นันทนาการ ๕๗

Post on 14-Aug-2015

92 views 0 download

Transcript of นันทนาการ ๕๗

การศึกษาด้านนันทนาการ ปีงบประมาณ 2557

สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง

การประเมินศักยภาพทรัพยากรนันทนาการ และจ าแนกช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS)

ในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์

ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก

1. แบบประเมินศักยภาพแหล่งนันทนาการในอุทยานแห่งชาต ิ2. แบบประเมินปัจจัยและเกณฑ์ในการจ าแนกเขตนันทนาการตามหลัก

ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการโดยใช้ปัจจัยทางสงัคม (ROS) ส าหรับอุทยานแห่งชาติ

อุปกรณ ์

1. ก าหนดพื้นที่แหล่งนันทนาการ ที่จะด าเนินการส ารวจ พร้อมเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับแหล่งนันทนาการ ได้แก่ ชื่อ , หน่วยงานรับผิดชอบ, ที่ตั้งตามการปกครอง, ที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร์, การเข้าถึงแหล่งนันทนาการ, ประเภทของแหล่งนันทนาการ, ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการประกอบกิจกรรม, ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวที่เหมาะสม, กิจกรรมนันทนาการ, ชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยว , ลักษณะเด่นหรือลักษณะอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่และสิ่งอ านวยความสะดวกที่ปรากฏในแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการ

วิธกีารศึกษา

วธีิการศึกษา (ต่อ)

2. ประเมินระดับศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการ ในการรองรับกิจกรรมนันทนาการ โดยการใช้สมการถ่วงน้ าหนักอย่างง่าย (simple weighting score method) โดยก าหนดค่าความส าคัญ หรือ ค่าถ่วงน้ าหนักของปัจจั ยชี้ วั ดแต่ ละปัจจั ยจาก 1 ถึ ง 3 จากระดับความส าคัญน้อยไปจนมีความส าคัญมาก

วิธีการศึกษา (ต่อ)

1. แหล่งนันทนาการประเภทธรรมชาติทั่วไป (conventional nature tourism, NT)

2. แหล่งนันทนาการประเภทผจญภัย

(adventure tourism, AT)

3. แหล่งนันทนาการประเภทเชิงนิเวศ

(ecotourism, ET)

วิธีการศึกษา (ต่อ)

จ าแนกกลุ่มแหล่งนันทนาการเป็น 3 ประเภท ได้แก่

วิธีการศึกษา (ต่อ)

องค์ประกอบและปัจจัยตัวชี้วัด 5 กลุ่ม ดังนี ้ 1) ด้านคุณภาพของทรัพยากร 2) ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก การบริการและสื่อความหมาย 3) ด้านการจัดการผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน 5) ด้านการบริหารจัดการ ค่าระดับศักยภาพของแหล่งนันทนาการ แบ่งเป็น 3 ระดับคือ 1) < 1.66 = ระดับศักยภาพต่ า ในการรองรับกิจกรรม Low : L 2) 1.67-2.33 = ระดับศักยภาพปานกลาง ในการรองรับกิจกรรม Moderate : M 3) >2.34 = ระดับศักยภาพสูง ในการรองรับกิจกรรม High : H

วิธีการศึกษา (ต่อ)

3. ประเมินเขตนันทนาการตามหลักการช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS)

โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีความรู้ด้านนันทนาการ จ านวน 3-5 คน ใช้แบบประเมินเขตนันทนาการโดยให้ค่าคะแนน ในแต่ละปัจจัย ชี้วัด แล้วน ามาหาค่าเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่ก าหนดมีค่าคะแนนต่ าสุด เท่ากับ 1 และค่าคะแนนสูงสุด เท่ากับ 5

วิธีการศึกษา (ต่อ)

โดยมีปัจจัยต่างๆ ดังนี้

1) ปัจจัยเกี่ยวกับการเดินทางเข้าถึง

2) ปัจจัยเกี่ยวกับความเป็นธรรมชาติและการพัฒนาพื้นที่

3) ปัจจัยเกี่ยวกับระดับการพึ่งพาตนเอง

4) ปัจจัยเกี่ยวกับการควบคุมนักท่องเที่ยวและการใช้ประโยชน์

5) ปัจจัยเกี่ยวกับโอกาสการพบปะผู้คน

ผลการศึกษา

ผลการประเมินศกัยภาพทรัพยากรนนัทนาการของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

ผลการประเมินศกัยภาพทรัพยากรนนัทนาการของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

ผลการประเมินทรัพยากรนนัทนาการของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

ตารางแสดงจ านวนและรอ้ยละของแหล่งนันทนาการ

ในเขตนันทนาการของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

จ านวนและร้อยละของระดับศักยภาพแหล่งนันทนาการในอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

ผลการประเมินช่วงชัน้โอกาสด้านนันทนาการ (ROS)ของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

ผลการประเมินช่วงชัน้โอกาสด้านนันทนาการ (ROS)ของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

จ านวนและร้อยละของแหล่งนันทนาการ

ในเขตนันทนาการของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

สรุปผลการประเมินศกัยภาพทรัพยากรนันทนาการ และจ าแนกช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS) ของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

สรุปผลการประเมินศกัยภาพทรัพยากรนันทนาการ และจ าแนกช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS) ของอุทยานแห่งชาติแม่วงก ์

:

CONTACT

ฝ่ายวิจัยฯ hnukool@hotmail.com

www.dnpii.org