NisitNaksuksa Vol.43

16
หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉบับที่ 43 เดือนมกราคม ปการศึกษา 2551 ผลประเมิน ชี้ “ผาอาจารยใหญ” กิจกรรม อันดับหนึ่งแหงงาน จุฬาฯ ดานวิชาการ “ละคร อักษร” ควาแชมปละครยอดนิยม ในขณะที“ศาลาพระเกี้ยว” คนประเมินพอใจสูงสุดเชนกัน สวนภาพรวมงาน เต็มสิบ คนใหเกือบเกา ประธานสนับสนุน เผย พีอารไมดี บริการบลูทูธ เลยไมคอยไดผล นายสาริน ผดุงสวัสดนิสิตคณะครุศาสตร ประธานฝายประเมินผลงานจุฬาฯ วิชาการ 2551 ไดเปดเผยผลประเมินจากแบบประเมินผลงาน จุฬาฯ วิชาการ 2551 จากการสุมกลุมตัวอยาง จำานวน 11,140 คน วา คณะที่ไดคะแนนสูงสุดหา อันดับแรก ไดแก คณะแพทยศาสตร คณะวิศว- กรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะอักษรศาสตร และคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี ตามลำาดับ และหากประเมินโดยแบงตามประเภทเมือง พบวา เมืองที่ไดคะแนนการประเมินสูงที่สุด คือ เมืองวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตร สุขภาพ เมืองสังคมศาสตร และเมืองมนุษยศาสตร ตามลำาดับ สวนกิจกรรมที่ผูมาชมงานชื่นชอบที่สุด สามอันดับแรกไดแก กิจกรรมผาศพอาจารยใหญ ของคณะแพทยศาสตร การแสดงละครเวทีคณะ อักษรศาสตร และการสาธิตหุ นยนตกู ภัยของคณะ วิศวกรรมศาสตร สวนละครเวทีซึ่งมีการจัดแสดง จากแปดคณะ ผลปรากฏวา ละครเวทีคณะอักษร ศาสตรเปนที่ชื่นชอบมากที่สุด ตามมาดวยคณะ วิทยาศาสตร และคณะรัฐศาสตร ตามลำาดับ นายสาริน ยังกลาวถึงผลการประเมินอีก วา ขอที่ไดรับคะแนนสูงสุดสามอันดับแรกไดแก ความประทับใจจากการเขาชมนิทรรศการทีศาลาพระเกี้ยว ความรูหรือประโยชนที่ไดรับจาก การเขาชมงาน และความนาสนใจของเนื ้อหาภาย ในงาน สวนขอที่ไดรับคะแนนประเมินต่ำาที่สุด สามอันดับไดแก ความเพียงพอของรถชมงาน การใหบริการกระจายขาวสารผานทางบลูทูธ และการใหบริการแผนที่โตตอบบนคอมพิวเตอร หรือเนวิเกเตอร ตามลำาดับ ในสวนของผลการประเมินจากคำาถาม ที่วา “หากงานจุฬาฯ วิชาการครั้งนี้ มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ทานจะใหกี่คะแนน” ผลคะแนนเฉลี่ย คือ 8.797 คะแนน นอกจากนีนายสารินยังใหขอมูลอีกวา ผูมางานเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ถึงรอยละ 84.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน รอยละ 6.8 และผูที่กำาลังศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ 6.7 ใน ฉบับ ควันหลง จุฬาฯ วิชาการ ’51 คณะแพทยเจง คะแนนนิยมสูงสุด ประเมินภาพรวมไดคะแนนเกือบเต็ม ! ทวีพร คุมเมธา นายพชร อารยการกุล นิสิตคณะวิศว- กรรมศาสตร ชั้นปที่ 4 ประธานฝายสนับสนุน งานจุฬาฯ วิชาการ 2551 กลาวถึงผลการประเมิน ที่การใหบริการขาวสารผานบลูทูธและการให บริการแผนที่โตตอบบนคอมพิวเตอรหรือ เนวิเกเตอร ไดคะแนนในระดับต่ำาวา เปนเพราะ การประชาสัมพันธเกี ่ยวกับการใหบริการทั ้งสองมี นอยเกินไป ผูมาชมงานจึงไมไดมาลองใชบริการ ดังกลาว โดยเฉพาะบริการบลูทูธ ที่จำาเปนตองมี โทรศัพทมือถืออยูในเครือขายจำานวนมาก จึงจะ สามารถกระจายขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ นายพชรยังใหความเห็น เกี่ยวกับรถรางรับสงภายในงานดวยวา ตนยอมรับวา รถรางที่มีบริการอยู มีจำานวนไม เพียงพอ เนื่องจากงบประมาณมีนอย นายคธา นุแรมรัมย นิสิตคณะครุศาสตร ประธานจัดงานจุฬาฯ วิชาการ 2551 ระดับนิสิต กลาววา ผลการประเมินไมควรถูกนำามายึดถือวา เปนเครื่องชี้วัดความสำาเร็จของคณะหรือเมือง นั้นๆ โดยเฉพาะความสำาเร็จของเมือง เพราะแต ละเมืองมีจำานวนคณะไมเทากัน เชน เมืองมนุษย- ศาสตรที่มีเพียงสองคณะ ไดแกคณะอักษรศาสตร และคณะศิลปกรรมศาสตร ในขณะที่เมืองวิทยา- ศาสตรสุขภาพมีถึง 10 คณะ นอกจากนี้ การทีธรรมชาติของแตละศาสตรมีลักษณะที่ตางกัน ก็ทำาใหความนาสนใจของงานที่จัดออกมาตาง กันดวย การประเมินความสำาเร็จจึงควรประเมิน จากคุณภาพของงานที่ออกมาจะดีกวา “ความนาสนใจของแตละศาสตรนั้นมี ลักษณะที่ตางกัน แตในที่สุดแลว แตละศาสตร ก็ตองพยายามสื่อเนื้อหาออกมาในรูปแบบ ของตัวเอง ดึงเอกลักษณของตัวเองออกมาใหได” นายคธากลาว ซึ่งความเห็นดังกลาวสอดคลองกับ ความเห็นของนายสารินที่กลาววา ตนเห็นวาผล ประเมินคงไมสามารถชี้วัดความสำาเร็จของ แตละคณะได หากแตสิ่งที่ผลการประเมินชี้วัดได คือ ความประทับใจหรือความติดตาตรึงใจของ ผูชมงานตอกิจกรรมนั้นๆ มากกวา “คะแนนที่ออกมาไมไดบงบอกความ สำาเร็จ แตบอกวา คนติดภาพ หรือ ติดตราตรึงใจ กับกิจกรรมใด ของคณะใดมากที่สุด เชน กิจกรรม ผาศพอาจารยใหญ ที่คนยอมตองตื่นเตนมากกวา บอรดความรู ของเมืองสังคมศาสตร” นายสารินกลาว “บลูทูธ” กับ “เนวิเกเตอร” ระบบดี แตคนไมรู ดานรถรางมีนอยไป เพราะงบจำากัด ! ประธานจัดงานฯ เนนย้ำา คะแนนประเมินดี ไมไดแปลวาเจง ! นิสิตแพทยกำาลังสาธิตการผายปอดในนิทรรศการจุฬาฯ วิชาการ พ.ร.บ.คอมฯ บนโลกอินเทอรเน็ต สกูปหลัก หนา 8 ตาตอตา! 6 ผูสมัครผูวาฯ กับนโยบายวัยรุสัมภาษณ หนา 6 “อุม สิริยากร” กับขั้นบันไดแหงชีวิต สัมภาษณ หนา 15 ก็แคเรื่อง...ธรรมดา บทความ หนา 5

description

Journalism, Comm Arts, Chulalongkorn University - Newspaper

Transcript of NisitNaksuksa Vol.43

Page 1: NisitNaksuksa Vol.43

หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉบับที่ 43 เดือนมกราคม ปการศึกษา 2551

