อาจารย์ดวงพร...

Post on 05-Sep-2019

7 views 0 download

Transcript of อาจารย์ดวงพร...

อาจารย์ดวงพร แสงทอง

การจัดการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นพร้อมกับสังคมมนุษย์มาช้านานแล้วตั้งแต่ดึกด าบรรพ์ ซึ่งในขณะนั้นยังมีคนจ านวนไม่มากไม่มีระเบียบแบบแผนกฎเกณฑ์มากนัก และเมื่อสังคมมนุษย์มีขนาดใหญ่ขึ้นและมีความซับซ้อนมากขึ้นจึงจ าเป็นต้องมีหลักการและกฎเกณฑ์สร้างเป็นทฤษฎีขึ้นมา

แนวคิดและทฤษฎีในแต่ละยุคตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี

การบริหาร & การจัดการ (Administration & Management)

การบริหาร (Administration) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการก าหนดนโยบายและแผนงาน ตลอดจนการก ากับดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า ความส าเร็จที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับนโยบายและแผนที่วางไว้

การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการของการน าเอานโยบายและแผนงานไปปฏิบัติให้บรรลุตามเป้าหมายที่ก าหนดในขั้นของการบริหาร

การบรหิารระดับสูง

การบรหิารระดับกลาง

การบรหิารระดับต้น

คณะกรรมการบริหารบริษัท

ผู้อ านวยการฝ่ายต่างๆ

หัวหน้าแผนก,หัวหน้าคนงาน

ววิฒันาการทางการบริหาร

การบริหารเชิงวิทยาศาสตร์

การจัดการเชิงบริหาร

การบริหารแบบราชการ

นักพฤติกรรม

ระยะแรก

การศึกษา

ท่ีฮอวธ์อรน์

เคล่ือนไหว

มนุษยสมัพนัธ์

การบริหารศาสตร์

การบริหาร

ปฏิบติัการ

สารสนเทศ

การบริหาร

หลกัพฤติ-

กรรมศาสตร์

1890 1900 1910 1920 1930 1940 1950 1960 1970 ปัจจุบัน

ทัศนะดั้งเดิม

ทศันะ

เชิงพฤติกรรม

ทศันะ

เชิงปริมาณ

ทศันะ

ร่วมสมยั

ทฤษฎี

เชิงระบบ

ทฤษฎี

ตามสถานการณ์

ทศันะ

ท่ีเกิดใหม่

ผู้บริหารระดับสูง

ผู้บริหารระดับกลาง

ผู้บริหารระดับต้น

พนง. /จนท.

☺ การจัดโครงสรา้งแบบแนวราบ

☺ การท างานเปน็ทีม

☺ การระดมความคิดเห็น/การมีสว่นร่วม

☺ การมอบหมายอ านาจหนา้ท่ี

☺ การเน้นภาวะผู้น าแบบประชาธิปไตย

ยุคที่ 1 ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ยุคที่ 3 ยุคการบริหารแบบมนุษย์สัมพันธ์ยุคที่ 4 ยุคการจัดการองค์กรสมัยใหม่

ยุคนี้เป็นยุคก่อนปี ค.ศ. 1880 การจัดการในยุคนี้ต้องอาศัยอ านาจหรือการบังคับเป็นปัจจัยทางการบริหารที่ส าคัญที่สุด

• วิธีการใช้อ านาจก็ได้แก่ การใช้แส้ โซ่ตรวน การจ าคุก ฯลฯ

• มนุษย์ในยุคนี้ยอมท างานก็เพราะกลัวการลงโทษ ถูกบังคับด้วยความจ าใจ ความสัมพันธ์ภายในหน่วยงานมีลักษณะเป็นนายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส ฯลฯ

นายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส

พื้นฐานความคิด

- ความรู้ทางการบริหารยังไม่เกิด ดังนั้นบุคคลใดหากมีอ านาจแล้วจะเป็นผู้ควบคุมระบบสังคมและเศรษฐกิจเอาไว้

- คนทั่วไป ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงฐานะของตนได้

สิ้นสุด เมื่อ ชาวฝรั่งเศส 2 คนได้เรียกร้องภราดรภาพ เสรีภาพและเสมอภาค มีการปฏิวัติทางการเมือง

