Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

32
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 32 6 Sep - 12 Sep 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits&Vegetables Food Ingredient&Ready-to-Eat หวั่นลูกแรงงานต ่างด้าวล้นเมือง เฉลิม ชัยเสนอคุมก�าเนิด หวังจัดการให้เป็น ระบบ แนวโน้มการออกประกาศเรื่อง อาหารใหม(novel food) ของไทย ประสบการณ์ Food Safe - ty Control ในเนเธอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ และไทย งาน INFOFISH WORLD TUNA ครั้งที่ 12 รัฐดันส่งออกสับปะรดกระป๋อง เพิ่ม ยอดทั่วโลก 40,000 ล้านบาท

description

Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

Transcript of Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

Page 1: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 32

6 Sep - 12 Sep 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

หวั่นลูกแรงงานต่างด้าวล้นเมือง เฉลิมชัยเสนอคุมก�าเนิด หวังจัดการให้เป็น

ระบบ

แนวโน้มการออกประกาศเรื่อง อาหารใหม่ (novel food) ของไทย

ประสบการณ์ Food Safe-ty Control ในเนเธอร ์แลนด ์

ไอร ์ แลนด ์ และไทย

งาน INFOFISH WORLD TUNA ครั้งที่ 12

รัฐดันส ่งออกสับปะรดกระป ๋อง เพิ่มยอดทั่วโลก 40,000 ล ้านบาท

Page 2: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

2 3

ContentsContents3344 5 6 9 9 10 11

12 13 14 14 15 16

17 18

19 20 21

05

12

19

17

23

03 ขา่วประชาสัมพนัธ์• มกอช.จัดสัมมนา ‘ทิศทางด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารระหว่างประเทศ’(เอกสารแนบ1) • ขอเชิญร่วมสัมมนา เรื่อง “มาตรฐานการปกป้อง...ต้องรู้” (เอกสารแนบ2) • สัมมนาเวทีสาธารณะเรื่อง กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้ากับการเจรจา(เอกสารแนบ3)• ขอเชิญร่วมสัมมนารับฟังความคิดเห็นต่อร่างกรอบเจรจาความตกลงด้านมาตรฐานและการตรวจรับรองภายใต้ ACCSQ ครั้งที่ 5 (เอกสารแนบ4)

สถานการณด์้านมาตรฐานและความปลอดภยั อาหาร • แนวโน้มการออกประกาศเรื่อง อาหารใหม่ (novel food) ของไทย์ • ประสบการณ์ Food Safety Control ในเนเธอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ และไทย

สถานการณด์้านประมง • งาน INFOFISH WORLD TUNA ครั้งที่ 12 • ฟิลิปินส์ไฟแดงจับหอยในอ่าว Matarinao Bay • จีนไฟเขียวปลาป่นจากปากีสถาน • กุ้งไทยผวา 3 ปัจจัยเสี่ยงกระแทก

สถานการณด์้านเกษตร• รัฐดันส่งออกสับปะรดกระป๋อง เพิ่มยอดทั่วโลก 40,000 ล้านบาท • ปัญหาการขอต่ออายุทะเบียนเลขที่ (ML Number) ของสินค้าผลไม้กระป๋องไทยในตลาดอินโดนีเซีย • สถานการณ์ผลผลิตข้าวโพดหวานของไทย • “ธีระ”รับปากสานต่อจัดสรรที่ดิน ช่วยเหลือเครือข่ายเกษตรกร4ภาค • จ่ายเกษตรกรน�้าท่วมใน60วัน เกษตรเร่งส�ารวจความเสียหาย จับตาเจ้าพระยาอ่วมถึงกลาง • “กลุ่มเกษตรอินทรีย์”น้อมกล้าฯ ถวายข้าวแด่พ่อเป็นทานแผ่นดิน สถานการณน์โยบายครม.ชุดใหม ่และ ประเด็นแรงงาน • ซีพีเอฟหนุนนโยบายรัฐฯขึ้นค่าแรง 300 บาททันที หลังรบ.ประกาศใช้ ลุยจัดคาราวานสินค้าลดค่าครองชีพ • หว่ันลูกแรงงานต่างด้าวล้นเมือง เฉลิมชัยเสนอคุมก�าเนิด หวังจัดการให้เป็นระบบ

สถานการณด์้านการค้า• กรมศุลกากรประกาศใช้ระบบพิกัดศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียนฉบับปี 2012 • อุตฯเจอศึกหนักจ่ายแอลพีจีเพิ่ม 3 บาท ภาคขนส่งฯ เตรียมตัวกระอัก พลังงานเล็งปล่อยลอยตัวเร็วขึ้น • ส่งเสริมร่วมลงทุนด้านวิจัย กระทรวงวิทย์หนุนภาครัฐ-เอกชนจับมือ/ช่วยผลักดันอุตฯท้องถิ่นเข้มแข็ง

อตัราแลกเปลีย่น

ข่าวประชาสัมพันธ์

09

ม ก อ ช . จั ด สั ม ม น า ‘ ทิ ศ ท า ง ด ้ า นมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารระหว่างประเทศ’(เอกสารแนบ1)

ส�านักงานมาตรฐานสินค้า

เกษตรและอาหารแห่งชาติ(มกอช.) จัดสัมมนาวิชาการ

เรื่อง ทิศทางด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหาร

ระหว่างประเทศ ในวันพุธท่ี 21 กันยายน 2554 ณ

โรงแรมรามาการ์เด้น ตั้งแต่เวลา 8.00 -16.00 น. ผู้

สนใจสามารถดาวน์โหลดใบสมัครและแบบฟอร์มตอบรับ

เข้าร่วมสัมมนาได้จากเอกสารแนบ1 กรุณาส่งแบบตอบ

รับเข้าร่วมสัมมนาภายในวันจันทร์ท่ี 12 กันยายน 2554

ที่มา : มกอช. 2 ก.ย. 54

ขอเชิญร่วมสัมมนา เรื่อง “มาตรฐานการปกป้อง...ต้องรู้” (เอกสารแนบ2)

ด้านกรมการค้าต่างประเทศได้ก�าหนดจัดการสัมมนา

เรื่อง “มาตรฐานการปกป้อง...ต้องรู้” ในวันพฤหัสบดี

ท่ี 22 กัยยายน 2554 ณ โรงแรม เอมเมอรัลด์ ถนน

รัชดาภิเษก กรุงเทพมหานครเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความ

เข้าใจและเผยแพร่ให้เห็นถึงความส�าคัญของมาตรการ

เยียวยาทางการค้าดังกล่าวที่สามารถน�าไปใช้เพื่อปกป้อง

อุตสาหกรรมและลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า

ขอเรียนเชิญท่านหรือผู ้แทนเข้าร่วมการสัมมนา

ดังกล่าวโดยขอให้แจ้งรายชื่อผู ้ที่จะเข้าร่วมการสัมมนา

ตามแบบตอบรับการเข้าร่วมสัมมนาภายในวันที่ 16 กัย

ยายน 2554

Page 3: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

4 5

WEEKLY BRIEF

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหารสัมมนาเวทีสาธารณะเรื่อง กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้ากับการเจรจา(เอกสารแนบ3)

ด้วยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ก�าหนดจัด

สัมมนาเวทีสาธารณะเร่ือง กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้ากับ

การ เจรจาต่อเนื่องภายใต้ FTA ไทย-ออสเตรเลีย ไทย-

นิวซีแลนด์ และ ไทย-ญี่ปุ ่น ในวันอังคารที่ 20 กันยายน

2554 เวลา 8.30 -13.30 น. ณ ห้องกมลทิพย์ 2 ช้ัน 2

โรงแรม สยามซิตี้ กรุงเทพฯ รายละเอียดตามเอกสารแนบ

ในการนี้จึงขอเรียนเชิญท่านหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วม

การสัมมนาดังกล่าว และขอความกรุณาส่งแบบตอบรับ

การเข้าร่วมสัมมนาภายในวันที่ 14 กันยายน 2554 ด้วย

ขอเชญิร่วมสมัมนารับฟังความคดิเหน็ต่อร่างกรอบเจรจาความตกลงด้านมาตรฐานและการตรวจรับรองภายใต้ ACCSQ ครั้งที่ 5 (เอกสารแนบ4)

ด้วยส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ก�าหนดจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อ

ร่างกรอบเจรจาความตกลงด้านมาตรฐานและการตรวจ

สอบรับรองภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐาน

และคุณภาพอาเซียน ในวันจันทร์ที่ 26 กัยยายน 2554

เวลา 8.00 – 14.00 น. ณ ห้องเจ้าพระยาบอลรูม

โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ โดยโปรดแจ้งช่ือ

ผู ้เข้าร่วมสัมมนาให้ทางส�านักงานทราบตามสิ่งที่ส่งมา

ด้วยหมายเลข 2 ภายในวันพุธที่ 21 กัยยายน 2554

แนวโน้มการออกประกาศเรื่อง อาหารใหม่ (novel food) ของไทย

ท�าความรู้จักกับ Novel Food

ปัจจุบันกฏระเบียบในเรื่องของ Novel Food

นั้น ไม่ได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย มีเพียงแต่สหภาพ

ยุ โรป(EU) ท่ีมีการใช ้กฏระเบียบนี้อย ่างชัดเจนภาย

ใต้Regulation (EC) 258/97 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วัน

ท่ี 15 พฤษภาคม 2540 โดยมีการก�าหนดนิยามไว้ว่า

Novel Food คือ “อาหารที่ไม่ได้มีการบริโภคในสห

ภาพฯ อย่างแพร่หลาย ก่อนวันที่ 15 พฤษภาคม 2540

(วันท่ีบังคับใช้กฎระเบียบ) หรือ อาหารที่มาจากการใช้

กรรมวิธีการผลิตใหม่ ซึ่งท�าให้เกิดการเปล่ียนแปลงองค์

ประกอบ หรือโครงสร้าง ของอาหาร ท�าให้มีผลกระทบ

ต่อคุณค่าทางอาหาร การเผาผลาญ หรือระดับของสาร

เคมี แต่ท้ังนี้จะไม่รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร และอาหารที่

ได้จากการดัดแปรพันธุกรรม”

ส�าหรับประเทศไทย ปัจจุบันมีการขออนุญาต

อาหารใหม่และส่วนประกอบใหม่ของอาหาร โดยเฉพาะ

จ�าพวกผลิตภัณฑ์อาหารเสริมค่อนข้างมาก แต่ยังไม่มีข้อ

ก�าหนดเพื่อความปลอดภัยของอาหารดังกล่าว อย.ได้เล็ง

เห็นถึงความส�าคัญจึงพิจารณาที่จะจัดท�าร ่างประกาศฯ

เบ้ืองต้นได้ก�าหนดนิยามไว้ว่า “เป็นอาหารที่มี

หลักฐานอ้างอิงการบริโภคซึ่งรับประทานตามโดยทั่วไป

เป็นระยะเวลาไม่เกิน 15 ปี มีกระบวนการผลิตที่มิได้

ใช้กันทั่วไปซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบหรือ

โครงสร้างอาหาร โดยส่งผลต่อคุณค่าทางโภชนาการและ

ความปลอดภัย” ท้ังนี้ จะไม่รวมถึงวัตถุเจือปนอาหารและ

อาหารท่ีได้จากการดัดแปรพันธุกรรม ทั้งนี้ หากมีความ

ชัดเจนประการใด จะมีการจัดท�าสัมมนาประชาพิจารณ์

ต่อไป

ท้ังนี้ สามารถศึกษารายละเอียดกฎระเบียบของ

สหภาพยุโรปเพิ่มเติมได้จากhttp://ec.europa.eu/food/

food/biotechnology/novelfood/index_en.htm

ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

Page 4: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

6 7

Vol. 2 Issue 2

66 7

ประสบการณ์ Food Safety Con-trol ในเนเธอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ และไทย

