trang.nfe.go.thtrang.nfe.go.th/nfe11/UserFiles/Word/SAR 2555.doc · Web...

127
บบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บ.บบบบบบบบบบบบบ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ บ.บบบบบบบบบบบ ศศศศศศศ 2 ศศศศศศศ – ศศศศ ศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศ 92140 ศศศศศศศศ 0 7526 8395 ศศศศศศ 0 7526 8394 Website : http://trang.nfe.go.th/nfe11 E-Mail : [email protected] บ. บบบบบบ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศ 4. บบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบ 4.1 บบบบบบบบบบบบบบบบ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศ ศศศ ศศศ 27 ศศศศศศศ 2536 ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศ ศศศศศศ 1. ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ(SAR) ศศศศศศศศ 2555 ศศศศ 1

Transcript of trang.nfe.go.thtrang.nfe.go.th/nfe11/UserFiles/Word/SAR 2555.doc · Web...

6

บทที่ ๑

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

๑.ชื่อสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียน

๒.สถานที่ตั้ง

หมู่ที่ 2 ถนนตรัง – สตูล ตำบลบ้านนา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

รหัสไปรษณีย์ 92140 โทรศัพท์ 0 7526 8395 โทรสาร 0 7526 8394

Website : http://trang.nfe.go.th/nfe11 E-Mail : [email protected]

๓. สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตรัง

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

4. ประวัติความเป็นมา ของสถานศึกษา

4.1 ประวัติสถานศึกษา

ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอปะเหลียน ได้รับประกาศจัดตั้งเป็นสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อ วันที่ 27 สิงหาคม 2536 ให้มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้

1. จัดและให้บริการการศึกษานอกโรงเรียน การเพื่อส่งเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียน และ

การศึกษาตามอัธยาศัยตามความต้องการ และสภาพปัญหาของท้องถิ่น

2. จัดและประสานงานให้มีศูนย์การเรียน หน่วยจัดการศึกษานอกโรงเรียนเพื่อเป็นเครือข่ายบริหาร การศึกษานอกโรงเรียน ได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึง และส่งเสริมให้ชุมชนจัดการศึกษาของตนเองในลักษณะศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา วางแผนและบริหารการศึกษาต่อสมาชิกในชุมชน และ ระหว่างชุมชน

3. สนับสนุนสิ่งจำเป็นในด้านต่าง ๆ ในการดำเนินงานการศึกษานอกโรงเรียนของเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนการสอนและบริการแก่กลุ่มเป้าหมาย

4. กำกับดูแลตามรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกโรงเรียน

จังหวัดตรังได้แต่งตั้งให้ นายธัญญา พงศ์ภราดร อาจารย์ 2 ระดับ6 มาทำหน้าที่หัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอปะเหลียน ตามคำสั่งจังหวัดตรังที่ 94/2537 ลงวันที่ 18 มกราคม 2537 โดยใช้อาคารห้องสมุดประชาชนอำเภอประเหลียน และมีบุคลากรในขณะนั้น จำนวน 4 คน ดังนี้

1. นายธัญญา พงศ์ภราดร

หัวหน้าศูนย์ฯ

2. นายวินัย สุเหร็น

นักการภารโรง

3. นางวาสนา ทองเหมือน

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

4. นายสัญชาติ เทพสุวรรณ

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอปะเหลียน ได้ย้ายสำนักงานจากห้องสมุดประชาชนอำเภอปะเหลียน มาอยู่ตามสถานที่ปัจจุบัน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2544 โดยขอใช้อาคารเรียนโรงเรียนมิตรภาพที่ 147 (ยุบ) ตำบลบ้านนา จำนวน 3 ห้องเรียน ขนาด 243 ตารางเมตร จากองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนา

ต่อมาสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ได้แต่งตั้ง นายธัญญา พงศ์ภราดร เป็นผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอปะเหลียน และได้ย้ายไปปฏิบัติราชการที่ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองตรัง และได้แต่งตั้ง นางอรอุษา แสนเดช ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองตรัง ไปเป็น ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอปะเหลียน ตามคำสั่ง สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ 710/2548 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2548

เมื่อมี พรบ.การส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 125 ตอน 41 ก เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2551 มีผลให้ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอปะเหลียน เปลียนชื่อเป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียนและตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาเปลี่ยนเป็น ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียนในปัจจุบัน นางสาวอัจฉรา เชียงสอน เป็นผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียน และมี บุคลากร ประเภทต่างๆ รวม 19 คน โดยจำแนกได้ดังต่อไปนี้ คือ

1. ข้าราชการครู

1 คน

2. ข้าราชการพลเรือน

1 คน

3. ลูกจ้างประจำ

1 คน

4. พนักงานราชการ (ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน) 3 คน

5. พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)10 คน

6. ครูสอนคนพิการ

2 คน

บุคลากรจำแนกประเภท เพศ และวุฒิการศึกษา

ประเภท

เพศ

วุฒิการศึกษา

ชาย

หญิง

ผู้บริหาร

บรรณารักษ์

ครู

ลูกจ้างประจำ

พนักงานราชการ (ครู อาสาฯ)

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

ครูสอนคนพิการ

1

1

1

1

1

1

2

9

2

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

ปริญญาตรี

ประกาศนียบัตรการศึกษา

ตอนต้น (ปกศ.ต้น)

ปริญญาตรี,ปริญญาโท

ปริญญาตรี,ปริญญาโท

ปริญญาตรี

รวม

19 คน

ข้าราชการครู มีจำนวน 2 คน

นางสาวอัจฉรา เชียงสอน

ผู้บริหารสถานศึกษา

ระดับการศึกษา ปริญญาโทวิชาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

นางสาวทิวาวรรณ พิทักษ์จินดา ครู คศ.1

ระดับการศึกษา ปริญญาตรีวิชาเอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป

ข้าราชการพลเรือน มีจำนวน 1 คน

นางวัชรี นายโท

บรรณารักษ์ชำนาญการ

ระดับการศึกษาปริญญาตรี วิชาเอก บรรณารักษศาสตร์

ลูกจ้างประจำ มีจำนวน 1 คน

นายวินัย สุเหร็น

พนักงานพิมพ์ดีด 2

ระดับการศึกษา

ประกาศนียบัตรครูตอนต้น

พนักงานราชการ(ครูอาสาฯ) มีจำนวน 3 คน

1. นายขจรพงศ์ ศิริสม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

ระดับการศึกษาปริญญาตรีวิชาเอก สุขศึกษา

ระดับการศึกษาปริญญาโทวิชาเอก การบริหารการศึกษา

2. นางไพรัตน์ จันทร์เกตุครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

ระดับการศึกษาปริญญาตรีวิชาเอก การจัดการทั่วไป และ การศึกษานอกระบบ

3. นางอิสรา นุชนุสิทธิ์ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

ระดับการศึกษาปริญญาตรีวิชาเอก โภชนาการชุมชน และการศึกษานอกระบบ

ระดับการศึกษาปริญญาโทวิชาเอก การบริหารการศึกษา

ครูสอนคนพิการ มีจำนวน 2 คน

1.นางสาวดาวทิพย์ จำนงค์ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอกการบริหารธุรกิจแขนงวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

2.นางสาวสุดาวัลย์ ชายภักตร์ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี วิชาเอกการบริหารธุรกิจแขนงวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล) มีจำนวน 10 คน ดังนี้

ที่

ชื่อ - สกุล

วุฒิการศึกษา

กศน.ตำบล

ที่ตั้ง

1

นางจิราวรรณ แซ่จอง

-คบ.(เทคโนโลยีทางการศึกษา)

ปะเหลียน

ม. 5 ต.ปะเหลียน

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

2

นางสาวสุกัญญา ใจสมุทร

-ศศ.บ.(บริหารรัฐกิจ)

-ศษ.บ.(การศึกษานอกระบบ)

ท่าข้าม

ม.5 ต.ท่าข้าม

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

3

นางกรรตวรรณ รอดเข็ม

-ศษ.บ. (การศึกษานอกระบบ)

-ศษ.ม. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต)

บ้านนา

ม.2 ต.บ้านนา

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

4

นางวีณา ฉิมเรือง

-ศศ.บ.(บริหารรัฐกิจ)

-ศษ.บ.(การศึกษานอกระบบ)

แหลมสอม

ม.1 ต.แหลมสอม

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

5

นายชาญชัย เก้าเอี้ยน

วท.บ.(เทคโนโลยีทางการเกษตร)

ทุ่งยาว

ม.1 ต.ทุ่งยาว

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

6

นางสาวจรรยา สุวรรณรัตน์

-บธ.บ.(บริหารธุรกิจ)

-ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู

-ศษ.ม. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต)

บางด้วน

ม.4 ต.บางด้วน

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

7

นางสาวอริสา ชูแก้ว

-บธ.บ. (บริหารธุรกิจ)

-ศษ.บ.(การศึกษานอกระบบ)

สุโสะ

ม. 9 ต.สุโสะ

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

8

นางกอบกาญจน์ พิชัยรัตน์

-ศศ.บ.(ศิลปศาสตร์)

-ศษ.บ.(การศึกษานอกระบบ)

ลิพัง

ม.5 ต.ลิพัง

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

9

นางสาวเพ็ญประภา จันทร์กลัด

-คบ.(คอมพิวเตอร์ศึกษา)

เกาะสุกร

ม.1 ต.เกาะสุกร

อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

10

นางสาวทิพย์สุวรรณ เส็นฤทธิ์

-อส.บ.(อุตสาหกรรมศาสตร์)

-ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู

ท่าพญา

ม.4 ต.ท่าพญา อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

สัดส่วนของจำนวนผู้รับบริการ : ครู 60 : 1 คน (เฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐาน)

สัดส่วนของผู้รับบริการ : กลุ่ม 20 : กลุ่ม (กิจกรรม กศน. อื่น ๆ)

มีครูทุก กศน.ตำบล ในทุกระดับการศึกษา

4.2 ข้อมูลชุมชน/สภาพทั่วไปของอำเภอปะเหลียน

สภาพทั่วไปของอำเภอปะเหลียน

ที่ว่าการอำเภอปะเหลียน ตั้งอยู่ที่บ้านท่าข้าม หมู่ที่ 1 ตำบลท่าข้าม ห่างจากตัวจังหวัดตรังไปทางทิศใต้ 44 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 404 (สายตรัง-ปะเหลียน)และอยู่ห่างจากกรุงเทพ 872 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 24.34 ของพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัดตรัง ซึ่งถือว่าเป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุด อำเภอมีฐานะเป็นอำเภอชั้นสองมีพื้นที่ 1,035.13 ตารางกิโลเมตร(646,956 ไร่)

อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดต่ออำเภอย่านตาขาว

ทิศใต้ ติดต่ออำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล และทะเลอันดามัน

ทิศตะวันออก ติดต่อเทือกเขาบรรทัดอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมดจังหวัดพัทลุง

ทิศตะวันตก ติดต่ออำเภอหาดสำราญ

ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ

ทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่ราบและเนินสูง ตอนกลางเป็นที่ราบ ส่วนตอนใต้และตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่ราบชายทะเล ภูมิอากาศ เป็นแบบมรสุม ปีหนึ่งมี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน

การศึกษา

1. โรงเรียนประถมศึกษา

จำนวน 42 แห่ง

2. โรงเรียนมัธยมศึกษาและขยายโอกาส

จำนวน 3 แห่ง

3. โรงเรียนเอกชน

จำนวน 3 แห่ง

ศาสนา

มีผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 46.40 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 53.46 และศาสนาอื่นๆ

ร้อยละ 0.14

1. วัด

10 แห่ง

2. สำนักสงฆ์

5 แห่ง

3. ที่พักสงฆ์

3 แห่ง

4. โรงเรียนสอนพระปริยัติธรรม 1 โรง

5. มัสยิด

37 แห่ง

6. ศาลเจ้า

5 แห่ง

ศิลปวัฒนธรรม

ลิเกป่า

1 คณะ

รองแง็ง

1 คณะ

มโนราห์

1คณะ

แหล่งน้ำจืดที่สำคัญ

1. แม่น้ำปะเหลียน เป็นหนึ่งในสองแม่น้ำสายสำคัญของจังหวัดตรัง (อีกสายคือแม่น้ำตรัง) ต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดตรัง มีความยาวประมาณ 58 กิโลเมตร มีลำคลองต่างๆ ไหลมาบรรจบกัน 7 สาย คือ คลองปะเหลียน คลองลำแคลง คลองลำปลอก คลองลำพิกุล คลองบางด้วน คลองวน และคลองไหนุ้ย (คลองโพรงจระเข้) แม่น้ำไหลจากทิศตะวันออกของจังหวัดตรัง ในเขตอำเภอปะเหลียนผ่านอำเภอปะเหลียนแล้วไหลลงสู่ทะเลอันดามัน ที่ปากน้ำปะเหลียน

2. คลองลิพัง (คลองเขาติง) มีต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาบรรทัดตอนล่าง อยู่ในเขตตำบลลิพัง มีความยาวประมาณ 15 กิโลเมตร ปัจจุบันใช้เป็นแหล่งน้ำดิบ มาทำเป็นน้ำประปา ของอำเภอปะเหลียน

การคมนาคม

ทางบก

1. ปะเหลียน-ตรัง ระยะทาง 44 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 404

2. ปะเหลียน-สตูล ระยะทาง 109 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 416

ทางน้ำ

· ปะเหลียน-เกาะสุกร ระยะทาง 7 กิโลเมตร

ประเพณีท้องถิ่น

เทศกาลส่งท้ายปีเก่า-ต้อนรับปีใหม่ที่บ้านท่าข้าม มีกิจกรรมแปลกอย่างหนึ่ง คือ กลุ่มเยาวชน ประชาชน กลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งหลังจากร่วมฉลองกันตั้งแต่ตอนหัวค่ำแล้ว ตอนเที่ยงคืนก็จะเริ่มออกเดินในตลาด ร้องเพลงอวยพรปีใหม่ให้แก่ชาวบ้าน บ้านไหนเมื่อได้ยินเพลงอวยพรปีใหม่ก็จะเปิดประตูต้อนรับ มีการให้เครื่องดื่ม ขนมหรือผลไม้เป็นของขวัญปีใหม่ เป็นสิ่งตอบแทนแก่กลุ่มเยาวชนเหล่านั้น

งานวันเกิดปู่หลวง (ซำปอกง) ตรงกัน 27 ค่ำ เดือน 7 ตามปฏิทินจีน มีการจัดงานไว้ที่บริเวณวัดภูมิประสิทธิ์ ตำบลท่าข้าม พระซำปอกงเป็นพระที่มาจากเมืองจีน ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของชาวไทย ในปี พ.ศ. 2484 มีการเชิญดวงวิญญาณท่านมาประดิษฐานที่วัดภูมิประสิทธิ์ เพื่อให้ผู้ที่เลื่อมใสศรัทธามีโอกาสได้ไหว้ท่าน

ถือศีลกินเจ ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ ถึงขึ้น 8 ค่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินจีน ซึ่งถือเป็นประเพณีของชาวจังหวัดตรัง ที่สำคัญที่ชาวอำเภอปะเหลียนก็ยึดถือและปฏิบัติด้วย

ลอยกระทง เนื่องจากอำเภอปะเหลียนมีแม่น้ำลำคลองมากมาย งานประเพณีลอยกระทงซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 จึงเป็นประเพณีที่จัดสืบต่อกันมาช่วงยาวนาน

สถานที่ท่องเที่ยว

ลำดับ

ชื่อสถานที่ท่องเที่ยว

สถานที่ตั้ง

ระยะทางจากจังหวัด (ก.ม.)

ระยะทางจากอำเภอ (ก.ม.)

1

น้ำตกโตนเต๊ะ

หมู่ที่ 2 ตำบลปะเหลียน

48

33

2

น้ำตกโตนตก

หมู่ที่ 2 ตำบลปะเหลียน

49

34

3

น้ำตกช่องเขาบรรพต

หมู่ที่ 11 ตำบลปะเหลียน

45

30

4

น้ำตกเจ้าพะ

หมู่ที่ 2 ตำบลปะเหลียน

53

30

5

ถ้ำเขาติง

หมู่ที่ 5 ตำบลลิพัง

55

17

6

แหลมหยงสตาร์

หมู่ที่ 4 ตำบลท่าข้าม

50

6

7

เกาะสุกร

ตำบลเกาะสุกร

51

17

8

เกาะเหลาเหรียง

ตำบลเกาะสุกร

56

12

9

เกาะเภตรา

ตำบลเกาะสุกร

54

10

10

สวนราษฎร์รื่นรมย์

หมู่ที่ 1 ตำบลท่าข้าม

44

-

สถานีน้ำมันมาตรฐาน

1. ตำบลท่าพญา 1 แห่ง

2. ตำบลบ้านนา 2 แห่ง

3. ตำบลสุโสะ

1 แห่ง

4. ตำบลทุ่งยาว 3 แห่ง

การเมืองการปกครอง

อำเภอปะเหลียน แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. ตามพระราชบัญญัติการปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2457 มี 10 ตำบล 86 หมู่บ้าน ดังนี้

