ประเภท รายการดนตรีและ ๑. วงสะล้อ ซอ ปิน ดนตรีและเพลง

ร้อง๑. ปี่พาทย์

เพลงร้อง ๒. ซอล้านนา นาฏศิลป์และ ๒. ละครใน ๓. หมอลำพื้น การละคร ๓. หุ่นกระบอก ๔. หมอลำกลอน ๔. ลิเกทรงเครื่อง ๕. ลำผญา ๕. รำเพลงช้า-เพลงเร็ว ๖. เพลงโคราช ๖. แม่ท่ายักษ์-ลิง ๗. ดิเกร์ฮูลู นาฏศิลป์และ

๘. โขน

การละคร ๙. หนังใหญ่ ๑๐. ละครชาตรี ๑๑. โนรา ๑๒. หนังตะลุง ปี พ.ศ.๒๕๕๔

ปี พ.ศ. ๒๕๕๕

Page 22: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ประเภท รายการ ประเภท รายการดนตรีและ ๑. กระจับปี่ ดนตรีและ ๑. ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์

ลีซูเพลงร้อง ๒. เปี๊ยะ เพลงร้อง ๒. ซอสามสาย ๓. ขับเสภา ๓. เพลงหน้าพาทย์นาฏศิลป์และ

๔. ละครนอก ๔. กันตรึม

การละคร ๕. การแสดงในพระราชพิธี

๕. เจรียง

๖. กาหลอ นาฏศิลป์และ ๗. ก้านกกิงกะหร่า การละคร ๘. ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ๙. รำฝรั่งคู่ ๑๐. ละคร

ดึกดำบรรพ์ ๑๑. โนราโรงครู ๑๒. มะโย่ง ๑๓. รองเง็งปี พ.ศ.๒๕๕๖

ปี พ.ศ. ๒๕๕๗

ประเภท รายการ ประเภท รายการดนตรีและ ๑. วงปี่จุม ดนตรีและ

เพลงร้อง1. เค่ง

เพลงร้อง ๒. วงมังคละ 2. เพลงฉ่อย ๓. วงมโหรี 3. เพลงเรือ ๔. แคน 4. เพลงนา ๕. พิณ 5. แตรวง ๖. กรือโต๊ะ นาฏศิลป์และ

การละคร6. ฟ้อนโยคีถวาย

ไฟ ๗. ลำตัด 7. ระบำสี่บท ๘. เพลงอีแซว 8. รำแม่บท ๙. สวดสรภัญญ์ 9. รำโทน ๑๐. เพลงบอก 10. หนังประโมทัย ๑๑. เพลงเรือแหลมโพธิ์

จ.สงขลา

นาฏศิลป์และ

๑๒. ฟ้อนเล็บ

การละคร ๑๓. รำประเลง ๑๔. ฟ้อนกลองตุ้ม ๑๕. ลิเกป่า

ปี พ.ศ.๒๕๕๘

ประเภท รายการ

ดนตรีและ 1. ละครพันทาง เพลงร้อง 2. บานอ 3. กลองยาว 4. ขับลื้อ

Page 23: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

5. เพลงปรบไก่

นาฏศิลป์และ

6. ฟ้อนเงี้ยว

การละคร

สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิมปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓

ประเภท รายการ ประเภท รายการผ้าและ ๑. ซิ่นตีนจก ผ้าและ

ผลิตภัณฑ์๑. ผ้ายก

ผลิตภัณฑ์ ๒. ผ้าแพรวา จากผ้า ๒. ผ้ามัดหมี่จากผ้า ๓. ผ้าทอนาหมื่นศรี เครื่องโลหะ ๓. การปั้นหล่อพระพุทธ

