WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4...

45
หหหหห หหห 4 หหหหหหหหหหหห หหหหหหหหห

Transcript of WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4...

Page 1: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

หนวยท่ี 4 อินเทอรเน็ตเบื้องตน

Page 2: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

124

หนวยท่ี 4 อินเทอรเน็ตเบื้องตน

จ ํานวน 6 ชัว่โมง

จุดประสงค 1. อธบิายความหมายของอินเทอรเน็ตได 2. บอกประโยชนของอินเทอรเน็ตที่เกี่ยวของกับการเรยีนการสอนได 3. บอกความแตกตางระหวาง Web site, Web page และ Home page ได 4. สามารถสบืคนขอมูลดวยวธิกีารตาง ๆ ได 5. สามารถรบั - สง จดหมายอิเล็กทรอนิกสได

เน้ือหา 1. ความหมายของอินเทอรเน็ต 2. เวลิด ไวด เวบ็ (www) : โยงใยของขอมูลขาวสารที่ครอบคลมุทัว่โลก 3. การใหบรกิารบนอินเทอรเน็ต 4. ประโยชนของอินเทอรเน็ต

- ประโยชนที่ครูไดรบั - ประโยชนที่นักเรยีนไดรบ

5. สถาบนัการเรยีนรูบนเครอืขาย 6. การประยุกตใชอินเทอรเน็ตเพื่อการเรยีนการสอน 7. อินเทอรเน็ตออนไลน 8. การสบืคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต

8.1 การสบืคนขอมูลจาก URL โดยตรง 8.2 การสบืคนขอมูลโดยใช Search engine

Page 3: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

125

9. การใชบรกิารจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) 9.1 การสมคัร E-mail 9.2 การสง E-mail 9.3 การรบั E-mail

กิจกรรม 1.ศึกษาใบความรูท่ี 4.1 เรอืง อินเทอรเน็ตเบื้องตนประกอบการฟงบรรยาย

2.วทิยากรใหความรู เรื่อง การใชบรการอินเทอรเน็ตในก า ร ส บื ค น ข อ ม ูล แ ล ะ ฝ ก ปฏิบตัิตามใบงานที่ 4.1 และใบงานที่ 4.2 (ศึกษาเพิม่เติมจากใบค ว า ม ร ู ท 4.1 แ ล ะ ใ บ ค ว า ม ร ู ท่ี 4.2)

หวัขอการปฏิบติั 1) ฝกการใชบรกิารที่มอียูบนอินเทอรเน็ตตามท่ี

วทิยากรแนะนํ า 2) ฝกการสบืคนขอมูลจากหวัขอความรูในอินเท

อรเน็ตจาก URL โดยตรง และจาก Search engine

3.วทิยากรใหความรู เร ื่อง การใชบรการจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) และฝก ปฏิบตัิตามใบงานที่ 4.3 (ศึกษาเพิม่เติมจากใบความรูท 4.3)

หวัขอการปฏิบติั 1) ฝกการสมคัรสมาชกิจดหมายอิเล็กทรอนิกส 2) ฝกรบั-สงจดหมายอิเล็กทรอนิกส

สื่อการเรยีนรู 1. ใบความรูท่ี 4.1 เรื่อง อินเทอรเน็ตเบื้องตน2. ใบความรูท่ี 4.2 เรื่อง การสบืคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต3. ใบความรูท่ี 4.3 เรื่อง การใชบรกิารจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)4. ใบงานท่ี 4.1 ความรูเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตเบื้องตน5. ใบงานท่ี 4.2 การสบืคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต 6. ใบงานท่ี 4.3 การใชบรกิารจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)

Page 4: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

การวดัและประเมนิผล 1. ประเมนิผลจากใบงานที่ 4.1, 4.2 และ 4.3 2. ประเมนิผลจากแบบสงัเกตพฤติกรรม (ภาคผนวก ก)

Page 5: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

126

ใบความรูท่ี 4.1 เรื่อง อินเทอรเน็ตเบื้องตน

1. อินเทอรเน็ต คืออะไร 1.1 อินเทอรเน็ต (Internet) เปนเครอืขาย

คอมพวิเตอรท่ีมขีนาดใหญที่สดุของ โลก เกิดจากการเชื่อมตอเครอืขายยอยจ ํานวนมากที่เช ื่อมโยงการสื่อสารระหวางกันดวย ระบบมาตรฐานการควบคมุการสงผานขอมูลระหวางเครอืขายที่เรยกวา โพรโทคอล ทีซพี/ ไอพ ี(TCP/IP : Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ซ ึ่ง ใชหล ักการรบัสงขอ ม ูลโดยอ ิสระ โดยแบงเวลาอยางเทาเทียมกัน

1.2 เครอืขายคอมพวิเตอร (Computer network) เปนระบบการเชื่อมตอระหวาง คอมพวิเตอรจ ํานวนมากกว า 2 เครื่องขึ้นไป หรอเชื่อมตอระหวางคอมพวิเตอรหลายๆ เ ครื่องที่ เรยกว า เคร ื่องลกูขาย “ ” (Client) กับเคร ื่องคอมพวิเตอรเคร ื่องหลกที่เรยกวา เคร ื่องแมขาย “ ” (Host) เครอืขายคอมพวิเตอรขนาดเล็กสามารถเชื่อมตอระหวางกันทํ าให เกิดเปนเครอืขายขนาดใหญได เครอืขายคอมพวิเตอรจะท ําหนาที่ในการติดตอสอสาร การใชขอมูลรวมกันและแลกเ ป ล ี่ย น ข อ ม ูล ข า ว ส า ร ร ะ ห ว า ง ผ ู ใ ช ก า รแบงปนการใชแฟม ขอมูลและอุปกรณตอพวง เชน เครื่องพมิพและเครื่องวาดภาพ

1.3 ระบบโพรโทคอล TCP/IP เปนระบบมาตรฐานที่ใชเพ ื่อการส ื่อสารบน เครอืขายอ ิน เทอร เน ็ต โดยการสงขอมูลชนิดตางๆ แบบแตกยอยออกเปนสวนๆ ที่เรยกวา แพค็เกต “ ” (Packet) หรอืช ิน้สวนของขอมูล เพื่อใหการสงผานการส ื่อสารขอมูลสามารถ เก ิดข ึ้นในเวลาเดียวกันไดหลายๆ ชนิดขอมูล ในลักษณะของการสลับการสงชิน้สวนขอมูล ภายใตเวลาที่จดัสรร

Page 6: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

1.4 รหสัและระบบเรยีกชื่อของอินเทอรเน็ต คอมพวิเตอ ร บ น เ ค ร อื ข า ย อ ิน เ ท อ ร เ น ็ต ซึ่งทํ าหน าที่เป นศูนย คอมพวิเตอร ที่เชื่อมต อกับเครอืข า ย อ ิน เ ท อ ร เ น ็ต เ ป น ผ ใ ห บ ร ก า ร อ ิน เ ท อ ร เ น ็ต (ISP : Internet Service Provider) จ ะ ต อ ง ไ ด ร บั ก า ร ก ํ า ห น ด เ ล ข ห ม า ย อินเทอรเน็ต (Internet protocol number) ซึ่งเปนรหสัป ร ะ จ ํ า ต ัว เ ค ร ื่อ ง ท ี่เ ล ข ห ม า ย จ ะ ไ ม ซ ้ า กัน ประกอบดวยเลข 4 จ ํานวน แตละจ ํานวนเปนเลขตัง้แต 0 ถ ึง 255 แ ล ะ ค ัน่ ด ว ย เ ค ร ื่อ ง หมายจุด เชน

