คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์...

24
~ 1 ~
  • Upload

    -
  • Category

    Education

  • view

    3.911
  • download

    3

description

คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี 57 E-BOOK ราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ : www.Sheetram.com สอบถามรายละเอียด Facebook http://www.facebook.com/Sheetram LINE ID : sheetram บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

Transcript of คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์...

Page 1: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 1 ~

Page 2: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 2 ~

สารบัญ

สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเก่ียวกับการประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 6 สัญลักษณ 7 การบริหารจัดการภาพลักษณ 8 ตราสัญลักษณประจําองคกร 10 สีประจําองคกร 10 ประวัติ/ภาระหนาที่ 10 ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 14 การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 15 ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 15 จริยธรรม 23 ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 25 แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 26 ธรรมภิบาล (Good Govermance) 27

สวนที่ 2 กฎหมายท่ีควรรูเก่ียวกับการประปานครหลวง พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 37 แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 52

สวนที่ 3 ความรูความสามารถเฉพาะตําแหนงบริหารงาน หลักและทฤษฎีการสื่อสาร 62

ความเปนมาของการสื่อสาร 62 ความหมายของการสื่อสาร 63 หลักการสื่อสารที่สําคัญ 68 ความหมายของคําวา “มวลชน” 69 ความหมายของคําวา “การสื่อสาร” 70 กระบวนการสื่อสารมวลชน 72 กระบวนการสื่อสารมวลขน (Mass Communication Process) 76

ทฤษฎีการสื่อสารที่เกี่ยวของ 85 แนวคิดทฤษฎีผูกรองสาร (Gatekeeper Theory) 86 แนวคิดทฤษฎีการใชสื่อเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ 87 แนวคิดทฤษฎีการเลน 88 ระบบการสื่อสารมวลชน 90 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีเสรีนิยม 92 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีโซเวียตคอมมิวนิสต 93 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีความรับผิดชอบตอสังคม 94

ความรูเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ มวลชนสัมพันธ 97 ความหมายของการประชาสัมพันธ 97

Page 3: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 3 ~

ลักษณะสําคัญของการประชาสัมพันธ 100 องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธ 103 กลุมมวลชน (Publics) 105

การเขียนขาวประชาสัมพันธ 108 เอกสารประชาสัมพันธ 109

การสื่อสารทางสื่อมวลชน 112 แนวคิดเกี่ยวกับสื่อมวลชน 112

การสื่อสารทางสื่อสิ่งพิมพ 113 ระบบการพิมพ 115

การเขียนบรรยายภาพขาว 118 องคประกอบของเหตุการณที่มีคุณคาทางขาว 119 ประเภทและชนิดของขาว 120 คุณสมบัติของขาวที่ดี 122 นโยบายดานขาวของหนังสือพิมพ 122

การรวบรวมขอมูลขาว 123 เทคนิคการเขียน 134

การจัดทํารายการวิทยุ 137 หลักการเขียนขาววิทยุ 150 การพาสื่อมวลชน/กลุมเปาหมายเยี่ยมชมกิจการ 150

หลักสําคัญในการสรางภาพลักษณที่ดีใหแกหนวยงาน 151 การสรางภาพลักษณขององคกรเปนหนาที่ของสมาชิกทุกคน 151 การใหขาวแกสื่อมวลชน 152 การเขียนบทสัมภาษณและการสัมภาษณผูบริหาร 154 การรวบรวมขอมูลขาวจากการสัมภาษณ 154 การใชอุปกรณในการรวบรวมขอมูลขาว 155 การจัดนิทรรศการ 157 การจัดแผนปาย 157 ประเภทของแผนปาย 157 เทคนิคการจัดทําแผนปาย 159 การจัดปายนิเทศ 159 การจัดปายนิเทศใหสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค 162 การกําหนดบริเวณวางในนิทรรศการ 163 การกําหนดทางเดินชมนิทรรศการ 164 การวางแผนเพ่ือปฏิบติังานประชาสัมพันธ 165 หลักการประชาสัมพันธ 165 วัตถุประสงคของการประชาสัมพันธ 167 หัวใจของการวางแผนงานประชาสัมพันธ 169 การวางแผนใหบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง 170 โครงสรางการเขียนขาวทุกประเภท 170 จรรยาบรรณในวิชาชีพ 172

Page 4: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 4 ~

จรรยาบรรณในวิชาชีพ 172 จริยธรรมการดําเนินงานของการประปานครหลวง 172 จริยธรรมการดําเนินงานขององคกร 173 จริยธรรมการดําเนินงานของคณะกรรมการ 174 จริยธรรมการดําเนินงานของพนักงานและลูกจาง 176 นักประชาสัมพันธและคุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ 177

กฎหมายท่ีเก่ียวของ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 180 แนวขอสอบ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 188 พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 197 แนวขอสอบ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 206 แนวขอสอบ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 211 แนวขอสอบ นักประชาสัมพันธ การประปานครหลวง 237

Page 5: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 5 ~

การประปานครหลวง

วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม วิสัยทัศน  "เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการท่ีดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ในระดับแนว

หนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา" พันธกิจ "ใหบริการงานประปา อยางม่ันคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐานคุณภาพ

และ บุคลากรมืออาชีพ เพ่ือสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแกผูใชบริการ" คานิยม "มุงม่ัน พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดม่ันในประโยชนของผูใชบริการ ดวยความ

รับผิดชอบ"

การจัดการองคกร ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับท่ี 3 (2555 - 2559)

ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังน้ี 1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic) ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนไดสวนเสีย ในที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนท้ังท่ีเปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกรธุรกิจ ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความตองการและความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล 2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic) สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดใหเติบโตอยางยั่งยืน และเพ่ิมประสิทธิภาพการดําเนินงาน 3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)

Page 6: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 6 ~

ใหบริการนํ้าประปาท่ีสะอาด อยางท่ัวถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการยอมรับในระดับสากล 4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงนํ้าดวยมาตรฐานสูงอยางม่ันคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการท่ีเปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพ่ิมประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสรางขีดความสามารถองคกร 6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic) ยกระดับการบริหารจัดการท่ีดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การมีสวนรวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency) ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการคอรรัปชั่น (Anti – Corruption) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหารจัดการท้ังองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน

สัญลักษณ

พระแมธรณ ีสัญลักษณของการประปานครหลวง

Page 7: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 7 ~

ตราสัญลักษณประจําองคกร

หมายเหตุ : สามารถเลือกใชได 2 แบบ ตามความเหมาะสม และไมควรดัดแปลง/แกไขตราสัญลักษณประจําองคกร

สีประจําองคกร

ประวัติ/ภาระหนาที่ พระผูกอต้ังกิจการประปา วัน ที่ 13 เดือนกรกฏาคม พ.ศ.2452 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ได

ประกาศพระบรมราชโองการทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกรมศุขาภิบาลจัดการท่ีจะนํานํ้ามาใชในพระนครตามแบบอยางท่ีสมควรแก ภูมิประเทศการท่ีจะตองจัดทําน้ันคือ