คณะผู้แทนไทยประจ�าสหภาพยุโรป จัด

สัมมนาเรื่อง Food Safety Control: EU Member

States’Experiences and Practice ระหว่างวันที่

5-6 กันยายน 2554 ณ โรงแรมพูล์แมน เพ่ือแลก

เปล่ียนประสบการณ์และแนวทางการด�าเนินงานในด้าน

ควบคุมความปลอดภัยอาหารของประเทศสมาชิกสห

ภาพฯ ได้แก่ เนเธอร์แลนด์และไอร์แลนด์ และภาค

รัฐและเอกชนไทย

อนาคตคาดว่าในปี ค.ศ.2020 จะมีประชากรโลกถึง

9,000 ล้านคน ประเทศใดจะสามารถครองความเป็น

ผู ้น�าด้านอุตสาหกรรมอาหารได้น้ันจะต้องสร้างความ

เช่ือม่ัน ความไว้ใจ ในสินค้าของตนต่อผู้บริโภค ความ

ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Control) ถือเป็นหัวใจ

ส�าคัญที่ผู ้ผลิตจะต้องปฏิบัติตาม และ EU มีระบบการ

เตือนภัยทางด้านอาหารอย่างเร่งด่วน เรียกว่า Rapid

Alert System for Food and Feed (RASFF)

มีสถานการณ์ที่เคยเกิดข้ึนใน EU และเป็นตัวอย่างให้

เห็นถึงการแก้ไขที่ดีเมื่อเกิดสถานการณ์ไม่ปลอดภัยทาง

อาหาร คือ การพบการปนเปื้อนของสารdioxinในหมู เมื่อ

มีการตรวจพบการปนเปื้อนแล้วได้ท�าการเรียกคืนหมูและ

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้หมูเป็นส่วนประกอบจากแหล่งต้องสงสัยคืน

จากท้องตลาดและท�าการท�าลายทิ้งทั้งหมด พร้อมท้ังมีการ

ประกาศเตือนประเทศสมาชิก ให้รับทราบถึงสถานการณ์

ความไม่ปลอดภัยในอาหารที่เกิดข้ึนทันที การตัดสินใจด�า

เนินการเช่นนี้ เพื่อคุ ้มครองความปลอดภัยของผู ้บริโภค

และป้องกันการเสียช่ือเสียงของประเทศผู้ผลิตเอง

หน่วยงาน Food Safety Control ของไอร์แลนด์

เนเธอร์แลนด์ และไทย

ไอร์แลนด์ องค์กรที่ดูแลเรื่อง food safety control

คือ Food Safety Authority of Ireland (FASI) ซึ่งเกิด

จากการรวมตัวของ 3 หน่วยงานคือ Agricultural, Health

และ Marine โดยลักษณะการท�างานจะเป็นองค์กรอิสระ

และมีการเซ็นต์สัญญาท�างานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ดังนี้

1) Country council and City council

2) Health Service Executive (HSE)

3) The Department of Agricultural, Marine

Food and Feed (DAFF)

4) The Marine Institute

5) The National Standard Authority of Ireland

(NSAI)

6) The Sea Fisheries Protection Authority (SFPA)

เนเธอร์แลนด์ องค์กรท่ีดูแลเรื่อง food safety

control คือ Food and Consumer Product Safety

Authority (VWA) และตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2012

จะใช้โครงสร้างใหม่ คือ new Food and Con-

sumer Product Safety Authority (nVWA) เกิดจาก

การรวม 3 หน่วยงาน ด้วยกัน ได้แก่ (1)The Food

and Consumer Product Safety Authority (VWA)

(2)General Inspection Service (AID) และ (3) Plant

Protection Service (PD) เพื่อลดกระบวนการและงาน

ซ�้าซ้อน เกิดการประสานงาน มุ่งกลุ่มเป้าหมายชัดเจน

ขึ้น ซึ่งทางฝ่ายการเมืองเห็นด้วยให้ลดงบประมาณและ

บุคลากร โครงสร้างใหม่ แบ่งเป็น 6 ส่วน อยู่ภายใต้

Inspector General ซึ่งประกอบด้วย

1) Office for Risk Assessment & Research

2) Customer services Division

3) Veterinary&Imports Division (Inspection)

4) Agriculture & Nature Division (Inspection)

5) Consumer & Safety Division (Inspection)

6) Criminal Investigation Division

การดูแลรับผิดชอบเรื่อง Food Safety Control ของ

ทั้ง 2 ประเทศจะเป็นลักษณะองค์กรอิสระเพียงองค์กร

เดียวแต่จะแตกต่างกันตรงที่ ไอร์แลนด์นั้นจะมีหน่วย

ประสานเพื่อท�างานร่วมกับหน่วยงานอื่น (Service Con-

tact Agencies) แต่เนเธอร์แลนด์นั้นจะมีเพียงองค์กร

เดียว

Page 5: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

8 98

สถานการณ์ด้านประมงไทย องค์กรหลักที่ดูแลเรื่อง food safety control คือ

1) กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health)

ดูแลเก่ียวกับความปลอดภัยอาหารในประเทศไทย

2) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agritu-

ral and Coorperatives) ดูแลเกี่ยวกับความปลอดภัย

ของสินค้าอาหารส่งออก

โดยทั้งสองกระทรวงจะมีการท�างานในลักษณะที่ มี

หน่วยงานย่อยต่างๆ โดยในแต่ละหน่วยงานจะมีความรับ

ผิดชอบในเรื่องที่แตกต่างกัน

ผู ้เข้าร่วมการอภิปรายของไทยจากภาครัฐ ประกอบ

ด้วย ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ศูนย์ปฏิบัติ

การความปลอดภัยด้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข กรม

ประมง และ มกอช. มีความเห็นว่า

ประเทศไทยนั้นอาจจะไม่จ�าเป็นที่จะต้องมีการท�างาน

เพื่อควบคุมด้านความปลอดภัยอาหารในลักษณะ Single

agency เหมือนกับ Ireland และ Netherland แต่เรา

สามารถยึดรูปแบบการท�างานในลักษณะเดิมได้ โดยหน่วย

งานใดมีความเชี่ยวชาญในเรื่องใดก็ดูแลเรื่องนั้น แต่อาจ

จะเพิ่มในเรื่องของความสะดวกติดต่อประสานงานโดยผ่าน

เพียงช่องทางเดียว หรือ single window

ความเห็นภาคเอกชน ต่อการส่งออกอาหารของไทย

ประเทศไทยเป็นผู ้ส ่งออกอันดับหนึ่งในสินค้าอาหาร

หลายประเภท อาทิ อาหารทะเล และผักผลไม้ แปรรูป

สาเหตุที่ไทยสามารถรักษาสัดส่วนทางการตลาดเอาไว้ได้

เนื่องจากการปฏิบัติตามกฏระเบียบอย่างเคร่งครัด ไม่ว่า

จะเป็นกฏระเบียบของ EU และประเทศอื่นๆที่เป็นประเทศ

คู ่ค้าของไทย โดยเฉพาะกฏระเบียบของ EU นั้นค่อน

ข้างเข้มงวดแต่ไทยสามารถปฏิบัติตามได้เนื่องจากมีการ

ควบคุมที่ดี เม่ือสินค้าของไทยสามารถเป็นที่ยอมรับจาก

EU แล้ว ก็ไม่เป็นการยากหากไทยจะส่งออกสินค้าอาหาร

ไปยังประเทศคู ่ค้าอื่นๆ แต่ทั้งนี้ ประเทศไทยก็ยังมีข้อ

บกพร่องในเรื่องของภาคเกษตร เนื่องจาก เกษตรกรราย

ย่อยมีมากและยังขาดความรู ้ในเรื่องของระบบมาตรฐาน

ต่างๆ หากเราสามารถน�าเกษตรกรเข้าสู่ระบบมาตรฐาน

ได้ จะสามารถสร้างตลาดสินค้าเกษตรที่ใหญ่และน่าเชื่อ

ถือได้อีกมาก ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือกันท้ังจาก

รัฐบาลและภาคเอกชนต่อไป อย่างไรก็ตาม ยังมีประเด็น

ส�าคัญเรื่อง Composite food ซึ่งมีส่วนผสมหลากหลาย

ผู ้ประกอบการต้องติดต่อหลายหน่วยงาน จึงขอให้รัฐ

มี Single agency เพื่ออ�านวยความสะดวกให้เอกชน

สามารถติดต่อเพียงจุดเดียว

ท่ีมา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมสัมมนา Food Safety

Control: EU Member States’Experiences and Practice ระหว่างวันที่

5-6 กันยายน 2554 ณ โรงแรมพูล์แมน

งาน INFOFISH WORLD TUNA ครั้งที่ 12

การประชุมและนิทรรศการการค้าทูน่าโลก ครั้งที่ 12 (12th

INFOFISH WORLD TUNA TRADE CONFERENCE & EXHIBI-

TION: TUNA 2012 BANGKOK) จะจัดข้ึนระหว่างวันท่ี 23- 25

พฤษภาคม 2555 ณ กรุงเทพฯ โดยองค์การระหว่างประเทศ

ด้านข่าวสารการตลาดและบริการแนะแนวด้านเทคนิคของสินค้า

สัตว์น�้าแห่งเอเชียและแปซิฟิก(INFOFISH) จัดการประชุมการ

ค้าทูน่าโลกขึ้น เพื่อให้นานาประเทศที่มีบทบาททางการค้าทูน่า

และผู ้มีส่วนได้เสีย ได้มีส่วนร่วมอภิปรายถึงสถานการณ์และ

แนวโน้มการค้าในปัจจุบัน การพัฒนาและการแลกเปล่ียนมุม

มองประเด็นต่างๆ ในภาคอุตสาหกรรมทูน่าจากท่ัวทุกมุมโลก

รายละเอียดเพ่ิมเติมที่เว็บไซต์ http://www.infofish.org/tuna2012/index.html

ที่มา : INFOFISH

ฟิลิปินส์ไฟแดงจับหอยในอ่าว Matari-nao Bay

น่านน�้ารอบอ่าว Maritanao Bay

ของฟิลิปปินส์ มีสารพิษที่เกิดขึ้นจากปรากฎการณ์

สาหร่ายสีแดง ส่งผลให้ส�านักงานทรัพยากรประมง

และทะเล (BFAR) ประกาศห้ามจับหอยในบริเวณที่ได้

รับผลกระทบ โดยหอยที่ได้รับสารพิษนี้จะเป็นอัมพาต

ซึ่งจากผลการวิเคราะห์ พบว่าระดับสารพิษอัมพาต

จากหอย (Paralytic Shellfish Poisoning: PSP) ของ

หอยในอ่าว Matarinao Bay สูงถึง 160ไมโครกรัม

ต่อ 100 กรัม ขณะท่ีมาตรฐานก�าหนดไว้ไม่เกิน 60

ไมโครกรัมต่อ 100 กรัม

ที่มา : มกอช. (FIS) วันที่ 6 ก.ย. 54

Page 6: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

10 1111

จีนไฟเขียวปลาป่นจากปากีสถาน

เจ ้ าหน ้ า ท่ีจากกระทรวงประมงทางทะ เล

ปากีสถาน รายงานว่า จีนอนุญาตให้น�าเข้าปลาป่น

จากปากีสถาน หลังจากส�านักควบคุมคุณภาพและตรวจ

สอบกักกันโรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน(AQSIQ)