161.200.139.62

Page 7: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

127

เลขหมายอินเทอรเน็ต (IP Number) นิยมเรยีกกันวาเลขที่อยู IP หรอื IP Address อยางไรก็ ตาม รหสัประจ ําตัวเครื่องที่เปนเลขหมายอินเทอรเน็ตประจ ําเครื่อง ซงึเปนผูใหบรการ (Server) มลี ักษณะเปนตัวเลขหลายตัวท ี่จ ําไดยากและไมสะดวกในการใช จงึไดมกีารกํ าหนด ระบบชื่อมาตรฐานเพื่อใชในเครอืขายอ ินเทอรเน ็ตเรยีกวา ระบบช ื่อ โดเมน (Domain Name System : DNS) เปนระบบช ื่อท ี่ประกอบดวย ชอเครื่องคอมพวิเตอร ชอเครอืขายทอง ถิ่น ชอืสบัโดเมน (Sub domain) และชื่อโดเมน (Domain name) ซงึจะสอดคลองกับเลข หมายอินเทอรเน็ตหรอื IP Address

1.5 การสื่อสารบนเครอืขายอินเทอรเน็ต การสื่อสารบนเครอืขายอินเทอรเน็ต คือ

- การสื่อสารผานบรกิารเวลิดไวดเวบ็ (World Wide Web) หรอเรยีกทัว่ไปวา “WWW” ซึ่งเปนระบบการสื่อสารขอมูลขาวสารทัง้ชนิดท่ีเปนขอความ ตัวอกษร รปภาพ ขอมูล และขอมูลเสยีง โดยการเชื่อมโยงและโอนยายขอมูลจากเครื่องคอมพวิเตอรผสราง และเผยแพรใหบรกิารขอมูลนัน้ ๆ ไปยงัเครื่องคอมพวิเตอรอน ๆ ทัว่โลกท่ีเรยกใช เครื่อง คอมพวิเตอรท่ีเปนแหลงขอมูล WWW เรยกวา ตัวบรการ“เวบ็ ” (Web server)

- การสื่อสารโอนยายแฟมขอมูล เปนการสื่อสารเพื่อการโอนยายแฟมขอมูล ระหวางผูใชกับผใหบรกิาร หรอืระหวางเครื่องคอมพวิเตอรสองเครื่องขึ้นไปในระบบ เครอืขาย ซึ่งตองใชโปรแกรมมาตรฐานการโอนยายแฟมขอมูลท่ีเรยกวา เอฟทีพี (FTP : File Transfer Protocol)

- การสงแฟมขอมูล (โอนยายไฟล) จากเครื่องคอมพวิเตอรของผูใชโปรแกรม FTP ไปยงัเครื่องเซริฟเวอร (FTP server) เรยีกวา การอัปโหลด (Upload)

การสงแฟมขอมูล จากเครื่องเซริฟเวอรมายงัเครื่องคอมพวิเตอรของผูใชเรยีก

Page 8: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

วาการ ดาวนโหลด “ ” (Download) - การสื่อสารโดยจดหมายอิเล็กทรอนิกส หรอือีเมล (E-

mail/Electronic mail) การสื่อสารขอความทางจดหมายบนเครอขายอินเทอรเน็ตกระทํ าไดโดยผานคอมพวิเตอร ซึ่งท ําหนาที่เสมอืนที่ทํ าการไปรษณียที่บรกิารรบัสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส ที่เรยกวา เมลเซริฟเวอร หรอื อีเมล“ ” -เซริฟเวอร (E-mail server)

จดหมายอิเล ็กทรอนิกสเปนการส ื่อสารท ี่สะดวก รวดเรว็ คาใชจายนอย และม ีขอจ ํากัดของการสื่อสารนอยมาก ผูใชสามารถแนบแฟมขอมูลทกุประเภทไปพรอมกับ จดหมายอิเล็กทรอนิกสไดงาย

Page 9: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

128 2. เวลิดไวดเวบ็ (WWW) : โยงใยของขอมูลขาวสารที่ครอบคลมุทัวโลก

การสื่อสารผานบรกิาร WWW เปนการสื่อสารขอมูลไดหลายรปแบบซึ่งเปน ระบบมลัติมเีดีย คือ สอ่ไดทัง้ขอความ ขอมูลที่เปนรปภาพ กราฟก ขอมูลเสยีง ขอมูลภาพ เคลื่อนไหว และวดิีทัศน WWW มอีงคประกอบส ําคัญที่เกี่ยวของดังน้ี

2.1 แหลงใหบรกิารขอมูล คือ เคร ื่องคอมพวิเตอรที่เปนแหลงขอมูลของระบบ WWW ทํ าหนาที่ใหบรกิารขอมูล เรยกวา Web server

2.2 ภาษาที่ใชในการสื่อสาร คอ ภาษา HTML ซงึเปนโปรแกรมเอกสารเวบ็ที่ ออกแบบมาเฉพาะใหสามารถติดตอสื่อสารเครื่องคอมพวิเตอรท่ีแตกตางหลากหลายกันได

2.3 โปรแกรมสื่อสารในระบบ WWW (Web browser) ซงึทํ าหนาที่เรยกใชขอมูล ในระบบ WWW โดยเชื่อมโยงไปยงัเครื่องเวบ็เซริฟเวอรที่เปนแหลงขอมูลผานระบบ เครอืขายการสื่อสารตามที่ระบุในตํ าแหนงที่อยูของขอมูลที่เรย ก ว า ร ห สั ย ูอ า ร แ อ ล (URL/ Uniform resource locator ) แ ล ว ท ํ า ก า ร โ อ น ย า ย ข อ ม ูล จ า ก เ ค ร ื่อ ง ท ี่เปนแหลงขอมูล มายงัเครื่องผูใช (Web browser) และโปรแกรมดังกลาวจะแสดงผลของ Web browser ไฟล ขอมูลใหผใชเหน็ท่ีจอภาพ โปรแกรมที่นิยมใช คือ Internet explorer, Netscape navigator และ Opera

2.4 แหลงที่อยูของขอมล การสื่อสารระบบ WWW โดยใชโปรแกรมเรยีกอานเวบ็ ที่น ิยมเรยกกันวา โปรแกรมทองเวบ็ หรอืเวบ็บราวเซอร (Web browser) จะมแีหลงสบืคน แตขอมูลซึ่งเปนที่อยูของขอมูลเรยกวารหสั URL ซงมโีครงสรางดังนี้

รูปแบบ :// ชื่อคอมพวิเตอรท่ีใหบรการ/ไดเรก็ทอรี/่ชอไฟล - รูปแบบการสื่อสารในระบบ WWW คือ “http”

(Hypertext transfer protocol) - รูปแบบการโอนยายแฟมขอมูล คือ ftp”

(file transfer protocol)ตัวอยาง

http://www.worldbank.org/worldlink/.htm

Page 10: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

2.5 เวบ็แอดเดรส (Web address) ท่ีอยูของขอมลในแงของผูใช เมื่อผูใชเช ื่อมตออินเทอรเน็ตและเรยีกใชโปรแก

ร ม ท อ ง เ ว บ็ ถ า ต อ ง ก า ร จ ะ เ ร ยี ก ใ ช ข อ ม ูล บ น เ ว บ็ไซตใดตองทราบรหสัหรอืที่อยูของเวบ็นัน้ๆ ซงึจะเรยีกใชในรูปของระบบ ชื่อโดเมน เชน

http://www.sanook.com

Page 11: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

129 2.6 เครื่องมอืสบืคนขอมูล (Search engine) เนื่องจากขอมูล WWW มจี ํานวนมากมายมหาศาล โดย

