PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 ·...

44

Transcript of PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 ·...

Page 1: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
Page 2: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

คํานํา

เหตุการณความเสี่ยงดานการทุจริต เมื่อเกิดแลวจะมีผลกระทบทางลบ ซึ่งปญหามาจากสาเหตุตาง ๆ ที่

คนหาตนตอที่แทจริงไดยาก ความเสี่ยงจึงจําเปนตองคิดลวงหนาเสมอ การปองกันการทุจริต คือ การแกไข

ปญหาการทุจริตที่ย่ังยืน ซึ่งเปนหนาที่ความรับผิดชอบของหัวหนาสวนราชการ และสามารถตอบสนอง

นโยบายรัฐบาลในการปองกันการทุจริตในภาครัฐ

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ โดยคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ไดดําเนินการประชุมครั้งที่ ๑/๒๔๖๒ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๒ และครั้งที่

๒/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ไดทําการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

เพชรบูรณ โดยคัดเลือกกระบวนงาน จํานวน ๒ กระบวนงาน ตามกรอบการประเมินความเสี่ยงการทุจริตใน

๓ ดาน คือ ดานการจัดซื้อ จัดจาง และ ดานความโปรงใสของการใชจายงบประมาณและการบริหารจัดการ

ทรัพยากรภาครัฐ รวมทั้งกําหนดมาตรการ/กิจกรรม/แนวทางในการปองกันความเสี่ยงของการดําเนินงานที่

อาจกอใหเกิดการทุจริตในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ และจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ

ตอไป

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ

พฤษภาคม ๒๕๖๒

Page 3: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

สารบัญ

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ความหมาย ๑

ขอบเขตประเมินความเสี่ยงการทุจริต ๑

วิธีการวิเคราะหความเสี่ยงจากภาระงานดานการจัดซื้อ จัดจาง

๑. การระบุความเสี่ยง ๒

๒. การวิเคราะหสถานะความเสี่ยง ๓

๓. เมทริกสระดับความเสี่ยง ๓

๔. การประเมินการควบคุมความเสี่ยง ๕

วิธีการวิเคราะหความเสี่ยงจากภาระงานดานการใชจายงบประมาณ และการบริหารจัดการ

ทรัพยากรภาครัฐ

๑. การระบุความเสี่ยง ๖

๒. การวิเคราะหสถานะความเสี่ยง ๗

๓. เมทริกสระดับความเสี่ยง ๗

๔. การประเมินการควบคุมความเสี่ยง ๘

แผนบริหารความเสี่ยง ๑๐

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก คณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ภาคผนวก ข รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒)

ภาคผนวก ค ประมวลภาพบรรยากาศการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒)

ภาคผนวก ง รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒)

ภาคผนวก จ ประมวลภาพบรรยากาศการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒)

Page 4: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑

การประเมินความเส่ียงการทุจริต

ความหมาย

ความเสี่ยงการทุจริต หมายถึง ความเสี่ยงของการดําเนินงานที่อาจกอใหเกิดการทุจริต การขัดกัน

ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมหรือการรับสินบน

ขอบเขตการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประเภทความเสี่ยงการทุจริต แบงออกเปน ๓ ดาน ดังน้ี

๑. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอํานวยความ

สะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘

๒. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการจัดซื้อ จัดจาง

๓. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการใชจายงบประมาณ และการบริหารจัดการทรัพยากร

ภาครัฐ

Page 5: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒

วิธีการวิเคราะหความเสี่ยงจากภาระงานดานการจัดซ้ือ จัดจาง

เปนการวิเคราะหโดยเริ่มจากการระบุความเสี่ยงจากกระบวนงานตาง ๆ อธิบายเปนรูปแบบพฤติการณ

เหตุการณความเสี่ยงตอการทุจริต การวิเคราะหระดับความรุนแรงของผลกระทบ กับระดับความจําเปนของ

การเฝาระวัง และการกําหนดมาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง ในการปองกันความเสี่ยงของการดําเนินงานที่อาจ

กอใหเกิดการทุจริตในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณที่มีประสิทธิภาพ

๑. การระบุความเสี่ยงการทุจริต

ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ดาน

๑. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอํานวย

ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘

๒. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการจัดซื้อ จัดจาง

๓. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการใชจายงบประมาณ และการบริหารจัดการ

ทรัพยากรภาครัฐ

ชื่อกระบวนงาน/งาน

๑. การกําหนดราคากลาง

๒. การตรวจสอบพัสดุประจําป

ตารางท่ี ๑ ตารางระบุความเสี่ยง (Known Factor และ Unknown Factor)

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต ระบุรายละเอียดความเสี่ยงการทุจริต

Known Factor Unknown Factor

๑ คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญ

ในการกําหนดราคากลาง และ

คุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐาน

ครุภัณฑ

๒ ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหง

พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจาง

และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.

๒๕๖๐

Page 6: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓

๒. การวิเคราะหสถานะความเสี่ยง

ความหมายของสถานะความเสี่ยงตามสีไฟจราจร มีรายละเอียด ดังน้ี

สถานะสีเขียว: ความเสี่ยงระดับตํ่า

สถานะสีเหลือง: ความเสี่ยงระดับปานกลาง และสามารถใชความรอบคอบระมัดระวังในระหวาง

ปฏิบัติงาน ตามปกติควบคุมดูแลได

สถานะสีสม: ความเสี่ยงระดับสูง เปนกระบวนงานที่มีผูเกี่ยวของหลายคน หลายหนวยงานภายใน

มหาวิทยาลัย มีหลายข้ันตอน จนยากตอการควบคุม หรือไมมีอํานาจควบคุมขามหนวยงานตามหนาที่ปกติ

สถานะสีแดง: ความเสี่ยงระดับสูงมาก เปนกระบวนงานที่เกี่ยวของกับบุคคลภายนอก คนที่ไมรูจัก

ไมสามารถตรวจสอบไดชัดเจน ไมสามารถกํากับติดตามไดอยางใกลชิดหรืออยางสม่ําเสมอ

ตารางท่ี ๒ ตารางแสดงสถานะความเสี่ยง (แยกตามสีไฟจราจร)

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต เขียว เหลือง สม แดง

๑ คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญในการกําหนดราคากลาง

และคุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐานครุภัณฑ

๒ ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหง พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัด

จางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๓. เมทริกสระดับความเสี่ยง (Risk Level Matrix)

ระดับความจําเปนของการเฝาระวัง

ระดับ ๓ หมายถึง เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตสูง

ระดับ ๒ หมายถึง เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตที่ไมสูงมาก

ระดับ ๑ หมายถึง เปนข้ันตอนรองของกระบวนการ/กิจกรรม

ระดับความรุนแรงของผลกระทบ

ระดับ ๓ หมายถึง มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับดูแล/พันธมิตร/

เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับที่รุนแรง

ระดับ ๒ หมายถึง มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับดูแล/พันธมิตร/

เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับไมรุนแรง

ระดับ ๑ หมายถึง มีผลกระทบตอกระบวนการภายใน/การเรียนรู/องคความรู

Page 7: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๔

ตารางท่ี ๓ SCORING ทะเบียนขอมูลที่ตองเฝาระวัง ๒ มิติ (หรือตารางเมทริกสระดับความเสี่ยง : Risk

level matrix)

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต

ระดับความจําเปน

ของการเฝาระวัง

๓ ๒ ๑

ระดับความรุนแรง

ของผลกระทบ

๓ ๒ ๑

คาความเสี่ยงรวม

จําเปน X รุนแรง

๑ คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญ

ในการกําหนดราคากลาง และ

คุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐาน

ครุภัณฑ

๓ ๑ ๓

๒ ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหง

พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจาง

และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.