ตรวจสอบคุณภาพโรงงานในปากีสถานและในหลายๆ

ประเทศที่ส่งออกปลาป่นไปยังจีน โดยมีโรงงานปลา

ป่น 5 แห่งในปากีสถานได้รับอนุญาตจากหน่วยงาน

ดังกล่าว

กุ้งไทยผวา 3 ปัจจัยเสี่ยงกระแทก

ดร.ผณิศวร ช�านาญเวช นายกสมาคมอาหาร

แช่เยือกแข็งไทย ได้ให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ฐาน

เศรษฐกิจว่า คาดว่าจะมีปัจจัยเสี่ยงหลายประการที่

อาจกระทบต่อการส่งออกกุ้งไทย โดยเฉพาะ 3 ปัจจัย

ที่น ่ากังวล ได ้แก ่ เศรษฐกิจประเทศคู ่ค ้าหลักคือ

สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และยุโรปชะลอตัว โดย 3 ตลาด

หลักดังกล่าว คิดเป็นสัดส่วนถึง 70-80% ของตลาดส่ง

ออกกุ้งไทย ดังนั้นเม่ือเศรษฐกิจชะลอตัว ความต้องการ

สั่งซื้อย่อมชะลอลงอย่างแน่นอน และหากจะให้ผู้ส่งออก

หาตลาดใหม่หรือรณรงค์ให้บริโภคกุ้งกันมากขึ้นนั้น เป็น

สิ่งที่ท�าได้ยาก จึงคิดว่าควรจะมีการควบคุมปริมาณ

ตั้งแต่การผลิตลูกกุ้ง เพราะถ้าหากปล่อยให้มีการผลิตลูก

กุ้งออกมามากเกินไปจนเลี้ยงเป็นกุ้งโตแล้ว จะแก้ปัญหา

ได้ยาก ท้ังนั้ยังรวมถึงปัจจัยค่าเงินบาทแข็ง และค่าแรง

งานแพง ซึ่งอาจจะท�าให้กระทบมาถึงราคาที่เกษตรกร

ขายได้ภายในประเทศ

ด้านนายเอกพจน์ ยอดพินิจ ประธานชมรมผู้

เล้ียงกุ้งจังหวัดสุราษฎร์ธานี กล่าวว่า ผลผลิตกุ้งจังหวัด

สุราษฎร์ธานีซึ่งคิดเป็นประมาณ 10% ของผลผลิตทั้ง

ประเทศ ในปีนี้น่าจะใกล้เคียงกับปีท่ีผ่านมา เพราะการ

เล้ียงกุ้งยังคงประสบปัญหาโรคขี้ขาว และในปลายปีนี้ยัง

ไม่มั่นใจสภาพภูมิอากาศว่าจะเอื้ออ�านวยในการเลี้ยงกุ้ง

หรือไม่

ทั้งนี้ จากปัญหาน�้าท่วมเมื่อช่วงเดือนมีนาคม-

เมษายน 2554 ท่ีผ่านมา กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งภาคใต้

ได้รณรงค์ให้ควบคุมการเลี้ยงกุ ้งให้ได้ผลผลิตไม่ต�่ากว่า

400,000-500,000 ตัน หรือหากได้รับความเสียหายก็ไม่ควร

มากกว่า 50,000 ตัน เนื่องจากหากผลผลิตลดลงไปมาก

ห้องเย็นหรือผู้ส่งออกจะหันไปน�าเข้ากุ้งจากประเทศเพ่ือน

บ้านมาแปรรูปส่งออกแทน แต่อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรม

กุ้งท้ังระบบน่าจะยังไปได้ดีอยู่ เนื่องจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ

เช่น เรื่องการขึ้นค่าแรงขั้นต�่า ยังไม่มีผลบังคับใช้ และ

เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า ยังไม่ได้กระทบอย่างชัดเจน

ณ เวลานี้

ที่มา หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับที่ 2, 668 วันที่ 8-10 กันยายน

พ.ศ. 2554

แต่ปัจจุบันสหภาพยุโรประงับการน�าเข้าปลาป่น

จากปากีสถานทั้งหมด โดยสหภาพยุโรปให้เหตุผลว ่า

ปากีสถานขาดระบบการตรวจสอบย้อนกลับและขาดระบบ

ลูกโซ่ความเย็นที่ดี ซึ่งระบบลูกโซ่ความเย็นต้องสามารถ

รักษาอุณหภูมิที่ 6ฐC ส�าหรับปลาสดและ-12ฐC ส�าหรับ

ปลาแช่แข็ง

ท่ีมา : มกอช. (FIS) วันที่ 7 ก.ย. 54

Page 7: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

12 1312 13

สถานการณ์ด้านเกษตร

รัฐดันส ่ งออกสับปะรดกระป ๋อง เพิ่มย อ ด ทั่ ว โ ล ก 4 0 , 0 0 0 ล ้ า น บ า ท “พิเชษฐ์” เผยหลังรับต�าแหน่งทีทีอาร์ เล็งเปิดตลาดสินค้า

ไทย “คาซัคสถาน” เป้าหมายแรก ดันส่งออกสับปะรด

เช่ือส่งออกเพ่ิม 300-400% พร้อมเปิดตราสัญลักษณ์

สับปะรดกระป๋องของไทย “มิสเตอร์ ไพน์ แลนด์ออฟส

ไมล์” อย่างเป็นทางการ …

นายพิเชษฐ์ สถิรชวาล ผู้แทนการค้าไทย

(ทีทีอาร์) เปิดเผยว่า หลังจากเข้ามารับต�าแหน่งทีทีอาร์

มีแผนที่จะเดินทางไปเปิดตลาดสินค้าไทย ซึ่งประเทศ

เป้าหมายแรกคือ คาซัคสถาน โดยจะผลักดันการส่งออก

สับปะรดกระป๋อง เพราะเป็นที่ต้องการของตลาด เชื่อ

ว่าจะส่งออกไปคาซัคสถานเพิ่มได้ไม่ต�่ากว่า 300-400%

พร้อมกันนั้น จะเปิดตราสัญลักษณ์สับปะรดกระป๋องของ

ไทย “มิสเตอร์ ไพน์ แลนด์ออฟสไมล์” อย่างเป็นทางการ

ด้วย เพราะที่ผ่านมาผู ้ประกอบการไทยไม่ได้ส่งออกไป

ยังคาซัคสถาน แต่สับปะรดไทยกลับถูกส่งผ่านไปในนาม

ของเนเธอร์แลนด์ และรัสเซีย ดังนั้น จึงจ�าเป็นต้องสร้าง

แบรนด์ของตนเองให้เป็นที่รู้จักของตลาดโลก โดยวางเป้า

หมายจะเพ่ิมยอดการส่งออกสับปะรดกระป๋องทั่วโลกให้ได้

40,000 ล้านบาท จากปัจจุบันประมาณ 26,000 ล้านบาท

นอกจากนี้ ยังเตรียมหารือกับเลขาธิการ

องค์กรศาสนาของประเทศอินโดนีเซีย เพื่อสานต่อการจัด

ตั้งส�านักงานเลขาธิการมาตรฐานอาหารฮาลาลอาเซียน

ในไทย และพร้อมร่วมมือกับผู้ส่งออกอาหารฮาลาลใน

อาเซียน ทั้งสิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์

บรูไน จัดท�ามาตรฐานอาหารฮาลาลอาเซียน และสนับสนุน

ให้อาหารฮาลาลของไทยได้รับการยอมรับในเวทีโลก จน

กลายเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารฮาลาลโลก รวมถึงจะ

เร่งเปิดตลาดอาหารฮาลาลในประเทศอิสลาม 56 ประเทศ

และสมาชิกเครือจักรภพแห่งรัฐเอกราช 11 ประเทศ เพื่อ

เพิ่มมูลค่าการส่งออกให้ได้ 30% ในอีก 4 ปี จากปัจจุบัน

ที่ส่งออกได้ไม่ถึง 1% ของมูลค่าในตลาดโลกท่ีมีมากกว่า

1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ.

ท่ีมา : หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 13 ก.ย. 2554 http://

www.thairath.co.th/content/eco/201301

ปัญหาการขอต่ออายุทะเบียนเลขที่ (ML Number) ของสินค้าผลไม้กระป๋องไทยในตลาดอินโดนีเซีย

เมื่อวันพฤหัสบดีท่ี 8 กันยายน 2554 สมาคม

ได ้รับหนังสือแจ ้งจากส�านักส ่ง เสริมสินค ้าส ่งออก

ในป ัญหาเรื่องการยื่นขอต ่ออายุหมายเลขทะเบียน

อาหารและยาของสินค้าผลไม้กระป๋องที่น�าเข ้าจาก

ไทย เน่ืองจากสินค้าของไทยท่ีจะขอต่ออายุหมายเลข

ทะเบียนไม่เป็นไปตามกฏระเบียบและมาตรฐานการน�า

เข้าของอินโดนีเซีย ว่าด้วยการก�าหนดอัตราส่วนเนื้อ

ผลไม้ (Drained weight) ต่อน�้าหนักสุทธิทั้งหมด

(Net weight) ของผลไม้กระป๋องท่ีจ�าหน่ายในตลาด

อินโดนี เซีย โดยส�านักส ่งเสริมสินค ้าส ่งออกจึงได ้

แจ้งกฎระเบียบและมาตรการการน�าเข้าสินค้าผลไม้

กระป๋องของอินโดนีเซีย เพื่อให้ผู ้ผลิตปฎิบัติตาม ดังนี้

1. พระราชกฤษฎีกาของหน่วยงานคณะกรรมการ

อาหารและยาของอิน โดนี เซี ย ก� าหนดคุณลักษณะ

ข อ ง สิ น ค ้ า ผ ล ไ ม ้ ก ร ะ ป ๋ อ ง ว ่ า จ ะ ต ้ อ ง มี สั ด ส ่ ว น

ของเนื้อผลไม ้ ตั้ งแต ่ร ้อยละ 50 ของน�้าหนักสุทธ ิ

2. มาตรฐานสินค้าของอินโดนีเซีย ก�าหนดว่าผลไม้ค๊อก

เทลท่ีอยู่ในกระป๋องจะต้องมีเนื้อผลไม้อย่างต�่าร้อยละ 60

3. มาตรฐานของ Codex ก�าหนดอัตราส่วนของ Minimum

Drained weight ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 46 52 50 และ 53