ป ร ะ ม า ณ ก ัน ว า ม เี ป น ล า น ๆ เวบ็ไซต การสบืคนขอมูลใหไดตรงตามท่ีตองการจงึเปนเ ร ื่อ ง ย ุ ง ย า ก แ ล ะ ซ บั ซ อ น เ พ ร า ะ ผ ู ใชจะมขีอจ ํากัดในการรบัรู จดจ ําที่อยูของเวบ็ไซต จงึไดมีก า ร จ ดั ท ํ า โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ส บื ค น ขอมูลบนเวบ็ไซตใหบรกิารที่เรยกวา เคร ื่องมอืสบคน (Search engine) ท ํ า ใ ห ผ ใ ช ส บ ค น ห า แหลงข อมูลได สะดวกและรวดเรว็ขึ้น เคร ื่องมอืสบค นมีห ล า ย แ ห ล ง แ ต ท ี่ใ ช อ ย า ง แพรหลาย เชน ยาฮู (www.yahoo.com) ไมโครซอฟต (www.msn.com) แ ล ะ สนุก (www.sanook.com)

2.7 องคประกอบของเวบ็ : เวบไซต เวบเพจ โฮมเพจ เอกสาร HTML ท่ีปรากฏใน WWW จะประกอบดวย - เวบ็ไซต (Web site) คือขอมูลเอกสารเวบ็ทัง้ชุดท่ีสรางขึ้นและ

ใหบรกิารเวบ็ไซต เวบ็ไซตเปรยีบไดกับหนังสอื 1 เลม ซึ่งแลวแตปรมิาณและประเภทขอมูลวาจะมมีากนอยเพยีงใด

- เวบ็เพจ (Web page) คือขอมูลเอกสาร WWW ที่สรางขึ้นแตละหนา (page) ดังนัน้เวบ็ไซตหนึ่งๆ จะประกอบดวยเวบ็เพจตัง้แตหนาแรกถึงหนาสดุทาย เปรยีบไดกับ หนาหนังสอืแตละหนา

- โฮมเพจ (Home page) คือ ขอมูลเอกสาร WWW หนาแรกของเวบ็ไซต นัน้ๆ หรอืเปน Web page หนาแรก เปรยีบไดกับหนาปกหนังสอืแตละเลม

3. อินเทอรเน็ตใชทํ าอะไรไดบาง 3.1 สบืคนขอมูลขาวสารทกุประเภทใน WWW 3.2 แลกเปล่ียนขอมูลในรูปการโอนยายไฟล 3.3 ติดตอสื่อสารในรูปจดหมายอิเล็กทรอนิกส 3.4 อภิปรายและแสดงความคิดเหน็ในกระดานปายหรอืปายประกาศ (Web board)

Page 12: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

3.5 พูดคยุสนทนาแลกเปล่ียนขอมูลความคิดเหน็ (Chat) 3.6 การประชุมทางไกล 3.7 การเรยีนรู การศึกษาออนไลน (e-Learning) 3.8 การคนควาวจิยั 3.9 การพกัผอนหยอนใจ เชน เกม ฟงเพลง 3.10 การรบัขาวสารทางโทรทัศนและวทิยุ 3.11 การประกอบธุรกิจหรอืการพาณิชย (e-Business. e-Commerce)

ฯลฯ

Page 13: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

130

4. ครูจะไดอะไรและนักเรยีนจะไดอะไรจากอินเทอรเน็ต ประโยชนของครู ประโยชนของนักเรยีน

- คนหาข อมูลข าวสารทางการศึกษา- คนหาและใชประโยชนจากขอมูลขาวสาร

และสารสนเทศที่เกี่ยวของกับวชิาชพี ในวชิาท่ีเรยนตลอดจนแหลงวทิยาการ - คนหาขอมูลความรูที่เปนปจจุบนัทัน

สมยั- ค นหาและแลกเปล่ียนแผนการจดั - ไดแกนสารความรูท่ีลมุลึกมากขึ้นจาก

กิจกรรมการเรยีนการสอน ผูเชีย่วชาญ เพราะเดิมทีนักเรยีนมโีอกาส- ขอมูลพื้นฐานและแหลงคนควา เพื่อ จ ํากัดอยูกับความรูของครู ตํ าราเรยีนและ

การวจิยัเฉพาะเรื่อง /วชิา /สาระการหนังสอืในหองสมุดที่มไีมมาก ไมเพยีงพอ

เรยีนรู ตอการหาความรูท่ีลมุลึกเฉพาะเจาะจง- นํ าขอมูล เชน รปภาพ ภาพยนตร นอกจากนัน้ความรูที่ไดจากอินเทอรเน็ต

วดิีทัศน เอกสาร ตํ าราอิเล็กทรอนิกสจะทํ าใหนักเรยีนสามารถสื่อสารไดโดย

มาใชประกอบการจ ัดตํ าราเรยีน/ผลิตสื่อตรงกับอาจารยมหาวทิยาลัย ผูเขยีนตํ ารา - สอบถาม ขอคํ าปรกึษาแนะนํ าจากผูรผูเชีย่วชาญเฉพาะโดยผานอีเมล

ผูเชีย่วชาญ เพื่อนรวมอาชพีจากทกุ - เรยีนรูเรื่องใดเรื่องหน่ึงไดรอบดานมากขึ้น

มุมโลก - มทัีกษะทางสงัคม โดยเรยีนรูท่ีจะรวมมอื- แลกเปล่ียนแบ งป นประสบการณ กันทํ างานใหส าเรจ็ในกลุม

ผลงานการสอน/วชิาชพี - แลกเปล่ียนความคิดเหน็มุมมองที่ต าง - เ ข า เ ป น ส ว น หน่ึ งของประชาคม วฒันธรรมกัน ซึ่งนอกจากจะทํ าใหรบรูและ

วชิาชพีครูและวงการทางการศึกษาที่ เขาใจโลกที่กวางขวางขึ้นแลว ยงัไดเปดใจ

กวางขวางขึ้น ส ู อํ า น า จ แห งความร วมมอืร วมใจและ

ความเขาอกเขาใจวฒันธรรมความเปนอยูท่ี แตกตางกัน

Page 14: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

131

อินเทอรเน็ตเปนสวนสํ าคัญของการปฏิรูปการเรยีนรู

ประโยชนของครู1. เปลี่ยนแปลงบรรยากาศแ ล ะ ค ว า ม

เคลื่อนไหวของหองเรยีน ทํ าให

หองเรยีนไมใชสิง่แวดลอมที่ซํ้ าซาก จ ําเจอีกตอไป

2. ครูและนักเรยีนจะเรยีนรไปดวยกัน

ในสภาพหองเรยีนเครอืขาย ซึ่งครูจะ

ไมใชผูรเพยีงคนเดียวในหองเรยีน

5. สถาบนัการเรยีนรูบนเครอืขาย

ประโยชนของนักเรยีน1. นักเรยีนไดเรยนรูจากการปฏิบตัิ

ในสภาพจรงิมากขึ้น2. นักเรยีนไดพฒันาทักษะการคิด

และวธิกีารเรยีนรู3. นักเรยีนไดพฒันาทักษะในโลก

แหงความเปนจรงิ4. เ ส ร มิ ส ร า ง พ ห ปุ ญ ญ า ต า มศ ัก ย ภ า พ

ของนักเรยีน

อินเทอรเน็ตไดกอใหเกิดนวตักรรมการศึกษาทางไกล ในดานสถาบน การศึกษา ดิจทิ ัล (Digital academy) โดยใชสื่ออิเล็กทรอนกส ทํ าใหระยะทางไมมคีวามส ําคัญ นวตักรรมดังกลาวจงึนิยมเรยีกกันวา “e-Learning” (การเรยีนรูทางอิเล็กทรอนิกส) หรอื “e-School” (โรงเรยีนอิเล็กทรอนิกส) เปนรูปแบบการศึกษาท่ีเปน “โรงเรยีนเสมอืนจรงิ ”(Virtual school ) ท่ีครู และผ เรยนสามารถแลกเปล่ียนเรยีนร และโต ตอบกันได (Interactivity) โดยมรีูปแบบโดยทัว่ไปคือ