มีการปฏิวัติอุตสาหกรรม

เริ่ม ค.ศ.1880 - ค.ศ. 1930

ยุคหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม

สาระส าคัญ

- แนวความคิดเกี่ยวกับค่าจ้าง > เพียงเพื่อประทังชีวิต

- ความก้าวหน้าทางวิชาการ เกิดศาสตร์ทางการบริหารและศาสตร์ต่างๆ

- เปลี่ยนจากระบบศักดินาไปหานายจ้างใหม่ ที่มีการว่าจ้างกัน

สาระส าคัญ- คนมีโอกาสเลือกงานได้มากขึ้น - คนงานมีความส าคัญมากขึ้น และมีการยอมรับในฐานะ มีสิทธิใน

การครอบครองทรัพย์สิน- ฝ่ายนายจ้าง / ฝ่ายบริหารสนใจงานมากกว่า คนงาน พื้นฐานความคิด- พยายามศึกษาวิธีการที่เกี่ยวกับการผลิต เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ - มีการแบ่งงานกันตามความถนัด

มิได้ค านึงถึงฝ่ายคนงาน หรือสวัสดิภาพของคนงาน “เปรียบคน เป็นเสมือนเครื่องจักร หรือ ปัจจัยการผลิตและถือว่า

คนงานต้องการผลตอบแทนในรูปตัวเงินเป็นส าคัญ” เกิดนักคิดทางการบริหารที่ส าคัญ

- Frederick W. Taylor- Henri Fayol

Frederick W. Taylor (1911)

- การจัดการอย่างมีหลักเกณฑ์/ การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)หลักการที่ส าคัญ

1. ต้องสร้างหลักการท างานที่เป็นวิทยาศาสตร์ โดยใช้หลัก Time and Motion Study แล้วก าหนดเป็น One best Way เพื่อให้เกิดวิธีการท างานที่มีประสิทธิภาพ

2. มีการเลือกคนให้เหมาะสม3. มีกระบวนการพัฒนาคน4.สร้างความร่วมมือที่เป็นมิตร /เครือข่าย ให้เกิดขึ้น

การบริหารงานตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการเป็นวิธีที่ดีกว่าการอาศัยหลักการความเคยชิน

เฮนรี่ ฟาโยล (Henri Fayol) ได้สรุปเป็นทฤษฎีว่า หากวันหนึ่งคุณต้องอยู่ในสภาวะที่ต้องใช้คนจ านวนมากๆ ในการท างานแล้วละก็หัวใจของการบริหารจัดการเพื่อให้งานส าเร็จตามเป้าหมายนั้น มีองค์ประกอบด้วยกัน

5 ปัจจัย เรียกว่า POCCC มีดังนี้

การวางแผน (Planning)

การจัดองค์การ (Organizing)

การบังคับบัญชาหรือการส่ังการ (Commanding)

การประสานงาน (Coordinating)

การควบคุม (Controlling)

จากหลักการด้านการจัดการของ Fayol นั้น เป็นการอ านวยความสะดวกแก่ผู้จัดการในองค์การเป็นอย่างมาก Fayol ได้กล่าวว่า หลักการของเขาไม่ใช่เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไมไ่ด้ขึ้นอยู่กับการน าไปใช้ประโยชน์ในงานต่างๆ หลักการของ Fayol มีลักษณะเป็นสากล

เริ่ม ค.ศ.1930 - ค.ศ. 1950 สาระส าคัญ- เปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับคนงาน มองคนเป็นสิ่งมีชีวิตจิตใจและเป็น

ทรัพยากรที่มีคุณคา่ พื้นฐานความคิด- องค์การเป็นสังคมที่มีความเกี่ยวพัน และเป็นที่รวมของพฤติกรรมที่ถูกต้องและไม่

ถูกต้องตามเหตุผล รวมเข้าด้วยกัน“ความต้องการทางด้านสังคมภายในกลุ่มต่างๆ มีส่วนท าให้คนงานพอใจ

และท างานได้ดี”

นักคิดทางการบริหารที่ส าคัญทฤษฎีมนุษย์สมัพันธ์ : Elton Mayo

Hawthorne Studies ค.ศ.1924 - 1932

• ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ท างาน

• ผลตอบแทนที่ไม่ใช่ตัวเงิน

• การจูงใจ ขวัญของคนงาน และผลผลิต

• มีความสัมพันธ์กันเสมอ

เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1950 – ปัจจุบัน

ความก้าวหน้าทางวิชาการมากขึ้น มีการน าสูตรคณิตศาสตร์ หรือรูปแบบ (models) ของกระบวนการ ระบบข้อมูล (Information System)

มุ่งหาวิธีการบริหารที่ดีที่สุด ให้ความส าคัญกับ งาน และ คน เกิดทฤษฎีองค์กรสมัยใหม่

