Sufficiency economy

43
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาวมนตรา ยังสบาย

Transcript of Sufficiency economy

Page 1: Sufficiency economy

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โดย

นางสาวมนตรา ยงัสบาย

Page 2: Sufficiency economy

ปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพียง

- ทางสายกลาง -

ความพอเพียง

พอประมาณ

มีเหตผุลมีภูมิคุมกัน

ในตัวที่ดี

1. วัตถุ

2. สังคม

3. ส่ิงแวดลอม

4. วัฒนธรรม

เงื่อนไขคุณธรรม

(ซื่อสัตย-มีคุณธรรม)

เงื่อนไขหลักวิชา

(ใชหลักวิชาวางแผน-ปฏิบัติ)

เงื่อนไขชีวิต

(ขยัน-อดทน-สติ-ปญญา)

นําไปสู

สมดลุ / พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง

Page 3: Sufficiency economy

วัตถุประสงค

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือสราง :-

1. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมแหงความสุข

2. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมแหงคุณธรรม

3. ระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมแหงความยั่งยืน

Page 4: Sufficiency economy

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาช้ีถึงแนว

การดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชน

ในทกุระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว

ระดับชุมชน จนถงึระดับรัฐ ท้ังใน

การพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไป

ใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา

เศรษฐกจิเพือ่ใหกาวทันตอโลก

ยุคโลกาภิวัตน

เปาประสงค

Page 5: Sufficiency economy

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความพอเพียง หมายถึง ความ

พอประมาณ ความมีเหตุผล

รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบ

ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอ

การมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก

การเปล่ียนแปลง ทั้งภายนอกและ

ภายใน

หลักความ

พอเพียง

Page 6: Sufficiency economy

พอประมาณ

พอดีพอเหมาะตอความจําเปน

พอควรแกอัตภาพ

ไมมากเกิน

ไมนอยเกิน

Page 7: Sufficiency economy

ความมีเหตผุล ตามหลกัวิชา

ตามกฎเกณฑสังคม (รวมประเพณี-วัฒนธรรม)

ตามหลกักฎหมาย

ตามหลกัศีลธรรม

ตามความจําเปนในการดําเนินชีวิต/กิจกรรม

Page 8: Sufficiency economy

ระบบภูมคิุมกันตัวเหตุปจจยั การเปลี่ยนแปลง เกิดผลกระทบ

(1) ดานวัตถุ

(2) ดานสังคม

(3) ดานส่ิงแวดลอม

(4) ดานวัฒนธรรม

Page 9: Sufficiency economy

ระบบภูมคิุมกันดานวัตถุภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

มีเงินออม

มีการประกันความเสีย่ง

ในอนาคต

มีการลงทุนเพ่ือพัฒนา

มีการวางแผนระยะยาว

มีหน้ีไมกอรายได

ขาดการประกันความ

เสี่ยงในอนาคต

ขาดการลงทุนเพ่ือพัฒนา

ขาดการวางแผนระยะยาว

Page 10: Sufficiency economy

ภูมคิุมกันในตัว (reserve; safety net)1. ลดหนี้/ลบหนี ้ (reduce or wipe out debt)

2. การลงทุนที่เส่ียงนอย (low-risk investment)

3. กองทุนปองกันวิกฤติ (stabilization fund)

4. การออม (saving)

5. การลงทุนพัฒนาสถาบัน / ประเทศชาติ (invest in development)

Page 11: Sufficiency economy

ระบบภูมคิุมกันดานสังคมภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

รู-รัก-สามคัคี

รวมมือรวมใจกนั/ชวยเหลือกนั

มีคุณธรรม-ใฝศาสนา

“สังคมสีขาว”

“อยูเย็นเปนสุข

ทุนทางสังคมสูง

ระแวง-ทะเลาะเบาะแวง

ตางคนตางอยู

ทุศีล-หางไกลศาสนา

เหยื่อแหงอบายมุขทั้งปวง

“อยูรอนนอนทุกข”