1. ตำบลเกาะสุกร มี 4 หมู่บ้าน

2. ตำบลท่าข้าม

มี 9 หมู่บ้าน

3. ตำบลทุ่งยาว

มี 7 หมู่บ้าน

4. ตำบลท่าพญามี 4 หมู่บ้าน

5. ตำบลบางด้วน มี 6 หมู่บ้าน

6. ตำบลบ้านนา

มี 12 หมู่บ้าน

7. ตำบลปะเหลียนมี 15 หมู่บ้าน

8. ตำบลลิพัง

มี 7 หมู่บ้าน

9. ตำบลสุโสะ

มี 11 หมู่บ้าน

10.ตำบลแหลมสอมมี 11 หมู่บ้าน

จำนวนประชากรและครัวเรือน

ประชากรทั้งหมด 64,267 คน ชาย 32,471 คน หญิง 31,769 คน

ประชากรโดยเฉลี่ย 58 คน/ตารางกิโลเมตร อัตราการเพิ่มของประชากรโดยเฉลี่ยร้อยละ 1.20

2.การปกครองส่วนท้องถิ่น มี 1 ส่วนอำเภอ และ 2 เทศบาล ดังนี้

1. ส่วนอำเภอปะเหลียน

2. เทศบาลตำบลท่าข้าม

3. เทศบาลตำบลทุ่งยาว

4.3 ทำเนียบผู้บริหาร

ลำดับที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่ง

ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง

1

นายธัญญา พงศ์ภราดร

ผู้อำนวยการ

2539 - 2548

2

นางอรอุษา แสนเดช

ผู้อำนวยการ

2548 - 2554

3

นางสาวอัจฉรา เชียงสอน

ผู้อำนวยการ

2554 – ปัจจุบัน

๕. โครงสร้างการบริหารของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียนมีโครงสร้างการบริหาร 3 กลุ่มงานคือ

๖.งบประมาณที่ได้รับ

๖.๑ เงินงบประมาณ ปี 2555 ได้รับงบประมาณ จำนวน 2,230,356 บาท

6.1.1 แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา

- ผลลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ จำนวน 627,160 บาท

- ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัย (ห้องสมุดฯ)จำนวน 159,060 บาท

6.1.2 แผนงาน สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ จำนวน 1,444,132 บาท

๗. การใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ๒๕๕5

งาน/โครงการ/กิจกรรม

งบประมาณเบิกจ่าย

จำนวน(บาท)

จำนวน(บาท)

1.แผนงาน สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ

งบเงินอุดหนุน

1. การศึกษาพื้นฐานนอกระบบ

1.1 จัดหาหนังสือแบบเรียน

1.2 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

1.3 ค่าตอบแทนครูสอนบุคคลพิการฯ

1.4 บริหารรายหัว

1,444,132

342,120

329,083

162,171

610,758

342,120

329,083

162,171

610,758

2.แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา

ผลลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ

งบดำเนินงาน

1.งบประจำ(บริหาร ฯลฯ)

2.งบจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ

3.การศึกษาเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง

4 การจัดการเรียนเพื่อผู้สูงอายุ

5.เบี้ยประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

6.การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

งบรายจ่ายอื่น

1.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

2.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพนโยบายส่งเสริมสินค้า OTOP

3.จัดกิจกรรมชุมชนรักการอ่าน

4.จัดทำสื่อรายวิชาเลือก

5.จัดซื้อหนังสือสู่ห้องสมุด

202,560

13,000

16,500

120,000

15,000

3,060

35,000

424,600

380,600

130,000

5,000

4,000

22,000

13,000

16,500

120,000

15,000

3,060

35,000

380,600

130,000

5,000

4,000

22,000

ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัย

(ห้องสมุดประชาชน)

1.บริหารผลผลิตที่ 5

2.ค่าจัดซื้อหนังสือพิมพ์ กศน.ตำบล

3.ค่าสาธารณูปโภค

4.ค่าวารสารและหนังสือพิมพ์ห้องสมุด

5.สื่อ กศน.ตำบล

6.จัดกิจกรรม สำหรับ กศน.ตำบล

7.จัดซื้อหนังสือห้องสมุด

159060

30,300

21,300

6,000

194,760

30,000

12,000

40,000

30,300

21,300

6,000

194,760

30,000

12,000

40,000

8. สิ่งอำนวยความสะดวก

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียน ได้จัดหาทรัพยากรต่าง ๆ ให้เพียงพอต่อความต้องการในการให้บริการแก่ประชาชนในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย บุคลากร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ รวมถึงการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรเพื่อให้ มีความสามารถในการปฏิบัติงาน ที่ได้รับมอบหมาย อย่างสร้างสรรค์ ดังนี้

- คอมพิวเตอร์ สำหรับใช้ประมวลผลการดำเนินงาน และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ นักศึกษาหลักสูตรขั้นพื้นฐาน จัดเก็บข้อมูล ด้านต่าง ๆ ตลอดจนงานธุรการ และงานห้องสมุดประชาชน จำนวน 13 เครื่อง (กศน.ตำบล 6 เครื่อง)

- คอมพิวเตอร์สำหรับบริการนักศึกษาประชาชนทั่วไป "โครงการจัดตั้งศูนย์ การเรียนรู้ ICT ชุมชนเพื่อพ่อหลวง" 16 เครื่อง มีระบบโปรแกรม windows 7 Microsoft office 2010