ผลประเมิน ชี้ “ผาอาจารยใหญ” กิจกรรม

อันดับหนึ่งแหงงาน จุฬาฯ ดานวิชาการ “ละคร

อักษร” ควาแชมปละครยอดนิยม ในขณะที่

“ศาลาพระเกี้ยว” คนประเมินพอใจสูงสุดเชนกัน

สวนภาพรวมงาน เต็มสิบ คนใหเกือบเกา

ประธานสนับสนุน เผย พีอารไมดี บริการบลูทูธ

เลยไมคอยไดผล

นายสาริน ผดุงสวัสด์ิ นิสิตคณะครุศาสตร

ประธานฝายประเมินผลงานจุฬาฯ วิชาการ 2551

ไดเปดเผยผลประเมินจากแบบประเมินผลงาน

จุฬาฯ วิชาการ 2551 จากการสุมกลุมตัวอยาง

จำานวน 11,140 คน วา คณะที่ไดคะแนนสูงสุดหา

อันดับแรก ไดแก คณะแพทยศาสตร คณะวิศว-

กรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะอักษรศาสตร

และคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี ตามลำาดับ

และหากประเมินโดยแบงตามประเภทเมือง

พบวา เมืองที่ไดคะแนนการประเมินสูงที่สุด คือ

เมืองวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตร

สุขภาพ เมืองสังคมศาสตร และเมืองมนุษยศาสตร

ตามลำาดับ

สวนกิจกรรมที่ผู มาชมงานชื่นชอบที่สุด

สามอันดับแรกไดแก กิจกรรมผาศพอาจารยใหญ

ของคณะแพทยศาสตร การแสดงละครเวทีคณะ

อักษรศาสตร และการสาธิตหุนยนตกูภัยของคณะ

วิศวกรรมศาสตร สวนละครเวทีซึ่งมีการจัดแสดง

จากแปดคณะ ผลปรากฏวา ละครเวทีคณะอักษร

ศาสตรเปนที่ชื่นชอบมากที่สุด ตามมาดวยคณะ

วิทยาศาสตร และคณะรัฐศาสตร ตามลำาดับ

นายสาริน ยังกลาวถึงผลการประเมินอีก

วา ขอที่ไดรับคะแนนสูงสุดสามอันดับแรกไดแก

ความประทับใจจากการเขาชมนิทรรศการที่

ศาลาพระเกี้ยว ความรูหรือประโยชนที่ไดรับจาก

การเขาชมงาน และความนาสนใจของเน้ือหาภาย

ในงาน สวนขอที่ไดรับคะแนนประเมินต่ำาที่สุด

สามอันดับไดแก ความเพียงพอของรถชมงาน

การใหบริการกระจายขาวสารผานทางบลูทูธ

และการใหบริการแผนที่โตตอบบนคอมพิวเตอร

หรือเนวิเกเตอร ตามลำาดับ

ในสวนของผลการประเมินจากคำาถาม

ที่วา “หากงานจุฬาฯ วิชาการครั้งนี้ มีคะแนนเต็ม

10 คะแนน ทานจะใหกี่คะแนน” ผลคะแนนเฉลี่ย

คือ 8.797 คะแนน

นอกจากนี้ นายสารินยังใหขอมูลอีกวา

ผูมางานเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ถึงรอยละ 84.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

รอยละ 6.8 และผูที่กำาลังศึกษาระดับปริญญาตรี

รอยละ 6.7

ใน ฉบับ

ควันหลง จุฬาฯ วิชาการ ’51

คณะแพทยเจง คะแนนนิยมสูงสุดประเมินภาพรวมไดคะแนนเกือบเต็ม !ทวีพร คุมเมธา

“บลูทูธ” กับ “เนวิเกเตอร” ระบบดี แตคนไมรู

ดานรถรางมีนอยไป เพราะงบจำากัด !

นายพชร อารยการกุล นิสิตคณะวิศว-

กรรมศาสตร ชั้นปที่ 4 ประธานฝายสนับสนุน

งานจุฬาฯ วิชาการ 2551 กลาวถึงผลการประเมิน

ที่การใหบริการขาวสารผานบลูทูธและการให

บริการแผนที่ โต ตอบบนคอมพิวเตอร หรือ

เนวิเกเตอร ไดคะแนนในระดับต่ำาวา เปนเพราะ

การประชาสัมพันธเก่ียวกับการใหบริการท้ังสองมี

นอยเกินไป ผูมาชมงานจึงไมไดมาลองใชบริการ

ดังกลาว โดยเฉพาะบริการบลูทูธ ที่จำาเปนตองมี

โทรศัพทมือถืออยูในเครือขายจำานวนมาก จึงจะ

สามารถกระจายขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ นายพชรยังใหความเห็น

เกี่ ยวกับรถรางรับส งภายในงานด วยว า

ตนยอมรับวา รถรางที่มีบริการอยู มีจำานวนไม

เพียงพอ เนื่องจากงบประมาณมีนอย

ประธานจัดงานฯ เนนย้ำา

คะแนนประเมินดี ไมไดแปลวาเจง !

นายคธา นุแรมรัมย นิสิตคณะครุศาสตร

ประธานจัดงานจุฬาฯ วิชาการ 2551 ระดับนิสิต

กลาววา ผลการประเมินไมควรถูกนำามายึดถือวา

เปนเครื่องชี้วัดความสำาเร็จของคณะหรือเมือง

นั้นๆ โดยเฉพาะความสำาเร็จของเมือง เพราะแต

ละเมืองมีจำานวนคณะไมเทากัน เชน เมืองมนุษย-

ศาสตรทีม่เีพยีงสองคณะ ไดแกคณะอกัษรศาสตร

และคณะศิลปกรรมศาสตร ในขณะที่เมืองวิทยา-

ศาสตรสุขภาพมีถึง 10 คณะ นอกจากนี้ การที่

ธรรมชาติของแตละศาสตรมีลักษณะที่ตางกัน

ก็ทำาใหความนาสนใจของงานที่จัดออกมาตาง

กันดวย การประเมินความสำาเร็จจึงควรประเมิน

จากคุณภาพของงานที่ออกมาจะดีกวา

“ความนาสนใจของแตละศาสตรนั้นมี

ลักษณะที่ตางกัน แตในที่สุดแลว แตละศาสตร

ก็ต องพยายามสื่อเนื้อหาออกมาในรูปแบบ

ของตัวเอง ดึงเอกลักษณของตัวเองออกมาใหได”

นายคธากลาว

ซึ่ งความเห็นดังกล าวสอดคล องกับ

ความเห็นของนายสารินที่กลาววา ตนเห็นวาผล

ประเมินคงไมสามารถชี้วัดความสำาเร็จของ

แตละคณะได หากแตสิ่งที่ผลการประเมินชี้วัดได

คือ ความประทับใจหรือความติดตาตรึงใจของ

ผูชมงานตอกิจกรรมนั้นๆ มากกวา

“คะแนนที่ออกมาไมไดบ งบอกความ

สำาเร็จ แตบอกวา คนติดภาพ หรือ ติดตราตรึงใจ

กับกิจกรรมใด ของคณะใดมากที่สุด เชน กิจกรรม

ผาศพอาจารยใหญ ทีค่นยอมตองตืน่เตนมากกวา

บอรดความรูของเมืองสังคมศาสตร” นายสารินกลาว

“บลูทูธ” กับ “เนวิเกเตอร” ระบบดี แตคนไมรู

ดานรถรางมีนอยไป เพราะงบจำากัด !

ประธานจัดงานฯ เนนย้ำา

คะแนนประเมินดี ไมไดแปลวาเจง !

นิสิตแพทยกำาลังสาธิตการผายปอดในนิทรรศการจุฬาฯ วิชาการ

พ.ร.บ.คอมฯ บนโลกอินเทอรเน็ต

สกูปหลัก หนา 8

ตาตอตา! 6 ผูสมัครผูวาฯ กับนโยบายวัยรุน

สัมภาษณ หนา 6

“อุม สิริยากร” กับขั้นบันไดแหงชีวิต

สัมภาษณ หนา 15

ก็แคเรื่อง...ธรรมดา

บทความ หนา 5

Page 2: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 2 บทความ / บทบรรณาธิการ

อนาคตที่ไกลกวา

ชวงเทศกาลปใหม สินคาประเภทของขวัญรวมไปถึงของชำารวย นับเปนสินคาที่ชวยกระตุนการหมุนเวียนของเม็ดเงินใน

ประเทศซึ่งสรางสีสันและความคึกคักเนื่องในวันเทศกาล แตสำาหรับปนี้ ดวยผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ ทำาใหผูคนเนนการใช

จายอยางประหยัด รานคาประเภทนี้จึงไดรับผลกระทบไปตามกัน

หลังจากผานสองสัปดาหแรกของเดือนธันวาคม ก็เริ่มเห็นสัญญาณของเทศกาลปใหมปนี้ที่เปนไปอยางเงียบเหงา เมื่อผูซื้อ

ตางวิตกกับสัญญาณเตือนภัยทางเศรษฐกิจป 2552 จนตางเก็บเงินไวในกระเปา และเร่ิมมองหาตัวเลือกอ่ืนสำาหรับอวยพรวันปใหม

เชน การใหบัตรอวยพร หรือาจเปนของขวัญทำามือ เมื่อเปนเชนนี้รานคาตางๆ ที่ตองการการอยูรอด จำาเปนตองคิดหากลวิธีในการ

ดึงลูกคาใหเขามาซื้อของผานการลด แลก แจก และแถม

ปญหานี้มีความชัดเจนอยางหนึ่ง คือความตองการที่สวนทางกันของผูซื้อและผูขาย เปรียบเทียบกับภาคธุรกิจขนาดใหญ

จึงไมแปลกที่บริษัทอุตสาหกรรมขนาดใหญพากันปดตัวลง กระนั้นธุรกิจขนาดเล็กก็ยังโชคดีเพราะสินคาขายไดนอยลง แตยังไมถึง

