หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์swis.acp.ac.th/html_edu/acp/temp_news/412.pdf ·...

Post on 14-Oct-2019

8 views 0 download

Transcript of หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์swis.acp.ac.th/html_edu/acp/temp_news/412.pdf ·...

หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์

1

ทศันธาตุ

จุด เสน้ สี รูปร่าง-รูปทรง

พื้นผิว ที่ว่าง

น้้าหนักสิ่งที่ต้องค้านึงถึง

เอกภาพ

สัดส่วน

ความสมดุล

จังหวะ และจุดสนใจ

ความกลมกลืน และความขัดแย้ง

ผลงานทางทศันศิลป์

หลกัการจดัองคป์ระกอบศลิป์

องคป์ระกอบศลิป์

2

ความสมดุล (Balance)

ความสมดุล (Balance) หมายถึง ความเท่ากันในน้้าหนักของสิ่งต่างๆ ระหว่าง 2 ส่วน

ความสมดุลแบ่งได้เป็น 2 ความหมาย1. ความสมดุลเชิงกายภาพ (Physical weight) คือ ความสมดุลของน้้าหนักจริงที่สามารถชั่งน้้าหนักด้วยเครื่องชั่งได้

2. ความสมดุลตามความรู้สึก (Sensible equilibrium) เปน็ความสมดุลตามความรู้สึกทางการเห็น (visual weight) คือ ความเท่ากันตามความรู้สึก โดยใช้เส้นแบ่งกึ่งกลางของผลงานที่เรียกว่า เส้นแกนสมมติ (Axis) แล้วเปรียบเทียบน้้าหนักขององค์ประกอบพื้นฐานอื่นๆที่อยู่ 2 ด้าน ว่าเท่ากันหรือไม่

3

เส้นแกนสมมติ

เส้นแกนแนวราบ (Horizontal Axis) เส้นแกนแนวตัง้ (vertical Axis)

1 2

4

ประเภทของความสมดุล

ความสมดุลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่1. ความสมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance)

หรือความสมดุลแบบ 2 ข้างเท่ากัน จัดวางโดยมีรูปร่าง รูปทรง หรือน้้าหนักเท่ากันเหมือนการส่องกระจก ความสมดุลแบบนี้ให้ความรู้สึกสง่างาม มั่นคง แข็งแรง เป็นทางการ หยุดนิ่ง

5

พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร สถาปัตยกรรมไทยที่ออกแบบให้มีความสมดุลเท่ากันทั้งสองข้าง

6

“American Gothic”

By Grant Wood,1930

7

2. ความสมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance)

เป็นการจดัวางส่วนประกอบส้าคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง บนระนาบอย่างอิสระ โดยมองเห็นว่ามีน ้าหนกัเท่าเทียมกันแต่มีรปูร่างหรือรูปทรงทั งสองข้างไม่เท่ากัน การจัดองค์ประกอบให้เกดิความสมดุลแบบอสมมาตรอาจท้าได้โดย เลื่อนแกนสมดุลไปทางด้านที่มีน้้าหนักมากว่าหรือเล่ือนรูปที่มีน้้าหนักมากว่าเข้าหาแกน จะท้าให้เกิดความสมดุลขึ้น หรือใช้หน่วยที่มีขนาด เล็กแต่มีรูปลักษณะที่น่าสนใจถ่วงดุลกับรูปลักษณะที่มีขนาดใหญ่แต่มีรูปแบบธรรมดา

8

9

The Representatives of Foreign Powers Coming to Greet the Public as a Sign of Peace

By Henri Rousseau, 1907

10

สัดส่วน (Proportion)

สัดส่วน (Proportion) หมายถึง การน้าเอาส่วนประกอบต่างๆ มาจัดให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสม เป็นความสัมพันธ์ระหว่างขนาดขององค์ประกอบที่แตกต่างกัน ทั้งขนาดที่อยู่ในรูปทรงเดียวกันหรือระหว่างรูปทรง และรวมถึงความสัมพันธ์กลมกลืนระหว่างองค์ประกอบทั้งหลายด้วย ซ่ึงเป็นความพอเหมาะพอดี ไม่มากไม่น้อย ขององค์ประกอบทั้งหลายที่น้ามาจัดรวมกัน

11

สัดส่วนที่เป็นมาตรฐาน จากรูปลักษณะตามธรรมชาติของ คน สัตว์ พืช ซ่ึงโดยทั่วไปถือ

ว่า สัดส่วนตามธรรมชาติจะมีความงามที่เหมาะสมที่สุดหรือจากรูปลักษณะที่เป็นการสร้างสรรค์ของมนุษย์ เช่น Gold section เป็นกฎในการสร้างสรรค์รูปทรงของกรีก ซึ่งถือว่า "ส่วนเล็กสัมพันธ์กับส่วนที่ใหญ่กว่า ส่วนที่ใหญ่กว่าสมัพันธ์กับส่วนรวม" ท้าให้สิ่งต่างๆที่สร้างขึ้นมีสัดส่วนที่สัมพันธ์กับทกุสิ่งอย่างลงตัว

12

สัดส่วนทอง (Gold Section)