รูปเครื่องจักสาน ๔. ก่องข้าว

ดอก

๕. เครื่องจักสานย่านลิเภา

เครื่องปั้นดินเผา

๖. เครื่องปั้นดินเผาเวียงกาหลง

เครื่องโลหะ ๗. มีดอรัญญิก ๘. กระดิ่งทองเหลือง ๙. กริซ

เครื่องไม้ ๑๐. เกวียนสลักลาย

เครื่องหนัง ๑๑. รูปหนังตะลุง

เครื่องประดับ ๑๒. เครื่องทองโบราณสกุลช่างเพชรบุรี

งานศิลปกรรมพื้นบ้าน

๑๓. ปราสาทศพสกุลช่างลำปาง

ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕

ประเภท รายการ ประเภท รายการผ้าและผลิตภัณฑ์

จากผ้า๑. ผ้าย้อมคราม ผ้าและ ๑. ผ้าทอไทครั่ง

เครื่องจักสาน ๒. เครื่องจักสานไม้ไผ่ ผลิตภัณฑ์ ๒. ผ้าทอไทลื้อเครื่องไม้ ๓. เรือนไทยพื้นบ้าน

ดั้งเดิม จากผ้า ๓. ผ้าทอกะเหรี่ยง

๔. เรือกอและ ๔. ผ้าทอไทยวน ๕. งานช่างแทงหยวก ๕. ผ้าทอผู้ไทย เครื่องรัก ๖. เครื่องมุกไทย ๗. เครื่องรัก เครื่องโลหะ ๘. ขันลงหินบ้านบุ ๙. บาตรบ้านบาตร งานศิลปกรรม ๑๐. สัตตภัณฑ์ล้าน

นา พื้นบ้าน ๑๑. โคมล้านนา ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖

ประเภท รายการ ประเภท รายการผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า

๑. ผ้าทอไทพวน ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า

๑.ผ้าทอเกาะยอ

Page 24: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

๒. ผ้าขาวม้า ๒.ผ้าทอเมืองอุบลฯเครื่องจักสาน ๓. ตะกร้อหวาย เครื่องหนัง ๓.รูปหนังใหญ่ ๔. ขัวแตะ เครื่องไม้ ๔.งานแกะสลักกะโหลก

ซอเครื่องโลหะ ๕. เครื่องทองเหลืองบ้าน

ปะอาว งานศิลปกรรมพื้นบ้าน

๕.งานช่างตอกกระดาษ ๖.งานช่างแกะสลักผักผล

ไม้ ๖. ฆ้องบ้านทรายมูล ๗.งานช่างดอกไม้สด ๗. ประเกือมสุรินทร์ ๘.งานตีทองคำเปลว ๘. งานคร่ำ ๙.งานช่างผ้าลายทองแผ่

ลวดงานศิลปกรรม ๙. หัวโขน ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ๑๐.เครื่องแต่งกายม

โนห์ราพื้นบ้าน ๑๐. บายศรี ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

ประเภท รายการ

เครื่องปั้นดินเผา

1. โอ่งมังกรราชบุรี

เครื่องโลหะ 2. เครื่องเงินไทย

งานศิลปกรรม 3. ปราสาทผึ้ง พื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์ 4. งานช่างสนะ อย่างอื่น 5. เครื่องบูชาอย่าง

ไทย

สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔

ประเภท รายการ ประเภท รายการนิทานพื้นบ้าน ๑. นิทานศรีธนญชัย นิทานพื้นบ้าน ๑. นิทานปลาบู่ทอง ๒. นิทานสังข์ทอง ตำนานพื้น

บ้าน๒. ตำนานจามเทวี

๓. นิทานขุนช้างขุนแผน ๓. ตำนานผาแดงนางไอ่ ๔. นิทานดาวลูกไก่ ๔. ตำนานแม่นากพระโขนงตำนานพื้นบ้าน ๕. ตำนานพระแก้วมรกต ๕. ตำนานนางเลือดขาว ๖. ตำนานพระเจ้าห้า

พระองค์

๗. ตำนานพระเจ้าเลียบโลก

๘. ตำนานพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ๙. ตำนานพระพุทธสิหิงค์ ๑๐. ตำนานพญาคันคาก