ทุนทางสังคมตํ่า

Page 12: Sufficiency economy
Page 13: Sufficiency economy

วิธีสรางภูมิคุมกันทางศีลธรรมแกลูกหลานภูมิคุมกันทางศีลธรรม คุมกันตอส่ิงชั่วรายทาง

ศีลธรรม อันไดแก โลภะ โทสะ และโมหะ

• ฐานเครือญาติที่มั่นคง

• คาํสอนของครอบครัว/ตระกูล

• พาลูกเขาวัด / ศึกษาและปฏิบัติธรรม

• สอนลูกใหออมและทําบุญ

• ฝก “ใจ” ใหเขมแข็งย่ิง ๆ ขึ้น

- ขมตนเอง

- ปฏิเสธความช่ัว / ยึดมั่นความดี

Page 14: Sufficiency economy

ระบบภูมิคุมกันดานสิ่งแวดลอมภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

มีความรู-สํานึก และ

หวงแหนในสิ่งแวดลอม

มีนโยบายดานสิ่งแวดลอม

จากฝายบริหาร

สราง “สุขนิสัย”

สะอาด-เปนระเบียบ

อยูกับธรรมชาติ

ขาดความรู-ขาดสํานึก

ขาดนโยบาย-ผูบริหาร

ไมสนใจ

เต็มไปดวย “ทุกขนิสัย”

สกปรก – ขาดระเบยีบ

ทําลายธรรมชาติ

Page 15: Sufficiency economy

ระบบภูมิคุมกันดานวัฒนธรรม

ภูมิคุมกนัเขมแข็ง ภูมิคุมกนับกพรอง

มั่นคงในวฒันธรรมไทย

และเชิดชูวัฒนธรรมทองถ่ิน

เขาใจและเปนมิตรตอ

วัฒนธรรมตางถ่ิน ตางชาติ

ยอหยอน – ไมใสใจ – รูสึก

เปนปมดอยในวัฒนธรรมไทย

– วัฒนธรรมทองถ่ิน

เหยียดหยาม – มุงรายตอ

ตางวฒันธรรม

Page 16: Sufficiency economy

สามองคประกอบความพอเพียง

ความพอประมาณ ความมีเหตุผล

มีภูมิคุมกันในตัว

4 ดาน

Page 17: Sufficiency economy

สาม

เงื่อนไข

เศรษฐกิจพอเพียง

1. เง่ือนไขหลักวิชา ท้ังนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความ

รอบคอบ และความระมัดระวังอยางย่ิงในการนาํวิชาการ

ตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนนิการทุกข้ันตอน

2. เง่ือนไขคุณธรรม ขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพ้ืนฐาน

จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี

และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรมความ

ซื่อสัตยสุจริตและ

3. เง่ือนไขการดาํเนนิชีวติ ใหมีความรอบรูทีเ่หมาะสม

ดาํเนนิชีวติดวยความอดทน ความเพียร มีสต ิปญญา และ

ความรอบคอบ

Page 18: Sufficiency economy

เงื่อนไขหลักวิชา-ความรู นําหลักวิชาและความรูเทคโนโลยทีี่เหมาะสมมาใช

ทัง้ในขัน้วางแผนและขั้นปฏิบัติงาน

ดวยความรอบรู

ความรอบคอบ

และความระมัดระวังอยางยิง่

Page 19: Sufficiency economy

การจัดการความรูในเศรษฐกิจพอเพียง

ขอมูล

(Data)- ขอเท็จจริง

ใชในการสืบคน

ความจริงหรือใน

การคํานวณ

- ยังไมผานการ

วิเคราะห

สารสนเทศ

(Information)

- ขาวสาร

- ขอมูลที่ถูกจัดรูป

เพ่ือการแสดง

หรือการช้ีแจง

- นําไปวิเคราะห

และคํานวณ

ความรู

(Knowledge)

- สารสนเทศที่ผาน

การถอดความ

- ขอมูลที่ถูกจดจํา

ในรูปของ

ประสบการณ

- ผานกระบวนการ

คิดและเขาใจ

ปญญา

(Wisdom)