๒๕๖๐

๓ ๑ ๓

ตารางท่ี ๓.๑ ระดับความจําเปนของการเฝาระวัง

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต กิจกรรมหรือขั้นตอนหลัก

MUST

กิจกรรมหรือขั้นตอนรอง

SHOULD

๑ คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญ

ในการกําหนดราคากลาง และ

คุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐาน

ครุภัณฑ

๒ ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหง

พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจาง

และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.

๒๕๖๐

ตารางท่ี ๓.๒ ระดับความรุนแรงของผลกระทบตาม Balanced Scorecard

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต ๑ ๒ ๓

๑ คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญในการกําหนดราคากลาง และ

คุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐานครุภัณฑ X

๒ ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหง พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจาง

และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ X

Page 8: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๕

๔. การประเมินการควบคุมความเสี่ยง (Risk – Control Matrix Assessment)

ระดับการควบคุมความเสี่ยงการทุจริต แบงเปน ๓ ระดับ ดังน้ี

ดี : จัดการไดทันที ทุกครั้งที่เกิดความเสี่ยง ไมกระทบถึงผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน องคกร ไมมี

ผลเสียทางการเงิน ไมมีรายจายเพิ่ม

พอใช : จัดการไดโดยสวนใหญ มีบางครั้งยังจัดการไมได กระทบถึงผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน

องคกร แตยอมรับได มีความเขาใจ

ออน : จัดการไมได หรือไดเพียงสวนนอย การจัดการเพิ่มเกิดจากรายจาย มีผลกระทบถึง

ผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน และยอมรับไมได ไมมีความเขาใจ

ตารางท่ี ๔ แสดงการประเมินการควบคุมความเสี่ยง

ท่ี ขั้นตอนยอยท่ีมีความเสี่ยงการทุจริต

คุณภาพ

การ

จัดการ

คาประเมินการควบคุมความเสี่ยงการ

ทุจริต

คาความ

เสี่ยง

ระดับตํ่า

คาความ

เสี่ยงระดับ

ปานกลาง

คาความ

เสี่ยง

ระดับสูง

๑ คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญในการ

กําหนดราคากลาง และคุณลักษณะเฉพาะตาม

มาตรฐานครุภัณฑ

ดี (ปานกลาง)

(๓)

๒ ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหง พระราชบัญญัติ

การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. ๒๕๖๐

ดี (ปานกลาง)

(๓)

ดังน้ัน จากการประเมินความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการจัดซื้อ จัดจาง พบวา ข้ันตอน

คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญในการกําหนดราคากลาง และคุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐานครุภัณฑ

และข้ันตอน การไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหงพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. ๒๕๖๐ น้ัน มีระดับความจําเปนของการเฝาระวัง อยูในระดับ ๓ (เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และ

มีความเสี่ยงในการทุจริตสูง) มีระดับความรุนแรงของผลกระทบ อยูในระดับ ๑ (มีผลกระทบตอกระบวนการ

ภายใน/การเรียนรู/องคความรู) เมื่อดําเนินการประเมินการควบคุมความเสี่ยงแลวจัดอยูในระดับคุณภาพการ

จัดการ ดี (จัดการไดทันที ทุกครั้งที่เกิดความเสี่ยง ไมกระทบถึงผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน องคกร ไมมีผลเสีย

ทางการเงิน ไมมีรายจายเพิ่ม) แตยังคงมีคาความเสี่ยงการทุจริตระดับสูง (ปานกลาง ๓) จึงควรจัดทําแผน

บริหารความเสี่ยงการทุจริต

Page 9: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๖

วิธีการวิเคราะหความเสี่ยงจากภาระงานดานการใชจายงบประมาณ

และการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ

เปนการวิเคราะหโดยเริ่มจากการระบุความเสี่ยงจากกระบวนงานตาง ๆ อธิบายเปนรูปแบบพฤติการณ

เหตุการณความเสี่ยงตอการทุจริต การวิเคราะหระดับความรุนแรงของผลกระทบ กับระดับความจําเปนของ

การเฝาระวัง และการกําหนดมาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง ในการปองกันความเสี่ยงของการดําเนินงานที่อาจ

กอใหเกิดการทุจริตในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณที่มีประสิทธิภาพ

๑. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification)

ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ดาน

๑. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอํานวย

ความสะดวกในการพจิารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘

๒. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการจัดซื้อ จัดจาง

๓. ความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการใชจายงบประมาณ และการบริหารจัดการ

ทรัพยากรภาครัฐ

ชื่อกระบวนงาน/งาน

๑. การจัดซื้อจัดจาง และการตรวจสอบ

๒. การใชจายงบประมาณ

ตารางท่ี ๕ ตารางระบุความเสี่ยง (Known Factor และ Unknown Factor)

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต ระบุรายละเอียดความเสี่ยงการทุจริต

Known Factor Unknown Factor

๑ การซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใช

ประโยชน

๒ การแปลงหมวดงบประมาณ

Page 10: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๗

๒. การวิเคราะหสถานะความเสี่ยง

ความหมายของสถานะความเสี่ยงตามสีไฟจราจร มีรายละเอียด ดังน้ี

สถานะสีเขียว: ความเสี่ยงระดับตํ่า

สถานะสีเหลือง: ความเสี่ยงระดับปานกลาง และสามารถใชความรอบคอบระมัดระวังในระหวาง

ปฏิบัติงาน ตามปกติควบคุมดูแลได

สถานะสีสม: ความเสี่ยงระดับสูง เปนกระบวนงานที่มีผูเกี่ยวของหลายคน หลายหนวยงานภายใน

มหาวิทยาลัย มีหลายข้ันตอน จนยากตอการควบคุม หรือไมมีอํานาจควบคุมขามหนวยงานตามหนาที่ปกติ

สถานะสีแดง: ความเสี่ยงระดับสูงมาก เปนกระบวนงานที่เกี่ยวของกับบุคคลภายนอก คนที่ไมรูจัก

ไมสามารถตรวจสอบไดชัดเจน ไมสามารถกํากับติดตามไดอยางใกลชิดหรืออยางสม่ําเสมอ

ตารางท่ี ๖ ตารางแสดงสถานะความเสี่ยง (แยกตามสีไฟจราจร)

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต เขียว เหลือง สม แดง

๑ การซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใชประโยชน

๒ การแปลงหมวดงบประมาณ

๓. เมทริกสระดับความเสี่ยง (Risk Level Matrix)