• ใหต้ังทําท่ีน้ําขังท่ีคลองเชียงราก แขวงเมืองปทุมธานี อันเปนท่ีพนเขตนํ้าเค็มข้ึนถึงทุกฤดู

สีน้ําเงิน C95 M70 Y15K0 หรือ PANETONE 653 C

สีเขียวน้ําทะเล C80 M0 Y35 K0 หรือ PANETONE 325 C

สีฟาใส C30 M0 Y0 K0 หรือ PANETONE 290 C

Page 8: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 8 ~

ธรรมมาภิบาล (Good Governance)  ประเทศไทยประสบกับปญหาการทุจริตคอรรัปชั่นจนกลายเปนวิกฤตในสังคมซึ่งสงผลกระทบตอการดําเนินนโยบายของรัฐ จึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองสรางจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรม ใหกับเจาหนาท่ีของรัฐ ผูซึ่งมีบทบาทสําคัญ ในการปฏิบัติหนาท่ีตามนโยบายของรัฐและใหบริการแกประชาชนเพ่ือนําไปสูความเจริญรุงเรืองของประเทศชาติ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงมีสาระสําคัญประการหนึ่งท่ีมุ งแกไขปญหาการผูกขาดอํานาจรัฐและการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม รวมทั้งการดําเนินการทางการเมืองที่ขาดความโปรงใสไมมีคุณธรรม จริยธรรม โดยการบัญญัติถึงการสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ หรือเจาหนาท่ีของรัฐแตละประเภทซ่ึงรวมถึงรัฐวิสาหกิจไวเปนเรื่องสําคัญ กําหนดใหหนวยงานของรัฐทุกแหงตองจัดใหมีประมวลจริยธรรมเพ่ือสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของตนและใหเจาหนาท่ีของรัฐภายในหนวยงานประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมนั้นอยางเครงครัด เพ่ือมุงเนนใหการใชอํานาจรัฐมีความโปรงใส มีคุณธรรมและจริยธรรม โดยกําหนดไวในหมวด 13 จริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาท่ีของรัฐ ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ที่ไดกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศสูสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันติสุข และ นโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายดานการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร ซึ่งมุงเสริมสรางมาตรการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบในภาคการเมืองและภาคราชการทั้งในระดับทองถิ่นและในระดับชาติโดยถือวาการปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเปนเครื่องมือหน่ึงในการเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรมในองคกร

เพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งเพื่อใหการดําเนินการเสริมสรางจริยธรรมและคุณธรรมของการประปานครหลวงบังเกิดผลอยางเปนรูปธรรม คณะกรรมการการประปานครหลวง จึงไดสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของการประปานครหลวง โดยการจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวงกําหนดเปนขอบังคับการประปานครหลวง ฉบับที่ 133 วาดวย ประมวลจริยธรรมของผูวาการและพนักงาน การประปานครหลวง พ.ศ. 2552

Page 9: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 9 ~

กองวินัยและเสริมสรางจริยธรรม ฝายบริหารทรัพยากรบุคคล ในฐานะหนวยงานซ่ึงปฏิบัติงานดานเสริมสรางจริยธรรมในองคกรและเปนหนวยงานหลักที่ไดรับมอบหมายในการประสานงานจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง รวมทั้งมีบทบาทสําคัญในการติดตาม ควบคุม และดูแลใหพนักงานการประปานครหลวงปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมที่ไดกําหนดไวในประมวลจริยธรรม จึงไดจัดทําคูมือจริยธรรมของการประปานครหลวงฉบับน้ีขึ้น โดยมีสาระสําคัญเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง ทั้งในสวนความเปนมา มาตรฐานทางจริยธรรม กลไกการบังคับใช และขั้นตอนลงโทษ เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมใหกับพนักงานและผูปฏิบัติงานไดรับทราบและนํามายึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองพรอมท้ังหลีกเลี่ยงมิใหเกิดการฝาฝนมาตรฐานจริยธรรมท่ีกําหนดไว เสริมสรางจริยธรรมในองคกร และเผยแพรภาพลักษณที่ดีขององคกรใหเปนที่ยอมรับของสังคม อันจะนําพาองคกรไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว และกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประเทศชาติ

จริยธรรม คําวา “จริยธรรม” แยกออกไดเปน จริย + ธรรม ซึ่งคําวา จริยะ หมายถึง ความประพฤติหรือ

กิริยาท่ีควรประพฤติ สวนคําวา ธรรม มีความหมายหลายประการ เชน คุณความดี, หลักคําสอนของศาสนา, หลักปฏิบัติ เมื่อนําคําท้ังสองมารวมกันเปน "จริยธรรม" จึงมีความหมายตามตัวอักษรวา “หลักแหงความประพฤติ” หรือ “แนวทางของการประพฤติ” ที่กลาวมาน้ันเปนความหมายตามตัวอักษรของคําวา “จริยธรรม” ซึ่งเปนแนวทางใหนักวิชาการหลายทาน ไดใหความหมายของคําวา “จริยธรรม” ไวคลายคลึงกัน ดังตัวอยางตอไปนี้

จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติ,ศีลธรรม,กฎศีลธรรม - พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

จริยธรรม หมายถึง แนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพ่ือการบรรลุถึงสภาพชีวิตอันทรงคุณคาพึงประสงค - ผลการสัมมนาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ เรื่อง จริยธรรมในสังคมไทยปจจุบัน ซึ่งจัดข้ึนที่ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT)

จริยธรรม หมายถึง หลักคําสอนวาดวยความประพฤติเปนหลักสําหรับใหบุคคลยึดถือในการปฏิบัติตน - วิทย วิศทเวทย และ เสถียรพงษ วรรณปก

Page 10: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 10 ~

จริยธรรม หมายถึง ระเบียบปฏิบัติที่มุงปฏิบัติเพ่ือใหเกิดความผาสุกในสังคม เปนสิ่งที่มนุษยทําข้ึน แตงข้ึนตามเหตุผลของมนุษยเอง หรือตามความตองการของมนุษย – พุทธทาสภิกขุ

จริยธรรม หมายถึง การนําความรูในความจริงหรือกฎธรรมชาติไปใชใหเกิดประโยชนตอการดําเนินชีวิตท่ีดีงาม อันจะทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม – พระราชวรมุนี

ตามนิยามขางตน สามารถประมวลสรุปความไดวา จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนใหเปนคนดี เปนประโยชนสุขแกตนเองและสวนรวม