- ทฤษฎมีนุษย์สัมพันธ์ - การจูงใจ- ทฤษฎลี าดับขั้นความต้องการ- ทฤษฎี X ทฤษฎี Y- ทฤษฎสีองปัจจัย

ทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์ ( Human Relation Theory)

แนวคิดนักวิชาการ ในยุคคลาสสิก มีความเชื่อ

การบริหารที่ประสบความส าเร็จ-โครงสร้างองค์การที่ชัดเจน - ระเบียบ ข้อบังคับ ขั้นตอนในการท างาน - ความสัมพันธ์แบบเป็นทางการระหว่างบุคคล- ทุกคนต้องท างานตามขั้นตอนและวิธีการที่องค์การก าหนดไว้อย่างเคร่งครัด

มนุษย์สัมพันธ์ ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างมนุษย์ซึ่งก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน

วิชาที่ว่าด้วยศาสตร์และศิลป์ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคล เพ่ือให้ไดม้าซ่ึงความรักใคร่ นับถือ ความร่วมมือ ความจงรักภักดี และ ความส าเร็จ

ผู้บริหาร มุ่งสนใจที่

คน

วิธีท างาน

ประสิทธิภาพการผลิตงานที่ต้องท า

ปัจจัยการผลิตอื่นๆ

ทฤษฎีการจูงใจ หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยการกระตุ้นความรู้สึกของพนักงานในองค์กรให้แสดง

พฤติกรรมโดยกระท ากิจกรรมต่างๆอย่างเต็มความรู้ความสามรถอย่างมีทิศทางที่ชัดเจนและแสดงออกซึ่งพฤติกรรมนั้นจะมีทั้งการแสดงออกด้วยความตั้งใจและความพยายาม จะใช้พลังงานที่มีอยู่ในตนเองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อบรรลุผลส าเร็จตามความต้องการและสร้างความพึงพอใจในการท างานอย่างสูงสุด ประเภทของแรงจูงใจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ

1. ประเภทแรงจูงใจตามแหล่งที่เกิด ได้แก่ ก. แรงจูงใจภายนอก ข. แรงจูงใจภายใน

2. ประเภทแรงจูงใจตามธรรมชาติของมนุษย์ ก.แรงจูงใจทางสรีระวิทยา ข.แรงจูงใจทางจิตวิทยา ค.แรงจูงใจทางสังคม

ทฤษฎีการจูงใจกับสุขวิทยา Motivation – Hygiene- ปัจจัยทางสุขวิทยา(Hygiene Factors)

- ความเข้าใจในนโยบายและการบริหารของบริษัท- การบังคับบัญชา- ความสัมพันธก์ับบุคคลอื่น - เงินเดือน- สภาพแวดล้อม

- ปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors) - ความส าเร็จในการปฏิบัติงาน- การได้รับการยอมรับจากคนอื่น - การมีโอกาสก้าวหน้าในงาน- การได้ท างานที่ถนัด- ความรับผิดชอบที่เหมาะสมกับต าแหน่ง

เฮิร์ชเบิร์กไดแ้นะน าการจูงใจอีก 3 วิธี

+1. การปรับปรุงงาน +2. การเพิ่มขยายงาน +3. การหมุนเวียนสับเปลี่ยนต าแหน่งงาน

การจูงใจ แบ่งเป็น 2 วิธีใหญ่ๆ

1.การจูงใจทางบวก

เงิน ต าแหน่ง การยกย่องชมเชย ความก้าวหน้า...

2.การจูงใจทางลบ

การลงโทษทางวินัย การโยกย้าย การตัดค่าจ้าง...