(สามารถอ่านรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ตามเอกสารแนบ1)

ที่มา: ส�านักส่งเสริมสินค้าส่งออก วันที่ 8/9/2011

Page 8: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

14 15

สถานการณ์ผลผลิตข้าวโพดหวานของไทย

จากสถานการณ์น�้าท่วมในพื้นที่ภาคเหนือของไทย

ส่งผลเสียหายต่อพ้ืนท่ีเพาะปลูกข้าวโพดหวาน พื้นที่เพาะ

ปลูกหลายแห่งจมอยู ่ใต้น�้า ผลผลิตได้รับความเสียหาย

ขาดแคลน และไม่เพียงพอในการผลิต

และจากรายงานสภาพอากาศเมื่อเดือนเมษายน

54 ในพื้นที่ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า

ฤดูฝนของไทยมาเร็วกว่าปกติ 5-7 สับปดาห์ ปริมาณ

น�้าฝนเพ่ิมสูงขึ้นมากจนระดับน�้าในเขื่อนบางพื้นที่ มีความ

จุเต็มเข่ือนแล้ว ซึ่งส่งผลต่อพื้นที่เกษตรกรรมหลายแห่งได้

รับความเสียหายจากภัยน�้าท่วม โดยคาดการณ์ว่าผลผลิต

ข้าวโพดหวาน Lot ใหม่ที่จะป้อนเข้าสู่โรงงานจะล่าช้า

ไปถึงช่วงปลายเดือนธันวาคมและต้นเดือนมกราคม ซึ่ง

ผลผลิตในช่วงดังกล่าวอาจจะไม่ได้คุณภาพที่ดี อีกทั้ง

เกษตรกรผู ้ปลูกต้องใช้เงินทุนสูงขึ้นเพื่อเพาะปลูกในช่วง

อากาศหนาว ซ่ึงอาจส่งผลต่อราคาผลผลิตเพิ่มสูงขึ้นด้วย

(อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตามเอกสารแนบ 2)

ที่มา : FOODNEWS วันที่ 26/8/54

“ธีระ”รับปากสานต่อจัดสรรที่ดิน ช่วยเหลือเครือข่ายเกษตรกร4ภาค

นายธีระ วงศ์สมุทร รมว.เกษตรและสหกรณ์ เปิด

เผยภายหลังตัวแทนเกษตรกร สภาประชาชน 4 ภาค

เข้าพบว่า จากการรับฟังประเด็นปัญหาและข้อเรียกร้อง

ของเกษตรกรสภาประชาชน 4 ภาคที่ได้เข้า หารือใน

ครั้งนี้ คือ การให้กระทรวงเกษตรฯ โดยส�านักงานการ

ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เร่งรัดด�าเนินการ

จัดซื้อที่ดินของเอกชนเพื่อจัดที่ดินท�ากินให้แก่เกษตรกร

สภา ประชาชน 4 ภาคตามมติ ครม.จ�านวน 1,889

ราย โดยมีเกษตรกร ที่มีคุณสมบัติครบ จ�านวน 1,487

ราย ซึ่งได้มีการด�าเนินการจัดสรรที่ดินไปแล้วส่วนหนึ่ง

“ขณะนี้ ส.ป.ก. ได้ด�าเนินการจัดซื้อที่ดินจากกองทุน

การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งได้รับงบประมาณ

ด�าเนินการในปี 2553 จ�านวน 1,000 ล้านบาท เป็นค่า

จัดซื้อที่ดินให้แก่เกษตรกรสภาประชาชน 4 ภาค จ�านวน

778 ราย ขณะนี้ได้จัดสรรที่ดินไปแล้ว 479 ราย พื้นท่ี

6,700 ไร่ ซึ่งเกษตรกรส่วนที่เหลือที่ยังไม่สามารถจัดสรร

ที่ดินท�ากินได้นั้นอยู่ ระหว่างการตรวจสอบรังวัดที่ดิน ซึ่ง

จะมีการประสานกับกระทรวงมหาดไทย ขอความร่วมมือ

ในการเพิ่มเจ้าหน้าที่ด�าเนินการรังวัด เพื่อให้การปฏิบัติ

งานมีความรวดเร็วข้ึน ซึ่งคาดว่าพื้นที่ที่ไม่มีปัญหาอุปสรร

คใดๆ ทางส.ป.ก.สามารถด�าเนินการ จัดสรรท่ีดินท�ากิน

ให้แก่เกษตรกรสภาประชาชน 4 ภาคได้แล้วเสร็จภายใน

สิ้นเดือนนี้” นายธีระ กล่าว

นายธีระ กล่าวเพิ่มเติมอีกว่า ส่วนพื้นท่ีท่ีอยู่นอกเขต

การปฏิรูปท่ีดิน หรือเป็นพื้นท่ีของบรรษัทบริหารสินทรัพย์

ไทย (บสท.) ที่ถูกบุกรุกก็ต้องรอผลค�าวินิจฉัยจากกฤษฎีกา

หากสามารถด�าเนินการจัดสรร ท่ีดินได้ก็คาดว่าจะด�าเนิน

การจัดสรรท่ีดินให้แก่เกษตรสภาประชาชน 4 ภาคได้แล้ว

เสร็จภายใน 2 เดือนนี้

ที่มา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันที่ 7/9/2011

จ่ายเกษตรกรน�้าท่วมใน60วัน เกษตรเร่งส�ารวจความเสยีหาย จบัตาเจ้าพระยาอ่วมถึงกลางก.ย.

นายธีระ วงศ์สมุทร รมว.เกษตรและสหกรณ์

เป ิดเผยว ่า ขณะนี้ยังคงมีสถานการณ์อุทกภัย ใน

หลายจังหวัด ซึ่งส�าหรับแนวทางการให้ความช่วยเหลือ

นั้น กระทรวงเกษตรฯจะเร่งรัดด�าเนินการส�ารวจพื้นที่

เกษตรท่ีได้รับความเสียหาย และจ่ายเงินช่วยเหลือให้

แก่เกษตรกรให้รวดเร็วขึ้นจากเดิมที่เคยปฏิบัติมาใน 90

วัน เป็นภายใน 60 วัน ซึ่งนอกจากจะเพิ่มอัตราเงิน

ช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษในอัตราร้อยละ 55 ของต้นทุน

การผลิตรวมเฉลี่ยต่อไร่แล้ว กระทรวงเกษตรฯยังเสนอ

ให้ครม.เห็นชอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูก

อ้อย ท่ีได้รับความเสียหายจากอุทกภัย กรณีท่ีไม่ได้

ขึ้นทะเบียนด้านพืชกับกรมส่งเสริมการเกษตร แต่ขึ้น

ทะเบียนชาวไร่อ ้อยตามพ.ร.บ.อ้อยและน�้าตาลทราย

พ.ศ.2527 ก็ให้สามารถขอรับการช่วยเหลือตามมติคณะ

รัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 25 สิงหาคมได้อีกด้วย

ขณะท่ีสถานการณ์น�้าในแม่น�้าเจ้าพระยาขณะนี้ พบ

ว่า ปริมาณน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยาที่จังหวัดนครสวรรค์ มี

ปริมาณน�้าไหลผ่าน 3,100 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ขณะ

ที่ปริมาณน�้าไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท 2,550

ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ซึ่งกรมชลประทานได้มีการระบาย

น�้าออกทุ่งฝั ่งตะวันตกและตะวันออก รวม 672 ลูกบาศก์

เมตร ซึ่งระดับน�้าท้ายเข่ือนเจ้าพระยาขณะนี้ยังคงล้นตลิ่ง

ล�าน�้าเจ้าพระยาท่ีคลอง บางหลวงและแม่น�้าน้อย

ส่วนสถานการณ์แนวโน้มในลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่าง

เนื่องจากเกิดฝนตกหนักกระจายในพ้ืนที่ภาคเหนือตอนล่าง

และภาคกลางตอนบน ขณะเดียวกัน มีปริมาณน�้าในแม่น�้า

ยมจ�านวนมากเอ่อล้นอ้อมลงสู ่แม่น�้าน่านที่อ�าเภอเมือง

จังหวัดนครสวรรค์ ท�าให้มีน�้าท่าไหลลงสู่แม่น�้าเจ้าพระยา

เพิ่มมากข้ึนจากช่วงสัปดาห์ก่อน ส่งผลให้ปริมาณน�้าใน

แม่น�้าเจ้าพระยาท่ีจังหวัดนครสวรรค์เพ่ิมสูงขึ้นอย่าง ต่อ

เนื่อง โดยคาดว่าปริมาณน�้าเพ่ิมข้ึนไปอยู ่ในเกณฑ์สูงสุด

ระหว่าง 3,300 - 3,500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และจาก

สภาพปัญหาน�้าเหนือที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นดังกล่าว ส่งผล

ให้ปริมาณน�้าไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยา เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น

จากปัจจุบันท่ีอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 2,500 ลูกบาศก์เมตร

ต่อวินาที ไปเป็น 2,800 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที นับจาก

เมื่อวันท่ี 5 กันยายนไปจนถึงกลางเดือนกันยายน ระดับ

น�้าจะเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจากระดับปัจจุบันวันละ 10 - 15

เซนติเมตร โดยประมาณต่อเนื่องกันไปอีกหลายวัน

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 9/9/2011

Page 9: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

16 17

สถานการณ์นโยบายครม.ใหม่และประเด็นแรงงาน“กลุ่มเกษตรอินทรีย์”น้อมกล้าฯ ถวายข้าว

แด่พ่อเป็นทานแผ่นดิน

นายพรชัย ทองยิ่ งสกุล ผู ้อ�านวยการกอง

นโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า จากการตรวจ

เยี่ยมและติดตามการด�าเนินงานโครงการพัฒนาการ

เกษตรตามแนวทฤษฎี ใหม่ฯ กิจกรรมการรวมกลุ่มและ

สร้างเครือข่ายของกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม ที่ศูนย์

ฝึกอบรมคุณธรรม กสิกรรมธรรมชาติ จ.ยโสธร ซึ่งกลุ่ม

ข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรมร่วมกับสมาพันธ์เกษตรอินทรีย์