กับตองปดตัวลง โดยสวนใหญพยายามเนนใหธุรกิจดำาเนินตอไปได แตหากจะหวังถึงผลกำาไรมากมายนั้น เชื่อวารานคาทั้งหลาย

คงไมกลาคิด

ในปนี้สำาหรับผูที่ยังซื้อของขวัญนั้น จะมีการพิจารณาเลือกของมากขึ้น ซึ่งถาหากมองยอนในปที่ผานมา ปจจัยที่มีผลตอ

การซื้อ ดูจะเปนตัวของขวัญที่สวยงาม ถูกใจผูเลือก ดวยความที่อยากใหของที่สวยที่สุด (ในสายตาของคนซื้อ) จากนั้นจึงดูราคา

แลวคอยพิจารณาถึงความเหมาะสมของผูรับ นี่เปนกระบวนการคิดที่แลวมาในการเลือกซื้อของขวัญ

ดังนั้นจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่บีบบังคับดังเชนปนี้ ทำาใหผูซื้อของขวัญเลือกมองความสมเหตุสมผลของราคาและมีความ

เหมาะสมกับตัวผูรับมากกวา

มุมมองที่เปลี่ยนแปลงไปในปใหมครั้งนี้ อาจทำาใหผูคนเริ่มหันกลับมามองความเปน ‘ของขวัญ’ มากขึ้น เพราะที่ผานมาผู

คนเลือกซื้อ โดยมิไดซึบซับความรูสึกไปกับชวงเวลาการเลือก และการใหมากนัก

เพราะแทจริงแลวของขวัญเปนสิ่งแทนความรูสึกที่เรามอบใหแกกัน แตมิใชตัวของขวัญที่มีความสำาคัญยิ่ง ความรูสึกที่เรา

สัมผัส ณ ชวงเวลาที่ให/รับ ตางหากที่มีคากวาสิ่งอื่นใด นั่นคือความเปนนามธรรมของมัน สวนประโยชนทางรูปธรรมนั้นคือเรื่อง

รองลงมา

เปนที่นาสังเกตวา การที่ประเทศประสบกับวิกฤตทางเศรษฐกิจ อาจทำาใหเราใสใจตอสิ่งที่จะมอบใหผูอื่น แมจะเปนเพียง

ผลพลอยไดจากปจจัยที่มาบีบบังคับ แตอยางนอยก็เปนแงมุมดีๆ ที่เกิดขึ้น อีกทั้งในความเปนจริงแลว ทุกคนรูความหมายของ

‘ของขวัญ’ตลอดจนเขาใจถึงคุณคาของมันมากกวาที่มูลคาจะมาบดบัง

นอกจากนี้ ปจจัยหนึ่งซึ่งมิอาจมองขามไป อีกทั้งยังตอกย้ำาความย่ำาแยของเศรษฐกิจที่เปนอยู คือปญหาความขัดแยงทาง

การเมืองภายในประเทศ ซ่ึงในชวงท่ีผานมาไดสงผลกระทบตอภาคการผลิต การสงออก การทองเท่ียว การบริการ ตลอดจนประชาชน

ทุกภาคสวน กระทั่งขณะนี้ ปญหาดังกลาวเริ่มเบาบางลงเมื่อประเทศไดรัฐบาลชุดใหมเขามาบริหาร

หัวหนาทีมเศรษฐกิจหรือนายกรัฐมนตรีคนใหมไดชูประเด็นเศรษฐกิจ วาเปนวิกฤตที่ตองแกโดยเรงดวน จำาเปนตองมองกัน

ตอไปวา นโยบายที่ออกมานั้นมีแนวโนมจะทำาใหดีขึ้น หรือเลวรายลงไปอยางไร เพราะในเวลานี้ประชาชนทุกคนตองการให

เศรษฐกิจดีขึ้น เพื่อเปนของขวัญสำาหรับปใหมนี้

เทากับวารัฐบาลใหม จะตองอยูในฐานะของผูให ดังนั้นสิ่งที่ควรกระทำา คือพิจารณาความสมเหตุสมผลของราคา และความ

เหมาะสมของตัวผูรับใหมากเขา เพราะที่ผานมาผูใหที่ชื่อวารัฐบาลมักจะมองแตของที่ดูสวยที่สุดในสายตาของตนมากกวาจะ

พิจารณาถึงความเหมาะสมของตัวผูรับเสมอ

แนนอนวาการเลือกของขวัญใหประชาชนในครั้งนี้มีความยากลำาบาก แตกระนั้นเมื่อเปรียบเทียบกับตอนป 2540 นั้น ครั้ง

นี้ถือวาไมเลวรายจนเกินไปนัก เมื่อพิจารณาวาครั้งนั้นเราอยูใจกลางของพายุหมุนทางเศรษฐกิจ แตครั้งนี้เราแคไดรับลูกหลงเทา

นั้น ขอเพียงรัฐบาลมีความมุงมั่นที่จะแกไขปญหาเพื่อประชาชน และประชาชนพรอมที่จะใหโอกาสรัฐบาลใหมทำางานอยางเต็มที่

ทางออกของวิกฤตนี้คงไมยากจนเกินไปนัก

จากเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในปที่ผานมา เช่ือวาจะทำาใหวันเทศกาลท่ีเพ่ิงผานพนไป ย่ิงมีความสำาคัญมากข้ึน เพราะ

อยางนอยก็เปนชวงเวลาใหเราทุกคนไดผอนคลายความตึงเครียดท่ีไดพบมาตลอดท้ังป และของขวัญจะไดทำาหนาท่ีของมันอยาง

สมบูรณ

‘ของขวัญ’เรื่อง : กฤตพจน พงศถิรประสิทธิ์

ชินพัฒน กีรติวิบูลย

เจาของ: ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บรรณาธิการผูพิมพผูโฆษณา: อ.มานพ แยมอุทัย

ที่ปรึกษา: อ.มานพ แยมอุทัย, อ.พรรษาสิริ กุหลาบ

สถานที่ติดตอ: ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถ.พญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน

กรุงเทพฯ 10330

E-mail: [email protected]

กองบรรณาธิการและศิลปกรรม: สงฟาง จรุงกิจอนันต, วรุตม โอนพรัตนวิบูล, อรพร บาลี, ธรรมฤทธิ์ เอกสมิทธ,

กรกช สุริยาอาภรณ, กฤตพจน พงศถิรประสิทธิ์, ชญตา ธารไพศาลสมุทร, ชัญญา ติ๋วตระกูล, ชินพัฒน กีรติวิบูลย,

ณัฐชา วิวัฒนศิริกุล, ทวีพร คุมเมธา, ทักษยา วัชรสารทรัพย, ธรรมพร ดีปลื้ม, ปรัช เกียรติพงษสาร, พชรกร อนุศิริ,

วรวรรษ รักวงษ, วัชราวุธ ลีภาคภูมิพานิชย, วุฒิพงษ ทานะมัย, สรวิศ จำานาญศิลป, สุธินี ภูโกสีย, แสงอรุณ วรรณจู,

หนอแกว เสนพันธุ, อรณิชชา โภชนจันทร, อัจฉริยา เอิบประสาทสุข, อิสสริยา อาชวานันทกุล,

ในปคริสตศักราช 1985 ภาพยนตรเรื่อง Back to

the Future หรือเรียกเปนภาษาไทยวา “เจาะเวลาหาอดีต”

ไดเขาฉาย มันเปนเรื่องเกี่ยวกับเด็กหนุมคนหนึ่งที่มีเพื่อน

เปนนักวิทยาศาสตรสติเฟองซึ่งสามารถใหกำาเนิดรถยนตรที่

สามารถเดินทางขามเวลาไดสำาเร็จดวยเคราะหซ้ำากรรมซัดทำา

ใหเด็กหนุมคนนั้นตองทองเวลาไปในชวงตางๆ ทั้งอดีตและ

อนาคตเพื่อคลี่คลายปญหาที่เกิดขึ้น

ที่เลามานี้ก็เพราะมีขอนาสังเกตวา ในฉากอนาคตของ

ภาพยนตรนั้น โลกกาวหนาเกินขอบเขตจินตนาการของ

คน ทั่วไปในตอนนั้นมาก อาทิ บานเมืองเต็มไปดวยรถราที่

ลอย อยูบนฟา เสื้อผาที่ปรับไซสเองได สเก็ตบอรดติดจรวด

เปนตน อนาคตที่อยูในถาพยนตรนั้นหากใครไดดูก็คงคิดวา

เปนเรื่องที่กวาจะเกิดขึ้นก็คงอีกนานแสนนาน แตหารูไมวา

เวลาในภาพยนตรน้ันเพ่ิงจะอยูเพียงปลายปค.ศ.2015 เทานั้น

ในเวลาของโลกแหงความเปนจริงที่นิสิตนักศึกษา

เลมนี้ไดออกมานั้น เราก็เพิ่งยางเขาป 2009 มาหมาดๆ หาก

ดูจากแนวโนมของสถานการณเศรษฐกิจ คาน้ำามันที่ผันผวน

และการเมืองในปจจุบัน ก็คงจะยากที่อีก 6 ปเด็กๆจะไดเลน

สเก็ตบอรดติดจรวด คนจะไมตองเลือกไซสเสื้อผา และเมือง

จะเต็มไปดวยรถบินได

คงเป นเพราะว าจินตนาการน้ันไร ขอบเขตและ

กฎเกณฑกระมัง จึงทำาใหอนาคตในภาพยนตรดูสดใสและนา

สนุก แตในความเปนจริงแลว เทคโนโลยีตางๆ ที่ดูเหมือน

จะสามารถรังสรรคอนาคตซึ่งดูเหมือนฝนไดนั้น กลับถูกผูก

มัดดวยขอบังคับตางๆ อยางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทำา

ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรพ.ศ.2550 ที่เราได นำา เสนอไวใน