Douglas McGregor ดักกลาส แมคเกรเกอร์

ได้เขียนหนังสือชื่อ The Human Side of Enterprise ได้

อธิบายไว้ว่า การจูงใจคนงานมีอยู่ 2 วิธี คือ วิธีเดิม เรียกว่า

ทฤษฎี X และวิธีแบบมนุษยสัมพันธ์เรียกว่าทฤษฎี Y

Douglas McGregor ดักกลาส แมคเกรเกอร์

มนุษย์ทุกคนมีความรับผิดชอบ มนุษย์ไม่เฉื่อยชา มนุษยท์ุกคนมีพื้นฐานที่ดี

มนุษย์มีสันดานขี้เกียจ พยายามหลีกเลี่ยงงาน

มนุษย์เห็นแก่ตัวคิดถึงแต่ตัวเอง

มนุษย์มีนิสัยต่อต้านการเปลี่ยนแปลง มนุษย์ไม่ฉลาดนัก ถูกหลอกง่าย

27

ทฤษฎี X คือ การมองพนักงานในเชิงลบ เช่น

•คนเกียจคร้านไม่ชอบท างาน

•มีความทะเยอทะยานต่ า

• จะต้องบังคับเพื่อให้ท างาน

ทฤษฎี Y คือการมองพนักงานในแง่ดี เช่น

•มีความรับผิดชอบ

•คิดอย่างสร้างสรรค์

•ควบคุมตนเองได้

• ใช้แรงจูงใจในการกระตุ้นการท างาน

ทฤษฎี X ทฤษฎี Y

1.มนุษย์เป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง

2.ความชั่วร้ายเป็นมรดกที่มนุษย์ได้รับมาตามธรรมชาติ

3.มนุษย์ถูกผลักดันให้กระท าส่ิงต่างๆ ด้วยความต้องการทางร่างกาย

4.สิ่งจูงใจของมนุษย์ คือ การใช้อ านาจขู่เข็ญบังคับ

5.การชิงดีชิงเด่นเป็นรากฐานของมนุษย์ในการปฏิบัติต่อกัน

6.หน่วยสังคมที่ส าคัญของมนุษย์ คือ ตนเอง

7.การมองโลกในแง่ร้ายเป็นของมนุษย์

1.มนุษย์รู้จักประมาณขีดความสามารถของตนเอง

2.ความดีเป็นมรดกที่มนุษย์ได้รับมาตามธรรมชาติ

3.มนุษย์ถูกผลักดันให้กระท าในสิ่งต่างๆ เพราะคุณค่าของความเป็นคน

4.การให้ความร่วมมือด้วยความสมัครใจเป็นผลการจูงใจของมนุษย์

5.การให้ความร่วมมือร่วมใจเป็นรากฐานของมนุษย์ในการปฏิบัติต่อกัน

6.หน่วยที่ส าคัญของมนุษย์ คือ การ ท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม

7.การมองโลกในแง่ดี เป็นปกติของ มนุษย์

Douglas McGregor ดักกลาส แมคเกรเกอร ์

ข้อดี ข้อเสีย

ทฤษฎนีี้พยายามท าความเข้าใจ

พฤติกรรมของมนุษย์เพราะเห็นว่ามนุษย์

สามารถบอกหรือให้เหตุผลต่อสิ่งที่ตน

ท าหรือชอบได้เสมอ การที่ใช้ศาสตร์ด้าน

อื่น เช่น การจัดการแบบวิทยาศาสตร์

มาใช้ในการบริหาร ละเลยความถูกต้อง

ที่แท้จริงของมนุษย์ เป็นต้น

ทฤษฎีนี้พยายามท าความเข้าใจ

มนุษย์ แต่ไม่พยายามที่จะแกพ้ฤติกรรม

เหล่านั้น กลับพยายามที่จะปรับปรุงและ

สร้างงานให้เหมาะกับคนมากกว่าซ่ึงน่าจะ

เป็นการแก้ไขทั้งสองทางเข้าด้วยกัน

การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียตามแนวคิดของ McGregor

30

สมมติฐาน : 4 ประการ• เฉพาะความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองที่สามารถกระตุ้นการท างานได้ ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่สามารถจูงใจได้•ความต้องการของคนเรียงล าดับตามความส าคัญ•คนเราจะต้องได้รับตอบสนองในล าดับล่างก่อน จึงจะมีความต้องการในขั้นสูงต่อไป•ถ้าความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วหมดไปความต้องการนั้นจะกลับมาอีกครั้ง

ความตอ้งการความส าเร็จสงูสดุ

ความตอ้งการเกยีรตยิศชือ่เสยีง

ความตอ้งการมสีว่นรว่มทางสงัคม

ความตอ้งการความปลอดภยัและมั่นคง

ความตอ้งการทางกายภาพ, ชวีภาพ

อุดมการณ์

พรรคนิยม

ใฝ่รัก

ปลอดภัย

ชีพรอด1

2

3

4

5

เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อการอยู่รอด เช่น•ปัจจัยสี่ (อาหาร, เครื่องนุ่งห่ม, ที่อยู่อาศัย, ยารักษาโรค)•การขับถ่าย, การพักผ่อน•เรื่องเพศ เป็นต้น