นอกจากน้ี จริยธรรมไมใชกฎหมาย เพราะกฎหมายเปนสิ่งบังคับใหคนทําตาม และมีบทลงโทษสําหรับผูฝาฝน ดังนั้น สาเหตุที่คนเคารพเชื่อฟงกฎหมายเพราะกลัวถูกลงโทษ ในขณะที่จริยธรรมไมมีบทลงโทษ ดังน้ัน คนจึงมีจริยธรรมเพราะมีแรงจูงใจ แตอยางไรก็ตาม กฎหมายก็มีสวนเก่ียวของกับจริยธรรมในฐานะเปนแรงหนุนจากภายนอกเพื่อใหคนมีจริยธรรม และโดยทั่วไปจริยธรรมมักอิงอยูกับศาสนา ทั้งนี้เพราะคําสอนทางศาสนามีสวนสรางระบบจริยธรรมใหสังคม แตทั้งนี้มิไดหมายความวา จริยธรรมอิงอยูกับหลักคําสอนทางศาสนาเพียงอยางเดียว แทที่จริงน้ันจริยธรรมหยั่งรากอยูบนขนบธรรมเนียมประเพณี โดยนัยนี้ บางคนเรียกหลักแหงความประพฤติอันเนื่องมาจากคําสอนทางศาสนาวา "ศีลธรรม" และเรียกหลักแหงความประพฤติอันพัฒนามาจากแหลงอื่น ๆ วา "จริยธรรม" ในทรรศนะของนักวิชาการหลายทาน ศีลธรรมกับจริยธรรมจึงเปนอันเดียวกัน ไมอาจแยกเด็ดขาดจากกันได ความแตกตางอยูตรงแหลงท่ีมา ถาแหลงแหงความประพฤตินั้นมาจากศาสนาหรือขอบัญญัติของศาสนา นั่นคือ ศีลธรรม แตถาเปนหลักทั่ว ๆ ไป ไมเกี่ยวกับศาสนา เชน คําสอนของนักปรัชญา นั่นคือ จริยธรรม กลาวคือ จริยธรรมจะมีความหมายกวางกวาศีลธรรม เพราะศีลธรรมเปนหลักคําสอนทางศาสนาท่ีวาดวยความประพฤติปฏิบัติชอบ สวนจริยธรรมหมายถึงหลักแหงความประพฤติปฏิบัติชอบอันวางรากฐานอยูบนหลักคําสอนของศาสนา ปรัชญาและขนบธรรมเนียมประเพณี

กลาวโดยสรุป จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดี ซึ่งมีลักษณะเปนขอบัญญัติใหบุคคลประพฤติปฏิบัติตามอันถือกันวาเปนการกระทําท่ีดี ดังน้ัน การดําเนินชีวิตตามหลักจริยธรรมเปนส่ิงที่สังคมตองการ สังคมจึงไดจัดใหมีการวางแนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนและมีการส่ังสอนอบรมเรื่องจริยธรรมแกสมาชิกของสังคม ผลที่สังคมคาดหวังคือการท่ีสมาชิกนอมนําเอาจริยธรรมไปประพฤติในชีวิตประจําวัน เชนเดียวกับ การกําหนดใหหนวยงานของรัฐตองจัดใหมีประมวลจริยธรรมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เพ่ือ

Page 11: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 11 ~

หลักและทฤษฎีการสื่อสาร ตนกําเนิดของภาษา (The Origins of Language)

มนุษยในสมัยกอน เชน Australopithecus, Homo Habilis และ Homo Erectus น้ัน ยังไม

สามารถพูดไดหรือยังไมมีการพูดเพ่ือสื่อสารกัน ท่ีเปนเชนน้ันเพราะลักษณะโครงสรางทางกายภาพ อัน

ไดแกโครงสรางของกลองเสียงยังเหมือนกับพวกลิงท่ีสงเสียงไดเทาน้ัน จึงทําใหไมสามารถควบคุมเสียงให

เปลงออกมาเปนคําพูดได ในยุคของมนุษยพวก Neanderthal (Homo Sapiens Neanderthalensis) ท่ีอาศัยอยูต้ังแตสมัยโบราณ ประมาณ 150,000 – 125,000 ปมาแลว จะสามารถสื่อสารกันไดโดยใชภาษาทาทาง ดวยวิธีการเคลื่อนไหวรางกาย และเสียงเทาท่ีสามารถเปลงออกมาได ตอมาในชวง 90,000 ถึง 35,000 ปท่ีผานมา มีมนุษยเกิดขึ้นมากมายหลายจําพวกเขามาแทนพวก Neanderthal มนุษยพวกน้ีมีชื่อเรียกวา Cro–Magnon (Homo Sapiens Sapiens) ซ่ึงถือไดวาเปนบรรพบุรุษของพวกมนุษยในปจจุบัน ถาใหพวก Cro–Magnon แตงตัวดวยเสื้อผาท่ีทันสมัย ก็จะไมมีอะไรท่ีแตกตางจากมนุษยในปจจุบันเลย เพราะพวกน้ีมีกลองเสียง ลิ้น และโครงสรางของริมฝปากท่ีเหมือนกับมนุษยปจจุบัน สามารถควบคุม

เสียงท่ีเปลงออกมาได จึงมีความเปนไปไดท่ีพวก Cro–Magnon อาจพูดได และเกิดการพัฒนาจนเปน

ภาษาในเวลาตอมา การใชภาษาจึงเริ่มตนขึ้นเม่ือประมาณ 40,000 ปมาแลว และการสื่อสารก็เริ่มมีการพัฒนาขึ้นเปน

ครั้งแรกเชนกัน จึงกลาวไดวาภาษาคือจุดเริ่มตนของกระบวนการสื่อสารของมนุษย ท่ีพัฒนาตอมาจนถึง

การสื่อสารมวลชน และการสื่อสารของมนุษยก็คือพ้ืนฐานของการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน

ความเปนมาของการส่ือสาร การสื่อสารเกิดข้ึนมาพรอม ๆ กับการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยไดตอสูกับธรรมชาติและด้ินรน

เพ่ือการมีชีวิต อยูรอด โดยใชการสื่อสารเปนเครื่องมือ เพ่ือชวยใหบรรลุผลในการทํางานตางๆ มนุษยอยู

รวมกันไดเปนชนเผา เปนสังคม เปนประเทศชาติ โดยใชการสื่อสารระหวางกัน เพ่ือการเขาใจรวมกัน สราง

จุดมุงหมายรวมกัน การสื่อสารจึงเปนเครื่องมือท่ีมนุษยใชเพ่ือสรางและพัฒนาความสัมพันธระหวางกัน

มนุษยจึงเล็งเห็นความสําคัญและใหความสนใจศึกษาคนควาเกี่ยวกับการสื่อสารมาเปนเวลานานแลว

Page 12: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 12 ~

การศึกษาเก่ียวกับการสื่อสารไดเริ่มมีมาเปนเวลานับพันปแลว ต้ังแตยุคท่ีอารยธรรมกรีกและโรมัน

ยังเจริญรุงเรืองอยูในยุโรปโบราณ นักปราชญชาวกรีก คือ อริสโตเติล (Aristotle) ซ่ึงเปนปรมาจารยท่ีไดศึกษาในเรื่องของศาสตรเกี่ยวกับการ สื่อสาร และเปนผูท่ีมองเห็นความสําคัญของการสื่อสารวาเปน

ชองทางใหมนุษยบรรลุจุดมุงหมายท่ีตองการได

กําเนิดของการส่ือสาร คนเราจําเปนตองเกี่ยวของกับการสื่อสารตลอดท้ังชีวิตของเราโดยไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตเรา

มักจะไมมี ประสิทธิภาพเพียงพอท่ีจะพัฒนาใหมีความเขาใจในการสื่อสารได ดังน้ันการท่ีเรารูเรื่องของการ