ฉบับนี้ก็สามารถใชเปนตัวอยางของสิ่งที่ผูกมัด อนาคตไวได

เชนกัน เพราะกฎหมายดังกลาวนั้นมีสวนเปนอยางยิ่งที่

ทำาใหผูคนหวาดกลัวการมีตัวตนบนอินเทอรเน็ต

อยางไรก็ตาม กอนที่จะสรุปความใดลงไป เราควรไตร

ตรองดูกอนวา เพราะเหตุใดพ.ร.บ.ฉบับนี้จึงรางขึ้นมาบังคับ

ใช่ อาจเพื่อปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการที่คนปลอย

ขาวลวงเสียๆ หายๆ ผานอินเตอรเน็ต หรือเพราะคนเราพึง

ใชโปรแกรมผิดกฎหมายและละเมิดทรัพยสินทางปญญาตางๆ

ดวยคอมพิวเตอรก็เปนไดมิใชหรือ

เมื่อเทคโนโลยีไมสามารถถูกใชไดดวยตัวมันเอง

สุดทายแลวขอสรุปก็มักจะมาอยูท่ีตัวบุคคลวาใครจะเลือกสราง

อนาคตแบบใด เพราะอนาคตที่อยูในจินตนาการจะเกิดขึ้น

ไดก็มาจากสองมือของมนุษยเทานั้น เมื่อเปนเชนนั้นความ

จริงสิ่งที่ผูกมัดอนาคต ไมใชสิ่งใดเลยนอกจากตัวมนุษยเอง

เห็นไดจากเรื่องขอบังคับและกฎเกณฑที่มากำากับเทคโนโลยี

ตางๆ ก็ลวนมีเหตุมาจากพฤติกรรมของคนทั้งนั้น

ถึงแมวาปจจุบันของความเปนจริงกับในภาพยนตร

จะตางกันมากเพียงใดก็ตาม ก็ยังคงมีความเปนจริงอีกอยาง

หนึ่ง คือหากมนุษยเปนผูที่ผูกมัดอนาคตเอง ก็มีเพียงเราแต

ละคนเทานั้นมิใชหรือที่จะสามารถคลายเงื่อนเหลานั้นได

หากสังคมมีแนวโนมไปในทางดังกลาว ในภายภาคหนาเรา

คงไดเห็นความเปนจริงอีกอยางวา เมื่อเทียบกับจินตนาการ

บนจอเงินแลว อนาคตที่สองมือเราสานนั้นสามารถไปไดไกล

กวามากมายนัก

บทบรรณาธิการ

Page 3: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 3ขาว

แมคาตลาดสามยานใหมเซ็ง

ปรัช เกียรติพงษสาร

ผู ประกอบการภายในตลาดสามยาน

แสดงความไมพอใจ หลังยายกิจการมาที่ตลาด

สามยานใหมรวมครึ่งป แตมีลูกคาไมมากเหมือน

กอน ดานผูจัดการสวนงานบริหารกิจการยืนยัน

ไดประชาสัมพันธอยางสุดความสามารถแลว แต

ติดปญหาที่ตั้งและการเดินทางไมสะดวก ย้ำาจะ

เรงสรางความสัมพันธชุมชนเพื่อดึงลูกคา

นางนงเยาว ชุมสุข เจาของรานอาหาร

เจริญซีฟูด ที่เปดมานาน 40 กวาปตั้งแตตลาด

สามยานเกา เปดเผยวา หลังยายกิจการมาตลาด

สามยานใหม ธุรกิจแยลงอยางเห็นไดชัด ลูกคา

ขาประจำายายไปรับประทานอาหารที่ตลาดสวน

หลวงแทน ทั้งที่ตอนแรกคิดวาธุรกิจจะดีขึ้น

“ที่ผานมาทำาแลวไมมีกำาไรเลย มีแตขาด

ทุน รายไดนอยลงมาก ไมไดหายไปนิดหนอย

หายไปประมาณ 3 สวน 4 ไมรูเหมือนกัน

วาจะเอากำาไรจากไหนมาหมุน อีกอยางขาประจำา

ก็หารานไมเจอ ไมรูวารานอยูไหน เลยมาไมถูก”

นางนงเยาว กลาว

นอกจากนี้นางนงเยาวยังกลาวอีกวา

ที่ตลาดสามยานเกานั้น ปกติจะมีลูกคาประมาณ

200 รายตอวัน แตเมื่อยายมากลับมีลูกคาแค

เพียง 80 – 100 คนตอวันเทานั้น โดยเฉพาะ

จากนิสิตนักศึกษาที่มักพารุนนองมาเลี้ยงอาหาร

ประจำาทุกปตั้งแตเริ่มตนปการศึกษา แตปนี้กลับ

หายไปเกือบหมด

ในขณะที่นางนันทพร รัตนทุมมาพร

เจาของรานกาแฟยูลง ที่เพิ่งเริ่มดำาเนินกิจการ

พรอมกับตลาดสามยานใหมไดประมาณ 6 เดือน

แสดงความเห็นวา หากมีการโฆษณาประชา

สัมพันธ ทั่ วถึงกว านี้ลูกค าจะมาเดินตลาด

สามยานใหมมากขึ้น

“เปดมาครึ่งปแลวยังไมคอยมีคน ยิ่งชวง

นี้มีการประทวง คนยิ่งไมมาเดิน ไมกลาออก

จากบาน โดยเฉพาะตอนนี้เงียบมาก จะขายดี

เฉพาะชวงเทศกาล หรือตอนที่มีโฆษณาออกไป

อยางครั้งหนึ่งออกรายการตลาดสดสนามเปา

ชอง 5 คนก็มาถามหา บอกวาดูมาจากรายการนี้

เลยมากิน แตตอนนี้ไมคอยมีโฆษณาเทาไหร ก็

กลับมาเงียบอีกแลว แลวเศรษฐกิจก็มาแยอีก”

นางนันทพรแสดงความเห็น

นายนนทพัฐษ ทองรอด นิสิตชั้นปที่ 2

คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หนึ่ งในลูกค าตลาดสามย านที่ เคยอุดหนุน

รานอาหารเปนประจำา เห็นวาควรมีการประชา

สัมพันธใหทั่วถึง และมีปายบอกอยางชัดเจน

“ไมเคยเห็นปายโฆษณาตลาดสามยาน

ใหม ที่เดินมาถึง คือถามทางเอา จริงๆ ไดยิน

มานานแลววาตลาดสามยานยายที่ใหม แตหา

ทางไปไมถูก ไมมีปายเดนๆ คอยบอกทาง”