5.1 การสมคัร และลงทะเบยีนเขาเรยีน 5.2 การเรยีกคน ดาวนโหลด หลักสตูร เนื้อหาสาระ

ทางวชิาการ สอ่การเรยีน การสอน ทัง้ท ี่เปนตํ าราและมลัติมเีดีย

Page 15: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

5.3 การใชจดหมายอิเล็กทรอนิกส เพื่อสงสื่อเอกสารที่ใชประกอบการเรยีน การสอน การสงงาน รายงาน การบาน ตลอดจนการซกัถามระหวางผ ู เร ยีนและผ ูสอน และระหวางผูเรยีนดวยกัน

5.4 การใชปายประกาศ (Web board/Bulletin board) เพื่อถาม-ตอบ หรอแสดง ความคิดเหน็ แลกเปลี่ยนขอมูลตามประเด็นท่ีสนใจศึกษา

5.5 การคนควา วจิยัจากคลังขอมูล (Archives) และหองสมุดดิจทิัล 5.6 การติวความรูแบบตอบโตผานเวบ็ (Interactive tutorials on the web) 5.7 การสอน หรอืฝกอบรมผานเวบ็ไซตบนเครอืขาย

Page 16: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

132 5.8 การศึกษาทดลองในรูปแบบสถานการณจ ําลอง

(Simulation) แ ล ะ ห อ ง ท ด ล อ ง ด ิจ ทิ ัล (Digital laboratory)

5.9 การประชุมสนทนาโดยใช Internet Relay Chat (IRC) 5.10 การทดสอบวดัผลประเมนิผล และแจงผลการสอบ

โดยใชโปรแกรมแบบ ทดสอบที่ใชระบบตอบโตดวยรหสัผานของผูเรยน

นวตักรรมเทคโนโลยสีารสนเทศ และการสื่อสารในระบบเครอืข า ย อ ิน เ ท อ ร เ น ็ต เชนนี้เปนองคประกอบส ําคัญในการปฏิรูปการเรยีนใหเปนจ ร งิ โ ด ย พ สิ จ น ไ ด ว า ก า ร เ ร ยี น ร ู เกิดขึ้นไดทกุเวลาและทกุสถานที่ โดยไมจ ําเปนตองมอีาคารส ถ า น ท ี่ท ี่เ ป น โ ร ง เ ร ยี น ใ น ด า น กายภาพ

ป จจุบนัครูและนกเรยีนทัว่โลกกํ าลงเรยีนร ที่จะใช อินเทอร เน็ตด วยวธิการ ตางๆ อยางหลากหลาย เพื่อเพิม่พูนประสบการณทัง้การเรยีนและการสอน ขอเสนอแนะที่ นํ าเสนอในที่นี้เป นเพยีงส วนหนึ่งที่รวบรวมมาเพื่อประโยชน ในการที่ครูจะพจิารณา ประยุกตใชและพฒันาการจดักระบวนการเรยีนรูท่ีเนนผเรยนเปนส ําคัญ

6. การประยุกตใชอินเทอรเน็ตเพื่อการเรยีนการสอน 6.1 แนวทางการประยุกตใชอินเทอรเน็ตในดานนักเรยีน นักเรยีนสามารถใชอินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาคนควา

วจิยั การเขารวมกิจกรรมเชงิ ปฏิสมัพนัธ การเขารวมโครงงานบนเวบ็ หรอืสรางสรรคผลงานเผยแพร

- การศึกษาคนควา นักเรยีนจะสามารถใชอินเทอรเน็ตเปนเครื่องมอืในกา

รสบืคน ศึกษาวจิยั และจดัทํ ารายงาน เวบ็ไซตที่เปนแหลงทรพัยากรเพื่อการคนความมีากมาย ซงึอาจจดั ประเภทงายๆ ดังน้ี

หองสมุดและแหลงอางอิงทางการศึกษา ตัวอยางเชน หอสมุดแหงชาติ

(The Library of Congress) สารานุกรมตางๆ ฯลฯ แหลงทัศนศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส เชน White

Page 17: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

House Tour, City Net Travel สถาบนัสมธิโซเน ียน และพพธิภัณฑตางๆ

เอกสารตํ ารา เชน พจนานุกรมตางๆ บรกิารแปลตํ าราอิเล็กทรอนิกส ฯลฯ

ขอมูลพื้นฐาน และเหตกุารณปจจุบนั เชน สถิติประชากร ขอมูล ตลาด หลักทรพัย พยากรณอากาศ รวมทัง้หนังสอืพมิพและวารสารออนไลน

การติดตอผูเชีย่วชาญ มีแหลงขอมูลท่ีใหบรกิารตอบคํ าถามเฉพาะดานใน วทิยาการสาขาตางๆ มากมาย เชน List of Experts, Ask Dr. Marth. ฯลฯ

Page 18: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

133 - กิจกรรมเชงิปฏิสมัพนัธ (Interactive Activities) มเีวบ็ไซตจ ํานวนมากท่ีเปดใหมกีิจกรรมแบบโตตอบได

ระหวางเวบ็ไซตกับผูใช เชนโปรแกรมสนทนา เกมออนไลน ท่ีสํ าคัญและเปนประโยชนกับผูเรยน อาจจ ําแนกเวบ็ไซต จ ําพวกนี้ไดดังน้ี

1) สถานการณจํ าลอง (Simulations) เปนเวบ็ไซตที่นํ าเสนอขอมูลแบบมลัติมเีดีย มกีาร

เคลื่อนไหวทัง้ภาพและ เสยีง และผูเรยนสามารถตอบโตได เชน หองทดลองเสมือนจรงิในวชิาตางๆ (Virtual lab)

2) บทเรยีนและแบบทดสอบ เปนเวบ็ไซตประเภทบทเรยีนหรอืแบบฝกออนไลน

ซึ่งมหีลายสาขาวชิารวม ทัง้แบบทดสอบออนไลน ที่มทีัง้การวดัผลสมัฤทธิ ์วดัความรูความสามารถวดับุคลกภาพ และ สติปญญา

3) นิทรรศการ เชน Hurricane Spiral, Telegarden ฯลฯ

- โครงงานบนเวบ็ (Web-based project) ไดมกีารจดัทํ าโครงงานในชัน้เรยีนทัง้ระยะสัน้และระยะ

ยาวเผยแพรบน อินเทอรเน็ต ซึ่งนักเรยีนจะเขาไปมสีวนรวมไดจ ํานวนมาก และสามารถผนวกหรอืจดัเขา เปนสวนหนึ่งของกระบวนการเร ียนรูตามหลักสตูร แหลงรวบรวมโครงงานที่สํ าคัญ ไดแก

Monitoring Projects, Global Grocery List Project, BatNet Exploration เชน Maya Quest

- นักเรยีนในฐานะผูสรางสรรค นักเรยีนทัง้ที่เปนรายบุคคล เปนกลุม หรอืครูที่ดํ า

เนินการรวมกับนักเรยีน สามารถสรางหรอืจดัทํ าเนื้อหาสาระเปนเวบ็ไซตเผยแพรแกสาธารณชนได มเีวบ็ไซต ลักษณะน้ีหลายประเภท ไดแก

วารสาร หนังสอืพมิพของนักเรยีน ผลงาน นิทรรศการดานศิลปะ และวรรณกรรม ผลงานการศึกษาคนควาเรื่องตางๆ การทองเที่ยวเสมอืนจรงิ (Virtual tours)

Page 19: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

การสะสม (Collections) การสรางโฮมเพจ

ฯลฯ

Page 20: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

134

6.2 แนวทางการประยุกตใชอินเทอรเน็ตในดานของครู ครูสามารถใชอินเทอรเน็ตไดหลายวธิ ีเชนเดียวกับที่นัก