ระดับความจําเปนของการเฝาระวัง

ระดับ ๓ หมายถึง เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตสูง

ระดับ ๒ หมายถึง เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตที่ไมสูงมาก

ระดับ ๑ หมายถึง เปนข้ันตอนรองของกระบวนการ/กิจกรรม

ระดับความรุนแรงของผลกระทบ

ระดับ ๓ หมายถึง มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับดูแล/พันธมิตร/

เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับที่รุนแรง

ระดับ ๒ หมายถึง มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับดูแล/พันธมิตร/

เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับไมรุนแรง

ระดับ ๑ หมายถึง มีผลกระทบตอกระบวนการภายใน/การเรียนรู/องคความรู

Page 11: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๘

ตารางท่ี ๗ SCORING ทะเบียนขอมูลที่ตองเฝาระวัง ๒ มิติ (หรือตารางเมทริกสระดับความเสี่ยง : Risk

level matrix)

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต

ระดับความจําเปน

ของการเฝาระวัง

๓ ๒ ๑

ระดับความรุนแรง

ของผลกระทบ

๓ ๒ ๑

คาความเสี่ยงรวม

จําเปน X รุนแรง

๑ การซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใช

ประโยชน ๓ ๒ ๖

๒ การแปลงหมวดงบประมาณ ๒ ๒ ๔

ตารางท่ี ๗.๑ ระดับความจําเปนของการเฝาระวัง

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต กิจกรรมหรือขั้นตอนหลัก

MUST

กิจกรรมหรือขั้นตอนรอง

SHOULD

๑ การซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใช

ประโยชน ๓

๒ การแปลงหมวดงบประมาณ ๒

ตารางท่ี ๗.๒ ระดับความรุนแรงของผลกระทบตาม Balanced Scorecard

ท่ี เหตุการณความเสี่ยงการทุจริต ๑ ๒ ๓

๑ การซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใชประโยชน X

๒ การแปลงหมวดงบประมาณ X

๔. การประเมินการควบคุมความเสี่ยง (Risk – Control Matrix Assessment)

ระดับการควบคุมความเสี่ยงการทุจริต แบงเปน ๓ ระดับ ดังน้ี

ดี : จัดการไดทันที ทุกครั้งที่เกิดความเสี่ยง ไมกระทบถึงผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน องคกร ไมมี

ผลเสียทางการเงิน ไมมีรายจายเพิ่ม

พอใช : จัดการไดโดยสวนใหญ มีบางครั้งยังจัดการไมได กระทบถึงผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน

องคกร แตยอมรับได มีความเขาใจ

ออน : จัดการไมได หรือไดเพียงสวนนอย การจัดการเพิ่มเกิดจากรายจาย มีผลกระทบถึง

ผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน และยอมรับไมได ไมมีความเขาใจ

Page 12: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๙

ตารางท่ี ๘ แสดงการประเมินการควบคุมความเสี่ยง

ท่ี ขั้นตอนยอยท่ีมีความเสี่ยงการทุจริต

คุณภาพ

การ

จัดการ

คาประเมินการควบคุมความเสี่ยงการ

ทุจริต

คาความ

เสี่ยงระดับ

ตํ่า

คาความ

เสี่ยงระดับ

ปานกลาง

คาความเสี่ยง

ระดับสูง

๑ การซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใช

ประโยชน

พอใช (คอนชางสูง)

(๖)

๒ การแปลงหมวดงบประมาณ พอใช

(คอนขางตํ่า)

(๔)

ดังน้ัน จากการประเมินความเสี่ยงการทุจริตจากภาระงานดานการใชจายงบประมาณ และการ

บริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ พบวา ข้ันตอนการซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใชประโยชน มีระดับความ

จําเปนของการเฝาระวัง อยูในระดับ ๓ (เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตสูง) มี

ระดับความรุนแรงของผลกระทบ อยูในระดับ ๒ (มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับ

ดูแล/พันธมิตร/เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับไมรุนแรง) เมื่อดําเนินการประเมินการควบคุมความเสี่ยงแลวจัด

อยูในระดับคุณภาพการจัดการ พอใช (จัดการไดโดยสวนใหญ มีบางครั้งยังจัดการไมได กระทบถึงผูใชบริการ/

ผูรับมอบผลงาน องคกร แตยอมรับได มีความเขาใจ) และมีคาความเสี่ยงการทุจริตระดับสูง (คอนขางสูง ๖)

จึงควรจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต และข้ันตอนการแปลงหมวดงบประมาณ มีระดับความจําเปน

ของการเฝาระวัง อยูในระดับ ๒ (เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตที่ไมสูงมาก)

มีระดับความรุนแรงของผลกระทบ อยูในระดับ ๒ (มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับ

ดูแล/พันธมิตร/เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับไมรุนแรง) เมื่อดําเนินการประเมินการควบคุมความเสี่ยงแลวจัด

อยูในระดับคุณภาพการจัดการ พอใช (จัดการไดโดยสวนใหญ มีบางครั้งยังจัดการไมได กระทบถึงผูใชบริการ/

ผูรับมอบผลงาน องคกร แตยอมรับได มีความเขาใจ) และมีคาความเสี่ยงการทุจริตระดับตํ่า (คอนขางตํ่า ๔)

จึงเปนความเสี่ยงที่สามารถยอมรับได

Page 13: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๐

แผนบริหารความเสี่ยงการทุจริตของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ลําดับ

ที่

ความเส่ียง

ดาน

กระบวนงาน เหตุการณความเส่ียง

การทุจริต

มาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง

ในการปองกันความเส่ียง

ตัวช้ีวัด เปาหมาย ผูรับผิดชอบ ระยะเวลา

ดําเนินการ

๑. ความเส่ียง

การทุจริต

ดานการ

จัดซ้ือ จัด

จาง

การกําหนด

ราคากลาง

คณะกรรมการขาด

ความเชี่ยวขาญในการ

กําหนดราคากลาง

และคุณลักษณะ

เฉพาะตามมาตรฐาน

ครุภัณฑ

๑. อบรมใหความรูในการกําหนด

ราคากลางแกบุคลากรดานการ

จัดซ้ือจัดจาง

ผูเขารวมอบรมไดความรูเก่ียวกับเกณฑ

มาตรฐานครุภัณฑ

บุคลากรไดรับความรู

จํานวน ๕๐ คน

รองอธิการบดี

ฝายบริหาร

ปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๒

๒. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อ

ตรวจสอบการกําหนดราคากลาง

แ ล ะ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ต า ม

มาตรฐานครุภัณฑ

คณะอนุกรรมการ มีคณะอนุกรรมการ

๑ ชุด

รองอธิการบดี

ฝายบริหาร

๓. ผู เ ก่ี ย วข องตรวจสอบความ

ถู กต องก อนการ เสนอพิจารณา

อนุมัต ิ

ความถูกตองของราคากลาง และ

คุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐานครุภัณฑ

จํานวนส่ิงกอสรางและ

ครุภัณฑที่ราคากลาง

และคุณลักษณะเฉพาะ

สามารถซ้ือจางตาม

กําหนดรอยละ ๘๐

งานพัสดุ

ของแตละคณะ

๔. จัดทําแนวปฏิบัติงานดานการ

จัดซ้ือจัดจาง

แนวทางการดําเนินงานดานการจัดซ้ือจัด

จาง

มีแนวทางการดําเนินงาน

ดานการจัดซ้ือจัดจาง

งานพัสดุของแต

ละคณะ/สํานัก

๕. มีการติดตามและรายงานผลของ

การจัดซ้ือจัดจาง

๑. มีการติดตามกระบวนการจัดซ้ือจัดจาง ติดตามทุกรายไตรมาส งานพัสดุ

๒. มีการรายงานผลการจัดซ้ือจัดจาง รายงานทุกรายไตรมาส งานพัสดุ

การตรวจสอบ

พัสดุประจําป

ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑)