นายนนทพัฐษ กลาว

ในขณะที่นางสาวเมย เทียนสิงหชัย

นิสิตปริญญาโทชั้นปที่ 2 คณะเศรษฐศาสตร

จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยแสดงความเห็น

ในเร่ืองดังกลาววา ตนชอบรับประทานอาหารท่ี

ตลาดสามยานอยูแลว จึงไมเปนปญหาเมื่อตลาด

สามยานยายที่ตั้งไปที่อื่น พรอมทั้งยังพอใจกับ

สถานที่ใหมอยางมาก เนื่องจากสะอาดขึ้นกวา

เดิมหลายเทา และคิดวาทางตลาดสามยานใหม

โฆษณาเพียงพอแลว

สำาหรับเรื่องนโยบายการประชาสัมพันธ

นางทรงศรี ลิ้มเลิศรส ผูจัดการสวนงานบริหาร

กิจการตลาดสามยาน ยืนยันวาไดทำาอยางสุด

ความสามารถในการประชาสัมพันธ ตลาด

สามยานใหมใหเปนที่รูจัก

“ตอนนี้ใชสื่อโฆษณาแทบทุกชอง ที่ผาน

มามี 8 รายการ คือ มอรนิ่ง ทอลค สถานี

สนามเปา เชฟมือทอง จอดอรอย ชั่วโมงทำากิน

ตลาดสดสนามเปา สีสันบันเทิงและซอกแซก

ออกอากาศไปทั้งหมด 10 ครั้งแลว อยางอื่นก็มี

ใบปลิว ปายบอกทาง นี่ก็ถือวาทำาเต็มที่แลว ถา

เทียบกับที่อื่น” นางทรงศรี อธิบาย

สวนเหตุผลที่ตลาดสามยานใหมมีลูกคา

ตำารวจเตือนลอดรั ้วขามถนนหนาบัญชีอันตราย!กรกช สุริยาอาภรณ

ตำารวจหวงนิสิตขามถนนนอกทางขามหนา

คณะบัญชีฯ หวั่นเกิดอุบัติเหตุโดยเฉพาะชวง

จราจรหนาแนน ชี้ผิดกฎหมาย แนะหากตองการ

บังคับเขมงวดใหประสานงานกับเขต ดานนิสิต

อางสะดวกเปนหลักเพราะทางขามท่ีมีอยูไกลเกิน

ร.ต.อ. วรพจน พจนานุวัตร รองสารวัตร

จราจร ส.น.ปทุมวัน กลาววา ปจจุบันมีคนจำานวน

มากท่ีขามถนนนอกทางมาลายบริเวณหนาประตู

เล็กของคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี ซึ่ง

สวนมากเปนนิสิตจุฬาฯ ทั้งที่บริเวณดังกลาวมี

ทางขามขนาบทั้ง 2 ดาน คือทางมาลายตรงสี่

แยกไฟจราจรและสะพานลอยหนาคณะนิติศาสตร

แมทางกรุงเทพมหานครจะติดตั้งแผงรั้วสีเขียว

ตรงเกาะกลางถนนเพื่อกั้นไมใหคนเดินผาน และ

นำาลวดเหล็กมาขึงขวางชองวางระหวางเสาไฟกับ

รั้วที่คนสามารถเบียดตัวเขา-ออก แตก็ยังไม

สามารถปองกันได

ร.ต.อ. วรพจนชี้แจงวา จะมีคนขามถนน

ในบริเวณดังกลาวตลอดทั้งวัน และเมื่อพิจารณา

จากจำานวนรถที่พลุกพลานในเวลาเชาและหัวค่ำา

แลว จึงนาเปนหวงวาจะเกิดอุบัติเหตุได เพราะมี

แนวโนมที่คนขามอาจถูกรถเฉี่ยวชนเอาได ถึง

แมวาจะยังไมมีผูไดรับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจาก

การถูกเฉี่ยวชนในชวง 1 ปที่ผานมาก็ตาม

อยางไรก็ตาม ร.ต.อ.วรพจนกลาววา การ

ไมขามถนนบริเวณที่จัดไวถือเปนความผิดที่

มีโทษไมรายแรง คือ มีโทษปรับไมเกิน 200

บาท นอกจากนี้ ตำารวจยังมีหนาที่อื่นๆ ที่สำาคัญ

มากกวา คือ การควบคุมผูกระทำาผิดท่ีเปนผูใชรถ

มากกวาที่เปนคนเดินถนน “ตามกฎหมายจริงๆ

ตำารวจสามารถจับได แตในความเปนจริงไมมี

ตำารวจคนไหนไปจับหรอก สวนใหญจะวากลาว

ตักเตือนมากกวา” ร.ต.อ.วรพจนกลาว

ร.ต.อ.วรพจนใหความเห็นวาหากทาง

จุฬาฯ ตองการจะบังคับใหเขมงวดจริงยอมทำาได

แตก็ตองประสานงานกับหลายฝายทั้งทางเขต

ปทุมวันและทางตำารวจ “อยางสภานิสิตฯ ก็ควร

ประชาสัมพันธกอน แลวไปประสานงานกับเขต

แลวใหเขตมาดำาเนินการในสวนนั้น เชน ขึงลวด

หนาม หรือปลูกตนไมตลอดแนว ซ่ึงนาจะสามารถ

ควบคุมไมใหมีนิสิตเดินขามไดเลย” รองสารวัตร

จราจร ส.น.ปทุมวันกลาว

นายปรัชญา ชลาธารพิพัฒน นิสิตชั้นป

ท่ี 2 คณะเศรษฐศาสตร กลาววา ตนมักขามถนน

ในบริเวณดังกลาวเปนประจำา เพราะการเดินขาม

สะพานลอยหรือทางมาลายทำาใหเสียเวลาและ

ตองเดินออมวกกลับไปมา ถาเพื่อนของตนเดิน

ขามนอกทางขามกันหมด ตนก็ไมอยากเดินขาม

สะพานลอยคนเดียว นอกจากนี้นายปรัชญยัง

กลาวเสริมอีกวาถามีการสรางอุโมงคใตดินตน

ก็คงจะใช เพราะไมเหนื่อยเทาการเดินขามดวย

สะพานลอย

อยางไรก็ตามนางสาวฤดีมาศ สังขันธ

นิสิตชั้นปที่ 2 คณะนิติศาสตร กลาววา ตนใช

สะพานลอยขามตลอด ไมเคยขามถน นอกทาง

ขามตรงหนาคณะบัญชีฯ เลย เพราะกลัวถูกรถชน

และยังมองวาการทำาเชนนั้นอันตรายและมีความ

เสี่ยงมาก

ดาน นางสุพิชชา อัศวภาณุมาศ ผูใชรถ

ผานเสนทางดังกลาวเปนประจำากลาววา เวลาที่

ตนขับรถก็ไมคิดวาจะมีคนขามนอกทางขามโดย

กะทันหัน เพราะเห็นวามีทางขามทั้งทางมาลาย

และสะพานลอยอยูแลว ดังน้ันถาตนขับรถมาดวย

ความเร็วสูง ก็คงเบรกไมทัน ทำาใหเกิดอุบัติเหตุ

ได อีกทั้งการชะลอรถใหคนขามนอกทางขามก็

ทำาใหตนรูสึกหงุดหงิด เพราะตองมาเอื้อความ

สะดวกใหกับคนที่ไมเคารพกฎจราจร

“คนที่จะขามควรจะพิจารณาดูวาถาตัว

เองขามในท่ีถูกทาง อุบัติเหตุก็จะไมเกิด และก็ทำา

ตามกฎจราจรดวย” นางสุพิชชากลาว

สวน พ.ต.อ. วัลลภ ประทุมเมือง รอง

ผูบังคับการ ตำารวจนครบาล 6 ที่มีบทบาทกำากับ

ดูแลพื้นที่ ส.น. ปทุมวัน ใหความเห็นวา ถึงแม

วาที่ผานมายังไมมีบันทึกอุบัติเหตุที่เกิดจากคน

ขามถนนนอกทางขาม แตก็ไมอยากใหมองวา

เปนเรื่องที่กระทำาไดโดยปกติ เพราะทุกคนบน

ทองถนน รวมทั้งคนเดินถนน ควรเคารพกฎ

จราจรโดยเครงครัด และการขามถนนนอกทาง

ขามยอมมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุไดสูง เพราะคนขับ

รถแตละคนมีความระมัดระวังไมเทากัน

ลูกคานอย ผูจัดการชี้ที่ตั้งไมสะดวก เรงสรางสัมพันธชุมชนมาเดินนอยนั้น นางทรงศรีชี้วาเปนเพราะสถานที่

ตั้งอยูใจกลางเมือง มีอาคารอยูรอบดาน ไมไดตั้ง

อยูริมถนนเหมือนสถานที่เดิม ทำาใหไมสะดวกตอ

การเดินทาง และเปนเรื่องที่ไมสามารถแกไขได

“ขอเสียหลักๆ คือตลาดอยูใจกลางเมือง

รถเมลเขาไมได เพราะถาเปนตลาดสามยานเกา

จะอยูหนาปายรถเมลพอดี พอคนลงรถเมลก็เขา

ตลาดไดเลย แตที่นี่ถาคนมารถเมลก็จะขี้เกียจ

เดินมา ซึ่งเราก็แกไขอะไรไมไดมาก เนื่องจาก

เปนเรื่องนโยบายของจุฬาฯ ที่ตองการปรับปรุง

ภูมิทัศน เลยยายตลาดสามยานมาที่นี่ แตเราจะ

พยายามเร งประชาสัมพันธ มากขึ้นเพื่อแก

ปญหาตรงนี้” นางทรงศรี กลาว

นอกจากนี้นางทรงศรี ยังกลาวถึงแผน

การประชาสัมพันธในอนาคตที่จะชวยดึงลูกคา

เพิ่มมากขึ้น โดยเนนการจัดกิจกรรมรวมกับ

ชุมชน เพราะเล็งเห็นวาเปนกลุมเปาหมายแรกที่

ควรสรางความสัมพันธใหเกิดขึ้น และจะสงเสริม

ใหเกิดการบอกตอออกไป

“ต อไปเราเตรียมทำาประชาสัมพันธ

ตอเลย สวนใหญทำากับชุมชนแถวนี้ เปนการ

สรางความสัมพันธแลวก็สรางใหเกิดการบอก

แบบปากตอปาก ลูกคาจะไดรูจักตลาดมากขึ้น

และมาเดินตลาดมากขึ้น อีกอยางคือ อยากให

ทุกคนมีสวนรวมกับตลาดสามยาน จะไดสรางวิถี

ชุมชนใหเกิดขึ้นดวย โครงการเราเตรียมไว

ทั้งหมด 3 โครงการ คือ การบริจาคโลหิต

การเตนแอโรบิค แลวก็การตักบาตรพระ 199 รูป

ซึ่งเราจะดำาเนินการอยางตอเนื่องในปหนา”