- มีระบบโปรแกรมการบริหาร ต่าง ๆ เช่น โปรแกรม ทะเบียนนักศึกษา โปรแกรมการบริหารงบประมาณ โปรแกรมพัสดุ โปรแกรมระบบบริหารงานบุคคลากร

- เครื่องพิมพ์ ระบบเลเซอร์ จำนวน 5 เครื่อง(กศน.ตำบล 2 เครื่อง)

- เครื่องพิมพ์ ระบบอิงเจ็ท จำนวน 13 เครื่อง (ห้องสมุด 1 เครื่อง)กศน.ตำบล 10 เครื่อง

- โทรศัพท์ โทรสาร จำนวน 1 เลขหมาย

- โทรศัพท์

จำนวน 2 เลขหมาย (ห้องสมุด 1 เลขหมาย)

- โทรศัพท์เคลื่อนที่ จำนวน 1 เลขหมาย

- อินเตอร์เน็ตระบบสัญญาณดาวเทียม จำนวน 3 ชุด

- เครื่องรับโทรทัศน์ จำนวน 3 เครื่อง (ห้องสมุด 1 เครื่อง)

- เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม จำนวน 11 ชุด(กศน.ตำบล 10 เครื่อง)

- เครื่องเล่นแผ่น(เครื่องเล่น ดี วี ดี) จำนวน 12 เครื่อง(กศน.ตำบล 10 เครื่อง

9. แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย

9.1 แหล่งเรียนรู้

9.1.1 กศน.ตำบล

ชื่อ กศน.ตำบล

ที่ตั้ง

ผู้รับผิดชอบ

กศน.ตำบลบ้านนา

หมู่ที 2 ตำบลบ้านนา

นางกรรตวรรณ รอดเข็ม

กศน.ตำบลบางด้วน

หมู่ที่ 4 ตำบลบางด้วน

นางสาวจรรยา สุวรรณรัตน์

กศน.ตำบลแหลมสอม

หมู่ที่ 1 ตำบลแหลมสอม

นางวีณา ฉิมเรือง

กศน.ตำบลปะเหลียน

หมู่ที่ 5 ตำบลปะเหลียน

นางจิราวรรณ แซ่จอง

กศน.ตำบลท่าข้าม

หมู่ที่ 5 ตำบลท่าข้าม

นางสาวสุกัญญา ใจสมุทร

กศน.ตำบลลิพัง

หมู่ที่ 5 ตำบลลิพัง

นางกอบกาญจน์ พิชัยรัตน์

กศน.ตำบลเกาะสุกร

หมู่ที่ 4 ตำบลเกาะสุกร

นางสาวเพ็ญประภา จันทร์กลัด

กศน.ตำบลสุโสะ

หมู่ที่ 9 ตำบลสุโสะ

นางสาวอริสา ชูแก้ว

กศน.ตำบลทุ่งยาว

หมู่ที่ 2 ตำบลทุ่งยาว

นายชาญชัย เก้าเอี้ยน

กศน.ตำบลท่าพญา

หมู่ที่ 4 ตำบลท่าพญา

นางสาวทิพย์สุวรรณ เส็นฤทธิ์

9.1.2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความสามารถและประสบการณ์

ที่อยู่

นายตาบส์ ใจสมุทร

มีความรู้ความสามารถในด้านการรักษาด้วยยาสมุนไพร

เลขที่ 1 หมู่ที่ 3 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

นายปริก นาคสุวรรณ

มีความรู้ความสามารถในด้านการทำไม้กวาด

หมู่ที่ 3 ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

นายณรงค์ สุทธิ์วงค์

มีความรู้ความสามารถในด้านการสานสุ่มไก่

เลขที่ 102/5 หมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

นางสาวริน เทศนอก

มีความรู้ความสามารถทางด้านการจักสาน สานเสื่อจากใบเตยลวดลายต่างๆ

เลขที่ 17 หมู่ที่ 3 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

นายรวย คงสี

มีความรู้ความสามารถในด้านการแสดงหนังตะลุงและขับกลอนสด

เลขที่ 79 หมู่ที่ 3 ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

นางลิฟะ นุ้ยดี

มีความรู้ความสามารถในด้านการจักสานเสื่อละหมาดใบเตย

ตำบลเกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

นายตาด รองเดช

มีความรู้ความสามารถในด้านการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากไม้ การจักสาน

เลขที่ 135/1 หมู่ที่ 9 ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

9.1.3 แหล่งเรียนรู้อื่น

ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น

ประเภทแหล่งเรียนรู้

ที่ตั้ง

น้ำตกโตนเต๊ะ

ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ 2 ตำบลปะเหลียน

น้ำตกโตนตก

ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ 2 ตำบลปะเหลียน

น้ำตกช่องเขาบรรพต

ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ 11 ตำบลปะเหลียน

น้ำตกเจ้าพะ

ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ 2 ตำบลปะเหลียน

ถ้ำเขาติง

ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ 5 ตำบลลิพัง

แหลมหยงสตาร์

ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ 4 ตำบลท่าข้าม

เกาะสุกร

ธรรมชาติ และวัฒนธรรม

ตำบลเกาะสุกร

เกาะเหลาเหรียง

ทรัพยากรธรรมชาติ

ตำบลเกาะสุกร

เกาะเภตรา

ทรัพยากรธรรมชาติ

ตำบลเกาะสุกร

สวนราษฎร์รื่นรมย์

สวนราษฎร์รื่นรมย์

หมู่ที่ 1 ตำบลท่าข้าม

มัสยิด

ศาสนสถาน

ทุกตำบล

วัด

ศาสนสถาน

ทุกตำบล

ศูนย์รวมวิสาหกิจชุมชน

กลุ่มพัฒนาอาชีพ

หมู่ที่ 4 ต.สุโสะ

กลุ่มทำผ้าบาติก

กลุ่มพัฒนาอาชีพ

หมู่ที่ 2 ต.ปะเหลียน

กลุ่มติดตากล้ายาง

กลุ่มพัฒนาอาชีพ

หมู่ที่ 6 ต.ทุ่งยาว

ห้องสมุดครูบำรุง ใจสมุทร

ห้องสมุด

หมู่ที่ 2 ตำบลท่าข้าม

9.2 ภาคีเครือข่าย

ชื่อ ภาคีเครือข่าย

องค์การบริหารส่วนตำบล

ทุกตำบล อำเภอปะเหลียน

สาธารณสุขอำเภอปะเหลียน

ตำบลท่าข้าม

ที่ว่าการอำเภอปะเหลียน

ตำบลท่าข้าม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน สถานีอนามัยตำบล