แหง พระราชบัญญัติ

การจัดซ้ือจัดจางและ

๑. ชี้แจง/ใหความรูแกบุคลากรให

ตระหนักถึงความสําคัญของ มาตรา

๘ (๑) แหงพระราชบัญญัติ การ

บุคลากรมีความรูเก่ียวกับมาตรา ๘ (๑)

แหงพระราชบัญญัติ การจัดซ้ือ จัดจาง

และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

เจาหนาที่พัสดุจํานวน

๔๐ คน

งานตรวจสอบ

ภายใน/งานพัสดุ

Page 14: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๑

ลําดับ

ที่

ความเส่ียง

ดาน

กระบวนงาน เหตุการณความเส่ียง

การทุจริต

มาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง

ในการปองกันความเส่ียง

ตัวช้ีวัด เปาหมาย ผูรับผิดชอบ ระยะเวลา

ดําเนินการ

การบริหารพัสดุ

ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

จัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุ

ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๒. ความเส่ียง

การทุจริตใน

ความ

โปรงใสของ

การใชจาย

งบประมาณ

และการ

บริหาร

จัดการ

ทรัพยากร

ภาครัฐ

การจัดซ้ือจัด

จาง และการ

ตรวจสอบ

การซ้ือวัสดุครุภัณฑ

แลวไมนําไปใช

ประโยชน

๑. แตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ

การใชประโยชนครุภัณฑทุกไตรมาส

คณะกรรมการตรวจสอบการใชประโยชน

ครุภัณฑ

ไตรมาสที่ ๒ และ

ไตรมาสที่ ๔

งานพัสดุ

๒. ตรวจสอบและรายงานผลโดย

งานตรวจสอบภายใน

รายงานผลการจัดซ้ือจัดจาง รายงานทุกรายไตรมาส งานตรวจสอบ

ภายใน

๓. ประชุม/ชี้แจง ทําความเขาใจ

เก่ียวกับการซ้ือวัสดุครุภัณฑ

ความเขาใจเก่ียวกับการซ้ือวัสดุครุภัณฑ เจาหนาที่พัสดุจํานวน

๔๐ คน

งานพัสดุ

๔. กําหนดมาตรการรองรับโดยคณะ

กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบ.)

มาตรการการปองกันการซ้ือครุภัณฑแลว

ไมนําไปใชประโยชน

มีประกาศมหาวิทยาลัย

ราชภัฏเพชรบูรณ เพื่อ

กําหนดมาตรการลงโทษ

สําหรับผูกระทําผิด

คณะกรรมการ

บริหาร

มหาวิทยาลัย

(กบ.)

(อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา)

รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา

พฤษภาคม ๒๕๖๒

Page 15: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๒

ภาคผนวก

Page 16: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๓

ภาคผนวก ก คณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

Page 17: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๔

คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ

ท่ี ๔๕๑/๒๕๖๒

เรื่อง แตงต้ังคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

---------------------------------------

เพื่อใหการดําเนินงานการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงาน

ภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ( Integrity and Transparency Assessment - ITA) ในการ

ดําเนินการประเมินตามแบบ OIT O๓๖ และ O๓๗ เปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ และเกิด

ประสิทธิผล จึงแตงต้ังคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ดังตอไปน้ี

๑. อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา ประธานอนุกรรมการ

๒. ผศ. ดร.สําราญ ทาวเงิน รองอธิการบดีฝายบริหาร อนุกรรมการ

๓. ผศ.อัจฉรา กลิ่นจันทร ผูชวยอธิการบดีฝายประกันคุณภาพการศึกษา อนุกรรมการ

๓. นางสาวศิรดา แสงนก ผูอํานวยการกองกลาง อนุกรรมการ

๔. นางสาวชัชชญา อัตตะชีวะ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๕. นางสาวระพีพร ระวิโรจน หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๖. นางภาวนา จันทรสมบัติ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๗. อาจารย ดร.เสาวภา ชูมณี หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๘. นางวาสนา สุขประเสริฐ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๙. อาจารย ดร.กัญญารัตน เดือนหงาย หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๐. นางสาวหน่ึงฤทัย บุญมี หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๑. นางพัชริยา ศรีสด หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๒. นางสาวกุลิสรา ปองเพียร หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๓. นางสาวกิตติกานต กิตติชญานันท หัวหนางานตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๔. นางสาวสุภาณี เมืองจีน นักตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๕. นางสาวธันยรัศมิ์ แกวดอนเมือง นักตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๖. นางสาวณัฐสุดา หุนทอง เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป อนุกรรมการ

๑๗. นางสาวสุภารัตน หอยสังข หัวหนางานพัสดุ อนุกรรมการ

๑๘. นางสาวถนิม สกุลมา หัวหนางานคลัง อนุกรรมการ

Page 18: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๕

๑๙. นางสาวจิรภา คชหิรัญ หัวหนางานทรัพยสินและสวัสดิการ อนุกรรมการ

๒๐. นางสาวเบญจภัทร อุปรัง นักวิชาการพัสดุ อนุกรรมการ

๒๑. นางปนิตา รังวรรณา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๒. นางอรวรรณ ดีพา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๓. นางกุลทินี ปานแดง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๔. นางสาวอัมพวรรณ ชุมพรรัตน เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๕. นางสาวสุกัญญา โคกทอง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๖. นางอมรรัตน กาละบุตร เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๗. นางสุภาวดี แจงจันทร เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๘. นางสาววัลยา ภูจุย เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๙. นางสาวมณีนุช เกตุแฟง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๓๐. นางสาวธิวาเฉลิม จันทิมา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๓๑. นางอรพรรณ ลาย เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๓๒. นางสมฤดี ศรีเมือง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๓๓. นางใกลรุง เกตะวันดี ผูอํานวยการสํานักงานอธิการบดี อนุกรรมการและเลขานุการ

๓๔. นางวันวิสาข บุญจันทร เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๕. นางชลิตา บัวเปรม เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๖. นายกฤษดา ชูละออง เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๗. นางยุพารัตน รังษีสกรณ พนักงานธุรการ ผูชวยเลขานุการ

ใหคณะอนุกรรมการดําเนินการประเมินและบริหารจัดการความเสี่ยงของการดําเนินงานที่อาจ

กอใหเกิดการทุจริต หรือการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมของหนวยงาน

รวมทั้ง ดําเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต โดยจะตองเปนการดําเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการ

ดําเนินการตามทางการบริหารจัดการความเสี่ยง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ต้ังแตบัดน้ีเปนตนไป

สั่ง ณ วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๒

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประยูร ลิ้มสุข)

อธิการบดี

Page 19: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๖

ภาคผนวก ข รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๒)

Page 20: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๗

รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๒

วันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๓๐ น.