Page 4: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 4

เศรษฐกิจการเมืองทำาพิษ คาขายปใหมซบเซากฤตพจน พงศถิรประสิทธ์ิ,

ชินพัฒน กีรติวิบูลย

วิกฤตเศรษฐกิจและการเมืองสงผล

กระทบตอการซื้อขายในชวงเทศกาลปใหม

ยอดขายสินคาลดลงจากปกอน เปนผลใหคนเร่ิม

เก็บเงินไวกับตัว ขณะที่อาจารยจุฬาฯ ชี้เปน

ธรรมดาท่ียอดขายรวง แนะใชเศรษฐกิจพอเพียง

อยาฝากความหวังไวที่รัฐบาลใหมอยางเดียว

นางจงจิตร สัมพัสนีธำารงค เจาของ

ราน Grape รานกิฟตชอป ยานสยามสแควร

กลาววา ชวงปใหมนี้ขายไดไมดีเทาชวงปใหม

ของปที่แลว เนื่องมาจากปญหาทางเศรษฐกิจ

และการเมืองภายในประเทศ

“สินคาในรานเราเปนของสวยๆ งามๆ แต

ก็เปนของฟุมเฟอยไมไดมีความจำาเปนมากนัก

คาเงินแข็งข้ึน ตนทุนก็จะสูงข้ึน ทางรานก็พยายาม

คงราคาขายไวใหเหมือนเดิมมากที่สุดเทาที่

จะทำาได แมวาอาจจะไดรับผลกระทบที่ทำาให

รายไดลดนอยลงไปบางก็ตาม” นางจงจิตรกลาว

ขณะที่นางสาววีราพร พรหมเมา

พนักงานขายประจำาราน mola ซึ่งขายอุปกรณ

เครื่องเขียน กลาววา ทางรานก็ไดรับผล

กระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจเชนกัน “ยอดขาย

ชวงปใหมนี้อยูที่ประมาณ 3,000 บาทตอวัน

ซึ่ งถือว าไม ดี เท า เดือนก อนหน านั้นที่มี

ยอดขายประมาณ 6,000 บาทตอวัน”

นางสาววีราพรกลาว

นอกจากนี้ ธุรกิจหนังสือก็ไดรับผล

กระทบเชนกัน นางสาวพิมพวรินท บัวจันทร

โปรดักตแอดไวเซอร ประจำารานหนังสือ

Bookazine กลาวถึงยอดขายหนังสือของราน

ในชวงปใหมนี้วาต่ำาลงปที่แลวโดยเฉลี่ยกวา

รอยละ 40 เปนเพราะเศรษฐกิจไมดี อีกทั้งยัง

มีเรื่องการเมืองมาเกี่ยวของ

“ชวงปลายปที่ผานมานี้ มีคนมาชุมนุม

ประทวงเรื่องการเมืองแถวสยามสแควร ทำาให

คนซื้อตางกลัวและไมกลามาซื้อของกัน ยอด

ขายก็เลยหายไปเยอะ และยิ่งมีเหตุการณยึด

สนามบิน ทำาใหหนังสือที่สั่งไวไดมาชา ทำาให

วางขายไดชากวาที่ควรจะเปน ทำาใหเสียราย

ไดไปมากพอสมควร” นางสาวพิมพวรินทกลาว

ปญหาการขาดสภาพคลองทางเศรษฐกิจ

ที่รานคาตางๆ ไดรับผลกระทบนี้ เกิดจากผู

บริโภคเลือกที่จะใชจายดวยความระมัดระวัง

มากขึ้นกวาแตกอน

นายวีระ วัชรัตนศิริยุทธ เจาหนาที่

สินเชื่อ ธนาคารกรุงเทพกลาวถึงเศรษฐกิจไทย

ในขณะน้ีวา ไมมีผลตอการซ้ือของในชวงปใหม

ยังคงซื้อตามปกติ เงินที่นำามาซื้อของนั้นมาจาก

การลดปริมาณการใชในสวนอื่นๆ

“ชวงเศรษฐกิจไมดี ก็พยายามลดการใชเงิน

ลงมาบาง เร่ิมเปล่ียนมาใชบริการโดยสารสาธารณะ

มากข้ึน ลดปริมาณอาหารม้ือใหญลง จากท่ีแตกอน

กินสัปดาหละคร้ัง เปนเดือนละคร้ัง บางเดือนก็ไมได

กินเลย ซ่ึงเงินท่ีไมไดใชไปในสวนตางๆ เหลาน้ีก็จะ

นำามาใชในชวงปใหมท่ีกำาลังจะมาถึง” นายวีระกลาว

ดานนางสาวนุชชาดา สมานคติวัฒน

นิสิตคณะสหเวชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ชั้นปที่ 1 กลาววา เศรษฐกิจไทยไมมีผลตอการ

ซื้อของในชวงปใหมเชนกัน โดยเธอตั้งใจไวจะ

ซื้อของใหเพื่อนในราคาที่ไมแพงมากจนเกิน

ไป เพราะยังอยูในวัยที่ไมไดหาเงินดวยตัวเอง

“ดวยความที่ตนเปนคนมัธยัสถ ก็ตั้งใจไว

วาจะซื้อพวงกุญแจอันเล็กๆ ใหเพื่อนๆ อันละ

ไมเกิน 20 บาท หากมากกวานั้นจะลำาบาก

เพราะเงินที่พ อแมให มาก็มีอยู อย างจำากัด”

นางสาวนุชชาดากลาว

ขณะที่ผศ.ดร.สุจิตรา ตุลยาเดชานนท

อาจารยประจำาภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชย

ศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กลาววา ในชวงเทศกาลปใหม รานคาจำาพวกของ

ขวัญประเภทของใชในชีวิตประจำาวันนาจะไดรับ

ผลกระทบมาก เน่ืองจากในสภาวะเศรษฐกิจปจจุบัน

ขาวของที่จำาเปนคือปจจัย 4 มิใชของฟุมเฟอย

“คนอาจจะซ้ือของเหลาน้ี แตจะซ้ือในมูลคา

ที่ลดลง เนนการพิจารณามากขึ้น เมื่อรายได

ไมไดเพิ่มขึ้น อีกทั้งภาวะเศรษฐกิจที่เปนอยู

เหมือนกับเผาเราทั้งเปน ทำาใหทุกคนจำาเปนตอง

ใชจายอยางรัดกุม โดยเนนที่ปจจัย 4 เปนหลัก”

ผศ.ดร.สุจิตรากลาว

ผศ.ดร.สุจิตรากลาววา หากรัฐบาลใหม

ยังคงใชนโยบายประชานิยม โดยสงเสริมให

ประชาชนสามารถกูยืมไดงายจะทำาใหเศรษฐกิจ

ตกต่ำาลงไปอีก

“มันเหมือนกับคนเราเลือดออก แตแทนที่

จะหามเลือด กลับทำาใหเลือดออกเพิ่ม กลายเปน

วาไหลไมหยุด ถายังคงเดินไปในทางเดิมๆ คนที่

จะตายก็คือประชาชน ดังนั้นรัฐบาลควรใช

นโยบายท่ีทำาเพ่ือประโยชนสวนรวมอยางแทจริง”

ผศ.ดร.สุจิตรากลาว

ในเวลาน้ี อาจารยสุจิตราไดเสนอทางเลือก

ใหนำาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช “เมื่อ

รายไดเราไมเพ่ิม ส่ิงท่ีตองทำาคือการควบคุมรายจาย

ตองทำาความเขาใจเกี่ยวกับการออม หาเงินได

มาก มิใชการออม แตการควบคุมรายจายคือการ

ออม เพราะมีแตเราเทาน้ันท่ีเปนนายของเรา และ

เปนท่ีพ่ึงเดียวของเราเทาน้ัน”