เรยีนใช นอกจากนี้ยงัใช เพื่อติดตอสอสารกับเพื่อนครูและผเชีย่วชาญจากทัว่โลก การคนหาแหลงสื่อวสัดอุปกรณ แผนการสอนในวชิาที่ตนรบัผดชอบ รวมถึงการจดัทํ า จดัสราง สอืนวตักรรม กิจกรรม การเรยีนรู ส ําหรบันักเรยีนและเผยแพรแกครหรอืบุคคลทัว่ไป

- การติดตอสื่อสาร ครูสามารถใช อินเทอร เน็ตเพื่อการติดต อสอสาร

ก ับ ก ล ุ ม ค ร ูห ร อ ผู เชีย่วชาญในสาขาวชิาการที่เกี่ยวกับงานในหน าที่หรอืตามที่ส น ใ จ โ ด ย ใ ช E-mail หรอื Listserve ตลอดจนสมคัรเขารวมเปนสมาชกิของอ ง ค ก ร ว ชิ า ช พี ห ร อ ก ล มุ ส น ใ จ ใ ช อินเทอรเน็ต ซ ึ่งมใีหบรการหลายเวบ็ไซต เชน Global Scoolhouse. 21th Century Teachers. Net

- การคนควาวจิยั ครูสามารถใชอินเทอรเน็ตเปนเคร ื่องมอืสบคน

คนควา วจิยั เพื่อการเตรยีม การสอน การจดัหา จดัทํ า สื่อนวตักรรมการเรยีนการสอน โดยทัว่ไปเวบ็ไซตลกษณะนี้ อาจจ ําแนกประเภทไดเปน

1) แผนการสอน มเีวบ็ไซตท่ีนํ าเสนอแผนการสอนในกลุมวชิาระดับ การศึกษาขัน้พื้นฐาน 12 ป ทัง้ที่เปนภาษาไทย และภาษาอังกฤษมากมาย ซงึอาจสบืคน จากเวบ็ไซตตางๆ เชน SchoolNet Thailand, ERIC, Discovery Channel School ฯลฯ

2) สารสนเทศ และขอมูลความรูส ําหรบัชัน้เรยีน 3) แนวคิดและเทคนิคการจดัการเรยีนการสอน 4) เวบ็ไซตทางการศึกษา 5) เวบ็ไซตเฉพาะวชิา 6) เวบ็ไซตอางอิงและห อ ง ส ม ุด 7) แ ห ล ง

Page 21: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

ทรพัยากรทางการศึกษา 8) เวบ็ไซตรวมผลงานวจิยั

- ครูในฐานะผูสราง ครูสามารถใชอินเทอรเน็ตสรางเวบ็ไซต เพื่อจดัการ

เ ร ยี น ก า ร ส อ น ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด โ ด ย ม แี ห ล ง ส น ับสนุนคนควาอยูไมนอย ซ ึ่งอาจศึกษาจาก SchoolNet หรอืเวบ็ไซต โรงเรยีนตางๆ

นอกจากน้ียงัสามารถใชอินเทอรเน็ตเพื่อการคนหา จดัทํ าแบบทดสอบ การวดัผล ประเมนิผล การจดักิจกรรมการเรยีนการสอนแบบตอบโตไดอ่ืนๆ

Page 22: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

135

นอกเหนือจากแนวทางทัว่ๆ ไป ในการประยุกตใชเพื่อก า ร เ ร ยี น ก า ร ส อ น แ ล ว ยงัมปีระเด็นส ําคัญในการจดักระบวนการเรยีนรูโดยใชอินเทอ ร เ น ็ต เ ป น ท ี่แ พ ร ห ล า ย แ ล ะ สอดคลองกับแนวทางปฏิรูปการเรยีนรในยุคนี้ เชน การพฒันาท ัก ษ ะ ด า น ข อ ม ูล ก า ร เ ร ยี น ร แบบรวมแรงรวมใจ การเรยีนรูแบบอิงโครงงาน ซึ่งเปนทางเ ล ือ ก ใ น ก า ร พ ฒั น า ผ ู เ ร ย น ท ี่ม ีประสทิธภิาพ

7. อินเทอรเน็ตออฟไลน : ทางเลือกเพื่อประสทิธภาพทางการเรยีนรู 7.1 การเชื่อมตออินเทอรเน็ตเปนระยะเวลานานๆ เสยีคาใชจายสงู

โรงเรยนจะทํ าอยางไร

7.2 โรงเรยีนมเีลขหมายโทรศัพทจ ํากัดตองใชงานหลายดาน จะหาเวลาใดมา เชื่อมต ออินเทอรเน็ต

7.3 การเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยที่ครูและนักเรยีนยงัขาดประสบการณเกี่ยวกับ การสบืคนแหลงเรยีนรูที่เหมาะสมจะท ํ าใหเสยีเวลามากเก ินความจ ําเปน โรงเรยีนควร ท ําอยางไร

7.4 ประสทิธภิาพเครอืขายการส ื่อสารตํ่ า การเรยีกคนขอมูลจากเวบ็ไซตพรอมๆ กันหลายเคร ื่องเกิดปญหาความลาชา ตองเสยีเวลา และผูเรยนอาจเกิดความเบื่อหนาย ควรแกปญหาอยางไร

7.5 โรงเรยีนอยูหางไกลไมมทีัง้เครอืขายภายใน (LAN) และยงัไมไดติดตัง้เลขหมายโทรศัพท จะใชอินเทอรเน็ตไดอยางไร

อุปสรรคดังกลาวขางตนอาจดํ าเนินการไดโดยใชวธิีการเชื่อมตอหรอเลอกใช ขอมูลแบบออฟไลน (Off-line) ซึ่งเปนการดาวนโหลดขอมูล WWW จากอินเทอรเน็ตไว ในเครื่องคอมพวิเตอร เพื่อนํ ามาเรยีกใช ภายหลัง กรณีเช นน ี้คร ูผ สอนและคร ู ผ ู ประสานงานการใช คอมพวิเตอรควรรวมมอืกันเลือกแหลงขอมูลที่จ ําเปนส ําหรบคร ูและนักเรยีนจะไดใช

Page 23: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

กรณีที่โรงเรยนยงัไมมโีทรศัพทอาจขอความรวมมอืโรงเรยีนในสหวทิยาเขตหรอื เขตพื้นที่การศึกษาส ําเนาขอมูลที่เรยกจากเวบ็มาใชในรูปของแผนซดีี ซงกรณีเชนนี้ควร ระมดัระวงัปญหาเก ี่ยวก ับล ิขสทิธ ิใ์นบางเวบ็ไซต หากน ํ าไปเผยแพรไมเหมาะสม

Page 24: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

136

ใบความรูท่ี 4.2 เรื่อง การสบืคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต

