Sufficiency economy

Post on 16-Apr-2017

634 views 0 download

Transcript of Sufficiency economy

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โดย

นางสาวมนตรา ยงัสบาย

ปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพียง

- ทางสายกลาง -

ความพอเพียง

พอประมาณ

มีเหตผุลมีภูมิคุมกัน

ในตัวที่ดี

1. วัตถุ

2. สังคม

3. ส่ิงแวดลอม

4. วัฒนธรรม

เงื่อนไขคุณธรรม

(ซื่อสัตย-มีคุณธรรม)

เงื่อนไขหลักวิชา

(ใชหลักวิชาวางแผน-ปฏิบัติ)

เงื่อนไขชีวิต

(ขยัน-อดทน-สติ-ปญญา)

นําไปสู

สมดลุ / พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง

วัตถุประสงค

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือสราง :-

1. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมแหงความสุข

2. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมแหงคุณธรรม

3. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมแหงความยั่งยืน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาช้ีถึงแนว

การดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชน

ในทกุระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว

ระดับชุมชน จนถงึระดับรัฐ ท้ังใน

การพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไป

ใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา

เศรษฐกจิเพือ่ใหกาวทันตอโลก

ยุคโลกาภิวัตน

เปาประสงค

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความพอเพียง หมายถึง ความ

พอประมาณ ความมีเหตุผล

รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบ

ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอ

การมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก

การเปล่ียนแปลง ทั้งภายนอกและ

ภายใน

หลักความ

พอเพียง

พอประมาณ

พอดีพอเหมาะตอความจําเปน

พอควรแกอัตภาพ

ไมมากเกิน

ไมนอยเกิน

ความมีเหตผุล ตามหลกัวิชา

ตามกฎเกณฑสังคม (รวมประเพณี-วัฒนธรรม)

ตามหลกักฎหมาย

ตามหลกัศีลธรรม

ตามความจําเปนในการดําเนินชีวิต/กิจกรรม

ระบบภูมคิุมกันตัวเหตุปจจยั การเปลี่ยนแปลง เกิดผลกระทบ

(1) ดานวัตถุ

(2) ดานสังคม

(3) ดานส่ิงแวดลอม

(4) ดานวัฒนธรรม

ระบบภูมคิุมกันดานวัตถุภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

มีเงินออม

มีการประกันความเสีย่ง

ในอนาคต

มีการลงทุนเพ่ือพัฒนา

มีการวางแผนระยะยาว

มีหน้ีไมกอรายได

ขาดการประกันความ

เสี่ยงในอนาคต

ขาดการลงทุนเพ่ือพัฒนา

ขาดการวางแผนระยะยาว

ภูมคิุมกันในตัว (reserve; safety net)1. ลดหนี้/ลบหนี ้ (reduce or wipe out debt)

2. การลงทุนที่เส่ียงนอย (low-risk investment)

3. กองทุนปองกันวิกฤติ (stabilization fund)

4. การออม (saving)

5. การลงทุนพัฒนาสถาบัน / ประเทศชาติ (invest in development)

ระบบภูมคิุมกันดานสังคมภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

รู-รัก-สามคัคี

รวมมือรวมใจกนั/ชวยเหลือกนั

มีคุณธรรม-ใฝศาสนา

“สังคมสีขาว”

“อยูเย็นเปนสุข

ทุนทางสังคมสูง

ระแวง-ทะเลาะเบาะแวง

ตางคนตางอยู

ทุศีล-หางไกลศาสนา

เหยื่อแหงอบายมุขทั้งปวง

“อยูรอนนอนทุกข”

ทุนทางสังคมตํ่า

วิธีสรางภูมิคุมกันทางศีลธรรมแกลูกหลานภูมิคุมกันทางศีลธรรม คุมกันตอส่ิงชั่วรายทาง

ศีลธรรม อันไดแก โลภะ โทสะ และโมหะ

• ฐานเครือญาติที่มั่นคง

• คาํสอนของครอบครัว/ตระกูล

• พาลูกเขาวัด / ศึกษาและปฏิบัติธรรม

• สอนลูกใหออมและทําบุญ

• ฝก “ใจ” ใหเขมแข็งย่ิง ๆ ขึ้น

- ขมตนเอง

- ปฏิเสธความช่ัว / ยึดมั่นความดี

ระบบภูมิคุมกันดานสิ่งแวดลอมภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

มีความรู-สํานึก และ

หวงแหนในสิ่งแวดลอม

มีนโยบายดานสิ่งแวดลอม

จากฝายบริหาร

สราง “สุขนิสัย”

สะอาด-เปนระเบียบ

อยูกับธรรมชาติ

ขาดความรู-ขาดสํานึก

ขาดนโยบาย-ผูบริหาร

ไมสนใจ

เต็มไปดวย “ทุกขนิสัย”