สื่อสารวามันคืออะไร จะเปนโอกาสดีท่ีทําใหเราเขาไปเกี่ยวของกับการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ

ความหมายของการส่ือสาร “การส่ือสาร” (Communication) หมายถึง การผลิตสารอยางต้ังใจ และไดถายทอดสารน้ันโดยบุคคลหน่ึงไปยังบุคคลอื่น หรือหลาย ๆ คน เม่ือผูรับสารไดรับสารแลว จะทําการแปลสารใหเขาใจตรง

ตามท่ีผูสงสารตองการ ก็ถือไดวาการ สื่อสารน้ันประสบผลสําเร็จ แตถาหากผูรับสารไดรับสารแลว แปลสารไมตรงตามความหมายท่ีผูสงสารตองการ การสื่อสารน้ันก็

เกิดความ ลม เหลวไมประสบผลสํ า เร็ จ สิ่ ง น้ี เ ร า เรียกได ว า การ ส่ือสาร เกิดความลม เหลว

(Communication Breakdown) หรือเกิดความผิดพลาดในการสื่อสาร (Miscommunication) Communication มาจากภาษาลาตินวา Communis, Common เม่ือคนเราทําการสื่อสารน่ันหมายถึง การท่ีเรากําลังสรางความคุนเคยกับคน ๆ หน่ึง โดยท่ีเราพยายามจะแลกเปลี่ยน (Share) ขาวสาร

(Information) ความคิด (Idea) และทัศนคติ (Attitude) ดังน้ันการสื่อสารจึงหมายถึงการท่ีคนเราทําการสื่อสารความคิด โดยมีความพยายามใหผูสงสาร

(Sender) และ ผูรับสาร (Receiver) ปรับความคิดเขาหากัน เพ่ือจะไดเขาใจสารไดตรงกัน

องคประกอบของการส่ือสาร การสื่อสารโดยท่ัว ๆ ไป มีองคประกอบท่ีสําคัญอยู 3 ประการ คือ

Page 13: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 13 ~

1.แหลงขาวสาร (Source) อาจเปนบุคคลคนเดียว (Individual) ท่ีใชวิธีการพูด การเขียน การวาด

ภาพ กิริยาทาทาง หรือเปนการสื่อสารแบบองคกร (Organization) ท่ีมีแหลงขาวสาร ซ่ึงไดแก

หนังสือพิมพ นิตยสาร สถานีวิทยุ – โทรทัศน โรงถายภาพยนตร เปนตน 2.สาร (Message) อาจเปนรูปแบบของหมึกท่ีใชในการพิมพบนกระดาษ คลื่นวิทยุในอากาศ การว่ิง

ของกระแสไฟ การโบกมือ ธงโบกสะบัด หรือสัญญาณอื่น ๆ ท่ีสามารถแปลความหมายใหเขาใจไดก็ถือวา

เปนสาร 3.จุดหมายปลายทาง (Destination) อาจเปนบุคคลคนหน่ึงท่ีกําลังฟง กําลังดู กําลังอานหรืออาจ

เปนกลุมคน เชน กลุมสนทนา กลุมผูฟงการบรรยาย กลุมผูชมฟุตบอล กลุมประทวง หรืออาจเปนบุคคล

จากกลุม ๆ หน่ึง ท่ีเราเรียกวา ผูรับสารมวลชน (Mass Audience) เชน กลุมผูอานหนังสือพิมพ กลุมผูรับ

ฟงรายการวิทยุ กลุมผูชมภาพยนตร หรือกลุมผูชม รายการวิทยุโทรทัศน เปนตน ถาแหลงขาวสารพยายามที่จะสรางความเขาใจในความหมายของสารที่ตรงกัน รวมกัน ใหกับผูรับ

สารท่ีแหลง ขาวสารตองการสงสารให กอนอื่นผูสงสารหรือแหลงขาวสารจะทําการเขารหัสสาร (Encoder) ท่ีอาจจะเปนขาวสารหรือความรูสึกท่ีตองการจะแลกเปลี่ยนกับผูรับสาร โดยทําใหเปนรูปแบบท่ีสามารถ

ถายทอดออกมาใหเขาใจได เพราะ “รูปภาพท่ีอยูในหัวในสมองของเรา” ไมสามารถถายทอดใหเห็นออกมาเปนภาพไดจนกวาจะนําสารน้ันมาเขารหัสความหมายกอนจึงจะสามารถเขาใจได เม่ือรูปภาพถูกนํามาเขารหัสเปนคําพูดท่ีสามารถถายทอดใหเขาใจไดงายขึ้นและมีประสิทธิภาพมาก

ขึ้น แตการ ถายทอดน้ันอาจมีอุปสรรคที่ไมสามารถสงไปไดไกลนัก ถาตองการใหสารไปไดไกล ๆ ก็ตอง

อาศัยคลื่นวิทยุเปนตัวนําไปจึงจะไปไดไกลกวา แตถาสารถูกนํามาใสรหัสเปนตัวหนังสือ สารน้ันจะถูกถายทอดไปไดชากวาคําพูด แตก็ไปไดไกลกวา

และอยูไดนานมากกวาคําพูด และการท่ีจะทําใหการส่ือสารดําเนินไปอยางสมบูรณ สารท่ีสงมาตองถูก

ถอดรหัส (Decoder) โดยผูรับสาร เพ่ือใหเขาใจความหมายของสารไดตรงกันกับท่ีผูสงสารใสความหมายไว

ระบบการส่ือสารของมนุษย ระบบการสื่อสารของมนุษยมีลักษณะคลายกับวงจรการทํางานของวิทยุและโทรทัศน ดังแผนภูมิ

Source Encoder Signal Decoder Destination

Encoder หมายถึง ไมโครโฟนท่ีใชสําหรับการเขารหัสสาร

Page 14: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 14 ~

Decoder หมายถึง หูฟงท่ีใชสําหรับการถอดรหัสสาร Signal หมายถึง สัญญาณหรือสัญลักษณท่ีใชในระบบการสื่อสารขั้นพ้ืนฐานของมนุษย (Human Communication) ซ่ึงก็คือ ภาษา (Language) อันเปนสิ่งท่ีทําใหเกิดความเขาใจรวมกัน และเปน

จุดเริ่มตนของกระบวนการ สื่อสารของมนุษย

มนุษยเราส่ือสารกันอยางไร การสื่อสารของมนุษยยอมแตกตางจากสิ่งตาง ๆ ท่ีดํารงชีวิตอยูบนโลก โดยเฉพาะอยางย่ิงมนุษยเรา

สื่อสารกันโดยใช “ภาษาพูดและภาษาเขียน” ซ่ึงเปนสวนหน่ึงของวัฒนธรรมท่ีมีความเจริญและซับซอนมากขึ้น สัตวใชการแสดงพฤติกรรมตาง ๆ เปนการสื่อความหมาย ซ่ึงสวนใหญแลวพฤติกรรมตาง ๆ น้ัน

ไดรับการ ถายทอดสืบตอกันมา บางครั้งไดมาจากการเรียนรู แตก็ไมไดขึ้นกับวัฒนธรรมเหมือนกับมนุษย