เวบ็ไซตในปจจุบนัไดเกิดขึ้นมาใหมหลากหลายรูปแบบต า ม ว ตั ถ ป ร ะ ส ง ค ข อ ง ผู ผลิต เชน เวบ็ไซต หนวยงานตาง ๆ เวบ็ไซต ด านการศ ึก ษ า เ ว บ็ ไ ซ ต เ พ ื่อ ก า ร ค า ประชาสมัพนัธ ฯลฯ การสรางเวบ็ไซตแตละ Site นัน้ มเีปาห ม า ย ห ล ัก ค ือ ต อ ง ก า ร ใ ห ผ ูใ ช บรกิารอินเทอรเน็ตเขามาเยีย่มชม เขามาใชบรการตาง ๆ ดังน ัน้ ก า ร ผ ล ิต ห ร อื ก า ร ส ร า ง ต อ ง อาศัยความรูทัง้ทางดานศาสตรและศิลป รวมทงการประชาส มั พ นั ธ เ ข า ม า ใ ช เ พ ื่อ ใ ห เ ป น ท ี่ รูจกัแกกลมุมวลชน ใหเชงิการคา หากผูใชบรการอินเทอ ร เ น ็ต เ ข า ม า ใ ช บ ร ก า ร ใ น เ ว บ็ ไ ซ ต มากเพยีงใดยิง่เปนผลดีตอผูคาและนํ ามาซ ึ่งผลกํ าไร ใ น ด า น ก า ร ศ ึก ษ า ก ็น า จ ะ น ํ า ม า ซ ึ่ง ความรู ขาวสาร และขอมูลสารสนเทศตาง ๆ ผใชบรกิารอินเ ท อ ร เ น ็ต ท ี่ต อ ง ก า ร เ ข า ไ ป ค น ห า ขอมูลนัน้ ตองรวตัถปุระสงคของตนเองกอน และตองรที่อย ู ข อ ง ข อ ม ูล น ัน้ ๆ (URL) ด ว ย ซ ึ่งเปรยีบเสมอืนบานเลขท ี่แตละหล ังท ี่ไมมโีอกาสซ ํ้ าก ัน ไ ด เ ล ย แ ต ถ า ห า ก เ ร า ไ ม ร ูท ี่อ ย ู ข อ ง เวบ็ไซตนัน้ ๆ เราก็สามารถหาที่อยูนัน้ไดโดยอาศัยบรกิาร Search engine ซ งึ จ ะ ก ล า ว ใ น สวนตอไป

1. การสบืคนจาก URL โดยตรง หากตองการเยีย่มชมหรอืใชบรกิารเวบ็ไซตใดจะตอง

ท ร า บ URL

(Uniform resource locator) ของเวบ็ไซตนัน้ ๆ กอน วธิี

Page 25: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

หา URL ของเวบ็ไซตที่สนใจ สามารถหาได โดยการใชเครื่องมอืคนหาในอินเทอรเน็ต การติดตามจากสื่อตาง ๆ เชน นิตยสาร คอมพวิเตอร หนังสอืแนะนํ าเวบ็ไซตโดยตรง รายการทีว ีโฆษณาตาง ๆ ที่มกัมกีารระบุ URL ของบรษัิทไวดวย ฯลฯ

ส ําหรบัองคกรตาง ๆ หรอืบรษัิทนิยมใช URL ที่เหมอืนหรอสอดคลองกับช ื่อ ของหนวยงานของตนเพื่อใหจดจ ํา ไ ด ง า ย เ ช น ห น ัง ส อื พ มิ พ ไ ท ย ร ฐั ม ี URL ช อ www.thairath .com หรอืส ํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐานม ีURL ชอ่ www.obec.go.th โดยอาศัยชื่อยอจากชื่อเต็ม (ชอเต็มภาษาอังกฤษ) เปนตน เวบ็ไซตที่เกี่ยว กับสถาบนัการศึกษาของไทย มกัจะมชี ื่อ URL สวนทายเปน .ac.th เชน www.swu.ac.th โดย wsu คือชอ่ยอภาษาอังกฤษของมหาวทิยาลัยศรนีครนิทรวโิรฒ

Page 26: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

137

2. การคนหาขอมูลโดยใช Search engine ในโลกแหงขอมูลขาวสาร การที่จะคนหาขอมูลจ ํานว

นมากมายนัน้ ไมอาจจะคลิก เพื่อคนหาขอมูลไดงายๆ จ ําเปนจะตองอาศัยการคนหาขอมูลดวยเครื่องมอืคนหาที่เรยกวา Search engine เขามาชวยเพื่อความสะดวกและรวดเรว็ อีกทัง้เวบ็ไซตท่ีใหบรกิารคนหา ขอมูลมมีากมายทัง้ที่เปนของไทยและตางประเทศ

2.1 ความหมาย/ประเภทของ Search engine การคนหาขอมูลบนเครอืขายอินเทอรเน ็ตท ี่มอี

ยูเปนจ ํานวนมาก ถาเปดไปทีละ หนาจออาจจะตองเสยีเวลาในการคนหา และอาจหาขอมูลที่ตองการไมพบ การที่จะคนหา ขอมูลใหพบอยางรวดเรว็จะตองใชเวบ็ไซตส ําหรบัการคนหาขอมูลที่เรยกวา Search engine site ซึ่งจะท ําหนาที่รวบรวมรายชื่อเวบ็ไซตตางๆ เอาไว โดยจดัแยกเปนหมวดหมู ผูใชงานเพยีงแตทราบหวัขอที่ตองการคนหาแลวปอนคํ าหรอืขอความของหวัขอนัน้ ๆ ลง ไปในชองที่กํ าหนด คลิกปุมคนหา (หรอืกดปุม Enter) เทานัน้ รอสกครูขอมูลอยางยอ ๆ และรายชื่อเวบ็ไซตที่เกี่ยวของจะปรากฏใหเราเขาไปศึกษาเพิม่เติมไดทันที

-Search engine แตละแหงมวีธิการและการจดัเก็บฐานขอมูลที่แตกตางกันไป ตามประเภทของ Search engine ที่แตละเวบ็ไซตนํ ามาใชเก็บรวบรวมขอมูล ดังนัน้การที ่จะเขาไปหาขอมูลหรอืเวบ็ไซต โดยวธิกีาร Search นัน้ อยางนอยจะตองทราบวา เวบ็ไซต ที่เขาไปใชบรกิาร ใชวธิการหรอืประเภทของ Search engine อะไร เนื่องจากแตละประเภท มคีวามละเอียดในการจดัเก็บขอมูลตางกันไป ดังนัน้ควรเลือกประเภทการคนหาขอมูลโดย ใช Search engine ใหเหมาะสมกับขอมูลท่ีตองการ

1)Keyword index เปนการคนหาขอมูล โดยการคนจากขอความในเวบ็เพจ ที่ผานการส ํารวจมาแลว จะอานขอความ ขอมูล อยางนอยประมาณ 200-300 ตัวอกษรแรก ของเวบ็เพจนัน้ ๆ โดยการอานนี้จะหมายรวมไปถึงอานขอความที่อยูในโครงสรางภาษา HTML ซึ่งอยูในรูปแบบของขอความที่อยูในคํ าสัง่ alt ซงเปนคํ าสัง่ภายใน TAG ค าสัง่ ของรูปภาพ

Page 27: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

แตจะไมนํ าคํ าสัง่ของ TAG อืนๆ ในภาษา HTML และคํ าสัง่ในภาษา JAVA มาใชในการคนหา วธิกีารคนหาของ Search engine ประเภทน ี้จ ะ ใหความส ําค ัญก ับการ เรยีงล ํ าด ับขอมูลกอน-หลง และความถี่ในการนํ าเสนอขอมูลนัน้ การคนหาขอมูล โดยวธิการ เชนนี้จะมคีวามรวดเรว็มาก แตมคีวามละเอียดในการจดัแยกหมวดหมูของขอมูลคอนขางนอย เนื่องจากไม ได คํ านึงถงรายละเอียดของเน้อหาเท าท่ีควร แตหากว าตองการแนวทาง ดานกวางของขอมูล และความรวดเรว็ในการคนหา วธิกีารน้ีจะใชไดผลดี