13

สัดส่วนจากความรู้สึกศิลปะนั้นไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อความงามของรูปทรงเพียงอย่างเดียว แต่ยังสร้างขึ้นเพื่อแสดงออกถึงเนื อหา เรื่องราว ความรู้สึกด้วยสัดส่วนจะช่วยเน้นอารมณ์ความรู้สึกให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ และเรื่องราวทีศ่ิลปินต้องการ ลักษณะเช่นน้ี ท้าให้งานศิลปะของชนชาติต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกันเนื่องจากมีเรื่องราว อารมณ์ และ ความรู้สึกท่ีต้องการแสดงออกต่างๆ กันไป เช่น กรีก นิยมในความงามตามธรรมชาติเป็นอุดมคติ เน้นความงามที่เกิดจากการประสานกลมกลืนของรูปทรง จึงแสดงถึงความเหมือนจริงตามธรรมชาติ ส่วนศลิปะแอฟริกันดั้งเดิม เน้นที่ความรู้สึกทางวิญญาณที่น่ากลัว ดังนั้น รูปลักษณะจึงมีสัดส่วนท่ีผิดแผกแตกต่างไปจากธรรมชาติทั่วไป

14

Greek Sculpture

15

African Ancient Art

16

จังหวะ (rhythm)

จังหวะ(Rhythm) หมายถึง การเคล่ือนไหวที่เกิดจาการซ้้ากันขององค์ประกอบเป็นการซ้้าท่ีเป็นระเบียบ จากระเบียบธรรมดาที่มีช่วงห่างเท่าๆ กัน มาเป็นระเบียบที่สูงข้ึน ซับซ้อนขึ้นจนถึงข้ันเกิดเป็นรูปลักษณะของศิลปะโดยเกิดจาก การซ้้าของหน่วย หรือการสลับกันของหน่วยกับช่องไฟ หรือเกดิจาก การเลื่อนไหลต่อเนื่องกันของเส้น สี รูปทรง หรือ น้้าหนัก

18

รูปแบบของจังหวะ

1. จังหวะซ ้า เป็นจังหวะขององค์ประกอบที่มีลักษณะเหมือนกันเรียงต่อเนื่องกันไป

A Group of Amsterdam Guardsmen

By Dirck Jacobsz

19

2. จังหวะสลับ เป็นจังหวะขององค์ประกอบที่มีลักษณะสลับกันไปมาอย่างเป็นระเบียบ

20

3. จังหวะแปร เป็นจังหวะขององค์ประกอบที่มีการเปลี่ยนแปลงของลักษณะไปทีละเล็กทีละน้อย จังหวะแปรนี้เมื่อถูกน้าไปใช้ในงานทัศนศิลป์อย่างเหมาะสมจะสามารถชักน้าให้ผู้ดูรู้สึกถึงความเคลื่อนไหวได้

Venus By Salvador Dali

21

ความส้าคัญของจังหวะกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ

1. ช่วยให้เกดิความเป็นระเบียบในผลงาน เขา้ใจง่าย2. ท้าให้เกดิลวดลายต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่องานออกแบบมาก3. ช่วยสร้างความสนใจ หากมีการจัดช่วงจังหวะที่ดีสามารถท้าให้เกิด

การเคลื่อนไหว ช่วยเพิ่มความมีชีวิตชีวาให้ผลงาน4. ช่วยให้เกดิความกลมกลืน

22

จุดสนใจหรือการเน้น (Emphasis)

จุดสนใจหรือการเน้น (Emphasis) หมายถึง การกระท้า ก้าหนดการจัดวางเส้น สี พื นผิว รูปร่าง รูปทรง และส่วนประกอบอื่นๆ อย่างใดอย่างหนึ่งให้เป็นจุดรวมของความสนใจ

The Great Wave off Kanagawaby Katsushika Hokusai

23

ความกลมกลืน (Harmony)

ความกลมกลนื (Harmony) หมายถึง การน้าเอาองค์ประกอบพื้นฐานที่มีความคล้ายกัน หรือเหมือนกันมาจัดวางอย่างสัมพันธ์กัน เกิดการประสานกันอย่างเหมาะสมและลงตัวในผลงาน ดูแล้วไม่ขัดตา

The Three Graces

By Sandro Botticelli

"Primavera" (1478) By Sandro Botticelli

24

Soldier Warning By Salvador DaliSunflower By Vincent Van Gogh

25

การตัดกัน (Contrast)

การตัดกันหรือการขัดแย้งกนั หมายถึง การจัดองค์ประกอบพื้นฐานที่มีคุณสมบัติต่างกันมาไว้ด้วยกัน การตัดกันถ้าหากใช้ด้วยความเหมาะสม จะท้าให้เกิดความเด่นปรากฏชัดขึ้นในผลงาน กลายเป็นจุดรวมของความสนใจ (focal point) นอกจากนี้ยังช่วยลดความน่าเบื่อจากความกลมกลืนที่มีมากเกินไปจะท้าให้เกิดความไม่เข้ากันหรือการขัดกัน โดยใช้วิธกีารประสาน คือใช้องค์ประกอบที่เป็นตัวกลางมาลดความขัดแย้ง

26

Fernand Leger

27

เอกภาพ (unity)

เอกภาพ (unity) หมายถึง1. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหรือความเป็นระเบียบของภาพ2. ความกลมกลืนขององค์ประกอบพื้นฐาน3. ความสมดุลของภาพ4. การรวมกันของรูปทรงในภาพเป็นจุดเด่น

28

ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหรือความเป็นระเบียบของภาพ

The Academy of Plato By Michaelangelo

29

ความกลมกลืนขององค์ประกอบพ้ืนฐาน

The Dance Class By Edgar degas

30

ความสมดุลของภาพ

The Last Supper By Salvador Dali

31

การรวมกันของรูปทรงในภาพเป็นจุดเด่น

Apples and Oranges By Paul Cezanne

32