แห่งประเทศไทย จัดท�าโครงการถวายข้าวแด่พ่อเป็นทาน

แห่งแผ่นดินขึ้น

โดยหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ผลิต

พืชระบบเกษตรอินทรีย์ ได้ร่วมใจกันรวบรวมผลผลิตข้าว

เปลือกอินทรีย์จากแปลงนาเกษตรอินทรีย์ทั่ว ประเทศ 99

ตัน เพื่อน�าขึ้นน้อมเกล้าฯ ถวายโดยเสด็จพระราชกุศล

เน่ืองในวันมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง

เจริญพระชนมพรรษาครบ 7 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม

เพื่อทรงน�าไปพระราชทานให้กับนักเรียนตามโครงการ

พระราชด�าริ และพระราชทานช่วยเหลือผู้ประสบภัยใน

ภาคต่างๆ ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม

บรมราชกุมารี จะเสด็จพระราชด�าเนินไปทรงเปิดธนาคาร

เมล็ดพันธุ์ข้าว และทรงรับการถวายข้าวเปลือกอินทรีย์ดัง

กล่าว ในระหว่างวันที่ 19 - 22 ธันวาคม ท่ีสมาพันธ์

เกษตรอินทรีย์แห่งประเทศไทย วัดป่าสวนรวมใจ อ.ป่าติ้ว

จ.ยโสธร

ดังนั้นจึงขอเชิญชวนผู้ที่สนใจร่วมน้อมเกล้าฯ ถวาย

ข้าวเปลือกอินทรีย์ ในโครงการ “ถวายข้าวแด่พ่อเป็น

ทานแห่งแผ่นดิน” โดยสอบถามรายละเอียดได้ท่ี นาย

นิคม เพชรผา ศูนย์ฝึกอบรมคุณธรรม กสิกรรมธรรมชาติ

หรือ วัดป่าสวนธรรมร่วมใจ โทร.088 - 073 - 4277

หรือ 089 - 629 - 1452

ท่ีมา : แนวหน้า วันที่ 6/9/2011

ซีพีเอฟหนุนนโยบายรัฐฯขึ้นค่าแรง 300 บาททันที หลังรบ.ประกาศใช ้ ลุยจัดคาราวานสินค้าลดค่าครองชีพ

นายอดิเรก ศรีประทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่และ

ประธานคณะผู ้บริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร

จ�ากัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ เปิดเผยว่า บริษัทพร้อม

ขึ้นค่าแรงขั้นต�่า 300 บาท ทันทีท่ีรัฐบาลมีการประกาศ

ใช้นโยบายเพิ่มรายได้ดังกล่าว ขณะเดียวกัน ซีพีเอฟยัง

สนับสนุนการลดค่าครองชีพเพื่อช่วยคนไทยทั่วประเทศ

ด้วยการจัดคาราวานสินค้า CP ยืนเคียงข้างประชาชน

สู้ภัยเศรษฐกิจ ท่ีจัดข้ึน ตั้งแต่ปีพ.ศ.2552 เป็นต้นมา

เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนด้านค่าครองชีพแก่ประชาชน

ด้วยการน�าหลากหลายผลิตภัณฑ์อาหารซีพีคุณภาพดี

ราคาต�่ากว่าปกติเฉลี่ยท่ี 20-30% โดยครั้งต่อไป ซีพีเอฟ

จะจัดคาราวานสินค้าดังกล่าวที่ จ.กาญจนบุรี ในวันที่

20-25 กันยายน และท่ี จ.นครราชสีมา ในวันท่ี 27-30

ตุลาคม ศกนี้ กิจกรรมดีๆ เช่นนี้จะมีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ท่ัวประเทศ นายอดิเรก กล่าวอีกว่า ส�าหรับราคาสุกร

และไก่เนื้อท่ีอ่อนตัวลงในช่วงนี้ นับเป็นโอกาสท่ีผู้บริโภค

จะได้บริโภคสินค้าราคาถูกลง ถือเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วย

แบ่งเบาภาระผู้บริโภค ซึ่งซีพีเอฟให้ความร่วมมืออย่างดี

ยิ่ง เพื่อสนับสนุนนโยบายการเพิ่มรายได้และลดภาระค่า

ครองชีพประชาชนอีกทางหนึ่ง

ที่มา : มติชนออนไลด์ 4 ก.ย. 54

Page 10: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

18 19

Vol. 2 Issue 31

19

สถานการณ์ด้านการค้าพาสปอร์ต ซึ่งเก็บข้อมูลทั้งหมด อาทิ รูปถ่าย ลายนิ้วมือ

ประวัติถิ่นที่อยู ่ รวมถึงการจดทะเบียนท�างานอยู่ในพื้นท่ี

เขตไหน เพื่อให้ตรวจสอบได้เมื่อมีการย้ายสถานท่ีท�างาน

รมว.แรงงาน กล่าวอีกว่า ในแต่ละปีมีแรงงาน

ต่างด้าวมาคลอดลูกในประเทศไทยจ�านวนมาก ซึ่งเรา

ไม่ได้มีมาตรการควบคุมดูแลอย่างชัดเจน โดยส่วนตัว

จึงมีแนวคิดว่าควรให้มีการคุมก�าเนิดแรงงานต่างด้าว

อย่างไรก็ตาม หากใครเห็นว่ามีแนวที่ดีกว่าก็เสนอเข้ามา

มิฉะนั้นก็จะมีค�าถามอยู่ตลอดเวลาว่าจะท�าอย่างไรกับลูก

ของแรงงานกลุ่มนี้ ที่ส�าคัญ คือ ประเทศอื่นๆ สามารถ

ก�าหนดกติกาส�าหรับแรงงานต่างชาติที่เข้าไปท�างาน บาง

ประเทศถึงขนาดออกมาตรการเข้ม หากแรงงานข้ามชาติ

ท้อง เขาส่งตัวกลับทันที

“เพราะฉะนั้นจึงต้องมีการคุมก�าเนิด ถ้าไม่คุมก็ต้อง

ถูกส่งตัวกลับ โดยหลักมนุษยธรรม เราต้องดูแลพวกเขา

อยู่แล้ว แต่หากเราป้องกันไว้ก่อนจะไม่ดีกว่าหรือ ซึ่งก็ถึง

เวลาแล้วที่ประเทศไทยควรจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติให้

เป็นระบบเสีย ที ไม่ใช่แค่แรงงานพม่า ลาวและกัมพูชา

เท่านั่น แต่ยังมีแรงงานเวียดนาม อินโดนีเซีย บังคลาเทศ

เนปาล และชาติอื่นๆ ด้วย ว่าท�าอย่างไรให้แรงงานเหล่า

นี้อยู ่ในประเทศไทยอย่างถูกต้อง”นายเฉลิมชัย กล่าว

ท่ีมา : แนวหน้า วันที่ 22/11/2010

หวั่นลูกแรงงานต่างด้าวล้นเมือง เฉลิมชัยเสนอคุมก�าเนิด หวังจัดการให้เป็นระบบ

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รมว.แรงงาน เปิดเผยว่า

ที่ประชุมอนุกรรมอ�านวยการบริหารแรงงานต่างด้าว

ทั้งระบบมีความเห็นที่จะให้มี การด�าเนินการจัดการ

แรงงานต่างด้าวที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนและอยู่นอกระบบ

ซึ่งคาดว่ามีไม่ต�่ากว่า 1 ล้านคน ให้เข้าสู ่ระบบถูก

ต้องตามกฎหมาย โดยกรมการจัดหางานจะเป็นหน่วย

งานที่ด�าเนินการใน 2 รูปแบบ คือ 1.ด�าเนินการตาม

กระบวนการ เพื่อรอการพิสูจน์สัญชาติ และ 2.ด�าเนิน

การขึ้นทะเบียนผู้ที่ยังไม่มีการพิสูจน์สัญชาติ แต่เป็นกรณี

เพื่อรอการส่งกลับและน�าตัวเข้ามาอย่างถูกต้องตามข้อ

ตกลงหรือเอ็ม โอยูที่ท�าไว้กับประเทศต้นทาง โดยระบบ

ทะเบียนรูปแบบใหม่ของกรมการจัดหางานที่เสนอต่อที่

ประชุมนั้น ในใบอนุญาตขอท�างานจะมีลักษณะคล้อยกับ

กรมศุลกากรประกาศใช้ระบบพิกัดศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียนฉบับปี 2012

กรมศุลกากร ร่วมกับ ศุลกากรอาเซียน ปรับปรุงแก้ไข

พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์อาเซียน (ASEAN Harmon-

ised Tariff Nomenclature : AHTN) ฉบับปี 2007 ให้

สอดคล้องกับการแก้ไขพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (HS)

ขององค์การศุลกากรโลก (World Customs Origaniza-

tion : WCO) ฉบับปี 2012 และรองรับรายการสินค้า

ท่ีมีความส�าคัญระหว่างกันภายในกลุ่มอาเซียน เพื่อให้มี

ความทันสมัย ชัดเจน สอดคล้องกับรูปแบบทางการ

ค้าระหว่างประเทศ และการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี

ส�าหรับสาระส�าคัญในการแก้ไขพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โม

ไนซ์ 2012 การแก้ไขเพื่อสะท้อนความส�าคัญของข้อมูล

เกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารของโลก ซึ่งจัดเป็นกลุ ่ม

การแก้ไขหลัก รวมท้ังเป็นกลไกในการติดตามการเคลื่อน

ย้ายสินค้าท่ีเป็นอันตรายต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งนับ

เป็นก้าวส�าคัญอีกก้าวหนึ่งของประเทศไทยและอาเซียนที่

จะน�าไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีก�าหนดใช้

ตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2555

การปรับปรุงแก ้ไขพิกัดศุลกากรระบบฮาร ์ โมไนซ ์

อาเซียน ในครั้ งนี้ เป ็นการปรับเปลี่ ยนและเพิ่ม

เติมรายการสินค้า ผู ้ประกอบการน�าเข ้า-ส ่งออกต้อง

ส�าแดงพิกัดศุลกากรเลขรหัสใหม่ส�าหรับรายการสินค้า

ที่เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม โดยกรมศุลกากรจะได้จัด

สัมมนาผู ้ประกอบการน�าเข้า-ส่งออกเพ่ือท�าความเข้าใจ

ร่วมกันในปลายปี 2554

ที่มา : กรมศุลการ www.customs.go.th

Page 11: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

20 21

อุตฯเจอศึกหนักจ่ายแอลพีจีเพิ่ม 3 บาท ภาคขนส่งฯ เตรียมตัวกระอัก พลังงานเล็งปล่อยลอยตัวเร็วขึ้น

“พิชัย” ลุยขึ้นราคาแอลพีจีภาคอุตสาหกรรมไตรมาส

2 อีก 3 บาทต่อกก. พร้อมส่ังกพช.เร่งศึกษาช่องทาง

ปล่อยราคาแอลพีจีภาคขนส่งลอยตัวเร็วขึ้น ส่วนภาคครัว

เรือนยังไม่กล้าแตะ หวั่นท�าชาวบ้านเดือดร้อน

นายพิชัย นริพทะพันธุ์ รมว.พลังงาน เปิดเผยว่า

ในเดือนตุลาคมนี้ กระทรวงพลังงาน จะท�าการปรับข้ึน

ราคาก๊าซหุงต้ม (แอลพีจี) ภาคอุตสาหกรรมอีก 3 บาท

ต่อกิโลกรัม (กก.) ตามมติคณะกรรมการนโยบายพลัง

านแห่งชาติ (กพช.) ชุดเดิมที่อนุมัติให้ขึ้นราคาก๊าซฯ 12

บาทต่อกก.โดยทยอยปรับขึ้นไตรมาสละ 3 บาท ซ่ึงก่อน

หน้านี้ ได้ปรับขึ้นไปแล้ว 3 บาท ส่วนการปรับขึ้นราคา

ก๊าซแอลพีจีภาคขนส่งนั้น ยังไม่มีการพิจารณาแต่อย่างใด

นาย พิชัย กล่าวอีกว่า รัฐบาลได้ให้ความส�าคัญ

กับความมั่นคงพลังงานในอนาคต และการเดินทางไป

เยือนกัมพูชาของนายกรัฐมนตรี เร็วๆ นี้ ก็เพื่อเจรจา

ข้อตกลงแหล่งพลังงานในเรื่องพื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทย-