เพราะมีแตมนุษยเทาน้ันท่ีทําการสื่อสารกันโดยตองคํานึงถึงวัฒนธรรมและกฎระเบียบตาง ๆ ของสังคม

การใชสัญลักษณของภาษาพูดและภาษาทาทาง

(The Use of Verbal and Nonverbal Symbols) ในปจจุบันมนุษยเรายังคงทําการสื่อสารกัน ไมวาจะเปนการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน (Face to Face) หรือการ สื่อสารท่ีตองผานสื่อตาง ๆ โดยใชสัญลักษณของภาษาพูดและภาษาท่ีไมออกเสียง

สัญลักษณท่ีใช ไดแก คําพูด กิริยาทาทาง หรือสิ่งท่ีแทนความหมายในภาษาของแตละชุมชน ซ่ึงขึ้นอยูกับ

วัฒนธรรมดวย เชน ไมกางเขน แหวนแตงงาน แหวนหม้ัน ฯลฯ

การส่ือสารของมนุษย : แบบจําลองแนวเสนตรง (Human Communication : A Basic Linear Model) ถึงแมวาสัญลักษณ ความหมาย ไวยากรณ โครงสรางของคํา โครงสรางของประโยค และการออก

เสียงจะเปนสิ่งท่ีสําคัญของภาษา แตสิ่งเหลาน้ีไมไดแสดงใหเห็นเลยวามนุษยเราสื่อสารกันอยางไร ดังน้ัน

เพ่ือแสดงใหเห็นวาคนเรามีความ เกี่ยวของกับการสื่อสารกันไดอยางไรบาง จึงมีความจําเปนท่ีจะตองศึกษา

กระบวนการสื่อสารทุกขั้นตอนโดยละเอียด ข้ันตอนของกระบวนการสื่อสารมีอยู 6 ข้ันตอน ดังน้ี

Page 15: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 15 ~

หลักการสื่อสารท่ีสําคัญ

ความเปนมาของการส่ือสารมวลชน มนุษยเราเริ่มทําการสื่อสารกันมาเปนเวลาชานานแลว นับต้ังแตอดีตเปนตนมา แตความสามารถใน

การท่ีจะใชสื่อตาง ๆ เพ่ือเก็บหรือถายทอดขอมูลขาวสารจากท่ีหน่ึงไปอีกท่ีหน่ึงเพ่ิงจะมีการพัฒนาขึ้นมาใน

ระยะหลังน้ีเอง สื่อ คือเครื่องมือท่ีใชสําหรับถายทอดขอมูลขาวสารผานระยะเวลาและระยะทาง โดยผูสงสารจะสง

สารไปหรือบันทึกไวโดยใชสื่อผานไปใหผูรับสารท่ีอยูท่ีอื่นหรือเวลาอื่น เม่ือผูรับสารไดรับสารแลวก็จะแปล

สารท่ีไดรับ การส่ือสารแบบใชสื่อกลางก็เหมือนกับการสื่อสารในรูปแบบอื่นของมนุษย คือ กระบวนการท่ี

เชื่อมโยงผูสงสารกับ ผูรับสารท่ีทําการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารโดยใชภาษาพูดหรือภาษาเขียน ใน

ความหมายน้ีจะเห็นไดวามีการใชสื่อมานานแลว ในปจจุบันสื่อไดกระตุนใหมนุษยมีความตื่นตัวท่ีจะเอาชนะระยะเวลาและระยะทาง เพราะเรากําลัง

อยูในยุคของการปฏิวัติการสื่อสารซ่ึงกําลังเขามาแทนท่ีการสื่อสารแบบเดิมท่ีมนุษยเราใชภาษาเพ่ือการ

สื่อสารเทาน้ัน ปจจุบันสื่อมวลชนสามารถเขาถึงผูรับสารไดเปนจํานวนนับลาน โดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมไดอยาง

นามหัศจรรย แตอยางไรก็ตาม สื่อมวลชนก็ยังคงทําหนาท่ีเหมือนเดิมเชนท่ีเคยปฏิบัติกันมาต้ังแตสมัย

โบราณตัวอักษรหรือสัญลักษณอียิปตโบราณ สัญญาณควันไฟ เสียงกลองไดถูกสงผานระยะเวลาและ

ระยะทางมาถึงปจจุบัน สิ่งท่ีแตกตางกันระหวางอดีตกับปจจุบันก็คือ ในปจจุบันผูสงสารสามารถสงสารไปยังผูรับสารจํานวน

มากได พรอมกันทันทีในเวลาเดียวกัน ถึงแมผูรับสารจะอยูในท่ีตาง ๆ กันก็ตาม อยางไรก็ตาม สื่อไมใชสาร แตสารท่ีถูกสรางขึ้นก็อาจมีขอจํากัด และอาจเขาใจไดยาก เพราะสื่อหน่ึง

ก็มีความ แตกตางไปจากส่ืออื่น ซ่ึงอาจเสริมสรางประสบการณของการสื่อสารดวยการรับรู หรือการ

จินตนาการโดยไมมีการเผชิญหนากันในระหวางการสนทนา หรือสารอาจจะมีความถูกตองนอยลงก็ได เม่ือ

สารไดไปถึงผูรับสาร ถึงแมเรากําลังอยูในยุคของความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีสมัยใหม แตเราก็ยังอยูกับ

กระบวนการสื่อสารขั้น พ้ืนฐานของมนุษยท่ีใชกันมาต้ังแตสมัยโบราณ ผูรายงานขาวจะใชคําใชประโยคใน

Page 16: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 16 ~

หนังสือพิมพหรือทางวิทยุโทรทัศนอยางไร จึงจะเปนภาษาที่ถูกตอง เพ่ือใหผูรับสารสามารถเขาใจเรื่องราว

ไดทันที

ความหมายของคําวา “มวลชน” “มวลชน” (Mass) หมายถึง ประชาชนจํานวนมาก ซ่ึงขาวสาร (Information or Texts) ใน

กระบวนการสื่อสาร มวลชน (Process of Mass Communication) เผยแพรไปถึง “สื่อมวลชน” (Mass Media) หมายถึง เครื่องมือท่ีใชในการสงสารหรือสื่อขาวสารไปสูประชาชนหรือมวลชน “การสื่อสารมวลชน” (Mass Communication) หมายถึง การสงสารโดยใชเทคโนโลยีบางอยางเพ่ือใหขาวสารไปถึงผูรับสารจํานวนมากในเวลาเดียวกัน ดังน้ันการสื่อสารมวลชนจึงเปนการสงสารไปสู

ประชาชนจํานวนมาก (มวลชน) มากกวาท่ีจะเปนการสงสารถึงคนเพียงคนเดียว หรือ 2 – 3 คน หรือกลุม