ขาว

ครุฯ สรางอาคารใหม รื้อทางเดิน-โรงอาหาร กระทบแมคา-นิสิต

วุฒิพงษ ทานะมัย

คณะครุศาสตรทุบตึก-โรงอาหาร กระทบ

นิสิต-แมคา บนอุบไมมีที่กินขาวและที่ขาย ดาน

ผูรับผิดชอบชี้ จำาเปนตองสรางเพราะสถานที่

ขาดแคลน สวนเรื่องความไมสะดวกใหเหตุผลวา

เปนเรื่องปกติที่ตองปรับตัว

เมื่อชวงตนเดือนธันวาคมที่ผ านมา

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทำาการ

กอสรางอาคารใหมเพ่ือแกปญหาการขาดแคลน

สถานที่ของคณะ โดยการสรางอาคารใหมในคร้ัง

น้ีจะตอง ร้ือถอน อาคารโรงอาหาร อาคาร 2

บริเวณรานขายอาคารที่เปนซุมหนาโรงอาหาร

ตลอดจนบริเวณที่อยูระหวางอาคาร 2 และ 3

รวมทั้งทางเดินเชื่อมระหวางอาคาร สงผลให

นิสิตตองเปลี่ยนสถานที่รับประทานอาหาร ตอง

ใชเวลาเดินทางมากข้ึนและทำาใหผูประกอบการ

รานคาตองยายสถานที่คาขาย

นางสาวชนิดา ศิริเสรีวรรณ นิสิตชั้น

ปที่ 5 คณะครุศาสตรกลาววา ระหวางกอสราง

ทางเช่ือมอาคารจะถูกปด เวลาเดินไปแตละอาคาร

ตองออกทางถนนใหญ หรือไมก็ใชเสนทางลาน

จอดรถ ทำาใหเสียเวลา และการที่ทุบโรงอาหาร

ทิ้งก็ทำาใหนิสิตหลายคนตัดสินใจไมทานขาว

กลางวันเพราะโรงอาหารที่อยู ถัดไปตองใช

เวลาในการเดินทาง ซึ่งอาจทำาใหไปเรียนวิชาถัด

ไปไมทัน

“ถาจะทุบ นาจะเริ่มทำาตอนปดเทอมมาก

กวา อยางนอยในเทอมน้ีนิสิตกับแมคาจะไดไมมี

ผลกระทบมาก แลวก็รูสึกวามาทุบสรางใหมเอา

ตอนนี้มันสิ้นเปลือง เพราะตึกเพิ่งจะซอมไปเอง

ทำาพื้นใหม ทำากระจก ติดแอร ยังใชงานไมทัน

คุมเลย” นางสาวชนิดา กลาว

นางวรินทร พุมกุมาร ผูประกอบการ

รานคากลาววา เม่ือโรงอาหารถูกทุบ ตนก็ตอง

ยายสถานที่ขาย โดยในชวง 2 สัปดาหแรกยาย

ไปขายที่โรงอาหารสำานักงานอธิการบดีหนาหอ

กลาง และตอมาต้ังแตวันท่ี 22 ธันวาคม ก็ได

กลับมาขายที่คณะครุศาสตร โดยทางคณะจัด

เตรียมซุมไวให ซึ่งในชวงวันแรกที่ขายคอนขาง

ติดขัด เพราะสถานที่เล็กลงกวาเดิม ทำาให

เตรียมอาหารลำาบาก จากท่ีเคยมาทำาท่ีคณะไดก็

ตองเปลี่ยนเปนเตรียมจากที่บาน รวมทั้งตองลด

จำานวนคนงานลงดวย

รศ.ดร.สุกรี รอดโพธิ์ทอง อดีตรอง

คณบดีคณะครุศาสตร ซ่ึงเปนผูรับผิดชอบช่ัวคราว

ในโครงการสรางอาคารใหมครั้งนี้กลาววา สาเหตุ

ที่เริ่มตนโครงการนี้นั้นเปนเพราะอาคารเดิม

โดยเฉพาะอาคาร 2 นั้นมีอายุมากแลว กอสราง

ขึ้นมาตั้งแตสมัยกอตั้งคณะครุศาสตร ซึ่งผานมา

แลวกวา 50 ป รวมทั้งปจจุบันสถานที่ที่ใชใน

การเรียนการสอนไมเพียงพอ ทางคณะจึงเห็นวา

สมควรที่จะเริ่มโครงการนี้ขึ้นเพื่อเพิ่มพื้นที่

ใชสอย

รศ.ดร.สุกรี กลาวเพิ่มเติมวา ในระหวาง

การกอสราง ซึ่งประมาณไววาจะใชเวลาราว 4 -5

ป การปรับปรุงพื้นที่โดยรอบคณะคงจะกระทบ

ตอชีวิตประจำาวันของนิสิต โดยเฉพาะการเดิน

ทางและพื้นที่รับประทานอาหาร ในจุดนี้ตนเสนอ

ความเห็นวานิสิตควรคำานวณเรื่องเวลาใหดีขึ้น

เพราะเสนทางเชื่อมอาคารที่ถูกปดทำาใหตอง

ใชเวลามากกวาแตกอน ในระยะแรกอาจปรับตัว

ลำาบาก แตตนก็เชื่อวาเมื่อผานไป นิสิตคงจะ

จัดการเรื่องเวลาไดดีขึ้น สวนเรื่องของผูประกอบ

การนั้น ทางคณะก็ดูแลอยางเต็มที่ โดยจัดหา

สถานที่ขายใหมใหกับทุกราน

ทั้งนี้ อาคารที่อยูในระหวางการกอสราง

นั้นมีชื่อวาอาคารเฉลิมพระเกียรติพระมิ่งขวัญ

การศึกษาไทย อาคารนี้เมื่อสรางเสร็จจะใชเปน

ที่ทำาการของคณะผูบริหารคณะ และภาควิชา

ตางๆ นอกจากน้ี ยังมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

ศูนยวิจัย ชั้นลางจะมีหองชมรมอาจารย และที่

ทำาการสมาคมนิสิตเกาคณะครุศาสตร

ที่ทำากินใหม -- รานคาตางๆ ถูกยายมาบริเวณดานขางคณะครุศาสตรติดกับถนน ซึ่งตั้งเรียงรายกวา 8 ราน

ยอยยับ -- สภาพโรงอาหารคณะครุศาสตรและบริเวณใกลเคียง ท่ีกำาลังถูกร้ือถอน เพ่ือสรางอาคารเฉลิมพระเกียรติพระม่ิงขวัญการศึกษาไทย

Page 5: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 5

ก็แคเรื่อง...ธรรมดาเรื่อง : พชรกร อนุศิริ

อรณิชชา โภชนจันทรภาพนิสิตยืนอออยูนอกหองเรียนเพื่อขอ

ลงทะเบียนเพิ่มในรายวิชาของหมวดการศึกษา

ทั่วไป (General Education) บางรายวิชา กลาย

เปนภาพธรรมดาที่เกิดขึ้นในชวงเวลาการเปด

ภาคเรียนใหมทุกๆ ภาคเรียน บางคนถึงกับยอม

ตื่นแตเชาเพื่อมาใหถึงหองเรียนกอนเวลา เพราะ

รู ดีวาจำานวนที่นั่งในหองเรียนไมเพียงพอกับ

ความตองการของนิสิตที่แหแหนกันมามากมาย

ในคาบเรียนแรก ยิ่งไปกวานั้นบางรายวิชาถึงกับ

ตองจับฉลากเพื่อวัดดวงวาใครจะไดเรียนวิชานี้

ป ร ากฎการณ ดั ง กล า ว เกิ ดขึ้ นกั บ

รายวิชาศึกษาทั่วไปบางรายวิชาเทานั้น แมวา

ทุก เทอมจะมีการเป ดรับนิสิตจำ านวนมาก

และหลายตอนเรียน แตก็ยังไมเพียงพอกับ

ความตองการของผูเรียนอยูดี ในขณะที่บาง

รายวิชากลับมีที่นั่งอีกมากมายเหลืออยู แตนั่น

ก็ไมไดทำาใหสถานการณการแยงชิงที่นั่งของ

รายวิชายอดนิยมเปลี่ยนแปลงไปแมแตนอย

ขอมูลจากเว็บไซตของสำานักงานจัดการศึกษา

ทั่วไปจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเผยใหเห็นวา

ในแตละภาคเรียนจะมีวิชาในหมวดการศึกษา

ทั่วไปเปดสอนอยูมากมายนับรอยวิชา และใน

แตละรายวิชาก็มีการเปดรับนิสิตเปนจำานวน

มาก อยางบางรายวิชา เชน วิชาเครื่องสำาอาง

ในชีวิตประจำาวัน (Cosmetics for Daily Life)