กัมพูชา เพ่ือหาทางพัฒนาแหล่งก๊าซธรรมชาติร่วมกัน

หากมีความคืบหน้าและเจรจาได้ผล คาดจะท�าให้ไทยมี

ก๊าซธรรมชาติมากขึ้น เพื่อใช้ผลิตไฟฟ้า อาจท�าให้ไม่

จ�าเป็นต้องสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในตอนนี้ ต้องชะลอ

ออกไปอีก

“รัฐบาล นี้คิดถึงอนาคต ถ้าไม่มีก๊าซธรรมชาติมา

ใช้ผลิตพลังงาน เราจะหามาจากไหน หากกระทรวงต่าง

ประเทศเริ่มต้นเจรจาพื้นที่ทับซ้อนได้ กระทรวงพลังงานก็

พร้อมรับลูกเพื่อส่งเสริมและด�าเนินการต่อ เพราะมีสมบัติ

ร่วมกันอยู ่แล้ว อะไรที่ท�าให้เกิดประประโยชน์แก่ทั้ง 2

ประเทศ ก็ต้องท�า ขณะที่ไทยก็มีความพร้อมด้านโรงแยก

ก๊าซธรรมชาติมากกกว่ากัมพูชา ซึ่งปตท.ได้ลงทุนพัฒนา

มา 30 ปี มีโรงงานปิโตรเคมีที่รองรับการผลิตสินค้าและ

สร้างมูลค่าเพิ่มได้จ�านวนมาก”

ส่วน การที่รัฐบาลมีแนวคิดในการใช้เงินทุนส�ารอง

ระหว่างประเทศ 1.8 ล้านเหรียสหรัฐ มาตั้งกองทุนเพื่อ

ความมั่งคั่งแห่งชาตินั้น นายพิชัย ชี้ เพราะเห็นว่า การถือ

เงินสกุลเหรียญสหรัฐลดค่าลงต่อเนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจ

สหรัฐ จึงควรน�าไปใช ้ลงทุนในรูปแบบอื่น และเรื่อง

พลังงานก็ถือเป็นสิ่งจ�าเป็นที่ต้องสร้างความมั่นคง เพราะ

ไทยน�าเข้าพลังงานสูงถึง 85% หากเกิดเหตุการณ์ผันผวน

ในโลกจนประเทศผู้ผลิตน�้ามันไม่สามารถส่งออกได้ ไทย

จะหาน�้ามันจากไหนมาใช้ หากน�้ามันแพง มีเงินก็ซื้อไม่

ได้ เรื่องดังกล่าวต้องมีการก�าหนดกรอบให้ชัดเจนและยัง

เป็นหลักคิดของรัฐบาล

นาย สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผู้อ�านวยการส�านักงาน

นโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) กล่าวว่า ตามท่ีกพช.

เคยมีมติให้ลอยตัวราคาแอลพีจีในภาคขนส่งหลังสิ้นเดือน

กันยายน 2554 นั้น คงไม่สามารถด�าเนินการได้ทัน ดังนั้น

สนพ.จะเสนอท่ีประชุม กพช.ท่ีมีนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์

ชินวัตร เป็นประธานช่วงปลายเดือนกันยายนนี้ เพื่อขยาย

เวลาการตรึงราคาแอลพีจี ภาคขนส่งออกไปอีกระยะ ขณะ

ท่ีเดียวกัน รมว. พลังงานได้มอบนโยบายให้ สนพ. เร่ง

ศึกษาการลอยตัวราคาแอลพีจีภาคขนส่งให้เร็วขึ้นจากเดิม

แต่ยังไม่สามารถระบุเวลาได้ เบื้องต้นคาดว่าจะเริ่มด�าเนิน

การได้ก่อนปลายปี

ส่วน การลอยตัวราคาแอลพีจีครัวเรือนคงไม่

สามารถด�าเนินการได้ในเร็วๆ นี้ และอาจต้องใช้เวลา

อีกนาน เพราะไม่ต้องการให้กระทบประชาชนผู ้บริโภค

โดยตรง ขณะเดียวกันรมว.พลังงานก็ได้มอบนโยบายให้มี

การศึกษาลอยตัวราคาก๊าซธรรมชาติ ส�าหรับรถยนต์ (เอ็น

จีวี) ควบคู่ไปด้วย

แหล่ง ข่าวจากกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า การ

ลอยตัวราคาแอลพีจีภาคขนส่ง ยังไม่ก�าหนดว่า จะปรับขึ้น

ราคาเท่าใด หลังจากภาคอุตสาหกรรมที่ได้ลอยตัวราคาไป

แล้วก่อนหน้านี้ 12 บาทต่อกิโลกรัม โดยทยอยขึ้นไตรมาส

ละ 3 บาท จึงต้องพิจารณาให้รอบคอบ ไม่ให้เกิดปัญหา

การเปรียบเทียบระหว่างภาคขนส่งกับภาคอุตสาหกรรม

ตามมา รวมท้ังรัฐบาลจะตัดสินใจปรับขึ้นราคาก๊าซแอลพี

จีของภาคครัวเรือนด้วยหรือไม่

จากหนังสือพิมพ์แนวหน้า ฉบับวันที่ 8 กันยายน 2554

ส่งเสริมร่วมลงทุนด้านวิจัย กระทรวงวิทย์หนุนภาครัฐ-เอกชนจับมือ/ช่วยผลักดันอุตฯท้องถิ่นเข้มแข็ง

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกาศ

ส่งเสริมลงทุนด้านการวิจัยร ่วมระหว่างภาครัฐและ

เอกชน หวังผลักดันอุตสาหกรรม และธุรกิจท้องถิ่น

ของประเทศไทยให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน

นายปลอดประสพ สุรัสวดี รัฐมนตรีว ่าการ

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวภายหลัง

เป็นประธานการประชุมหารือร่วมกับภาคธุรกิจเอกชน

ผู้เช่าสถานท่ี ในอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย 40

ราย ว่า รัฐบาลมีโนบายส�าคัญในการสนับสนุนและส่ง

เสริมให้เกิดการลงทุนและความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ

และเอกชน รวมท้ังสร้างแหล่งงานเพ่ือรองรับบุคลากร

ด้านการวิจัยและพัฒนา ซึ่งตั้งเป้าว่าจะมีการลงทุนทาง

ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร้อยละ 2 ของจีดีพี

หรือประมาณ 3 แสนล้านบาท โดยเป็นการลงทุนโดย

รัฐบาลร้อยละ 50 และภาคเอกชนร้อยละ 50 ทั้งการ

จัดสร้างห้องปฏิบัติการกลาง การร่วมทุนในโครงการ

ย่อยต่างๆ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนบุคลากรระหว่าง

กัน ท้ังนี้ เพื่อให้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถ

พัฒนาอุตสาหกรรม และธุรกิจท้องถิ่นของไทยให้มี

มูลค่าเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะท�าให้เศรษฐกิจภายในประเทศ

มีความเข้มแข็ง ลดการพ่ึงพาการส่งออก

Page 12: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

22 23

อัตราแลกเปลี่ยน ด้าน นายทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู ้อ�านวยการ

ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยีแห ่งชาติ

(สวทช.) กล่าวว่า อุทยานวิทยาศาสตร์ฯ เป็นโครงสร้าง

พื้นฐานส�าคัญรองรับการวิจัยร่วมของภาครัฐและเอกชน

ปัจจุบันมีผู ้ประกอบการเช่าใช้พื้นที่ 115 บริษัท ทั้งธุรกิจ

ด้านอาหาร การเกษตร การแพทย์ ยานยนต์และชิ้นส่วน

คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ

ขณะน้ีอยู่ระหว่างการก่อสร้างอาคารนวัตกรรม 2 ซึ่งจะมี

พ้ืนที่เพิ่มอีก 124,000 ตารางเมตร จะเปิดด�าเนินการได้

ในปี 2556 ซึ่งคาดว่าเมื่อเปิดด�าเนินการเต็มรูปแบบแล้ว

จะมีผู ้ประกอบการเช่าพื้นที่ประมาณ 200 ราย และท�าให้

อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เป็นแกนกลางในการ

ดึงดูดให้เกิดการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาทั้งจากนักลงทุน

ไทย และต่างประเทศ

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 9/9/2011

Page 13: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 326 Sep- 12 Sep 2011

24 25

อัตราแลกเปลี่ยน

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

25

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 14: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

6 Sep- 12 Sep 2011

26

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATIONTel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7E-mail: [email protected]

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net6. http://www.dailynews.co.th7. http://www.acfs.go.th8. http://www.posttoday.com9. http://www.matichon.co.th10. http://www.naewna.com

เสนอขอ้คดิเห็น/ขอ้เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM

Page 15: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

กาํหนดการสมัมนาวชิาการ

เร่ือง ทิศทางดานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารระหวางประเทศ

วันพุธที่ 21 กันยายน 2554

โรงแรม รามาการเดน กรุงเทพมหานคร

08.00-09.00 น. ลงทะเบียนและรบัประทานอาหารวางและเครือ่งดื่ม

09.00-09.30 น. พิธีเปดการสัมมนา

กลาวรายงานโดย ผูอํานวยการกองนโยบายมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.)

พิธีเปดโดย ผูอํานวยการสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

09.30-10.30 น. สถานการณมาตรฐานอาหารระหวางประเทศ (CODEX) ป 2554

โดย นายพิศาล พงศาพิชณ

ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานสินคาและระบบคุณภาพ มกอช.

10.30-12.30 น. อภิปราย “การเตรียมตัวเพ่ือรับมือ Codex ป 2555”

ผูดําเนินการอภิปราย

- นางสาวเมทนี สุคนธรักษ

ท่ีปรึกษาสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

ผูอภิปราย

- นายพิศาล พงศาพิชณ

ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานสินคาและระบบคุณภาพ มกอช.