ใดกลุมหน่ึงเทาน้ัน Lazarsfeld และ Kendall ไดใหคําจํากัดความของคําวา “มวลชน” ไววา มวลชนน้ันควรท่ีจะใชสําหรับสื่อดานวิทยุกระจายเสียง (ซ่ึงเหมาะมากกวาสื่ออื่นท่ีเขาถึงกลุมประชาชนอยางไมเปนทางการ) Friedson ไดโตแยงการใหความหมายของคําวา มวลชน (Mass) ของ Lazarsfeld และ Kendall วายังมีไม มากพอ ดังน้ันเขาจึงไดใหความหมายของคําวา มวลชน เพ่ิมเติมขึ้นมาใน 4 ลักษณะดังน้ี 1. ผูรับสารมีความแตกตางกัน เพราะมาจากกลุมท่ีมีความแตกตางกันในสังคม 2. ผูรับสารแตละคนไมรูจักซ่ึงกันและกัน 3. ผูรับสารอยูในท่ีตาง ๆ กัน ไมสามารถมีปฏิกิริยาหรือแลกเปลี่ยนประสบการณตอกันได 4. ไมมีหัวหนากลุมในมวลชน และถาเปนองคกร ก็เปนองคกรท่ีมีความอิสระมาก Herbert Blumer นักสังคมวิทยา ไดใหความหมายของคําวา มวลชน ไวดังน้ี มวลชน ไมใชองคกรทางสังคม ไมมีขนบธรรมเนียมประเพณี ไมมีการกําหนดกฎเกณฑ ไมมีพิธีการ

ไมมีความ รูสึกตอกัน ไมมีโครงสราง ไมมีบทบาท ไมมีหัวหนากลุม แตเปนเพียงกลุมคน ซ่ึงแยกกันอยู

โดยไมระบุชื่อวาเปนใคร มวลชนในท่ีน้ีเกี่ยวของกับสารสําหรับคนจํานวนมาก และเผยแพรโดยสื่อชนิดใดชนิดหน่ึง แตกตาง

กันจากสารเฉพาะตัว เชน ในจดหมาย หรือในการสนทนากันทางโทรศัพท รายการโทรทัศนตางก็มีผูรับชม

ในท่ีตาง ๆ จากเครื่องรับหลาย ๆ เครื่อง โดยการท่ีมีผูชมรายการมากเทาใดจะขึ้นอยูกับรายการท่ีเผยแพร

อยูดวย

Page 17: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 17 ~

ความหมายของคําวา “การส่ือสาร” การสื่อสาร (Communication) หมายถึง การติดตอสื่อสารจากบุคคลหน่ึงไปยังอีกบุคคลหน่ึงหรือไปยังคนอีกกลุมหน่ึง ซ่ึงในการสื่อสารจะไมคํานึงถึงกระบวนการ แตจะคํานึงถึงสาร (Message) ท่ีถูกสงมามากกวา คําวา Communication และ Community มาจากรากศัพทภาษาลาติน ซ่ึงเหมือนกับคําวา Common, Communis ลักษณะท่ีเหมือนกันน้ีเปนสิ่งสําคัญท่ีจะทําใหเราเขาใจกระบวนการสื่อสารไดใน 2 ระดับ คือ 1.คุณลักษณะของกระบวนการสื่อสารควรจะมีมากกวาผูท่ีมีสวนรวมในสิ่งท่ีเหมือน ๆ กัน เชน

ประสบการณท่ีผานมา คานิยม และความเชื่อ สิ่งเหลาน้ีก็คือคุณลักษณะของชุมชนของแตละบุคคลดวย 2. กระบวนการสื่อสารมวลชนตองการการเขารหัส (Encoding) โดยผูสงสาร และถอดรหัส

(Decoding) โดยผูรับสาร ซ่ึงสามารถทําใหการสื่อสารประสบความสําเร็จ เพียงผูท่ีมีสวนรวมเขาใจในการเขารหัสและถอดรหัสรวมกัน และสิ่งท่ีทําใหเกิดความเขาใจรวมกันก็คือ ภาษา

ระดับของการส่ือสาร (Levels of Communication) การสื่อสารของมนุษย คือ การปฏิบัติการสงความคิดและทัศนคติ จากคน ๆ หน่ึงไปยังอีกคนหน่ึง

การเขียน จดหมายถึงกัน และการพูดคุยกัน คือ 2 วิธีการท่ีใชสําหรับการสื่อสารของมนุษย นอกจากน้ีเรายังสื่อสารกันดวยกิริยาทาทาง การเคลื่อนไหวรางกาย หรือแมกระทั่งการกะพริบตา การขมวดคิ้ว ก็เปน

การสื่อสารของมนุษยท้ังสิ้น ระดับของการสื่อสารสามารถจําแนกออกเปนระดับ ดังน้ีคือ 1.การสื่อสารสวนบุคคล (Intrapersonal Communication) เปนการสื่อสารท่ีเกิดขึ้นภายในรางกายหรือในตัวของเราเอง ไดแก การท่ีเราพูดกับตัวเอง เม่ือเรา

คิดถึงสิ่งใดสิ่งหน่ึง เราก็อาจพูดเบา ๆ กับตัวเองหรือพูดออกมาลอย ๆ โดยเรื่องราวหรือเน้ือหาของการสื่อสารสวนบุคคล จะประกอบดวยความคิด (Thought) ซ่ึงสื่อกลางหรือชองทางของการสื่อสารสวนบุคคลน้ีคือระบบประสาทท่ีผานความคิดและผานกระบวนการในสมองอีก

ทีหน่ึง 2.การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication) เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลหน่ึงกับอีกบุคคลหน่ึงหรือกับคนอ่ืนท่ีมีจํานวนไมมากนัก ซ่ึง

บางครั้งผูสงสารจะมีความคุนเคยกัน เชน ในงานเลี้ยงสังสรรค ฯลฯ แตบางครั้งก็ไมคุนเคยกัน เชน เม่ือ

คนแปลกหนาพูดอยูบนถนน บนรถโดยสารหรือในหางสรรพสินคา

Page 18: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 18 ~

สื่อกลางในกรณีน้ีคือคลื่นอากาศ และเน้ือหาก็คือสิ่งท่ีไดพูด สวนสิ่งสําคัญในการส่ือสารคือ การ

ใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ผานทางภาษาทาทาง การแสดงสีหนา เสื้อผา และสิ่งอื่น ๆ 3.การสื่อสารกลุมยอย (Small Group Communication) เปนการสื่อสารท่ีเกี่ยวของกับคนจํานวนหน่ึงท่ีทําการสื่อสาร เชน การบรรยายในหองเรียน การ

ประชุมสัมมนาทางวิชาการ หรือการแสดงสุนทรพจนในการรวมตัวเปนกลุมของประชาชน โดยใชภาษาและ

การพูด เชนเดียวกับการใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ในการสื่อสาร การสื่อสารกลุมยอยจะเกิดขึ้นเม่ือมีคนกลุมยอยมารวมตัวกันเพ่ือท่ีจะแกปญหา ในเรื่องตาง ๆ

รวมกัน สมาชิกของกลุมยอยน้ีควรมีจํานวนไมมากนัก เพ่ือทุกคนจะไดมีโอกาสพูดคุยกันไดถวนหนา 4.การสื่อสารในท่ีสาธารณะ (Public Communication) เปนการสื่อสารท่ีเกี่ยวของกับการพูดในที่สาธารณะ (Public Speaking) โดยผูท่ีพูดจะตองมีการเตรียมตัวมาอยางดีท่ีสุด และการพูดก็ตองมีรูปแบบเปนทางการมากกวาการพูดแบบ 2 คนหรือแบบกลุมยอย ซ่ึงลักษณะสําคัญของการพูดชนิดน้ี คือ