Page 28: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

138

2)Subject directories การจ ําแนกหมวดหมูขอมูล Search engine ประเภทนี้ จะจดัแบงโดยการวเิคราะหเนื้อหา รายละเอียด ของแตละเวบ็เพจ วามเีนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจดัแบงแบบนี้จะใชแรงงานคนในการพจิารณาเวบ็เพจ ซ ึ่งท ําใหการจดัหมวดหมู ขึ้นอยูกับวจิารณญาณของคนจดัหมวดหมูแตละคนวาจะจดัเก ็บขอมูลนัน้ๆ อยูในเครอืขาย ขอมูลอะไร ดังนัน้ฐานขอมูลของ Search engine ประเภทนี้จะถกูจดัแบงตามเน้ือหา กอนแลวจงึนํ ามาเปนฐานขอมูลในการคนหาตอไป การคนหาคอนขางจะตรงกับความ ตองการของผูใช และมคีวามถกูตองในการคนหาสงู เปนตนวา หากตองการหาขอมูลเกี่ยวกับ เวบ็ไซต หรอืเวบ็เพจที่นํ าเสนอขอมูลเกี่ยวกับคอมพวิเตอร Search engine ก็จะประมวลผล รายชื่อเวบ็ไซตหรอเวบ็เพจท่ีเกี่ยวกับคอมพวิเตอรลวน ๆ มาให

3)Metasearch engine จุดเดนของการคนหาดวยวธิกีารนี้ คือ สามารถเชื่อมโยง ไปยงั Search engine ประเภทอื่น ๆ และยงัมคีวามหลากหลายของขอมูล แตการคนหา ดวยวธิน้ีีมจุีดดอย คือ วธิการน้ีจะไมใหความส ําคัญกับขนาดตัวอกษรเล็กใหญ และมกัจะ ผานเลยคํ าประเภท Natural language (ภาษาพูด) ดังน ัน้หากจะใช Search engine แบบน้ี จงึควรตระหนักถงขอบกพรองเหลาน้ีดวย

2.2 การทํ างานของ Search Engine การทํ างานของ Search engine จะประกอบไปดวย 3

สวนหลักๆ คือ - Spider หรอื Web robot จะเปนตัวท่ีทํ าหนาท่ีเขาส ํ

ารวจเวบ็ไซตตางๆ แลวดึง ขอมูลเหลานัน้มาอัพเดทใสในรายการฐานขอมูล สวนมาก Spider มกัจะเขาไปอัพเดท ขอมูลเปนรายเดือน

- ฐานขอมูล (Database) เปนสวนที่เก็บรายการเวบ็ไซต ฐานขอมูลที่ดีควรจะม ีขนาดใหญเพยีงพอที่จะรองรบักับการเติบโตของเวบ็ไซต ในปจจุบนัการออกแบบฐาน ขอมูลที่ดีก็เปนสวนส ําคัญ เพราะถาฐานขอมูลออกแบบมาทํ างานชาก็ทํ าใหการรอผลนาน และจะไมไดรบัความนิยมไปในท่ีสดุ

Page 29: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

- โปรแกรม Search engine มหีนาที่รบัคํ าหรอืขอความที่ผ ูใชงานปอนเขามา แลวเขาคนหาตามเวบ็ไซตตางๆ ที่จดัเก็บไวในฐานขอมูล จากนัน้ก็จะรายงานผลเวบ็ไซต ที่คนพบใหกับผูใช การสบืคนดวยวธินี้นอกจากจะตองมรีะบบการสบืคนขอมูลที่รวดเรว็ และมปีระสทิธภิาพแลว การกลัน่กรองผลที่ได เพื่อใหตรงกับความตองการของผูใชก็เปน อีกสวนหนึ่งที่ส ําคัญของการสบืคนขอมูล

Page 30: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

139

ด ัง น ัน้ ก า ร เ ล ือ ก ใ ช เ ค ร ื่อ ง ม อื ใ น ก า ร ค น ห าจะตองเขาใจวา ขอมูลที่ตองการคนหา นัน้มลีกษณะอยางไร มขีอบขายกวางขวางหรอืแคบขนาดไหน แลวจงึเลือกใชเวบ็ไซต คนหาที่มไีวบรกิารใหตรงกับลกษณะขอมูลที่ตองการคนหา

การคนหาขอมูลดวยเวบ็ไซตคนหานัน้ เ พ ื่อใหขอบขายของการคนหาแคบเขา สามารถคนหาไดงายและรวดเรว็ขึ้น จะตองใชเวบ็ไซตการคนหาเขาชวย เชน

ค้น หา

Search WWW Searcheasyhome.in.th

Google เปนเวบ็ไซตฐานขอมูลที่ใหญมากแหงหนึ่งของโลก ในอดีตเปนบรษิัท ที่ดํ าเนินการดานฐานขอมูลเพื่อใหบรการแกเวบ็ไซตคนหาอื่น ๆ ปจจุบนัไดเปดเวบ็ไซต คนหาเอง ดวยฐานขอมูลมากกวาสามพนัลานเวบ็ไซตและเพิม่ขึ้นเร ื่อย ๆ ทกุวนั ที่เหนือ กวาผูใหบรกิารรายอื่น ๆ คือ เปนเวบ็ไซตคนหาที่สนับสนุนภาษาตาง ๆ มากกวา 80 ภาษา ทัว่โลก (รวมทัง้ภาษาไทย) และมเีคร ื่องเซริฟเวอรใหบรการในสวนตางๆ ของโลกมากถ ึง 36 ประเทศ (รวมท ัง้ ในประเทศไทย)

Page 31: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

140

เมื่อเราเป ดบราวเซอรและพมิพ URL : www.google.com ลงไปดวยระบบ ตรวจสอบภาษาของเวบ็ไซต Google เมื่อพบวาเราใชบราวเซอรบนวนิโดวภาษาไทยระบบ จะสวทิชเปาหมายมายงั www.google.co.th โดยอัตโนมติัดังภาพขางบน

Page 32: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

141 ตัวอยางการคนหาขอมูลเกี่ยวกบรถยนต ในที่นี้จะนํ าเสนอการคนหาขอมูลที่เกี่ยวกับ รถยนต จาก“ ”

เวบ็ไซตไทยที่ทํ าหนาที่ เปน Search engine โดยจะยกตัวอยางจากเวบ็ไซต Google.co.th

1. เขาสูเวบ็ไซต www.google.co.th 2. พมิพขอความท่ีตองการคนหา และกด Enter

3. คลิกเมาสเขาชมเวบ็ไซตอานขอมูลท่ีตองการ

แสดงหนาตา และรายละเอียดของเวบ็ไซตท่ีตองการ

Page 33: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

142

บรกิารคนหาของ Google แยกฐานขอมูลออกเปน 4 หมวด (ในแตละ หมวดมกีารคนหาแบบพเิศษเพิม่เติมดวย) คือ

1. เวบ็ : เปนการคนหาขอมูลจากเวบ็ไซตตางๆ ทัว่โลก 2. รูปภาพ : เปนการคนหารูปภาพหลากหลายฟอรแมตจากเวบ็ไซตตางๆทัว่โลก 3. กลุมขาว : เปนการคนหาเรื่องราวท่ีนาสนใจจากกลุมขาวตางๆ 4. สารบบเวบ็ : การคนหาขอมูลจากเวบ็ไซตที่แยกออกเปนหมวดหมู

Page 34: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

143

ใบความรูท่ี 4.3 เรื่อง การใชบรกิารจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)

จดหมายอิเล็กทรอนิกส เปนบรกิารหน่ึงในอินเทอรเน็ตท่ีคลายกับการสงจดหมาย ทางไปรษณีย เราสามารถสงขอความไปถึงผูอ่ืนในอินเทอรเน็ตได โดย E-mail ท่ีสงจะใช เวลาเพยีงไมกี่วนิาที เพื่อใหเดินทางไปถึงจุดหมายแมระยะทางจะหางกันไกลเพยีงใดก็ตาม การสง E-mail มลีักษณะเชนเด ียวก ับ กา รส งจ ดห มา ยท า ง ไ ป รษ ณ ีย ท ี่ต อ ง ม กี า รจาหนาซอง ถึงผูรบั นัน่คือการระบุที่รบ E-mail ในอินเทอรเน็ต เรยกวา E-mail address (อเมลแอดเดรส) ซ ึ่งผูใชอินเทอรเน็ตแตละคนนัน้จะม ีE-mail address เปนของตนเองที่ไมซ ําใคร