- นายผณิศวร ชํานาญเวช

ประธานกลุมอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

- นายบุญเพ็ง สันติวัฒนธรรม

นายกสมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป

- นางสาวกัณญภัค ตันติพิพัฒนพงศ

นายกสมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย

12.30-13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.30-16.00 น. สรุปผลการดําเนินงานโครงการคารบอนฟุตพรินส: ประสบการณในการจัดหา

และวิเคราะหคาคารบอนฟุตพรินส (พรอมแจกคูมือการวิเคราะหและตัวอยางการ

วิเคราะหประกอบ)

โดย ดร.รัตนวรรณ ม่ังค่ัง

ผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานกลยุทธธุรกิจท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

หมายเหตุ: ชวงบาย อาหารวางและเครื่องดื่มเสิรฟในหองสัมมนา

Page 16: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

แบบตอบรับการเขารวมสมัมนาวชิาการ

เร่ือง ทิศทางดานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารระหวางประเทศ

วันพุธที่ 21 กันยายน 2554

โรงแรม รามาการเดน กรุงเทพมหานคร

หนวยงาน........................................................................................................

1. ช่ือ...............................................................นามสกุล .......................................................

ตาํแหนง ............................................................................................................................

เบอรติดตอ ..............................................Email Address...............................................

2. ช่ือ...............................................................นามสกุล .......................................................

ตาํแหนง ............................................................................................................................

เบอรติดตอ ..............................................Email Address...............................................

3. ช่ือ...............................................................นามสกุล .......................................................

ตาํแหนง ............................................................................................................................

เบอรติดตอ ..............................................Email Address...............................................

หมายเหตุ ไมเสียคาใชจายใดๆ ท้ังส้ิน

กรุณาสงแบบตอบรับเขารวมสัมมนา ไปยังกองนโยบายมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ โทรสาร 02-561-4088, 02-561-4034

สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมไดท่ี โทร. 02-561 4204, 02-561-2277 ตอ 1304,1323,1308

(คุณสุเมธี,คุณวิลาศิณี,คุณภาวิณี)

ภายในวันท่ี 12 กนัยายน 2554

Page 17: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

o c t l

flil1nu tl iln n011r15illtntu

iufr.9..#-ttfl...!ft.!.

yru omoo/a. b bb drrinrJ nrJo.ruavnoulfryrrrnr:drn:lnr:drrir{U:cryrfid.dJaoo 0.1.11.t Ui o

o.tfio.: o.uuuui oooooq v '

" nuuluu bddd

J - v )r:on {0ttflJtlJ'l:?tJn1:6rJ!1.11 t:0{ "tJlntnliun!0.1...9t0.15"

t:uu u'runall'lnil ano1u1ta'lt:n:u: t ,a{ 6.ill'19r1u n'tuuofl1:a u'1l'tac[t1^J'l0!:1jn1:tltTt?lJaunr

4 . .n?un: n' t :n' tn1.iu5v tytf l lon't ut l0on'r:a u'1 r:o.r " !1ntn't lu nua{.. .norr: ". o e a a

= - , 1 ' ' ' - ' o

11du1qriau6fi uu n-uaruu b(dd ru 1:.i[:!6 roilu]ofari nuufrorfirun n:nr 1r! 1uniJ - t 4

nl0ta:!a:1nn?'ltJi o?1rJ [1r'] tn l|avt u tllt:114l14un.ln?1!a1nfula.ix1g]tfl'l:tuu? ulyt'l.tn't:n1o{na't?

daln:nri{ill.frrdorJnrJolonarun:i!uavaor{anruvl!o1nn1:r0oraivtr.lnr:dr loafiivrurn:fivr:{orursid.rirJ:vaunr:ojuavfin'luldurtrrglurdo.ldrna'rrornligm Hughes Hubbard & Reed LLP and LACLu3dr urrnanniasr'a a'rrYo ravuSfil nrirdou6urYauiii no5! d1n"o o'rrJ:'ruav!5und{ddund'ru

rdrirrLnr:drLurnuu

lt0tt60in?1!u!n0

O. Ftu urJcirlntnr:

t14 tl

a'lununu a.itlavn0u tglyl1{n1:n110t: uutxfuyr']u14:04 tffi 1?

a{$uutJ'1tv{0v1t't:fu1

td&.riqcuqrx-Faano118 , iq d*rc; rtritr&""t Grsr"

d'!

s 6n.94

@ o*,otl*.I . -:afiv-*tty-rrlSl'Jy

, ) )ii/e*t&. " V

IT/, r1t1n

natJ d

lvl: ob ddol dodo

lu:ar: ob dds, dsido

(urrmrunrn funol){o'rurunr:fi rinurn:nlnlnfto{lo!n eildn nnrrdr

rJ$ri6nrird{rirurunnrhrindnilouncnouldrtn.Fii

Page 18: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

'*.\r\:\:'

dftn1 uon1:duuu'l

rSor " rro:nraJnrlol...sio.ri"

iuunr.r'audfi 22 iluu'tuu u.d. 25s4nr T:.r u:rd rSrrroia nuuino1fi lun n!{ lvrytut4lunt

08.30 - 09.00 !. aryyut-uurl

09.00-09.15!. f iEri lonr:dllurlouo6udn:rnr:drrir.: l :vryn

09.15 - 10.30 u. "rr1nrn1:rJnflo.io,nnlrdrltlaudTvirdldu (sateguards)" (History /WTO Safeguards Agreement / BitateraI Safeguards / SpeciaI safeguards)

Ioru Mr. Bob LaFrankie /lvlr. Pornprom Karnchanachari (Hughes

Hubbard & Reed LLP uav LACL)

10.30 - 10.45 u. rVniurj:vyrruorur:'irl

10.45 - 12.00 u. "!,rnrfl1:ilnfl0{.1 (eio)"

72.00 - 13.30 u. yr-niulj:vyruoryltna't{iu

13.30 - 15.00 u. "!'rettfl'lr Safeguards $a.t6t14igaut3n1 arorrrufod:;srtu6uuavriaotutr,'

Inu Mr. Bob LaFrankie /Mr. Pornprom Karnchanachari (Hughes

Hubbard & Reed LLP uas LACL)

15.00 - 15.15 u. r{n:-urj:yuruarur:irl

15.75 - 16.45 u. n1l6l?u't "rj:caunr:ni#urdutrnrnr:rjnflo{olnnlnilrli,raudrdrfidun'u

nruoqj:aoraro:fi0 "

Iou {uuuridu lr{nonn;an-a iirn"o uav

qitrvruuidvr nrirduu6uo"arid noirJ ri.r n-ar

ri1rfiu:runr:lqrei ura4:n'nd riu.iln6o :olo616n:rLnr:6rsiruJ:vryrrr

"iiruuont:oto t!6EJurt!a{nruner lultsa!.1

drfn nfl olravnouloivrrlnT :dr

n:lnr:6'roirl!:yrun

Page 19: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

uwnaviunlfl{llcuiluuut

t? a t " u t n t n t nJ n il a't... ila't { "

iuwariaudd zz iuensu zsst r2a1 8.30-16.4s u.

u txusud tautuo{ad auuitntfrwn nTtmnuutuas

1. Utltvl

2. doTudfiodo

d .io-uudna oiluuti.t E-mail

1

2.

4.

5.

Til:oudrnr:nauiunr:rdrdrua'lrurnrrlv:dr:rau1ura1l 02-5474747 *ar 02-5474791.2

nrutu{u4nivr' t6 rYuursu 2554 nr:druuro{odlri,euri.l{drtrtn 1 #sdu aounurio4aa i - , r y J . a ^ .rruav16unrfirrrGlki'fi qru4tfi inruruavqruanr:# 13o.r6ui! ri, finrJnrJoruacnouldvrrrnr:6r

ntiln1:d1eiT .iiltvrilfl lilt. 02-547 5O8O 02-547 4722 *ar 02-547 4739

Page 20: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32
Page 21: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32
Page 22: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32
Page 23: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32
Page 24: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32
Page 25: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32
Page 26: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32
Page 27: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

71-ffP-e617 1a:33 Fr om:

ciglatnutiirhbt$aururrsw>no ,;'7o"-1., 1626r'r3r1 n''Jn

ir 1\ ,\

n a.4 cf

cf rrinrilra?l?rrudrriroo nIm:, ob-do"i -arbc

t- ! ! ' r . t n / - ? \

" ; . ' - { i . :$ nru.o*or.b/boaeor

n .ld$a3un1rri{oflndd,/ aoo oUU lunl3 oshrnoriiol uurrli o"oo,t

I

onl rirlura! uacd .

dol trgrarnr:tariaorqrvl!uuratrrr (ul llumrer) tariuitiaLin:crlorlnu'lunaroiulairiu' ' ,rio:rjr:uu lr1una!1n!rRana'lv1:61

dridorrd'ru nourn0lan?1li?un'oornu?dn{rirrdr6utofirfiu u?Svr Pt-sARAswANTl lNooGENETECH

Crudrrind safu iudrdroanrioqorne!fir

aaraU(orainad weight) (l,tet wei ght) ?olnabir r:;rj scfi dtadr ulunn, n iuloririt,

1r1,lHaUJnlV!01.d0€uloutiu nu?fl u

lunra{ ridnr{.1a3:riudrei.roon'lrr,',noudlt'oXa uanJ:;flliaRruirli oalrnur o'ri

o. nn:vrriuuuarun:g'runr:drt{riua'uatrin:giJoltor6lloitio tJ:cnavdrtuo.o fl 5rl'lnnlufi nrtolndtulruatu:{l::!n1lo1141lrravgrloldulnirfi a

(8adan Pengawas obat & Makanan: BPOM) drvunqrufint{uvtoldllfiraraWr:trlo.r'jrtcf,olfidndruta.:rio&abj dludiounc co to{r:lrrril)as8

6.b r,lri$'uaufiltalaulifrriu (lndonesian Nationat Standard : SNl) rfiruor'rmbifionrvraiag'hn::rJorwfraririlooraLYarjrwiriasa, bo

o.$ !'uls'luto{ COoEX rirvun6'n:r',irurjol Minimum orained weight lririoun'ir Souac db rtto do uac do' (t1uavldannlrf,lfidwrdru)

ro. dru-ndlrailirrdrdroonlonnuiufi ovi, uu{.r{o4auac{onrr!irlioa!1inalrarn inirnYsr'lunttrdsnaLinrrdosl{aoqndori'un4rvtiauuavurrr:grunr:ririfidudrerabin:ciolloidulniriuc'r!da

". tfrooc'ldlrin:sfi!oioXarirnr:dloorrf,u6"rh'rulvournq

cn. ttonolnf dTindruildudrdloan laitonrtr oltn:r*ii'a a ttac uu1r1.rn1r[filliW1to!alralr luo6ndoirulr 1un:rilfiuif$6!lin.tronatlla!1 nuf,rryutufinvwrdurnu rn'ods:ldsd.!$u'lvlr.rnr: ui'itf, rgurn'u{rir r{rduInfi riad ai!

{$!,!urrdsllrof,orrrur uirrioXafi'uartinalrtnrr na:'binlnoqte:rciuulyrtnt:udttriqpardrndrrnrolu'1"ufi o* fi'uuruu baa< firu ovtor.rqruBr

@ ut4-odaq

N.,,!;a+^f)i

/*ifl.tn;n 22Vw6*arc*)tl'*zl.