ทุกตำบล อำเภอปะเหลียน

โรงพยาบาลปะเหลียน

หมู่ที่ 5 ตำบลท่าข้าม

เทศบาลตำบลท่าข้าม

ตำบลท่าข้าม

เทศบาลตำบลทุ่งยาว

ตำบลทุ่งยาว

โรงเรียนปะเหลียนผดุงศิษย์

ตำบลสุโสะ

โรงเรียนบ้านห้วยม่วง

ตำบลบ้านนา

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ทุกตำบล

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดตรัง

อำเภอเมืองตรัง

เกษตรอำเภอปะเหลียน

ตำบลท่าข้าม

คณะกรรมการสถานศึกษา

ตำบลบ้านนา

ผู้นำท้องถิ่น

ทุกหมู่บ้าน

10. เกียรติยศ ชื่อเสียง และผลงาน/โครงการดีเด่นของสถานศึกษา

10.1 ใบประกาศเกียรติคุณ ในการบริหารจัดการ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ นักศึกษามาสอบปลายภาค 100 เปอร์เซ็นต์

10.2 โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ เผ่าซาไก (มันนิ)

10.3 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

10.2.1 กลุ่มทำผ้าบาติก หมู่ที่1 ตำบลปะเหลียน , หมู่ที่ 3 ตำบลบางด้วน

10.2.2 กลุ่มทำขนมหมู่ที่ 9 ตำบลท่าข้าม และหมู่ที่ 4 ตำบลท่าพญา

10.4 โครงการนโยบายส่งเสริมสินค้า OTOP MINI MBA ตำบลท่าข้าม ตำบลท่าพญา

๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกที่ผ่านมา

๑๑.๑ ผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ ๒๕๕4

๑) ผลการประเมินคุณภาพภายในภาพรวมของสถานศึกษา

มาตรฐาน

รายละเอียดมาตรฐาน

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน ฯ โดยต้นสังกัด

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ ๑

ปรัชญา วิสัยทัศน์

พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

4.66

ดีมาก

5

ดีมาก

มาตรฐานที่ ๒

การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4.14

ดี

4.40

ดี

มาตรฐานที่ ๓

การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4.60

ดีมาก

4.60

ดีมาก

มาตรฐานที่ ๔

การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

4.75

ดีมาก

5

ดีมาก

มาตรฐานที่ ๕

การบริหารจัดการ

4.50

ดี

4

ดี

มาตรฐานที่ ๖

การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย

4.50

ดี

5

ดีมาก

ภาพรวมของสถานศึกษา

4.52

ดีมาก

4.67

ดีมาก

2) ผลการประเมินคุณภาพภายในรายมาตรฐาน

มาตรฐานที่ ๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน ฯ โดยต้นสังกัด

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต ๑.๑

ปรัชญา วิสัยทัศน์ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์การดำเนินงาน สอดคล้องกัน

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๑.๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ครอบคลุมทุกพันธกิจ

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๑.๓

การกำกับติดตามการดำเนินงานเป็นไปตามแผนและนำผลไปใช้ในการพัฒนา

4

ดี

5

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐาน ๑

4.66

ดีมาก

5

ดีมาก

มาตรฐานที่ ๒ การศึกษานอกระบบและการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน ฯ โดยต้นสังกัด

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต ๒.๑

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๒.๒

การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรและกิจกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียน

4

ดี

4

ดี

ต ๒.๓

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

4

ดี

5

ดีมาก

ต ๒.๔

ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ตามหลักการจัดการศึกษานอกระบบ

4

ดี

5

ดีมาก

ต ๒.๕

คุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษา

4

ดี

4

ดี

ต ๒.๖

ความรู้ความสามารถของผู้สำเร็จการศึกษานอกระบบ

4

ดี

4

ดี

๒.๗

คุณภาพของผู้เรียน/ผู้สำเร็จการศึกษานอกระบบ

4

ดี

3.85

ดี

ภาพรวมมาตรฐาน ๒

4.14

ดี

4.40

ดี

มาตรฐานที่ ๓ การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน ฯ โดยต้นสังกัด

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต ๓.๑

การพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของท้องถิ่น

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๓.๒

สื่อและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๓.๓

ครูและผู้สอนมีความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๓.๔

คุณภาพครูและผู้สอน

4

ดี

4

ดี

ต ๓.๕

คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นไปตามที่หลักสูตรกำหนด

4

ดี

4

ดี

ภาพรวมมาตรฐาน ๓

4.60

ดีมาก

4.60

ดีมาก

มาตรฐานที่ ๔ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน ฯ โดยต้นสังกัด

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต ๔.๑

สื่อและแหล่งการเรียนรู้มีหลากหลาย

เพียงพอ และตอบสนองกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

4

ดี

5

ดีมาก

ต ๔.๒

กระบวนการจัดการที่มีคุณภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๔.๓

คุณภาพของบุคลากรในการจัดการศึกษา

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๔.๔

ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการให้บริการระดับดี

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐาน ๔

4.75

ดีมาก

5

ดีมาก

มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน ฯ โดยต้นสังกัด

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต ๕.๑

ผู้บริหารมีสมรรถนะในการบริหารองค์กร

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๕.๒

คุณภาพของการบริหารจัดการ

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๕.๓

คุณภาพของการพัฒนาบุคลากร

4

ดี

4

ดีมาก

ต ๕.๔

คุณภาพการศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนางานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย

4

ดี

3

พอใช้

ต ๕.๕

มีระบบประกันคุณภาพภายใน

5

ดีมาก

4

ดี

ต ๕.๖

การจัดระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ

4

ดี

3

พอใช้

ภาพรวมมาตรฐาน ๕

4.50

ดี

4

ดีมาก

มาตรฐานที่ ๖ การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน ฯ โดยต้นสังกัด

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต ๖.๑

การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

5

ดีมาก

5

ดีมาก

ต ๖.๒

การสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

4

ดี

5

ดีมาก

รวมทั้งสิ้นในมาตรฐานที่ ๖

4.50

ดี

5

ดีมาก

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

จากการประเมินตนเอง

การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด

1.การนำแนวทางในการรับการประเมินคุณภาพภายนอกมาใช้ในการดำเนินงานจะช่วยทำให้การดำเนินงานมีคุณภาพมากยิ่งขึ้นมีการนำปัญหาอุปสรรคมาระดมความคิดเห็น

2.ในการวางแผนดำเนินงานยึดหลัก PDCA มาช่วยในการบริหารจัดการการแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจนจะช่วยให้การบริหารจัดการงานเป็นไปด้วยความรวดเร็วและเป็นไปตามวัตถุประสงค์

3.ทำความเข้าใจให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบ และให้เห็นถึงความสำคัญของงานประกันคุณภาพ และความตั้งใจในการทำงานให้เกิดขึ้น

4.การนิเทศติดตามผลเป็นสิ่งที่จำเป็นที่ควรจะต้องมีทุกกิจกรรมและในระหว่างนิเทศติดตามผลผู้นิเทศควรให้คำแนะนำเพิ่มเติมเพื่อช่วยในการพัฒนาและปรับปรุงงานนั้นๆ

5.ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาในด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้และพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและครูเพิ่มขึ้น

1.ควรมีการพาผู้เรียนไปศึกษาเพิ่มเติมที่แหล่งการเรียนรู้ ให้มากกว่าเดิม และมีการบันทึกเอกสาร การประเมินผล และนำผลไปพัฒนาอย่างเป็นระบบ

2.ควรมีงานวิจัยของสถานศึกษา อย่างน้อยปีละ 2เรื่อง

3. ควรมีการติดตามผลผู้เรียนที่จบหลักสูตรทั้งขั้นพื้นฐาน และการศึกษาต่อเนื่อง โดยมีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง ตามหลักสถิติที่มีความน่าเชื่อถือ

4.สนับสนุนให้ภูมิปัญญา/ภาคีเครือข่าย เข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกอบรมด้านคุณธรรม จริยธรรมแก่นักศึกษา

5.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ควรมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในจังหวัดให้เกิดประโยชน์ เช่น สอนวิทยาศาสตร์ ที่ว่าด้วยเรื่อง Cell ควรไปใช้แหล่งเรียนรู้ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดตรัง

6.ในการสรุปผลการดำเนินงานต่างๆ เช่น รายงานผลการอบรม /รายงานผลการนิเทศควรมีการสรุปปัญหาอุปสรรคให้ชัดเจน และนำเสนอต่อผู้บริหาร เพื่อการปรับปรุงพัฒนา แก้ไขให้ดียิ่งขึ้น

7.ควรมีการประชาสัมพันธ์ กลุ่มการศึกษาต่อเนื่องที่นำผลไปใช้ในการประกอบอาชีพได้จริง เช่น กลุ่มคนพิการตำบลปะเหลียน /กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง และกลุ่มพัฒนาอาชีพ หมู่ 5 ตำบลท่าข้าม ผ่านทางเว็บไซด์ของอำเภอ

8.ควรมีการวิเคราะห์ผลการประเมินการจัดการเรียนรู้ของครู และนำไปใช้พัฒนาระบบการเรียนการสอน

11.2 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก

สถานศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก ระหว่างวันที่ 20-22 มิถุนายน 2552

1) ผลการประเมินคุณภาพภายนอกภาพรวมของสถานศึกษา

มาตรฐานที่

รายละเอียดมาตรฐาน

ผลการประเมิน

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

1

ปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนการจัดการศึกษา

3.33

ดี

2

การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ

2.67

พอใช้

3

การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต

3.50

ดีมาก

4

การบริหารจัดการ

3.50

ดีมาก

5

การประกันคุณภาพภายใน

3.00

ดี

ภาพรวมของสถานศึกษา

3.20

ดี

2) ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรายมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 ปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนการจัดการศึกษา

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 1.1

สถานศึกษามีการกำหนดปรัชญา วัตถุประสงค์และกลยุทธ์

4

ดีมาก

ต 1.2

สถานศึกษามีแผนการจัดการศึกษา รวมทั้งมีการกำหนด ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนอย่างครบถ้วน

3

ดี

ต 1.3

สถานศึกษาดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต

3

ดี

ภาพรวมมาตรฐาน 1

3.33

ดี

มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 2.1

คุณภาพของหลักสูตร

3

ดี

ต 2.2

คุณภาพของครู

3

ดี

ต 2.3

ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู

4

ดีมาก

ต 2.4

คุณภาพของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

3

ดี

ต 2.5

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

3

ดี

ต 2.6

สุขภาวะและสุนทรียภาพของผู้เรียน

3

ดี

ต 2.7

ความรู้ความสามารถและผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน

3

ดี

ต 2.8

คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา

1

ปรับปรุง

ต 2.9

ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์

1

ปรับปรุง

ภาพรวมมาตรฐาน 2

2.67

ดี

มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 3.1

คุณภาพของหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต

4

ดีมาก

ต 3.2

ผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิตเป็นไปตามเป้าหมาย

4

ดีมาก

ต 3.3

ผู้เข้ารับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต

3

ดี

ต 3.4

คุณภาพของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อการพัฒนาตนเองและส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