1) จะตองเกิดขึ้นในท่ีสาธารณะมากกวาในท่ีสวนบุคคล (Private Place) เชน ในหองบรรยาย

หองประชุม 2) เปนการพูดแบบทางการมากกวาการพูดในที่สวนบุคคล โดยจะตองมีการวางแผนการพูดลวงหนา

และผูพูดจะตองรูหนาท่ีกอนวาจะพูดเรื่องอะไร ตอนไหน เพราะมักจะมีผูพูดหลายคนในงานเดียวกันน้ี 3) จะเกี่ยวของกับพฤติกรรมท่ีมีรูปแบบชัดเจน เชน จะตองมีการซักถามปญหาจากผูฟงหลังจาก

การพูดจบลงแลว 5.การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เปนการสื่อสารท่ีเกี่ยวของกับสื่อสิ่งพิมพหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร

ภาพยนตร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน เพ่ือทําการสื่อสารกับคนจํานวนมาก ซ่ึงอยูในท่ีตาง ๆ ท่ัว

ประเทศ หรือท่ัวโลก ผูรับสารของการสื่อสารมวลชนอาจเปนกลุมคนท่ีมีจํานวนมากนอยแตกตางกันไป หรืออาจจะเปน

คนเพียงคนเดียวก็ได ปจจัยสําคัญท่ีแตกตางกันในสื่อการสื่อสารมวลชนคือ ภาพลักษณ ภาษาพูด ภาษา

เขียน เสียงประกอบ ดนตรี สี แสง และเทคนิคตาง ๆ ท่ีถูกใชในการสื่อสาร เน้ือหา และผลท่ีเกิดขึ้น

โดยเฉพาะ

Page 19: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 19 ~

ลักษณะท่ีสําคัญของการสื่อสารมวลชน ลักษณะท่ีสําคัญของการสื่อสารมวลชน ซ่ึงแตกตางจากการส่ือสารรูปแบบอื่น มีลักษณะดังน้ี คือ 1. ตองอาศัยเครื่องมือหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส 2. ผูรับสารมีจํานวนมากและมีความหลากหลายแตกตางกัน 3. ผูรับสารมวลชนอยูในท่ีตาง ๆ

ผลท่ีเกิดจากการใชสื่อ (The Consequence of Using Media)

การสื่อสารของมนุษยจะขึ้นอยูกับสัญลักษณของภาษาพูด (Verbal) และภาษาทาทาง (Nonverbal) และขั้นตอนของแบบจําลองแนวเสนตรง (Linear Model) โดยการนําสื่อกลางเขามาใชในการสื่อสาร

ระหวางคนสองคน ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการอยางชัดเจน การนําสื่อกลางเขามาใชในการสื่อสารกลุมยอยหรือระหวางคน 2 คน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ประการ คือ 1. การขาดหายไปของปฏิกิริยาโตตอบ (Feedback) 2. ขอจํากัดท่ีเครงครัดของผลท่ีเกิดขึ้น เพราะการขาดหายไปของปฏิกิริยาโตตอบน้ัน การสื่อสารมวลชนเปนกระบวนการสื่อสารในแนวเสนตรง (Linear Process) ซ่ึงผูสงสารไดเขารหัสความหมายของสารและสงสารมากมายหลายชนิดไปยังท่ีตาง ๆ ในสาธารณะดวยเหตุผลหลายประการ ซ่ึง

การสงสารโดยผานสื่อมวลชนน้ัน สารจะถูกสงกระจายไปยังผูรับสารจํานวนมากท่ีมีความแตกตางกัน ผูรับสารจะเลือกรับสารตามวิธีการของแตละคน และจะแปลความหมายของสารท่ีคัดเลือกไว ซ่ึง

ความหมายของสารอาจจะเหมือนกันหรือไมเหมือนกันกับความหมายที่ผูสงสารตองการหมายถึงก็ได การส่ือสารมวลชนและการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน มีความแตกตางกันหลายประการ เชน

ปฏิกิริยาโตตอบและการแสดงบทบาท ซ่ึงการสื่อสารระหวางบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงและมีอิทธิพลได

สวนการสื่อสารมวลชนเปนการสื่อสารทางเดียว เปนกระบวนการท่ีไมมีการเปลี่ยนแปลง การศึกษาในเรื่องของการสื่อสารมวลชน จะตองศึกษาในหลักใหญ ๆ 3 หลักดวยกัน คือ 1. ประวัติศาสตร คานิยม เศรษฐกิจและการเมือง ซ่ึงมีผลตอสื่อ 2. สื่อแตละชนิดมีความเปนเอกลักษณของตัวเอง ซ่ึงจะมีความแตกตางกันไป 3. สื่อท่ีมีผลตอเรา ตอสังคม และตอวัฒนธรรมของเรา

Page 20: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 20 ~

การสื่อสารทางส่ือมวลชน

มโนทัศน 1. สื่อมวลชนเปนการสงสารจากบุคคลหรือกลุมบุคคลไปยังผูรับท่ีมีจํานวนมากและอยูตางถิ่นตางท่ีกันในเวลาเดียวกันหรือตางเวลากัน 2. สื่อมวลชนครอบคลุมสิ่งพิมพ ภาพยนตร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและ

โทรคมนาคม 3. การสื่อสารดวยสื่อสิ่งพิมพครอบคลุมการสื่อสารทางหนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร ตําราและสิ่งตีพิมพในรูปแบบอื่นๆ 4. การส่ือสารดวยภาพยนตรเปนการเสนอสารท่ีใหผูชมไดเห็นภาพเคลื่อนไหวและอาจมีเสียงควบคูกันไป

แนวคิดเกี่ยวกับส่ือมวลชน สื่อมวลชน หมายถึง สื่อท่ีใชสงสารจากบุคคลหรือกลุมบุคคลไปยังผูรับท่ีมีจํานวนมากและอยูตางถ่ินตางท่ีกันในเวลาเดียวกันหรือตางเวลากัน โดยมีจุดมุงหมายท่ีจะสงสารซ่ึงไดแก ขาว ความรู ความคิดเห็น ทัศนคติ ความบันเทิง และแจงความ ฯลฯ ไปสูมวลชนดวยความรวดเร็ว เท่ียงตรง และประหยัด ขอสังเกต การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) ซ่ึงหมายถึงกระบวนการสงขาวสารทัศนคติไปสูคนจํานวนมากโดยผานสื่อตางๆ น้ัน สามารถแยกสวนประกอบไดดังน้ี 1. Mass หมายถึง ผูรับสารหรือมวลชน ซ่ึงมักจะมีความหลากหลายและไมสามารถกําหนดจํานวนท่ีแนนอนได 2. Mass Media หมายถึง สื่อมวลชนหรือชองทางการนําสารไปสูมวลชน ซ่ึงอาจเปนตัวบุคคล ไดแก นักหนังสือพิมพ นักจัดรายการวิทยุ เปนตน หรืออาจเปนชองทางในการนําสารประกอบตางๆ ไดแก วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ และสิ่งตีพิมพอื่นๆ เปนตน ประเภทของส่ือมวลชน สื่อมวลชนที่ดําเนินอยูในปจจุบันครอบคลุมสื่อ 6 ประเภท คือ 1. สิ่งพิมพ ไดแก หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร แบบเรียน ตํารา สารานุกรม และสิ่งพิมพอื่นๆ ท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือสงสารไปใหผูอาน เชน ใบปลิว โปสเตอรโฆษณา 2. ภาพยนตร รวมทั้งภาพยนตรสารคดี ภาพยนตรเรื่องและภาพยนตรการศึกษาบางประเภท

