What is Management in Supply Chain Management? (III)_2

1
Global Knowledge October 2011 Logistics Digest 51 กรอบโครงสร้างแบบ Mentzer กรอบโครงสร้างแบบ Mentzer ทีเรานำมาพิจารณาถูกพัฒนาโดย Mentzer และคณะ (2001) เพื่อจะมีวิธีสร้างมโน ทัศน์เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทานที่คงเส้น คงวา Mentzer และเพื่อนร่วมงานของเขา นิยามการจัดการโซ่อุปทานในบทวิเคราะห์ นี้ว่าเป็น “การประสานงานหน้าที่งานธุรกิจ แแบบดั้งเดิม และกลยุทธ์ต่างๆ อย่างเป็น ระบบ และอย่างมียุทธศาสตร์ ในบริษัท หนึ่งๆ และระหว่างธุรกิจภายในโซ่อุปทาน เพื่อปรับปรุงสมรรถนะในระยะยาวของแต่ละ บริษัทและโซ่อุปทานโดยรวม” คำอธิบาย SCM ของผู้เขียนอิงมาจากการพิจารณางาน เขียนมากมายเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะที่เป็น คุณลักษณะของการจัดการโซ่อุปทาน จาก นิยามนี้ SCM มีส่วนเกี่ยวข้องกับหลายหน่วย งานและกิจกรรมธุรกิจหลายด้าน และอิงทีกระบวนการเพื่อประสานงานกิจกรรมต่างๆ ระหว่างแต่ละหน้าที่งาน และระหว่างแต่ละ องค์กรในโซ่อุปทาน นิยามนี้นำไปสู่แนวคิด การพัฒนาแบบจำลองของการจัดการ โซ่อุปทานดังที่แสดงในภาพที่ 4 ด้านล่าง ในกรอบโครงสร้างนี้ โซ่อุปทานถูก แสดงในรูปของท่อส่ง (Pipeline) ที่แสดงการ ไหลของโซ่อุปทาน การประสานงานระหว่าง หน้าที่งานของหน้าที่งานดั้งเดิมในธุรกิจ และ การประสานงานระหว่างบริษัทระหว่างหุ้น ส่วนโซ่อุปทาน ตั้งแต่ผู้จัดส่งวัตถุดิบของผูจัดส่งวัตถุดิบ จนถึงลูกค้าของลูกค้า จนถึง การสร้างคุณค่าและความพึงพอใจให้แก่ผูบริโภค Mentzer และเพื่อนร่วมงานเล็งเห็น ว่าคุณค่าและความพึงพอใจของลูกค้าเป็น ปัจจัยที่จำเป็นต่อการสร้างความได้เปรียบ ในการแข่งขันและความสามารถในการทำ กำไรสำหรับแต่ละบริษัทในโซ่อุปทาน และ สำหรับโซ่อุปทานโดยรวม (Mentzer และ คณะ 2001) ทั้ง 3 กรอบโครงสร้างที่กล่าวมาข้างต้น คือ SCOR, GSCF และ CPFR มีการนิยามไว้ มากพอควรแล้วและสามารถนำมาใช้งานใน องค์กรหลากหลายรูปแบบ กรอบโครงสร้าง แบบ GSCF มีขอบเขตกว้างมาก ขอบเขตทีกว้างมากนี้อาจสร้างความท้าทายในการนำ มาใช้งาน โดยเฉพาะที่กรอบโครงสร้างนีแนะนำให้องค์กรเปลี่ยนจากการอิงหน้าทีงานมาอิง/จัดการตามกระบวนการ กรอบ โครงสร้าง SCOR อาจนำมาใช้งานได้ง่ายกว่า เพราะว่าเกี่ยวข้องกับแค่หน้าที่งานของธุรกิจ ในด้านการจัดหา การผลิต และลอจิสติกส์ แต่ก็อาจเพิ่มความเหมาะสมได้เพียงเฉพาะ จุด (Sub-optimization) และจัดการโซ่อุปทาน โดยไม่ได้มีข้อมูลจากหน้าที่งานส่วนอื่นๆ (Lambert และคณะ 2005) กรอบโครงสร้าง CPFR นั้นมีขอบเขตแคบกว่า ทำให้แต่ละ บริษัทมีอิสรภาพในการตัดสินใจว่าจะใช้ ความสัมพันธ์แบบร่วมมือกันมากน้อยเพียง ใดในแต่ละช่วงเวลา ความง่ายในการนำ CPFR มาใช้งาน และการที่สามารถวัดผลการ ปรับปรุงได้จากความสัมพันธ์แบบร่วมมือกัน เพียงความสัมพันธ์เดียว ถือเป็นจุดแข็งข้อ ใหญ่ที่สุดของกรอบโครงสร้างแบบนี้ อย่างไร ก็ตาม สิ่งที่แตกต่างจากกรอบโครงสร้าง อีก 2 แบบ คือ CPFR ไม่ได้ให้ความมั่นใจ ว่าทรัพยากรภายในองค์กรมีการจัดเรียง กันอย่างเหมาะสม ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็น จุดอ่อน ขณะที่กรอบโครงสร้างของ Mentzer เน้นที่การปฏิสัมพันธ์ข้ามหน้าที่งานภายใน องค์กร และความสัมพันธ์ใหม่ๆ ที่ถูกสร้างขึ้น กับส่วนอื่นๆ ของโซ่อุปทาน แต่ก็ไม่ได้มีการ อธิบายกระบวนการที่ต้องนำมาใช้งาน ติดตามตอนที่ 4 “คำศัพท์เฉพาะทาง ของ SCM” การทำงานร่วมกัน การบูรณาการ และความยั่งยืน เราจะพบแนวคิดสำคัญๆ หลายเรื่องด้วยกันจากการพิจารณางาน เขียนเกี่ยวกับ SCM อย่างละเอียด เช่นเดียว กับนิยามของ SCM และกรอบโครงสร้างของ SCM นอกเหนือจากการประสานงานการไหล และกิจกรรมที่เป็นนิยามที่ชัดเจนแล้ว นิยาม และกรอบโครงสร้างมักจะใช้คำศัพท์ต่างๆ เช่น การทำงานร่วมกัน และการบูรณาการ นอกจากนั้น ความยั่งยืนก็เป็นเรื่องที่ได้รับ ความสนใจเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงไม่กี่ปี ที่ผ่านมา ในหัวข้อต่อจากนี้ เราจะพยายาม ชำแหละคำศัพท์แต่ละตัวขณะที่ยังเน้นทีความหมายและสาระของมัน ดร.วิทยา สุหฤทดำรง ผู้อำนวยการสถาบันวิทยาการ โซ่ อุปทาน มหาวิทยาลัย ศรีปทุม vithaya@vithaya. com แบบจำลองของ Mentzer Supply Chain Flows Customer Satisfaction/ Value/Profitability/ Competitive Advantage Supplier’s Supplier Supplier Focal Firm Customer Customer’s Customer Inter- Functional Coordination (Trust, Commitment, Risk, Dependence, Behaviors) Products Services Information Financial Resources Demand Forecasts The Supply Chain The Global Environment Inter-Corporate Coordination (Functional Shifting, Third-Party Providers, Relationship Management, Supply Chain Structures) Marketing Sales Research and Development Forecasting Production Purchasing Logistics Information Systems Finance Customer Service