บทสวดหรือบทกล่าว

๑๑. บททำขวัญข้าว

ในพิธีกรรม ๑๒. บททำขวัญนาค ๑๓. บททำขวัญควาย

ตำรา ๑๔. ตำราแมวไทย

Page 25: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

๑๕. ตำราเลขยันต์

๑ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖

ประเภท รายการ ประเภท รายการนิทานพื้นบ้าน ๑. นิทานวรวงศ์ นิทานพื้นบ้าน ๑. นิทานยายกะตา ๒. นิทานตาม่องล่าย ๒. นิทานปัญญาสชาดก ๓. นิทานพระสุธนมโนห์รา - ตำนานพื้นบ้าน ๓. ตำนานก่องข้าวน้อยฆ่า

แม่ ภาคใต้ ๔. ตำนานเจ้าแม่ลิ้มกอ

เหนี่ยว ๔. นิทานวันคาร ๕. ตำนานเจ้าแม่เขาสามมุกตำนานพื้นบ้าน ๕. ตำนานพระร่วง ๖. ตำนานกบกินเดือน ๖. ตำนานเจ้าหลวงคำแดง บทสวดหรือ

บทกล่าว๗. บทเวนทาน

๗. ตำนานพระธาตุดอยตุง ในพิธีกรรม ๘. ตำนานเจ้าแม่สองนาง สำนวน ภาษิต ๘. ผญาอีสาน ๙. ตำนานอุรังคธาตุ ตำรา ๙. ตำราพรหมชาติ

๑๐. ตำนานหลวงปู่ทวด

๑๑. ตำนานนางโภควดี ๑๒. ตำนานสร้างโลกภาค

ใต้

ตำรา ๑๓. ปักขะทึนล้านนา ๑๔. ตำราศาสตรา

ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเภท รายการ ประเภท รายการ

นิทานพื้นบ้าน ๑.นิทานนายดัน นิทานพื้นบ้าน 1. นิทานพระรถเมรีตำนานพื้นบ้าน ๒.ตำนานพญากงพญาพาน 2. นิทานท้าวปาจิตต์-

อรพิมพ์ ๓.ตำนานพันท้ายนรสิงห์ ตำนานพื้นบ้าน 3. ตำนานสงกรานต์ ๔.ตำนานชาละวัน 4. ตำนานพระธาตุ

ประจำปีเกิด ๕.ตำนานปู่แสะย่าแสะ 5. ตำนานพระพุทธรูป

ลอยน้ำบทร้องพื้นบ้าน ๖.เพลงแห่นางแมว ๗.กาพย์เซิ้งบั้งไฟ

บทสวดหรือบทกล่าวในพิธีกรรม

๘.บททำขวัญช้าง

ตำรา ๙.ตำราพิชัยสงคราม ๑๐.ตำรานรลักษณ์

Page 26: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

สาขากีฬาภูมิปัญญาไทยปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔

ประเภท รายการ ประเภท รายการศิลปะการต่อสู้ ๑. มวยไทย กีฬาพื้นบ้าน ๑. ว่าวไทยป้องกันตัว ๒. ตะกร้อ ๓. แย้ลงรู ๔. ตี่จับ ศิลปะการต่อสู้ ๕. กระบี่กระบอง ป้องกันตัว ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖

ประเภท รายการ ประเภท รายการการเล่นพื้นบ้าน

๑. ไม้หึ่ม การเล่นพื้นบ้าน

๑. กาฟักไข่ ๒. เสือกินวัว ๒. หนอนซ้อนเกมพื้นบ้าน ๓. หมากเก็บ กีฬาพื้นบ้าน ๓. มวยตับจาก ๔. หมากรุกไทย ๔. มวยทะเลกีฬาพื้นบ้าน ๕. ตะกร้อลอดห่วง ศิลปะการต่อสู้ ๕. ซีละ ๖. วิ่งวัว ป้องกันตัว ๖. มวยโบราณสกลนคร ๗. วิ่งควาย ศิลปะการต่อสู้ ๘. เจิง ป้องกันตัว ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