/ /

/'t/z/".r

qouanratrrtf!fi0

,&*a,,,x"',(uroqnrin riourrvlor;

{allron rr du-ndrdrrhl{rdro on

O &,"

Page 28: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

Severe floods strike at heart of Thai sweet corn industry

Source: Foodnews, Friday August 26 2011

SEVERE flooding in northern areas of Thailand has caused disruption to the country’s sweet corn industry with a

number of plantations under water, crops destroyed and infrastructure damaged.

Heavy rains in the north and north-east of Thailand have been falling since April (FOODNEWS 8 April), around

five to seven weeks earlier than the usual start to the rainy season, and the wet weather has been affecting parts

of the country that would not usually be susceptible to flooding.

It has been reported that dams are holding their full capacity of water in some areas, which they have to keep

releasing into rivers that are already bursting their banks. As a significant proportion of sweet corn plantations

are located in the north of Thailand, the sweet corn sector has been particularly badly hit.

“There is flooding all over the place and this has affected not just the plantations but also the roads and other

infrastructure as well,” one canned sweet corn industry source told FOODNEWS. “This will have an impact on

not just sweet corn but other fruit and vegetables grown in the area.”

A canned food trader said it was difficult to determine the extent of the damage to the sweet corn crop at this

stage due to the fact that the vegetable is planted all-year-round in Thailand and different plantations will have

crops at different stages of maturation. But he confirmed that some plantations have either been severely

damaged, or in some cases, completely washed away.

“A few plantations are located on higher ground, while others have escaped damage, but some serious sweet corn

plantations have been destroyed,” he said. “It is not easy to get accurate numbers because growers just keep

planting again and again. Also because planting is spread out across north, west and central Thailand and planted

in different times of the year, some plants were maturing when the flooding started while others are just

sprouting. Some plantations with younger plants have not survived at all.”

Low season

The latest flooding has come two months prior to the traditional low production season for sweet corn, between

October and December when the weather is at its coolest, and this may put pressure on supplies for processors

for the remainder of the year.

“The low season for sweet corn and baby corn will come a lot sooner for growers this year, due to the excessive

rainfall,” the first industry source explained, adding that the next major sweet corn harvest will not occur until

late December or early January.

The trader agreed with this assessment and said the daily tonnage arriving at processors is lower than average for

this time of year and supply could be a concern in the coming months.

“Each packer’s position is different but they are all suffering from lower supplies and will continue to suffer over

the coming month,” he said. “Some packers are carrying stocks right now and it depends on each one if it is

going to be enough to carry them over or not until year end. Some packers could be running late on shipments

already and supply will not improve until late December onwards.”

He expects many farmers to start replanting sweet corn as soon as the waters recede. “Due to this fall back of the

current crop, it is highly likely that farmers or canneries will replant as early as they can this year but they are at

the mercy of the weather,” the trader said.

But there is also the possibility that growers will switch to other crops that are more suited to cooler conditions.

“Some farmers choose not to plant in the cooler months because it takes longer for crops to mature and the yield

is often not perfect,” the trader said. “Farmers have the choice of planting higher paying crops during the cooler

months, but this year there has been a lot of disruption with the freaky rainfall and flooding. Some farmers will

try to replant while others will give up and plant something else.”

Don Keeney, of weather analysts MDA Earthsat Weather, said it is likely the wet weather in Thailand in north

central Thailand will continue. “I expect there will be some additional flooding this week, as rains remain

abundant across far northern areas,” he told FOODNEWS.

Page 29: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

USDA predicts sharp fall in processing vegetable acreage

Source: Foodnews, Friday July 22 2011

US VEGETABLE processors have contracted for 1.02 million acres to be planted to the five major vegetable

crops - snap beans, sweet corn, cucumbers for pickles, green peas, and tomatoes this year. This figure is down

8% from 2010, according to a report by the USDA.

Excess rain and cooler than normal temperatures across the country resulted in delayed spring planting in many

vegetable-growing states and crop development has also been affected, it said.

Sweet corn acreage contracted this year is estimated to be 338 450 acres, which is down 3% from last year, but

the volume contracted for canning is down by 10% to 151 500 acres. In contrast, the area for freezing is up by

around 3% year-on-year to 186 950 acres and the area for fresh sweet corn is "up slightly" from last year to 101

700 acres.

In Minnesota, the leading US sweet corn- producing state, contracted area is up to 123 800 acres, from 122 900

acres previously, "but planting was behind schedule due to cool and wet conditions".

The USDA has predicted that the total output of sweet corn for canning this year could dip below 1.1 million

(short) tons, meaning the lowest volume produced since 1964 (FOODNEWS 12 May).

The contracted production for green peas in 2011 is forecast at 302 090 tons, down 16% from last year, with the

area for harvest pegged at 159 100 acres, down 9% from 2010. "The expected yield, at 1.90 tons per acre, is 0.15

tons less than a year ago," the report said.

Area contracted for planting, at 162 300 acres, is down 13% from 2010. Area contracted for canning, at 70 800

acres, is down 1% from last year, while the area contracted for freezing, at 91 500 acres, is down 20% from

2010.

For snap beans, US processors have contracted 169 450 acres for harvest in 2011, down 17% from the previous

year. The area planted for canning area is pegged at 107 500 acres, down 25% from last year, with area

contracted for freezing up slightly from 2010 at 61 950 acres.

Pickle processors contracted 74 600 acres for harvest in 2011, down 11% from last year. "In Indiana, planting

was delayed due to excessive rainfall," the USDA said. "In Michigan, planting was a week behind schedule due

to wet conditions."

Finally, contracted production for tomatoes is forecast at 12.8 million tons, up 1% from last year, but the planted

area contracted is down 4% from 2010 to 276 500 acres. "In California, wet weather and cool temperatures

hindered crop development and delayed planting activities," the report said. "However, the crop was reported to

be in good condition."

Page 30: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

Hungary able to maintain sweet corn exports despite low harvest

Source: Foodnews, Friday August 12 2011

DESPITE concerns that last year's poor crop may severely hamper sales of Hungarian canned sweet corn, the

country exported 38 891 tonnes in the January-April period of this year, down only 0.3% on the equivalent

period of 2010.

At the beginning of this year the Association of European Sweet Corn Processors (AETMD) said the sweet corn

supply situation in Hungary was "tense" following the lowest sweet corn production in 10 years in 2010

(FOODNEWS 4 February).

Exports to Germany fell for the third year in a row, from 9 847 tonnes in January-April 2008 to 7 813 tonnes in

the first four months of this year, but this is still well up on pre-2008 levels.

Exports to France rose 42.8%, from 5 566 tonnes to 7 954 tonnes. Exports to France have experienced a rapid

rise since 2001, when it took just 53 tonnes. For full year 2010, France (19.4%) was just ahead of Germany

(19.3%) in terms of share of the total Hungarian canned sweet corn export market.

Poland, which accounted for a 13.4% share in full year 2010, continued to increase its take, this time by 10% to 6

011 tonnes. In January-April 2010 it took 5 460 tonnes, itself up 7.8% on 4 244 tonnes in the equivalent period of

2009.

Austria, too, is importing more Hungarian canned sweet corn. Its take rose by 14%, from 1 848 tonnes to 2 114

tonnes. The country took 4.3% of Hungary's total canned sweet corn exports in full year 2010.

Unit value falls

In terms of unit value, Russia was the most lucrative of the leading destinations for Hungarian canned sweet corn

in full year 2010. The average that Russia paid was USD1 555.43 per tonne, well up on the world average of

USD1 255.31/tonne.

This world average unit price was lower than in 2008 (USD1 426.99) and 2009 (USD1 385.85), and just ahead of

2007 (USD1 203.53).

The biggest market in term of size, France, paid an average of USD1 259.57/tonne, up 14.2% on the average

price it paid in 2010. Germany, the next biggest, paid an average of USD1 241.76/tonne, an increase of 14%. The

average unit price in January-April this year came in at USD1 301.55/tonne.

Flooding in many areas of Hungary at the end of last year and beginning of 2011 have raised concerns that

production this year may be affected but in June the AETMD assessed that the crop season had a normal start to

the year and the outlook was normal (FOODNEWS 1 July).

However, traders speaking with FOODNEWS said they were not so convinced. "I have spoken with some people

in Hungary and they are not entirely happy with the harvest this year," one trader said.

Page 31: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

US canned and glass-packed vegetable exports uncharacteristically slow in 2011

Source: Foodnews, Friday July 29 2011

US EXPORTS of canned or glass-packed vegetables contracted by 9.8% by volume and 6.6% by value for the

five months from 1 January – 31 May.

The largest reduction in both volume and value was seen in exports of canned asparagus, down 65.9% in volume

to 166 000 lbs, and 64.3% in value to USD217 000.

Exports of dried, shelled beans saw the largest upturn of any product, for a total of 15.65 million lbs valued at

USD6.93 million (+42.8%, +38.5%). Mixed vegetables also saw much better shipments, growing 23.1% by

volume to 27.72 million lbs, and 9.2% by value to USD21.85 million.

US CANNED/GLASS VEGETABLE EXPORTS (1 Jan - 31 May 2011)

000 lbs % change YOY 000 USD % change YOY

Mushrooms 335 -0.7 686 4.7

Potatoes 27917 -9.2 28242 -1.2

Peas 5632 0.6 2601 -8.9

Beans, dried shelled 15645 42.8 6927 38.5

Beans, shelled 6596 -8.4 3319 -9.3

Beans, not shelled 4823 -14.7 2372 -16.3

Asparagus 166 -65.9 217 -64.3

Sweet corn 94842 -20.5 43850 -18.8

Sauerkraut 4782 23.1 1737 18.3

Mixed vegetables 27722 11.7 21850 9.2

Total 188460 -9.8 111801 -6.6

SOURCE: US Bureau of Census

Another product that saw improved exports was sauerkraut, with a total volume of 4.78 million lbs for USD1.74

million (+23.1%, +18.3%).

Sweet corn shipments suffered, dropping to 94.84 million lbs for USD43.85 million (-20.5%, -18.8%), and

exports of canned potatoes were also down significantly by volume, to 27.92 million lbs (-9.2%) although value

remained much more stable at USD28.24 million (-1.2%).

Page 32: Weekly Brief_6 Sep - 12 Sep 11_Issue 32

Monsanto to produce GM sweet corn

Source: Foodnews, August 26 2011

US-BASED seed company Monsanto is preparing to launch a genetically altered sweet corn, making it the firm’s

first commercial combination of biotechnology and a consumer-oriented vegetable product.

The sweet corn seed, which will be available to US farmers later this year, has been genetically altered to tolerate

treatment of Monsanto’s Roundup herbicide, and to fight off insects that might attack the plants, said Consuelo

Madere, Monsanto vice-president of the company’s global vegetable business.

The “triple-stack” sweet corn is aimed at the US fresh market, total US plantings of which amount to around 250

000 acres, said Madere. She declined to say how large of a launch the company was making, only to say it would

be “very, very small.”

Though this is Monsanto’s first biotech vegetable launch, Madere said other companies have already brought

genetically altered vegetables to market and she did not anticipate significant consumer backlash.” This is our

first launch. We think it is a good product and we’ll work to make sure we educate folks to the benefits,” she

said.