Transcript of What is Management in Supply Chain Management? (III)_2

Page 1: What is Management in Supply Chain Management? (III)_2

Global Knowledge

October 2011 Logistics Digest

51

กรอบโครงสร้างแบบMentzer กรอบโครงสร้างแบบ Mentzer ที่ เรานำมาพิจารณาถูกพัฒนาโดยMentzerและคณะ (2001) เพื่อจะมีวิธีสร้างมโนทัศน์เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทานที่คงเส้นคงวาMentzer และเพื่อนร่วมงานของเขานิยามการจัดการโซ่อุปทานในบทวิเคราะห์นี้ว่าเป็น “การประสานงานหน้าที่งานธุรกิจแแบบดั้งเดิม และกลยุทธ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ และอย่างมียุทธศาสตร์ ในบริษัทหนึ่งๆ และระหว่างธุรกิจภายในโซ่อุปทานเพือ่ปรบัปรงุสมรรถนะในระยะยาวของแตล่ะบริษัทและโซ่อุปทานโดยรวม” คำอธิบายSCMของผู้เขยีนองิมาจากการพจิารณางานเขียนมากมายเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะที่เป็นคุณลักษณะของการจัดการโซ่อุปทานจากนยิามนี้SCMมีสว่นเกีย่วขอ้งกบัหลายหนว่ยงานและกิจกรรมธุรกิจหลายด้านและอิงที่กระบวนการเพื่อประสานงานกิจกรรมต่างๆระหว่างแต่ละหน้าที่งานและระหว่างแต่ละองค์กรในโซ่อุปทานนิยามนี้นำไปสู่แนวคิดการพัฒนาแบบจำลองของการจัดการ โซ่อุปทานดังที่แสดงในภาพที่4ด้านล่าง ในกรอบโครงสร้างนี้ โซ่อุปทานถูกแสดงในรปูของทอ่สง่(Pipeline)ที่แสดงการไหลของโซ่อุปทานการประสานงานระหว่างหนา้ที่งานของหนา้ที่งานดัง้เดมิในธรุกจิและการประสานงานระหว่างบริษัทระหว่างหุ้นส่วนโซ่อุปทานตั้งแต่ผู้จัดส่งวัตถุดิบของผู้จัดส่งวัตถุดิบ จนถึงลูกค้าของลูกค้า จนถึงการสร้างคุณค่าและความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภคMentzerและเพื่อนร่วมงานเล็งเห็นว่าคุณค่าและความพึงพอใจของลูกค้าเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและความสามารถในการทำกำไรสำหรับแต่ละบริษัทในโซ่อุปทานและสำหรับโซ่อุปทานโดยรวม (Mentzer และคณะ2001) ทัง้3กรอบโครงสรา้งที่กลา่วมาขา้งตน้คอืSCOR,GSCFและCPFRมีการนิยามไว้มากพอควรแลว้และสามารถนำมาใช้งานใน