เงิน เป็นตัวกลางในการได้มาซึ่งสิ่งจ าเป็นต่างๆ

มนุษย์ต้องการอยู่ห่างจากอันตรายทั้งปวง เช่น อุบัติเหต,ุ โรคภัยไข้เจ็บ, โจรขโมย เป็นต้น• ความมั่นคงในอาชีพ

• มีการสนใจในหลักประกันมากขึ้น ดูจาก...• ประกันภัยในรูปแบบต่างๆ (ด้านสุขภาพ, อุบัติเหตุ และ ชีวิต)• เงินสะสม หรือ บ าเหน็จบ านาญ เมื่อเกษียณอายุ

•ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและเป็นที่ยอมรับ รวมถึงความต้องการในความรักใคร่ด้วย เช่น จากบิดามารดา สามีหรือภรรยา เพื่อนร่วมงาน เป็นต้น

• ความต้องการของบุคคลที่จะมีคุณค่าในสายตาคนอื่น เช่น การได้รับชื่อเสียง, การได้รับอ านาจ,ได้รับความสนใจ, ถูกให้ความส าคัญ, การรู้สึกว่ามีคุณค่าส าหรับโลกนี้

•ความต้องการความเจริญเติบโต และความต้องการใช้ความสามารถอย่างเต็มที่ หรือ แนวโน้มที่บุคคลมีความปรารถนาที่จะเป็นอย่างที่ตนเป็นมากขึ้น สูงขึ้น โดยเป็นทุกสิ่งทุกอ ย่ า ง ที่ เ ข า ส า ม า ร ถ จ ะ เ ป็ น ไ ด้* ค ว ามแตกต่ า ง ขอ งบุ คคลมี ม า กที่ สุ ดที่ระดับนี้

5. ทฤษฎีสองปัจจัย : Frederick Herzberg

ทฤษฎีสองปัจจัยผู้คิดค้นคือ นาย เฟดเดอริก เฮิร์ซเบริร์ค(Federick Herzberg) โดยแบ่ง

ปัจจัยออกเป็น2 ปัจจัย คือ

1. ปัจจัยการจูงหรือตัวจูงใจ (Motivation Factor หรือ Motivators ) เป็นปัจจัยภายนอก (ความต้องการภายใน) ของบุคคลที่มีอิทธิพลในการสร้างความพึงพอใจในการท างาน (job satisfiers ) เช่น ความก้าวหน้า ความส าเร็จ การยกย่อง เป็นต้น

2. ปัจจัยการธ ารงรักษา (Maintenance Factor ) หรือปัจจัยอนามัย (hygiene factor ) เป็นปัจจัยภายนอกที่ป้องกนัไม่ให้พนักงานเกิดความไม่พึงพอใจในการท างาน การเสนอสุขอนามัยไม่ใช่วิธีการจูงใจที่ดีที่สุดในทัศนะของ เฮอร์เบิร์ก แต่เป็นการป้องกันความไม่พอใจ ประกอบด้วยปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการท างานหรือการขาดงานของพนักงาน เช่น นโยบายบริษัท การบังคับบัญชา ความมั่นคงในงาน ค่าตอบแทน สภาพการท างาน เป็นต้น

ปัจจัยจูงใจ ( Motivator)• หรือสิ่งที่ท าให้เกิดความพึงพอใจในงาน (Satisfiers)• ความก้าวหน้าส่วนตัว (Personal Growth)• ลักษณะงาน (Work Content)• ความส าเร็จ (Achievement)• การยกย่อง (Recognition)• ความรับผิดชอบ (Responsibility)• ความก้าวหน้า (Advancement)

ปัจจัยอนามัย (Hygiene factor )• หรือปัจจัยบ ารุงรักษา (Maintenance Factor)• หรือสิ่งที่ท าให้เกิดความไม่พึงพอใจในงาน (Dissatisfies)• นโยบายบริษัท (Company Policies)• การบังคับบัญชา (Supervision)• ความสันพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal)• สภาพการท างาน (Working condition)• ความมั่นคงในงาน (Job security)• ค่าตอบแทน (Pay

จากทฤษฎีองค์กรสมัยใหม่ ให้นักศึกษาเลือกมา 1 ทฤษฎี อธิบายถึงข้อดีและข้อเสีย ของทฤษฎีนั้นๆ และหากนักศึกษาเป็นผู้บริหาร นักศึกษาจะใช้ทฤษฎี.... มาบริหารหรือประยุกต์ใช้อย่างไร พร้อมบอกเหตุมาให้เข้าใจ และน าเสนอ