ณ หองประชุมสีทอง ชั้น ๑ สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ

------------------------------------------

รายนามกรรมการผูมาประชุม

๑. อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา ประธานอนุกรรมการ

๒. ผศ.อัจฉรา กลิ่นจันทร ผูชวยอธิการบดีฝายประกันคุณภาพการศึกษา อนุกรรมการ

๓. นางสาวศิรดา แสงนก ผูอํานวยการกองกลาง อนุกรรมการ

๔. นางสาวระพีพร ระวิโรจน หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๕. ดร.ภาวนา จันทรสมบัติ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๖. อาจารย ดร.เสาวภา ชูมณี หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๗. นางวาสนา สุขประเสริฐ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๘. อาจารย ดร.กัญญารัตน เดือนหงาย หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๙. นางสาวหน่ึงฤทัย บุญม ี หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๐. นางพัชริยา ศรีสด หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๑. นางสาวกุลิสรา ปองเพียร หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๒. นางสาวกิตติกานต กิตติชญานันท หัวหนางานตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๓. นางสาวสุภาณี เมืองจีน นักตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๔. นางสาวธันยรัศมิ์ แกวดอนเมือง นักตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๕. นางสาวณัฐสุดา หุนทอง เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป อนุกรรมการ

๑๖. นางสาวสุภารัตน หอยสังข หัวหนางานพัสดุ อนุกรรมการ

๑๗. นางสาวจิรภา คชหิรัญ หัวหนางานทรัพยสินและสวัสดิการ อนุกรรมการ

๑๘. นางสาวเบญจภัทร อุปรัง นักวิชาการพัสดุ อนุกรรมการ

๑๙. นางปนิตา รังวรรณา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๐. นางอรวรรณ ดีพา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๑. นางกุลทินี ปานแดง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๒. นางสาวอัมพวรรณ ชุมพรรัตน เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๓. นางสาวสุกัญญา โคกทอง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๔. นางอมรรัตน กาละบุตร เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๕. นางสุภาวดี แจงจันทร เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๖. นางสาววัลยา ภูจุย เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

Page 21: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๘

๒๗. นางสาวมณีนุช เกตุแฟง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๘. นางสาวธิวาเฉลิม จันทิมา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๙. นางอรพรรณ ลาย เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๓๐. นางสมฤดี ศรีเมือง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๓๑. นางใกลรุง เกตะวันดี ผูอํานวยการสํานักงานอธิการบดี อนุกรรมการและเลขานุการ

๓๒. นางวันวิสาข บุญจันทร เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๓. นางชลิตา บัวเปรม เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๔. นายกฤษดา ชูละออง เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๕. นางยุพารัตน รังษีสกรณ พนักงานธุรการ ผูชวยเลขานุการ

รายนามกรรมการผูไมมาประชุม

๑. ผศ. ดร.สําราญ ทาวเงิน รองอธิการบดีฝายบริหาร อนุกรรมการ

๒. นางสาวชัชชญา อัตตะชีวะ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๓. นางสาวถนิม สกุลมา หัวหนางานคลัง อนุกรรมการ

เริ่มประชุม เวลา ๐๙.๓๐ น.

อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา ประธานที่ประชุม ไดตรวจสอบจํานวนสมาชิกที่เขารวมประชุม เมื่อ

ครบองคประชุมแลว จึงกลาวเปดการประชุมและดําเนินการประชุมตามวาระ ดังตอไปน้ี

วาระท่ี ๑ เรื่องท่ีแจงใหทราบ

๑.๑ คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ท่ี ๔๕๑/๒๕๖๒ เรื่อง แตงต้ังคณะอนุกรรมการ

ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา ประธานอนุกรรมการ กลาววา ตามที่ ไดมีคําสั่งมหาวิทยาลัย

ราชภัฏเพชรบูรณ ที่ ๔๕๑/๒๕๖๒ เรื่อง แตงต้ังคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมีหนาที่ ประเมินและบริหารจัดการความเสี่ยงของการดําเนินงานที่อาจกอใหเกิด

การทุจริต หรือการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมของหนวยงาน รวมทั้ง

ดําเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต โดยจะตองเปนการดําเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการดําเนินการ

ตามทางการบริหารจัดการความเสี่ยง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ของการประเมินคุณธรรมและความ

โปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ( Integrity and

Transparency Assessment - ITA) จึงเสนอที่ประชุมเพื่อทราบ

มติท่ีประชุม รับทราบ คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ที่ ๔๕๑/๒๕๖๒ เรื่อง แตงต้ัง

คณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

Page 22: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๑๙

วาระท่ี ๒ รับรองรายงานการประชุม

- ไมมี -

วาระท่ี ๓ เรื่องสืบเน่ืองจากการประชุม

- ไมมี -

วาระท่ี ๔ เรื่องเสนอเพ่ือทราบ

๔.๑ เกณฑการประเมินแบบสํารวจหลักฐานเชิงประจักษ O๓๖ และ O๓๗ โดยศูนยประเมิน

คุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา ประธานอนุกรรมการ กลาววา ตามที่ ศูนยประเมินคุณธรรม

และความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ไดกําหนดเกณฑ

การประเมินแบบสํารวจหลักฐานเชิงประจักษ O๓๖ “การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจําป” โดยมี

รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยงของการดําเนินงานหรือการปฏิบัติหนาที่ที่อาจกอใหเกิดการทุจริต

หรือกอใหเกิดการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมของหนวยงาน ทั้งน้ี จะตองเปน

ขอมูลของป พ.ศ ๒๕๖๒ และ O๓๗ “การดําเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต” โดยมีรายละเอียด

เกี่ยวกับการดําเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการจัดการความเสี่ยงของการดําเนินงานในกรณีที่อาจกอใหเกิด

การทุจริต หรือกอใหเกิดการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมของหนวยงาน ทั้งน้ี

จะตองเปนขอมูลของป พ.ศ. ๒๕๖๒ จึงเสนอที่ประชุมเพื่อทราบ

มติท่ีประชุม รับทราบ เกณฑการประเมินแบบสํารวจหลักฐานเชิงประจักษ O๓๖ และ O๓๗

โดยศูนยประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๒

วาระท่ี ๕ เรื่องเสนอเพ่ือพิจารณา

๕.๑ ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา ประธานอนุกรรมการ กลาววา เพื่อใหการดําเนินงานการ

ประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

( Integrity and Transparency Assessment - ITA) ในการตอบแบบสํารวจใชหลักฐานเชิงประจักษ

(Evidence – Based) ประเด็นคําถาม O๓๖ และ O๓๗ เปนไปดวยความเรยีบรอย มีประสิทธิภาพ และเกิด

ประสิทธิผล จึงเสนอที่ประชุมพิจารณาประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ตามคูมือประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

Page 23: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๐

ที่ประชุมรวมกันพิจารณาประเมินความเสี่ยงการทุจริตที่อาจกอใหเกิดการทุจริต หรือ

กอใหเกิดการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม โดยวิธีการระบุความเสี่ยงทั้งที่

เคยเกิดข้ึน (Known Factor) และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต (Unknown Factor) และดําเนินการวิเคราะห

ความเสี่ยง โดยวิธีการดังน้ี

ระดับความจําเปนของการเฝาระวัง

ระดับ ๓ หมายถึง เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตสูง

ระดับ ๒ หมายถึง เปนข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเสี่ยงในการทุจริตที่ไมสูงมาก

ระดับ ๑ หมายถึง เปนข้ันตอนรองของกระบวนการ/กิจกรรม

ระดับความรุนแรงของผลกระทบ

ระดับ ๓ หมายถึง มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับดูแล/พันธมิตร/

เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับที่รุนแรง

ระดับ ๒ หมายถึง มีผลกระทบตอผูใชบริการ/ผูมีสวนไดเสีย/หนวยงานกํากับดูแล/พันธมิตร/

เครือขาย/ทางการเงิน ในระดับไมรุนแรง

ระดับ ๑ หมายถึง มีผลกระทบตอกระบวนการภายใน/การเรียนรู/องคความรู

และดําเนินการประเมินคาความเสี่ยง โดยวิธี (จําเปน X รุนแรง) โดยเกณฑคุณภาพการ

จัดการ จะแบงเปน ๓ ระดับ ดังน้ี

ดี : จัดการไดทันที ทุกครั้งที่เกิดความเสี่ยง ไมกระทบถึงผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน องคกร

ไมมีผลเสียทางการเงิน ไมมีรายจายเพิ่ม

พอใช : จัดการไดโดยสวนใหญ มีบางครั้งยังจัดการไมได กระทบถึงผูใชบริการ/ผูรับมอบ

ผลงาน องคกร แตยอมรับได มีความเขาใจ

ออน : จัดการไมได หรือไดเพียงสวนนอย การจัดการเพิ่มเกิดจากรายจาย มีผลกระทบถึง

ผูใชบริการ/ผูรับมอบผลงาน และยอมรับไมได ไมมีความเขาใจ

คุณภาพการ

จัดการ

คาประเมินการควบคุมความเสี่ยงการทุจริต

คาความเสี่ยงระดับตํ่า คาความเสี่ยงระดับปานกลาง คาความเสี่ยงระดับสูง

ดี ตํ่า (๑) คอนขางตํ่า (๒) ปานกลาง (๓)

พอใช คอนขางตํ่า (๔) ปานกลาง (๕) คอนขางสูง (๖)

ออน ปานกลาง (๗) คอนขางสูง (๘) สูง (๙)

Page 24: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๑

จากน้ัน เลือกเหตุการณที่มีความเสี่ยงสูงจากการประเมินการควบคุมความเสี่ยง ที่อยูในชอง

๓ หรือ ๕ หรือ ๖ หรือ ๗ หรือ ๘ หรือ ๙ โดยเฉพาะชองสูง (๙) ควรเลือกมาทําแผนบริหารความเสี่ยงการ

ทุจริตกอนเปนอันดับแรก

Page 25: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๒

ที่ประชุมรวมกันพิจารณาประเมินความเสี่ยงการทุจริต โดยมีผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังน้ี

ลําดับ

ที่

ความเส่ียงดาน กระบวนงาน เหตุการณความเส่ียง

การทุจริต

เหตุการณนี ้

เคยเกิดมาแลวหรือ

ยัง

(ใหทําเครื่องหมาย

ใน )

การประเมินความเส่ียง มาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง

ในการปองกันความเส่ียง

(ที่จะดําเนินการใน

ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒)

ระยะเวลา

ดําเนินการ

ผูรับผิดชอบ

ระดับความ

จําเปนของ

การเฝาระวัง

ระดับความ

รุนแรงของ

ผลกระทบ

๑. ความเส่ียงการทุจริต

ดานการจัดซ้ือ จัดจาง

การกําหนดราคา

กลาง

คณะกรรมการกําหนด

ราคากลาง/เกณฑ

คุณลักษณะเฉพาะ

ครุภัณฑ ขาดความรู

และประสบการณ

เคยเกิดขึ้นแลว

ยังไมเคยเกิดขึ้น

๓ ๑ ๑. ผูบริหาร แตงตั้ง

คณะอนุกรรมการ เพื่อ

ตรวจสอบกําหนดราคากลาง /

เกณฑคุณลักษณะเฉพาะ

ครุภัณฑ

๒. ผูบริหารตรวจสอบความ

ถูกตองกอนการพิจารณาอนุมัต ิ

ปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๒

(๑ ต.ค. ๖๑ –

๓๐ ก.ย. ๖๒)

ทุกหนวยงาน

การตรวจสอบพัสดุ

ประจําป

การกระทําผิดตาม

มาตรา ๘ แหง

พระราชบัญญัติ การ

จัดซ้ือจัดจางและการ

บริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. ๒๕๖๐

เคยเกิดขึ้นแลว

ยังไมเคยเกิดขึ้น

๓ ๑ ๑. ชี้แจง/ใหความรูแกบุคลากร

ใหตระหนักถึงความสําคัญของ

มาตรา ๘ แหง พระราชบัญญัติ

การจัดซ้ือจัดจางและการ

บริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. ๒๕๖๐

ปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๒

(๑ ต.ค. ๖๑ –

๓๐ ก.ย. ๖๒)

งานตรวจสอบ

ภายใน และ

งานพัสดุ

Page 26: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๓

ลําดับ

ที่

ความเส่ียงดาน กระบวนงาน เหตุการณความเส่ียง

การทุจริต

เหตุการณนี ้

เคยเกิดมาแลวหรือ

ยัง

(ใหทําเครื่องหมาย

ใน )

การประเมินความเส่ียง มาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง

ในการปองกันความเส่ียง

(ที่จะดําเนินการใน

ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒)

ระยะเวลา

ดําเนินการ

ผูรับผิดชอบ

ระดับความ

จําเปนของ

การเฝาระวัง

ระดับความ

รุนแรงของ

ผลกระทบ

๒. ความเส่ียงการทุจริตใน

ความโปรงใสของการ

ใชจายงบประมาณและ

การบริหารจัดการ

ทรัพยากรภาครัฐ

การจัดซ้ือจัดจาง และ

การตรวจสอบ

การซ้ือวัสดุครุภัณฑแลว

ไมนําไปใชประโยชน

เคยเกิดขึ้นแลว

ยังไมเคยเกิดขึ้น

๓ ๒ ๑. แตงตั้งคณะกรรมการ

ตรวจสอบการใชประโยชนวัสดุ

ครุภัณฑทุกไตรมาส

๒. ตรวจสอบโดยงาน

ตรวจสอบภายใน

๓. ประชุม/ชี้แจง ทําความ

เขาใจเก่ียวกับการซ้ือวัสดุ

ครุภัณฑ

ปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๒

(๑ ต.ค. ๖๑ –

๓๐ ก.ย. ๖๒)