- ความรูที่ถูกตอง

ตามจริง

- ปราศจาก

และความคิ

- มีความเที่ย

ไมเปล่ียนแปล

ตามกาลเวลา

Page 20: Sufficiency economy

เงื่อนไขคุณธรรม

เสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจ (ครอบครัว การศึกษา

ศาสนา ฯลฯ) แกทุกคนในชาติ ใหมีคุณธรรม

ยึดม่ันความดี ความจริง ความงาม และ

ความซ่ือสัตย

Page 21: Sufficiency economy

หลักธรรมของคนดีคนเกงและมีความสุข (ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล)

ดี คือ ไมคิดชั่ว มีสติรูตัว ควบคุม หยุดความชั่วได

เกง เกงทําดี สัมฤทธิ์ผล เปนประโยชนแกครอบครวั

ชุมชน ชาติ

มีความสุข มีความพอเพียง มีสติรอบคอบ คดิดี ทําดี

ซือ่สัตย จริงใจ แจมใส

Page 22: Sufficiency economy

สุจริต เที่ยงตรง สุจริตตอหนาที่

สุจริตตอบานเมือง

สุจริตตอประชาชน

สุจริตกาย สุจริตใจ

Page 23: Sufficiency economy

รับผิดชอบ ตอหนาที่

ตอองคกร

ตอประชาชน

ตอสังคม

ตอประเทศชาติ

Page 24: Sufficiency economy

เงื่อนไขการดําเนนิชีวิต อดทน มีความเพียร

มีสติ

ใชปญญา

มีความรอบคอบ

Page 25: Sufficiency economy

สามเงื่อนไข

เงื่อนไขคุณธรรมเงื่อนไขหลักวิชา

ความรู

เงื่อนไขการดําเนินชีวิต

Page 26: Sufficiency economy

ผลที่

คาดวา

จะไดรับ

เศรษฐกิจพอเพียง

เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการ

รองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว

และกวางขวางทัง้ดานวัตถุ สังคม

ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลก

ภายนอกไดเปนอยางดี

Page 27: Sufficiency economy

ผลการปฏิบัติ

ตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง”

ชีวิต – หนาที่การงาน เกิด “สมดุล”

บุคคล – ครอบครวั – องคการ –

ชุมชน – ประเทศชาติ พรอมรบั

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง

Page 28: Sufficiency economy

ในหลวงทรงเนนย้าํถึงความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy) ซึง่เปนคําใหมของพระองคทานอีกครั้งในป พ.ศ. 2543

“หมายความวา ประหยดั แตไมใชขี้เหนียว ทําอะไรดวยความอะลุมอลวยกัน ทําอะไรดวยเหตุและผลจะเปนเศรษฐกิจพอเพียง แลวทุกคนจะมีความสุข

(พระราชดํารัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา : 4 ธันวาคม 2543)

Page 29: Sufficiency economy

ความพอเพียงนี ้อาจจะมขีองหรูหรากไ็ด

แตวาตองไมเบียดเบียนคนอ่ืน

ตองใหพอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง

ทําอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง

พระราชดํารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

พอเพียง คือ ไมเบียดเบียน

Page 30: Sufficiency economy

คนเราถาพอในความตองการ

กม็คีวามโลภนอย

เมื่อมีความโลภนอย ก็เบยีดเบียนคนอ่ืนนอย.

ถาทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไมใชเศรษฐกิจ-

มคีวามคิดวาทําอะไรตองพอเพียง

หมายความวา พอประมาณ ไมสุดโตง

ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข.

พระราชดํารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

โลภนอย คือ พอเพียง

Page 31: Sufficiency economy

พอประมาณ + มีเหตุผล

(1) พอเพียงในความคิด

(2) พอเพียงในการพูดจา

(3) พอเพียงในการกระทํา

Page 32: Sufficiency economy

พระราชดํารัสเนื่องในวโรกาสคลายวันเฉลมิพระชนมพรรษา

4 ธันวาคม 2548 ณ ศาลาดสิุดาลัย สวนจิตรลดา

“...พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ทรงเนนยํ้าวา คําที่สําคัญที่สุด คือคําวา “พอ”

ตองสรางความพอ ที่สมเหตุสมผลใหกับตัวเอง

ใหได แลวก็จะพบกับความสุข”

Page 33: Sufficiency economy

ความสุข1. สุขที่ตองอาศัย “วัตถุ=อามิส” มาบํารุง บําเรอ

ความตองการของตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ (สา

มิสสุข) “อยากไมมีขอบเขต”

2. สุขจากความด่ืมดํ่าในจิตใจทีส่ะอาด/สวาง ไมตอง

อาศัยอามิส (นิรามิสสุข)

“สุขที่พอเพียง”

Page 34: Sufficiency economy

“การกูเงินที่นํามาใชในสิ่งที่ไมทํา

รายไดนั้น ไมดี อันนี้เปนขอสําคัญ

เพราะวาถากูเงินแลวทาํใหมีรายได

ก็เทากับจะใชหนี้ได ไมตองติดหนี้

ไมตองเดือนรอน ไมตองเสียเกียรติ”

(พระราชดํารัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพรรษา : 4 ธนัวาคม 2540)

Page 35: Sufficiency economy

ก. กูเงนิ ลงุทนุ มีรายได

ใชหนี้

(หนี้เพ่ือการลงทุน กอรายได)

ก. กูเงนิ ซ้ือของไมจาํเปน หนี้

เพ่ิม

คนเปนหนี้ขาดความม่ันใจ

(หนีท้ี่ไมกอรายได)

Page 36: Sufficiency economy

“การใชจายโดยประหยดันัน้ จะเปนหลกัประกัน

ความสมบูรณพูนสุขของผูประหยดัเอง

และครอบครัว ชวยปองกันความขาดแคลนในวัน

ขางหนา การประหยัดดังกลาวนี้ จะมีผลดีไม

เฉพาะแกผูประหยดัเทานั้น ยงัจะเปนประโยชนแก

ประเทศชาติดวย”

(พระราชดํารัสเน่ืองในโอกาสวันขึน้ปใหม : 31 ธันวาคม 2502)

อีกทั้งยังมีพระราชดํารัสถึงแนวทาง “อยูอยางประหยัด” ดวย

Page 37: Sufficiency economy

ฟุมเฟอย ประหยัด

ตระหนี่

ขี้เหนียว

เปนประโยชนตอผูประหยัด

เปนประโยชนตอ

Page 38: Sufficiency economy
Page 39: Sufficiency economy
Page 40: Sufficiency economy

ตัวอยางการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง

ในระดับบุคคลและครอบครัว

Page 41: Sufficiency economy

พอประมาณ : รายจายสมดุลกับรายรบั

มีเหตมุีผล : ใชจายอยางมีเหตผุล /มีความจําเปน /ไม

ใชสิ่งของเกินฐานะ /ใชของอยางคุมคา

ประหยัด

มีภูมคิุมกัน : มีเงินออม /แบงปนผูอ่ืน /ทําบุญ

ความรูคูคุณธรรม : ประกอบอาชีพท่ีสุจริต ดวยความ

ขยันหมั่นเพียร ใชสตปิญญาในการตัดสนิใจ

และดําเนินการตางๆ เพ่ือใหเทาทันตอการเปลี่ยนแปลง

ตัวอยางการใชจายอยางพอเพียง

Page 42: Sufficiency economy

ระเบดิจากขางใน

ปลูกจิตสํานึก

เนนใหพึง่ตนเองได

คํานึงถึงภูมิสังคม

ทําตามลําดับขัน้

ประหยดั เรียบงายประโยชนสูงสุด

บริการท่ีจดุเดียว

แกปญหาจากจุดเล็ก

ไมตดิตํารา

ใชธรรมชาติชวยธรรมชาติ

การมีสวนรวม

รู รัก สามัคคี

มุงประโยชนสุขคนสวนใหญ

คนเปนศนูยกลางของการพัฒนา

ปฏิบตัอิยางพอเพียง

เปาหมายคือสังคมพอเพียง

สรุปหลักการทรงงาน

Page 43: Sufficiency economy