ประเภท รายการ ประเภท รายการการเล่นพื้นบ้าน

๑.แนดข้ามส้าว เกมพื้นบ้าน 1. โคมลอยลอดห่วง ๒.โค้งตีนเกวียน กีฬาพื้นบ้าน 2. ชักเย่อเกวียน

พระบาท ๓.เสือข้ามห้วย 3. ลูกข่าง ๔.งูกินหาง 4. ตาเขย่ง หรือ ตั้งเตเกมพื้นบ้าน ๕.อีตัก กีฬาพื้นบ้าน ๖.แข่งเรือ ๗.ตีขอบกระด้ง ๘.ตีไก่คน ๙.รถม้าชาวเสียม ๑๐.แข่งโพนจังหวัดพัทลุง

สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาลปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕

ประเภท รายการ ประเภท รายการมารยาท ๑. การแสดงความเคารพ ขนบธรรมเนียม ๑. เทศน์มหาชาติ แบบไทย ประเพณี ๒. ประเพณีรับบัวขนบธรรมเนียม ๒. สงกรานต์ ๓. การแต่งกายบา

Page 27: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

บ๋า -ประเพณี ๓. ลอยกระทง เพอนารากัน ๔. พิธีไหว้ครู ๔. การผูกเกลอ ๕. ประเพณีทำขวัญข้าว ๕. การผูกเสี่ยว ๖. พิธีทำบุญต่ออายุ ๗. สารทเดือนสิบปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗

ประเภท รายการ ประเภท รายการขนบธรรมเนียม ๑. ประเพณีตักบาตรเทโว ขนบธรรมเนียม ๑.ประเพณีแห่เทียน

พรรษาประเพณี ๒. ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณี จังหวัดอุบลราชธานี ๓. ประเพณีการละเล่นผีตา

โขน ๒.ประเพณีลากพระ

ในงานบุญหลวง จ.เลย ๓.ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ

๔. ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ๔.ประเพณีการทำบุญ

๕. พิธีโกนจุก ในพุทธศาสนา

๖. พิธีบายศรีสู่ขวัญ ๕.การแต่งงานแบบไทย

๗. พิธีทำขวัญนาค ๖.สวดพระมาลัยภาคใต้

๘. ประเพณีลงเล ๗.พิธีบูชาแม่โพสพ ๙. ประเพณีกองข้าว

ศรีราชา ๘.พิธีกรรมขอฝน

จ. ชลบุรี ๑๐. ประเพณีแห่พญายม บางพระ จ. ชลบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

ประเภท รายการ

ขนบธรรมเนียม 1. แห่ปราสาทผึ้ง ประเพณี 2. ประเพณีแห่

มาลัยข้าวตอก

ในเทศกาลวันมาฆบูชา

3. ประเพณีสลากย้อมเมืองลำพูน

4. เหยา 5. สวดโอ้เอ้วิหาร

ราย

สาขาความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาลปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕

ประเภท รายการ ประเภท รายการอาหารและ ๑. น้ำปลาไทย อาหารและ ๑. สำรับอาหารไทยโภชนาการ ๒. ต้มยำกุ้ง โภชนาการ ๒. แกงเผ็ด ๓. ผัดไทย ๓. แกงเขียวหวานการแพทย์แผน

Page 28: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

การแพทย์แผนไทย

๔. ฤๅษีดัดตน ๔. ส้มตำ

และการแพทย์พื้นบ้าน

๕. การนวดไทย ๕. น้ำพริก

๖. ปลาร้า การแพทย์แผนไทย ๗. ลูกประคบ และการแพทย์พื้น

บ้าน๘. ยาหอม

๙. หมอพื้นบ้านรักษา กระดูกหัก

การจัดการ ๑๐. คชศาสตร์ชาวกูย ทรัพยากรธรรมชาติ ๑๑. ดอนปู่ตา ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗

ประเภท รายการ ประเภท รายการอาหารและ ๑. อาหารบาบ๋า อาหารและ

โภชนาการ๑.ข้าวต้มมัด

โภชนาการ ๒. กระยาสารท ๒.เมี่ยงคำ ๓. ขนมเบื้อง ๓.มังคุดคัด ๔. ข้าวยำ ๔.แกงพุงปลา ๕. ข้าวหลาม ๕.น้ำตาลมะพร้าวการแพทย์แผนไทยและ

๖. ยาหม่อง การแพทย์แผนไทยและ

๖.การย่างไฟ

การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์พื้นบ้าน ๗.การสักยาการจัดการทรัพยากร

๗. คึฉื่ยของกะเหรี่ยง โหราศาสตร์ ๘.โหราศาสตร์ไทย

ธรรมชาติ ๘. ข้าวหอมมะลิ และดาราศาสตร์ ๙. ปลากัดไทย การจัดการ ๙.ไก่ชนไทย ทรัพยากรธรรมชาติ ๑๐.แมวไทย

ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเภท รายการ

อาหารและ 1. ภูมิปัญญาการทำปลาดุกร้า

โภชนาการ

การแพทย์แผนไทย

2. ภูมิปัญญาการอยู่ไฟ

และการแพทย์พื้นบ้าน

การจัดการ 3. ภูมิปัญญาการเลี้ยงควายไทย

ทรัพยากรธรรมชาติ

4. ภูมิปัญญาการทำเส้นไหมไทย

5. ภูมิปัญญาการทำเหมืองฝาย

สาขาภาษาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖

Page 29: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

ประเภท รายการ ประเภท รายการภาษาท้องถิ่น ๑. อักษรธรรมล้านนา ภาษาท้องถิ่น ๑. ภาษาเลอเวือะ ๒. อักษรไทยน้อย ๒. ภาษาโซ่ (ทะวึง) ๓. อักษรธรรมอีสาน ๓. ภาษาตากใบ (เจ๊ะเห) ๔. ภาษาชอง ๔. ภาษาสะกอม ๕. ภาษาญัฮกุร ๕. ภาษาอูรักลาโวยจ ๖. ภาษากฺ๋อง ๖. ภาษามานิ (ซาไก) ๗. ภาษาไทยโคราช/ไทยเบิ้ง ๘. ภาษาพิเทน ๙. ภาษาเขมรถิ่นไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

ประเภท รายการ ประเภท รายการภาษาท้องถิ่น ๑.ภาษาญ้อ ภาษาท้องถิ่น 1. ภาษากูย/กวย ๒.ภาษาแสก 2. ภาษาพวน ๓.ภาษาอึมปี้ ๔.ภาษาบีซู ๕.ภาษากะซอง ๖.ภาษาซัมเร ๗.ภาษาชอุง ๘.ภาษามลาบรี ๙.ภาษามอแกน ๑๐.ภาษาผู้ไทย

Page 30: -๓- ๒.๕ อธ บายว ธ ท าหร อการด าเน นงานในการส งเสร มและร กษามรดกภ ม ป ญญาทางว

หนังสือยินยอม

วันที่…..……เดือน……………..………พ.ศ…..……..

โดยหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้า ชื่อ สกุล…………………………………………………………………………..….. ที่อยู่...................................................................................................................... ................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ในฐานะผู้แทนของชุมชน หน่วยงาน องค์กร ที่เป็นเจ้าของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม...................... ............................................................................................................................. ................................................. ยินยอมให้ (ชื่อบุคคล หน่วยงาน องค์กร หรือสถาบัน)…………………………………………………………........................ เป็นผู้เสนอชื่อ (ชุมชน หน่วยงาน หรือองค์กร) …………………………………………………………………………………….…. ที่เป็นเจ้าของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมข้างต้น เข้ารับการคัดเลือกเป็นชุมชน หน่วยงาน หรือ องค์กรดีเด่น ด้านการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ประจ าปีพุทธศักราช ๒๕๕๙

ลงชื่อ……………………………...………………………….. (……………………………………………………)

ลงชื่อ……………………………………………………….. พยาน

(……………………………………………………)

ลงชื่อ……………………………………………………….. พยาน

(……………………………………………………)