3

ดี

ภาพรวมมาตรฐาน 3

3.50

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 การบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 4.1

คุณภาพของแผนพัฒนาบุคลากร

4

ดีมาก

ต 4.2

คุณภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ

3

ดี

ต 4.3

ความสำเร็จในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

3

ดี

ต 4.4

คุณภาพของการบริหารจัดการ

4

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐาน 4

3.50

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 การประกันคุณภาพภายใน

ตัวบ่งชี้

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 5.1

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต มีการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริหาร

3

ดี

ต 5.2

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต มีกระบวนการประกันคุณภาพที่ครบวงจร

2

พอใช้

ต 5.3

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต มีการจัดทำรายงานการประเมินตนเองและการใช้ผลการประเมินตนเองในการพัฒนา

4

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐาน 5

3.00

ดี

สถานศึกษาได้คะแนนเฉลี่ยผลการประเมิน 3.20 ระดับคุณภาพ ดี

( รับรองมาตรฐานการศึกษา หรือ ไม่รับรองมาตรฐานการศึกษา

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

1. ผู้เรียน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรได้รับการดูแลชวยเหลือ กระตุ้นให้เกิดความกระหนักและความพยายามในการเรียนเพิ่มขึ้นเพื่อให้สำเร็จการศึกษาตามเวลาที่กำหนด มีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร โดยตั้งเป้าหมายเพิ่มทุกปีการศึกษาอย่างน้อยร้อยละ 5-10

2. ในการจัดทำโครงงานของผูเรียนในทุกหมวดวิชา ควรพัฒนาต่อไปให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและขยายผลสู่ชุมชน การทำวิจัยในชั้นเรียนควรมีครบทั้งการวิจัยผลการเรียนรุ้ของผู้เรียน คุณภาพของกิจกรรมสื่อและเครื่องมือวัดผล

3. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ 3 ปีและแผนปฏิบัติการประจำปี นอกจากการกำหนดเป้าหมายจำนวนผู้เรียน/ผู้รับบริการในการดำเนินทุกกิจกรรมแล้ว ควรกำหนดเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานของสถานศึกษามีการกำหนดตัวบ่งชี้ความสำร็จของโครงการ กิจกรรม ที่รองรับการพัฒนา

บทที่ 2

ทิศทางและผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

สถานศึกษาได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี โดยได้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และมีผลการดำเนินงานดังนี้

ปรัชญา “สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ นำไปสู่ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”

วิสัยทัศน์ “ประชาชนอำเภอปะเหลียนได้รับการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำที่มีคุณภาพบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกิดสังคมฐานความรู้และการมีอาชีพอย่างยั่งยืน”

อัตลักษณ์ “อยู่อย่างพอเพียง”

เอกลักษณ์ ”บริการดี”

พันธกิจ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะเหลียนจัดและปฏิบัติตามพันธกิจ ดังนี้

๑.จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ

๒. จัดและส่งเสริมการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำเพื่อพัฒนาสมรรถนะของประชาชนและชุมชนให้สามารถสร้างสรรค์และแข่งขันด้านอาชีพได้อย่างยั่งยืน

๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายประสานงานภาคีเครือข่ายเพื่อในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาเพื่อการมีงานทำ

๔. พัฒนาและส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการ มีงานทำ

๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้สามารถดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาเพื่อการมีงานทำของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๖. ดำเนินตามนโยบายเร่งด่วนและนโยบายต่อเนื่องของ สำนักงาน กศน และงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ

๗. จัดส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น

๘. กำกับดูแลตรวจสอบนิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

๙. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

๑๐. ปฏิบัติงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย

เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จ

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ครอบคลุม และเป็นธรรม

ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุที่ต้องการรับการศึกษาได้รับบริการอย่างทั่วถึงครอบคลุมและเป็นธรรม ร้อยละ 80

2.ผู้เรียนและผู้รับบริการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพได้มาตรฐานและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อนำไปสู่ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการใช้บริการของหน่วยงานและสถานศึกษา ร้อยละ 80

3.ภาคีเครือข่ายเข้ามาช่วยดำเนินการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมช่วยดำเนินการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5

4.สถานศึกษานำเทคโนโลยีเพื่อการการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการบริหารองค์กรและจัดบริการการเรียนรู้แก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานศึกษานำเทคโนโลยีเพื่อการการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการบริหารองค์กรและจัดบริการการเรียนรู้แก่ประชาชนร้อยละ 5

5.การจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้

มุ้งเน้นจัดการศึกษาหลากหลายรูปแบบ สอดคล้องต่อความต้องการกลุ่มเป้าหมาย มีกลุ่มองค์กร ชมรมที่เข้มแข็งสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนได้

6.แหล่งการเรียนรู้มีอยู่อย่างทั่วถึงและได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มโอกาสและช่องทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่มึคุณภาพและตอบสนองความต้องการของประชาชน

จัดตั้ง กศน.ตำบลครบทุกตำบลและแต่งตั้งหัวหน้า กศน.ตำบล สนับสนุนสื่อการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี ฯลฯให้ กศน.ตำบลทุกแห่งเพื่อพัฒนาประชาชนในชุมชนให้เป็นคนไทยยุคใหม่

7.สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ สามารถจัดบริการตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