Page 21: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 21 ~

แนวขอสอบ นักประชาสมัพันธ การประปานครหลวง 1.สื่อมวลตองปฏิบัติตามหนาท่ีของสื่อบนหลักการท่ีเนนการเสนอขอเท็จจริง และขอถกเถียงโดยปราศจากการใสรายหรอือคติ ตรงกับขอใดตอไปน้ี ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม 2.สื่อมวลชนมีหนาท่ีคนหาความจริง และตรวจสอบการทาํงานของรัฐถือเปนการปฏิบัติหนาท่ีตามทฤษฎีใดตอไปน้ี ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ค. ทฤษฎีเสรีนิยม 3.ทฤษฎีใดตอไปน้ีท่ีสื่อมวลชนขาดอิสรภาพทางการเมือง แตมีความมิสระท่ีจะวิจารณทางดานเศรษฐกิจ

และสังคม ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม 4.ทฤษฎีใดตอไปน้ีมักเปนทฤษฎีการสื่อสาร ในประเทศโลกท่ีสาม ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม ตอบ ข. ทฤษฎีอํานาจนิยม

5.การสื่อสารแบบเห็นหนากัน ตรงกับขอใดตอไปน้ี ก. Intrapersonal Communication ข. Face–to–Face Communication ค. Interposed Communication ง. Interracial Communication

Page 22: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 22 ~

ตอบ ข. Face–to–Face Communication การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication) เปนการสื่อสารท่ีประกอบดวย

บุคคลต้ังแต 2 คนขึ้นไป มาทําการสื่อสารกันในลักษณะท่ีท้ังผูสงสาร และผูรับสารสามารถแลกเปลี่ยน

สารกันไดโดยตรง (Direct) และเปนการสื่อสารแบบตัวตอตัว (Person to Person) หรือเปนการสื่อสาร

แบบเผชิญหนา (Face–to–Face Communication) ซ่ึงผูสงสารและผูรับสารสามารถเห็นหนากันและกัน

ไดในขณะท่ีทําการสื่อสารกัน

6.การสื่อสารแบบไมเห็นหนากัน ตรงกับขอใดตอไปน้ี ก. Intrapersonal Communication ข. Face–to–Face Communication ค. Interposed Communication ง. Interracial Communication ตอบ ก. Intrapersonal Communication

7.การสงอีเมลจัดเปนการสื่อสารแบบใดตอไปน้ี ก. Interpersonal Communication ข. Face–to–Face Communication ค. Intrapersonal Communication ง. Interracial Communication

ตอบ ก. Interpersonal Communication การสื่อสารระหวางบุคคล น้ันเกิดขึ้นไดท้ังแบบเผชิญหนา (Face–to–Face) เชนการพูดคุยของคน

2 คนท่ีอาศัยอากาศเปนสื่อหรือพาหนะในการนําเสียงของผูสงสารไปสูโสตสัมผัสทางหูของผูรับสาร ฯลฯ และแบบตัวตอ (Person–to–Person) ท่ีไมไดเผชิญหนา เชน การพูดโทรศัพท การเขียนจดหมาย

โตตอบกัน การสงอีเมล ฯลฯ 8.ผูใดตอไปน้ี ท่ีกลาววา เวลาพูดได คือกลางวันมีความหมายอยางหน่ึง กลางคืนมีความหมายอีกอยาง

หน่ึง ก. Jurgen Ruesch ข. Hoveland ค. Edward Hall ง. Warren W. Weaver ตอบ ก. Jurgen Ruesch เจอรเกน รอยซ และ เกรเกอรี เบทสัน (Jurgen Ruesch and Gregory Bateson) ใหความเห็นวา "การสื่อสารไมไดหมายถึงการถายทอดสารดวยภาษาพูดและภาษาเขียนท่ีชัดแจงและแสดงเจตนารมณ

Page 23: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 23 ~

35. การจัดต้ัง การประปานครหลวงขึ้น มีวัตถุประสงคตามขอใด ก. สํารวจ จัดหาแหลงนํ้าดิบ และจัดใหไดมาซ่ึงนํ้าดิบเพ่ือใชในการประปา ข. ผลิต จัดสงและจําหนายนํ้าประปาในเขตทองท่ีกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ ค.ดําเนินธุรกิจอื่นท่ีเกี่ยวเน่ืองกับหรือเปนประโยชนแกการประปา ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถกูทุกขอ

ใหจัดต้ังการประปาขึ้นเรียกวา “การประปานครหลวง” มีวัตถุประสงคดังตอไปน้ี (1) สํารวจ จัดหาแหลงนํ้าดิบ และจัดใหไดมาซ่ึงนํ้าดิบเพ่ือใชในการประปา (2) ผลิต จัดสงและจําหนายนํ้าประปาในเขตทองท่ีกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ

จังหวัดสมุทรปราการ และควบคุมมาตรฐานเกี่ยวกับระบบประปาเอกชนในเขตทองท่ีดังกลาว (3) ดําเนินธุรกิจอื่นท่ีเกี่ยวเน่ืองกับหรอืเปนประโยชนแกการประปา

36. การผลิต จัดสงและจําหนายนํ้าประปาของการประปานครหลวงน้ัน ขอใดไมใชเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ

การประปานครหลวง ก. กรุงเทพมหานคร ข. จังหวัดนนทบุรี

ค. จังหวัดสมุทรปราการ ง. จังหวัดธนบุรี ตอบ ง. จงัหวัดธนบุรี

37. ขอใดเปนอํานาจหนาท่ีของผูวาการการประปานครหลวง ก. บรรจุ แตงต้ัง ถอดถอน เลื่อน ลดหรือตัดเงินเดือน ข. ลงโทษพนักงานและลูกจาง ค. วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของการประปานครหลวงโดยไมขัดหรือแยงกับขอบังคับท่ี

คณะกรรมการวางไว ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถกูทุกขอ

ผูวาการมีอํานาจ (1) บรรจุ แตงต้ัง ถอดถอน เลื่อน ลดหรือตัดเงินเดือน ตลอดจนลงโทษพนักงานและ

ลูกจาง ท้ังน้ี ตองเปนไปตามขอบังคับที่คณะกรรมการวางไว แตถาเปนพนักงานชั้นท่ีปรึกษา ผูเชี่ยวชาญ

ผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกอน

Page 24: คู่มือเตรียมสอบนักประชาสัมพันธ์ แนวข้อสอบ กปน การประปานครหลวง ปี

~ 24 ~

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740