๑. มหาวิทยาลัย

๒. งาน

ตรวจสอบ

ภายใน

๓. ทุกหนวยงาน

การใชจาย

งบประมาณ

การแปลงหมวด

งบประมาณ

เคยเกิดขึ้นแลว

ยังไมเคยเกิดขึ้น

๒ ๒ ยอมรับได

Page 27: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๔

มติท่ีประชุม เห็นชอบ การวิเคราะหผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมอบฝายเลขานุการสรุปผลการประเมินความเสี่ยง และนําเสนอที่ประชุมเพื่อ

พิจารณาดําเนินการจัดการความเสี่ยงการทุจริตรวมกันอีกครั้งหน่ึง ในเดือน พฤษภาคม ๒๕๖๒

วาระท่ี ๖ เรื่องอ่ืน ๆ

- ไมมี -

ปดประชุมเวลา ๑๒.๐๐ น.

(นางวันวิสาข บุญจันทร)

ผูชวยเลขานุการ

ผูจดรายงานการประชุม

(นางใกลรุง เกตะวันดี)

อนุกรรมการและเลขานุการ

ผูตรวจรายงานการประชุม

(อาจารย ดร. ศิรินภา พรหมคํา)

ประธานอนุกรรมการ

Page 28: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๕

Page 29: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๖

Page 30: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๗

ภาคผนวก ค ประมวลภาพบรรยากาศการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๒)

Page 31: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๘

Page 32: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๒๙

Page 33: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๐

ภาคผนวก ง รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(คร้ังท่ี ๒/๒๕๖๒)

รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

Page 34: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๑

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๒

วันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๓๐ น.

ณ หองประชุมสีทอง ชั้น ๑ สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ

------------------------------------------

รายนามกรรมการผูมาประชุม

๑. อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา ประธานอนุกรรมการ

๒. ผศ.อัจฉรา กลิ่นจันทร ผูชวยอธิการบดีฝายประกันคุณภาพการศึกษา อนุกรรมการ

๓. นางสาวศิรดา แสงนก ผูอํานวยการกองกลาง อนุกรรมการ

๔. นางสาวชัชชญา อัตตะชีวะ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๕. นางสาวระพีพร ระวิโรจน หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๖. อาจารย ดร.เสาวภา ชูมณี หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๗. อาจารย ดร.กัญญารัตน เดือนหงาย หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๘. นางสาวหน่ึงฤทัย บุญม ี หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๙. นางพัชริยา ศรีสด หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๐. นางสาวกุลิสรา ปองเพียร หัวหนาสํานักงานผูอํานวยการ อนุกรรมการ

๑๑. นางสาวกิตติกานต กิตติชญานันท หัวหนางานตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๒. นางสาวสุภาณี เมืองจีน นักตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๓. นางสาวธันยรัศมิ์ แกวดอนเมือง นักตรวจสอบภายใน อนุกรรมการ

๑๔. นางสาวณัฐสุดา หุนทอง เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป อนุกรรมการ

๑๕. นางสาวสุภารัตน หอยสังข หัวหนางานพัสดุ อนุกรรมการ

๑๖. นางสาวถนิม สกุลมา หัวหนางานคลัง อนุกรรมการ

๑๗. นางสาวจิรภา คชหิรัญ หัวหนางานทรัพยสินและสวัสดิการ อนุกรรมการ

๑๘. นางสาวเบญจภัทร อุปรัง นักวิชาการพัสดุ อนุกรรมการ

๑๙. นางกุลทินี ปานแดง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๐. นางอมรรัตน กาละบุตร เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๑. นางสุภาวดี แจงจันทร เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๒. นางสาววัลยา ภูจุย เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๓. นางสาวมณีนุช เกตุแฟง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๔. นางสาวธิวาเฉลิม จันทิมา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๕. นางอรพรรณ ลาย เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๒๖. นางสมฤดี ศรีเมือง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

Page 35: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๒

๒๗. นางใกลรุง เกตะวันดี ผูอํานวยการสํานักงานอธิการบดี อนุกรรมการและเลขานุการ

๒๘. นางวันวิสาข บุญจันทร เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๒๙. นางชลิตา บัวเปรม เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๐. นายกฤษดา ชูละออง เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ผูชวยเลขานุการ

๓๑. นางยุพารัตน รังษีสกรณ พนักงานธุรการ ผูชวยเลขานุการ

รายนามกรรมการผูไมมาประชุม

๑. ผศ. ดร.สําราญ ทาวเงิน รองอธิการบดีฝายบริหาร อนุกรรมการ

๒. ดร.ภาวนา จันทรสมบัติ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๓. นางวาสนา สุขประเสริฐ หัวหนาสํานักงานคณบดี อนุกรรมการ

๔. นางปนิตา รังวรรณา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๕. นางอรวรรณ ดีพา เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๖. นางสาวอัมพวรรณ ชุมพรรัตน เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

๗. นางสาวสุกัญญา โคกทอง เจาหนาที่พัสดุ อนุกรรมการ

เริ่มประชุม เวลา ๐๙.๓๐ น.

อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา ประธานที่ประชุม ไดตรวจสอบจํานวนสมาชิกที่เขารวมประชุม เมื่อ

ครบองคประชุมแลว จึงกลาวเปดการประชุมและดําเนินการประชุมตามวาระ ดังตอไปน้ี

วาระท่ี ๑ เรื่องท่ีแจงใหทราบ

๑.๑ การเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ

อาจารย ดร.ศิรินภา พรหมคํา ประธานอนุกรรมการ กลาววา เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒

ไดมีราชกิจจานุเบกษา ประกาศใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดต้ังกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย

และนวัตกรรม (อว.) มีจํานวน ๙ ฉบับ โดยจากน้ี กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วท.) และสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จะอยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ทั้งน้ี ต้ังแตวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ดังน้ัน มหาวิทยาลัยจะตอง

ดําเนินการตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติดังกลาว แตตองไมเกินสองปนับแตวันที่พระราชบัญญัติใชบังคับ

มติท่ีประชุม รับทราบ

Page 36: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๓

วาระท่ี ๒ รับรองรายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๒ ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๒ เมื่อวันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๒

ประธานขอใหคณะกรรมการตรวจสอบรายงานการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการ

ทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๒ ต้ังแตหนาแรกจนถึง

หนาสุดทาย

ที่ประชุมตรวจสอบรายงานการประชุม โดยมีขอแกไข ๑ แหง ในวาระที่ ๑.๑ บรรทัดที ่๖ แกไข

จาก “การดําเนินการตามแนวการบริหารจัดการความเสี่ยง” เปน “การดําเนินการตามแนวทางการบริหาร