องค์กรหลากหลายรูปแบบกรอบโครงสร้างแบบGSCFมีขอบเขตกว้างมากขอบเขตที่กว้างมากนี้อาจสร้างความท้าทายในการนำมาใช้งาน โดยเฉพาะที่กรอบโครงสร้างนี้แนะนำให้องค์กรเปลี่ยนจากการอิงหน้าที่งานมาอิง/จัดการตามกระบวนการ กรอบโครงสร้างSCORอาจนำมาใช้งานได้งา่ยกวา่เพราะวา่เกีย่วขอ้งกบัแค่หนา้ที่งานของธรุกจิในด้านการจัดหาการผลิตและลอจิสติกส์ แต่ก็อาจเพิ่มความเหมาะสมได้เพียงเฉพาะจดุ(Sub-optimization)และจดัการโซ่อปุทาน โดยไม่ได้มีข้อมูลจากหน้าที่งานส่วนอื่นๆ(Lambertและคณะ2005)กรอบโครงสร้างCPFRนั้นมีขอบเขตแคบกว่า ทำให้แต่ละบริษัทมีอิสรภาพในการตัดสินใจว่าจะใช้ความสัมพันธ์แบบร่วมมือกันมากน้อยเพียงใดในแต่ละช่วงเวลา ความง่ายในการนำCPFRมาใช้งานและการที่สามารถวดัผลการปรบัปรงุได้จากความสมัพนัธ์แบบรว่มมอืกนัเพียงความสัมพันธ์เดียว ถือเป็นจุดแข็งข้อใหญ่ทีส่ดุของกรอบโครงสรา้งแบบนี้อยา่งไรก็ตาม สิ่งที่แตกต่างจากกรอบโครงสร้างอีก 2แบบคือCPFR ไม่ได้ให้ความมั่นใจว่าทรัพยากรภายในองค์กรมีการจัดเรียง กันอย่างเหมาะสม ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็น

จดุออ่นขณะที่กรอบโครงสรา้งของMentzerเน้นที่การปฏิสัมพันธ์ข้ามหน้าที่งานภายในองคก์รและความสมัพนัธ์ใหม่ๆ ที่ถกูสรา้งขึน้กับส่วนอื่นๆของโซ่อุปทานแต่ก็ไม่ได้มีการอธิบายกระบวนการที่ต้องนำมาใช้งาน ติดตามตอนที่ 4 “คำศัพท์เฉพาะทางของSCM”การทำงานรว่มกนัการบูรณาการและความยั่งยืน เราจะพบแนวคิดสำคัญๆหลายเรื่องด้วยกันจากการพิจารณางานเขียนเกี่ยวกับSCMอย่างละเอียดเช่นเดียวกบันยิามของSCMและกรอบโครงสรา้งของSCMนอกเหนอืจากการประสานงานการไหลและกจิกรรมที่เปน็นยิามที่ชดัเจนแลว้นยิามและกรอบโครงสร้างมักจะใช้คำศัพท์ต่างๆเช่น การทำงานร่วมกันและการบูรณาการนอกจากนั้น ความยั่งยืนก็เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ในหัวข้อต่อจากนี้ เราจะพยายามชำแหละคำศัพท์แต่ละตัวขณะที่ยังเน้นที่ความหมายและสาระของมัน

ดร.วิทยา สุหฤท ดำรง ผู้ อำนวย การ สถาบัน วิทยาการ โซ่ อุปทาน มหาวิทยาลัย ศรีปทุม [email protected]

แบบจำลองของMentzer

SupplyChainFlows

CustomerSatisfaction/

Value/Profitability/CompetitiveAdvantage

Supplier’s Supplier Supplier Focal Firm Customer Customer’s Customer

Inter-FunctionalCoordination(Trust,Commitment,Risk,Dependence,Behaviors)

Products

Services

Information

FinancialResources

Demand

Forecasts

The Supply Chain

The Global Environment

Inter-Corporate Coordination(Functional Shifting, Third-Party Providers, Relationship Management, Supply Chain Structures)

Marketing

Sales

Research and Development

Forecasting

Production

Purchasing

Logistics

Information Systems

Finance

Customer Service