1. การสมคัร E-mail บรกิารเวบ็ไซต อีกประเภทหนึ่งที่ให บรการเกี่ยวกับการรบั

-ส งจดหมาย อิเล็กทรอนิกสนัน่คือ Web mail โดยผูใหบรการอาจจะเปนองคกรตาง ๆ เชน กระทรวง ศึกษาธกิาร และแจกจาย E-mail address ใหเฉพาะขาราชการในสงักัด บุคคลทัว่ไปไม สามารถใชไดหาก E-mail ทางการตัวท ี่เปดใหบรกิารทัว่ไป ผูใชตองสมคัรเปนสมาชกิเสยี กอนจงึจะเขาไปใชบรกิารได การสมคัร E-mail ประเภทนี้ม ี2 แบบ คือ 1.แบบเสยีคาใชจาย อาจจะเปนรายเดือน/ป มคีณุสมบติัลกูเลนมากมายไวบรการ

2.แบบบรกิารฟร ีไมเสยีคาบรกิารแตจะมกีารใหบรการความสะดวกสบายนอย กวาแบบเสยีคาใชจาย รวมทัง้มีโฆษณาสนิคา (Braner) ใน E-mail ของเรา

ในคูมอืนี้จะแนะนํ าการสมคัร E-mail แบบบรกิารฟรขีอง

Page 35: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

www.chaiyo.com ซึ่ง เปนระบบ Web mail ของคนไทย

Page 36: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

144

ตัวอยาง การสมคัร E-mail ของบรกิาร chaiyo.com

พมิพ www.chaiyo.com ท่ีชอง Address วา chaiyo.com

แลวกดปุม Enter หรอืคลิกปุม Go ก็ได

เมื่อกดปุม go หรอกดปุม Enter จะปรากฏหนาตางของบรกิาร www.chaiyo.com ดังนี้ จากนัน้จงึเร ิม่สมคัรสมาชกิใหมตามขัน้ตอนดังตอไปน้ี

1. คลิกที่น่ีเพื่อสมคัร สมาชกิใหม

Page 37: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

145

หนาตางการสมคัรสมาชกิใหม ใหอานเง่ือนไขในการใหบรการของ chaiyo.com กอน

2. คลิกปุม ยอมรบั

3. พ มิ พ ร า ยล ะ เ อ ีย ด ข อ งผ ู ส ม คั รใหครบ

4. คลิกปุม OK

Page 38: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

146

กรอกรายละเอียดใหครบทกุชอง

5. ชองนี้ส ําหรบักํ าหนดช ื่อ อ เ ม ล เ อ ง ห า กไ ม ต อ ง ก า ร ช ื่อ ท ี่ก ํ าหนดให

6. พมิพรหสัผาน

7. พมิพรหสัผานเหมอืนเดิม

อีกครัง้เพื่อยนืยนั

8.คลิกปุม Submit เมื่อกรอกรายละเอียด

ครบถวนแลว

Page 39: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

147

9. กรอบตอนรบัสมาชกิใหม

2. วธิกีารสง E-mail มขีัน้ตอนดังน้ี 1. คลิกตรงเมนู เขยีนจดหมาย 2. กรอกขอความลงในชองตามแบบฟอรมขางลางใหครบ 3. แลวกดปุม สงจดหมาย

คลิกปุม สงจดหมาย เมื่อพมิพขอความเสรจ็

เรยีบรอยแลว

หมายเหต ุ : หากมสีิง่ที่ตองสงไปดวย เชน รูปภาพ แฟมเอกสารตาง ๆ ใหคลกปุม

สงแนบไฟล เพื่อเลอกไฟลที่ตองการจะสงไปดวยกอน

Page 40: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

148

3. การรบั E-mail มขีัน้ตอนดังน้ี 1. เม ื่อ เขาสูบรกิารของ www.chaiyo.com และ

พ มิ พ ช อ ผ ใ ช แ ล ะ ร ห สั ผ า น เ ส ร จ็ เ ร ยี บ ร อ ย แ ล ว จะเขาสูหนาตางการรบัอีเมลของทาน ดังรปขางลาง

จากรายชื่อผูสงเมลใหทาน หาก ตองการอานขอความท่ีสงมาให

คลิกที่ชองหวัเรอืง

รายละเอียดเกี่ยวก ับ ผ ูสงอีเมล และผรบัอีเมล

ขอความที่สงมากับอีเมล

Page 41: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

149

ใบงานท่ี 4.1 ความรูเก่ียวกับอินเทอรเน็ตเบื้องตน

1. ทานคิดวาอินเทอรเน็ตมคีณุประโยชน และโทษ อยางไรบาง

ประโยชน โทษ

2. ทานสามารถนํ าประโยชนจากอินเทอรเน็ตไปใชในการเรยีนการสอน และใชใน ชวีติประจ ําวนัในเร ื่องใดไดบาง ใชอยางไร

Page 42: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

150

ใบงานท่ี 4.2 การสบืคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต

หวัขอการปฏิบตั 1. ใหผูเขารบัการอบรมฝกทักษะการสบืคนขอมูลตามที่

วทิยากรแนะนํ า และศึกษา เพิม่เติมจากใบความรูที่ 4.2 2. ใหผูเขารบัการอบรมสบืคนขอมูลความรูหวัขอที่นาสนใจ

จาก URL โดยตรง หรอจาก Search engine เชน เนื้อหาสาระของรายวชิาตาง ๆ สถานที่ทองเที่ยว หนวยงานราชการ ฯลฯ อยางนอย 3 เวบ็ไซต

1. หวัขอความรูที่สบืคน ชื่อเวบ็ไซต http:// ประเภท/รายละเอียด/ลักษณะเวบ็ไซตโดยยอ 2. หวัขอความรูที่สบืคน

ชื่อเวบ็ไซต http:// รายละเอียดเวบ็ไซต 3. หวัขอความรูที่สบืคน ชื่อเวบ็ไซต http:// รายละเอียดเวบ็ไซต 4. หวัขอความรูที่สบืคน ชื่อเวบ็ไซต http:// รายละเอียดเวบ็ไซต 5. หวัขอความรูที่สบืคน ชื่อเวบ็ไซต http:// รายละเอียดเวบ็ไซต

Page 43: WordPress.com · Web viewอ นเทอร เน ตเบ องต น 124 หน วยท 4 อ นเทอร เน ตเบ องต น จ านวน 6 ช วโมง

151

ใบงานท่ี 4.3 การใชบรกิารจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)

หวัขอปฏิบตั 1. ใหผูเขารบัการอบรมฝกทักษะการใชบรกิารจดหมายอิเล็กทรอนิกส ตามท่ี วทิยากรแนะนํ า และศึกษาเพิม่เติมจากใบความรูที่ 4.3 2. ระบุชื่อที่อยูจดหมายอิเล็กทรอนิกสของผูเขาอบรม (E-mail)

3. ใหผูเขาอบรมสงขอมูลหรอืขอความทางจดหมายอิเล็กทรอนิกสไปหาเพื่อน ท่ีรวมอบรมดวย หรอืวทิยากร อยางนอย 2 ชอ (ท่ีมีขอความแจงวาสงไดส ําเรจ็ แลว)

ชื่อ E-Mail ท่ีสงไปหา 1. ………………………………………………………………………… 2. ………………………………………………………………………… 3. ………………………………………………………………………… 4. ………………………………………………………………………… 5. …………………………………………………………………………