จัดการความเสี่ยง”

มติท่ีประชุม ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุม โดยมีขอแกไข ๑ แหง

วาระท่ี ๓ เรื่องสืบเน่ืองจากการประชุม

- ไมมี -

วาระท่ี ๔ เรื่องเสนอเพ่ือทราบ

- ไมมี -

วาระท่ี ๕ เรื่องเสนอเพ่ือพิจารณา

๕.๑ พิจารณา (ราง) แผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

นางใกลรุง เกตะวันดี อนุกรรมการและเลขานุการ กลาววา ตามที่ คณะอนุกรรมการประเมิน

ความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม

๒๕๖๒ โดยที่ประชุมมีมติ เห็นชอบ การวิเคราะหผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมอบฝายเลขานุการสรุปผลการประเมินความเสี่ยง และนําเสนอที่ประชุมเพื่อพิจารณา

ดําเนินการจัดการความเสี่ยงการทุจริตรวมกันอีกครั้งหน่ึง ในเดือน พฤษภาคม ๒๕๖๒ น้ัน

ฝายเลขานุการ จึงเสนอที่ประชุมพิจารณา (ราง) แผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังเอกสารนอกเลม

ที่ประชุมรวมกันพิจารณา (ราง) แผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ.

๒๕๖๒ โดยมีขอเสนอแนะ/แกไข ดังน้ี

๑. ตารางที่ ๔ และตารางที่ ๘ ใหระบุผลการประเมินการควบคุมความเสี่ยง (ตํ่า คอนขาง

ตํ่า ปานกลาง คอนขางสูง และสูง) พรอมระบุคาความเสี่ยงรวมที่ไดจาก (ความจําเปน X ความรุนแรง)

Page 37: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๔

๒. แกไขเหตุการณความเสี่ยงจาก “คณะกรรมการกําหนดราคากลาง/เกณฑ คุณลักษณะ

เฉพาะครุภัณฑ ขาดความรูและประสบการณ” เปน “คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญในการกําหนดราคา

กลาง และคุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐานครุภัณฑ”

๓. แกไขเหตุการณความเสี่ยงจาก “การกระทําผิดตามมาตรา ๘ แหง พระราชบัญญัติการ

จัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐” เปน “ไมปฏิบัติมาตรา ๘ (๑) แหง พระราชบัญญัติ

การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐”

๔. แผนบริหารความเสี่ยง ใหลบคอลัมน “เหตุการณน้ีเคยเกิดมาแลวหรือยัง” ออก

๕. แผนบริหารความเสี่ยง ใหลบคอลัมน “การประเมินความเสี่ยง” ออก

๖. แผนบริหารความเสี่ยง ใหเพิ่มคอลัมน “ตัวช้ีวัด”

๗. แผนบริหารความเสี่ยง ใหเพิ่มคอลัมน “เปาหมาย”

๘. แกไข “มาตรการ/กิจกรรม/แนวทางในการปองกันความเสี่ยง” ในเหตุการณความเสี่ยง

“คณะกรรมการขาดความเช่ียวขาญในการกําหนดราคากลาง และคุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐานครุภัณฑ”

ดังน้ี

๑) อบรมใหความรูในการกําหนดราคากลางแกบุคลากรดานการจัดซื้อจัดจาง

๒) แตงต้ังคณะอนุกรรมการ เพื่อตรวจสอบการกําหนดราคากลาง และคุณลักษณะ

เฉพาะตามมาตรฐานครุภัณฑ

๓) ผูเกี่ยวของตรวจสอบความถูกตองกอนการเสนอพิจารณาอนุมัติ

๔) จัดทําแนวปฏิบัติงานดานการจัดซือ้จัดจาง

๕) มีการติดตามและรายงานผลของการจัดซื้อจัดจาง

๙. แกไข “มาตรการ/กิจกรรม/แนวทางในการปองกันความเสี่ยง” ในเหตุการณความเสี่ยง

“การซื้อวัสดุครุภัณฑแลวไมนําไปใชประโยชน” ดังน้ี

๑) แตงต้ังคณะกรรมการตรวจสอบการใชประโยชนครุภัณฑทุกไตรมาส

๒) ตรวจสอบและรายงานผลโดยงานตรวจสอบภายใน

๓) ประชุม/ช้ีแจง ทําความเขาใจเกี่ยวกับการซื้อวัสดุครุภัณฑ

๔) กําหนดมาตรการรองรับโดยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบ.)

มติท่ีประชุม เห็นชอบ (ราง) แผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ.

๒๕๖๒ โดยมอบฝายเลขานุการแกไขตามขอเสนอแนะของกรรมการ และประสานงานกับผูชวยศาสตราจารย

อัจฉรา กลิ่นจันทร ผูชวยอธิการบดีฝายประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อกําหนดตัวช้ีวัดและเปาหมายของ

เหตุการณความเสี่ยง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของแผนบริหารความเสี่ยงกอนนําเสนอ

คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบ.) ตอไป

Page 38: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๕

วาระท่ี ๖ เรื่องอ่ืน ๆ

๖.๑ เรื่องจากอธิการบดี

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประยูร ลิ้มสุข อธิการบดี กลาวปราศัยกับคณะอนุกรรมการประเมิน

ความเสี่ยงการทุจริต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ กรณีที่มรีาชกิจจานุเบกษา ประกาศใชกฎหมาย

เกี่ยวกับการจัดต้ัง "กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรวิจัย และนวัตกรรม" โดยขณะน้ี มหาวิทยาลัยราช

ภัฏเพชรบูรณ ไดมีบันทึกขอความไปยังหนวยงานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย แจงแนวปฏิบัติการกําหนดอักษรยอ

ประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เปน "อว ๐๖๑๘...." ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย

และนวัตกรรม กําหนด และการออกเลขที่หนังสือราชการทั้งภายในและภายนอก ใหเริ่มนับ ๑ ใหม จนกวาจะ

มีประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ แจงใหทราบตอไป และถือปฏิบัติต้ังแตวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒

เปนตนไป

มติท่ีประชุม รับทราบ

ปดประชุมเวลา ๑๒.๐๐ น.

(นางวันวิสาข บุญจันทร)

ผูชวยเลขานุการ

ผูจดรายงานการประชุม

(นางใกลรุง เกตะวันดี)

อนุกรรมการและเลขานุการ

ผูตรวจรายงานการประชุม

(อาจารย ดร. ศิรินภา พรหมคํา)

ประธานอนุกรรมการ

Page 39: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๖

Page 40: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๗

Page 41: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๘

ภาคผนวก จ ประมวลภาพบรรยากาศการประชุมคณะอนุกรรมการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

(คร้ังท่ี ๒/๒๕๖๒)

Page 42: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๓๙

Page 43: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๔๐

Page 44: PCRU - คํานําcouncil.pcru.ac.th/attachments/article/246/O37-1.pdf · 2019-05-16 · ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

แ ผ น บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี ย ง ก า ร ทุ จ ริ ต ป ร ะ จํา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๒ | ๔๑