สกปรก – ขาดระเบยีบ

ทําลายธรรมชาติ

ระบบภูมิคุมกันดานวัฒนธรรม

ภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

มั่นคงในวฒันธรรมไทย

และเชิดชูวัฒนธรรมทองถ่ิน

เขาใจและเปนมิตรตอ

วัฒนธรรมตางถ่ิน ตางชาติ

ยอหยอน – ไมใสใจ – รูสึก

เปนปมดอยในวัฒนธรรมไทย

– วัฒนธรรมทองถ่ิน

เหยียดหยาม – มุงรายตอ

ตางวฒันธรรม

สามองคประกอบความพอเพียง

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล

มีภูมิคุมกันในตัว

4 ดาน

สาม

เงื่อนไข

เศรษฐกิจพอเพียง

1. เง่ือนไขหลักวิชา ท้ังนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความ

รอบคอบ และความระมัดระวังอยางย่ิงในการนาํวิชาการ

ตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนนิการทุกข้ันตอน

2. เง่ือนไขคุณธรรม ขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพ้ืนฐาน

จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี

และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรมความ

ซื่อสัตยสุจริตและ

3. เง่ือนไขการดาํเนนิชีวติ ใหมีความรอบรูทีเ่หมาะสม

ดาํเนนิชีวติดวยความอดทน ความเพียร มีสต ิปญญา และ

ความรอบคอบ

เงื่อนไขหลักวิชา-ความรู นําหลักวิชาและความรูเทคโนโลยทีี่เหมาะสมมาใช

ทัง้ในขัน้วางแผนและขั้นปฏิบัติงาน

ดวยความรอบรู

ความรอบคอบ

และความระมัดระวังอยางยิง่

การจัดการความรูในเศรษฐกิจพอเพียง

ขอมูล

(Data)- ขอเท็จจริง

ใชในการสืบคน

ความจริงหรือใน

การคํานวณ

- ยังไมผานการ

วิเคราะห

สารสนเทศ

(Information)

- ขาวสาร

- ขอมูลที่ถูกจัดรูป

เพ่ือการแสดง

หรือการช้ีแจง

- นําไปวิเคราะห

และคํานวณ

ความรู

(Knowledge)

- สารสนเทศที่ผาน

การถอดความ

- ขอมูลที่ถูกจดจํา

ในรูปของ

ประสบการณ

- ผานกระบวนการ

คิดและเขาใจ

ปญญา

(Wisdom)

- ความรูที่ถูกตอง

ตามจริง

- ปราศจาก

และความคิ

- มีความเที่ย

ไมเปล่ียนแปล

ตามกาลเวลา

เงื่อนไขคุณธรรม

เสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจ (ครอบครัว การศึกษา

ศาสนา ฯลฯ) แกทุกคนในชาติ ใหมีคุณธรรม

ยึดม่ันความดี ความจริง ความงาม และ

ความซ่ือสัตย

หลักธรรมของคนดีคนเกงและมีความสุข (ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล)

ดี คือ ไมคิดชั่ว มีสติรูตัว ควบคุม หยุดความชั่วได

เกง เกงทําดี สัมฤทธิ์ผล เปนประโยชนแกครอบครวั

ชุมชน ชาติ

มีความสุข มีความพอเพียง มีสติรอบคอบ คดิดี ทําดี

ซือ่สัตย จริงใจ แจมใส

สุจริต เที่ยงตรง สุจริตตอหนาที่

สุจริตตอบานเมือง

สุจริตตอประชาชน

สุจริตกาย สุจริตใจ

รับผิดชอบ ตอหนาที่

ตอองคกร

ตอประชาชน

ตอสังคม

ตอประเทศชาติ

เงื่อนไขการดําเนนิชีวิต อดทน มีความเพียร

มีสติ

ใชปญญา

มีความรอบคอบ

สามเงื่อนไข

เงื่อนไขคุณธรรมเงื่อนไขหลักวิชา

ความรู

เงื่อนไขการดําเนินชีวิต

ผลที่

คาดวา

จะไดรับ

เศรษฐกิจพอเพียง

เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการ

รองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว

และกวางขวางทัง้ดานวัตถุ สังคม

ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลก

ภายนอกไดเปนอยางดี

ผลการปฏิบัติ

ตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง”

ชีวิต – หนาที่การงาน เกิด “สมดุล”

บุคคล – ครอบครวั – องคการ –

ชุมชน – ประเทศชาติ พรอมรบั

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง

ในหลวงทรงเนนย้าํถึงความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy) ซึง่เปนคําใหมของพระองคทานอีกครั้งในป พ.ศ. 2543

“หมายความวา ประหยดั แตไมใชขี้เหนียว ทําอะไรดวยความอะลุมอลวยกัน ทําอะไรดวยเหตุและผลจะเปนเศรษฐกิจพอเพียง แลวทุกคนจะมีความสุข

(พระราชดํารัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา : 4 ธันวาคม 2543)

ความพอเพียงนี ้อาจจะมขีองหรูหรากไ็ด

แตวาตองไมเบียดเบียนคนอ่ืน

ตองใหพอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง

ทําอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง

พระราชดํารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

พอเพียง คือ ไมเบียดเบียน

คนเราถาพอในความตองการ

กม็คีวามโลภนอย

เมื่อมีความโลภนอย ก็เบยีดเบียนคนอ่ืนนอย.

ถาทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไมใชเศรษฐกิจ-

มคีวามคิดวาทําอะไรตองพอเพียง

หมายความวา พอประมาณ ไมสุดโตง

ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข.

พระราชดํารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

โลภนอย คือ พอเพียง

พอประมาณ + มีเหตุผล

(1) พอเพียงในความคิด

(2) พอเพียงในการพูดจา

(3) พอเพียงในการกระทํา

พระราชดํารัสเนื่องในวโรกาสคลายวันเฉลมิพระชนมพรรษา

4 ธันวาคม 2548 ณ ศาลาดสิุดาลัย สวนจิตรลดา

“...พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ทรงเนนยํ้าวา คําที่สําคัญที่สุด คือคําวา “พอ”

ตองสรางความพอ ที่สมเหตุสมผลใหกับตัวเอง

ใหได แลวก็จะพบกับความสุข”

ความสุข1. สุขที่ตองอาศัย “วัตถุ=อามิส” มาบํารุง บําเรอ

ความตองการของตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ (สา

มิสสุข) “อยากไมมีขอบเขต”

2. สุขจากความด่ืมดํ่าในจิตใจทีส่ะอาด/สวาง ไมตอง

อาศัยอามิส (นิรามิสสุข)

“สุขที่พอเพียง”

“การกูเงินที่นํามาใชในสิ่งที่ไมทํา

รายไดนั้น ไมดี อันนี้เปนขอสําคัญ

เพราะวาถากูเงินแลวทาํใหมีรายได

ก็เทากับจะใชหนี้ได ไมตองติดหนี้

ไมตองเดือนรอน ไมตองเสียเกียรติ”

(พระราชดํารัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพรรษา : 4 ธนัวาคม 2540)

ก. กูเงนิ ลงุทนุ มีรายได

ใชหนี้

(หนี้เพ่ือการลงทุน กอรายได)

ก. กูเงนิ ซ้ือของไมจาํเปน หนี้

เพ่ิม

คนเปนหนี้ขาดความม่ันใจ

(หนีท้ี่ไมกอรายได)

“การใชจายโดยประหยดันัน้ จะเปนหลกัประกัน

ความสมบูรณพูนสุขของผูประหยดัเอง

และครอบครัว ชวยปองกันความขาดแคลนในวัน

ขางหนา การประหยัดดังกลาวนี้ จะมีผลดีไม

เฉพาะแกผูประหยดัเทานั้น ยงัจะเปนประโยชนแก

ประเทศชาติดวย”

(พระราชดํารัสเน่ืองในโอกาสวันขึน้ปใหม : 31 ธันวาคม 2502)

อีกทั้งยังมีพระราชดํารัสถึงแนวทาง “อยูอยางประหยัด” ดวย

ฟุมเฟอย ประหยัด

ตระหนี่

ขี้เหนียว

เปนประโยชนตอผูประหยัด

เปนประโยชนตอ

ตัวอยางการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง

ในระดับบุคคลและครอบครัว

พอประมาณ : รายจายสมดุลกับรายรบั

มีเหตมุีผล : ใชจายอยางมีเหตผุล /มีความจําเปน /ไม

ใชสิ่งของเกินฐานะ /ใชของอยางคุมคา

ประหยัด

มีภูมคิุมกัน : มีเงินออม /แบงปนผูอ่ืน /ทําบุญ

ความรูคูคุณธรรม : ประกอบอาชีพท่ีสุจริต ดวยความ

ขยันหมั่นเพียร ใชสตปิญญาในการตัดสนิใจ

และดําเนินการตางๆ เพ่ือใหเทาทันตอการเปลี่ยนแปลง

ตัวอยางการใชจายอยางพอเพียง

ระเบดิจากขางใน

ปลูกจิตสํานึก

เนนใหพึง่ตนเองได

คํานึงถึงภูมิสังคม

ทําตามลําดับขัน้

ประหยดั เรียบงายประโยชนสูงสุด

บริการท่ีจดุเดียว

แกปญหาจากจุดเล็ก

ไมตดิตํารา

ใชธรรมชาติชวยธรรมชาติ

การมีสวนรวม

รู รัก สามัคคี

มุงประโยชนสุขคนสวนใหญ

คนเปนศนูยกลางของการพัฒนา

ปฏิบตัอิยางพอเพียง

เปาหมายคือสังคมพอเพียง

สรุปหลักการทรงงาน