เปดรับนิสิตจำานวนถึง 600 คน ในหนึ่งตอน

เรียน หรือวิชาอารยธรรม (Civilization) ก็เปดรับ

นิสิตจำานวนมากถึง 300 คนในบางตอนเรียน

ดวยเชนกัน ดวยจำานวนที่นั่งดังกลาวนาจะ

รองรับจำานวนผูเรียนได และไมนาจะนำาไปสู

วิกฤตการณแยงชิงที่นั่งเหมือนในทุกภาคเรียน

ในภาคเรียนที่ 2 ของปการศึกษา 2550

มีจำานวนผูลงทะเบียนเรียนในหมวดการศึกษา

ท่ัวไปจำานวน 8,991 คน และจำานวนกวาหน่ึงพัน

คนในท่ีน้ีเปนผูท่ีลงทะเบียนเรียนในวิชายอดนิยม

อยางวิชามนุษยสัมพันธ (Human Relations) คิด

เปนประมาณรอยละ 11 ของจำานวนผูลงทะเบียน

ในวิชาของหมวดศึกษาทั่วไปในภาคเรียนนั้น

วิชามนุษยสัมพันธ ในกลุมสังคมศาสตร

เปนตัวอยางของวิชาหมวดการศึกษาทั่วไปที่

ไดรับความนิยมเปนอยางมากมาเปนเวลานาน

แมวาจะมีการเปดรับนิสิตจำานวนมากกวาหนึ่ง

พันคนแลว แตในทุกภาคเรียนก็ยังมีจำานวน

นิสิตที่รับเกินมาเกือบเทาตัวในแตละตอนเรียน

ความโดงดังของวิชานี้มีมากจนทำาใหหลายคน

ถึงกับยอมวัดดวง ลงทะเบียนเรียนซ้ำาแลวซ้ำาอีก

ทุกภาคเรียน บางคนถึงกับใชเวลาตั้งแตปหนึ่ง

ถึงปสี่กวาจะลงทะเบียนได หรือไมก็ยอมมานั่ง

เรียนคนเดียวโดยไมตะขิดตะขวงใจ เพราะดวย

อัตราการแขงขันที่สูง การไดเรียนวิชานี้พรอม

เพื่อนๆ ในกลุมเพื่อนคงจะเปนไปไดยาก

ความโดงดังของวิชามนุษยสัมพันธนั้น

ไมใชเร่ืองแปลก เพราะจากสถิติผลการเรียนเฉลี่ย

ของนิสิตที่ลงเรียนในวิชานี้ ของสำานักทะเบียน

และประมวลผล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ปรากฏวา สูงถึง 3.92 ในภาคเรียนที่ 1 ของ

ปการศึกษา 2550 และสูงถึง 3.83ในภาคเรียนที่

2 ของปการศึกษา 2550 ซึ่งแสดงใหเห็นวามีผูที่

ไดผลการเรียนในเกรดเอเปนจำานวนมาก และ

เมื่อนำามาเปรียบเทียบกับรายวิชาในหมวดสังคม

อื่นๆ เชน วิชาอารยธรรม ซึ่งเปนวิชาที่หลาย

คนใหความเห็นวายาก และพยายามหลีกเลี่ยงที่

จะลงเรียนวิชานี้ ปรากฎวามีผลการเรียนเฉลี่ย

ของนิสิตที่ลงเรียนวิชานี้ในภาคเรียนและปการ

ศึกษาเดียวกันคือ 3.06 และ2.86 ชี้ใหเห็นความ

ตางของจำานวนผู ไดเกรดเอในสองรายวิชานี้

ไดอยางชัดเจน

อนุสรร แสงนิ่มนวล นิสิตคณะ

วิศวกรรมศาสตร ชั้นปที่ 3 ภาควิชาวิศวกรรม

เครื่องกล หนึ่งในผูโชคดีที่สามารถควาที่นั่งใน

วิชามนุษยสัมพันธ บอกวา ตนเองโชคดีที่ลง

ทะเบียนในวิชานี้ได แมวาจะตองมาเรียนคน

เดียวก็ตาม เพราะทราบมาวาคนที่ลงเรียนวิชา

นี้สวนมากมักจะไดเกรดเอ ซึ่งตรงกับความตอง

การของตนที่จะทำาเกรดเฉลี่ยสะสมใหไดถึง

ระดับเกียรตินิยม

อนุสรรยังบอกอีกวา คะแนนเฉลี่ยสะสม

มีความจำาเปนอยางยิ่งสำาหรับผูที่ศึกษาในสาย

วิศวกรรมศาสตร “ถาเกรดไมดี จะหาที่ทำางาน

ดีๆ หรือแมแตที่ฝกงานดีๆ คงเปนเรื่องที่ยาก

อยางที่บริษัทเชฟรอน ถาจะไปฝกงานในสาย

วิศวกรรมไดอยางนอยก็ตองมีเกรดเฉลี่ย 3.00

ขึ้นไป เกรดในวิชาของคณะวิศวฯ ถาจะใหไดเอ

นั้นคอนขางยาก ดังนั้นจึงจำาเปนตองหาวิชาใน

หมวดศึกษาทั่วไปมาชวยใหเกรดดีขึ้น”

ไมใชเรื่องแปลกที่นักศึกษาจะใหความ

สำาคัญกับผลการศึกษาหรือเกรดเปนอันดับ

หนึ่ง แมวาบางคนอาจจะมีความตองการศึกษา

หาความรูในสิ่งที่สนใจอยูมากก็ตาม แตในโลก

แหงความเปนจริง ที่ตลาดแรงงานมักจะใชเกรด

เปนตัววัดระดับคุณคาและความรู ก็เปนสิ่งที่

นักศึกษาหลายคนเห็นวาไมอาจหลีกหนีได

เรื่องนักศึกษาเห็นแกเกรดจึงดูเหมือนเปนเรื่อง

ธรรมดาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งทุกคนตางก็รับ

รูแตไมมีใครคิดแกไขหรือแกไขไมได ไมตางกับ

เรื่องธรรมดาอีกหลายๆ เรื่อง เชน นักการเมือง

คอรัปชั่น ตำารวจรับสินบน ที่อยูเคียงคูสังคม

ไทยตลอดมา

ผศ.ดร.จุฑามาศ ตั้งสันติกุล อาจารย

ประจำาวิชาการออกแบบในชีวิตประจำ าวัน

(Design in Everyday Life) รายวิชาในกลุม

มนุษยศาสตร เห็นวาเรื่องที่นักศึกษามาเรียน

เพราะหวังเกรด เปนเรื่องที่เกิดขึ้นมานานแลว

อาจารยผูสอน ก็ไมสามารถทราบไดวานิสิตคน

ไหนมาเรียนดวยแรงจูงใจอะไร แตก็หวังวานิสิต

จะมาเรียนเพื่อตองการความรูที่สอนจริงๆ

อาจารยประจำาวิชาการออกแบบในชีวิต

ประจำาวันเลาวา ชวงแรกของการเปดเรียนจะ

มีนิสิตมาขอลงทะเบียนเรียนเปนจำานวนมาก

จนตองเปดรับเพิ่ม แตเมื่อเขาสูชวงของการ

เรียนการสอนจริงกลับมีนิสิตขาดเรียน และมา

สายเปนจำานวนมาก ซึ่ง

ตรงขามกับสิ่งที่นิสิตเคย

แสดงความตั้ งใจไว ใน

ตอนแรก

แม ว านักศึกษา

จำานวนมากจะมี

แนวโนมที่จะเลือก

เรียนในรายวิชา

ที่มั่นใจได ว าจะ

ไดเกรดดี แตก็

ยั ง มี นิ สิ ต อี ก จำ า

นวนไมนอยที่คิด

แตกตางไป

กะรัตพลอย ถ้ำาแกว นิสิตคณะนิเทศ-

ศาสตร ชั้นปที่ 4 ใหความเห็นวา หนวยกิต

ทุกหนวยกิตมีคามากสำาหรับตนเมื่อเทียบกับ

คาเทอมจำานวน 16,000 บาท ตนอยากใชแตละ

หนวยกิตเพื่อแลกกับความรู ที่ตนอยากเรียน

รู แมวาจะตองเหนื่อยเพื่อใหไดผลการเรียนที่ดี

ที่สุด แตก็รูสึกวาคุมคา หรือแมผลการเรียนจะ

ออกมาไมดีนัก ก็ไมไดรูสึกเสียใจแตอยางใด

“เกรดเอไมได ช วยใหทำางานไดดีขึ้น

อยากไดความรูก็ตองทำาอะไรบาง บางวิชาแมจะ

รู ว าสู คนอื่นหรือเพื่อนคณะอื่นที่มีพื้นฐาน

ดีกวาไมได แตก็อยากเรียน เพราะจะไดแลก

เปลี่ยนความรูใหมๆ กับเพื่อน” กะรัตพลอยกลาว

ดานน้ำาฝน ศรีโกมล นิสิตคณะอักษร

ศาสตร ชั้นปที่ 4 เอกภาษาสเปน ก็เชนเดียวกัน

เธอตองการหาความรูในสิ่งที่สนใจ นั่นคือดาน

วิทยุโทรทัศน ซึ่งเมื่อภาคเรียนที่ 2 ของปการ

ศึกษา 2550 เธอก็ไดเขามาลงทะเบียนเรียนใน

วิชาการผลิตรายการโทรทัศน 1 (Radio Pro-

duction1) ซึ่งเปนวิชาบังคับของภาควิชาสื่อสาร

มวลชน คณะนิเทศศาสตร โดยใหเหตุผลวา

เดิมทีนั้นตนเองเคยคิดจะเรียนนิเทศศาสตร เมื่อ

มีโอกาสจึงลองเขามาศึกษาหาความรูในวิชาที่

ตนสนใจ โดยไมกังวลวาจะไดเกรดอะไร และ

ไมรูวาวิชานี้มีความยากหรืองายเทาใด รูเพียง

แตวาตนสนใจและอยากเรียน แมจะตองมาเรียน

เพียงคนเดียวในตางคณะแตตนก็ไมไดรูสึกกังวล

แตอยางใด

“ความรู ในมหาวิทยาลัยมีอยู มากมาย

อยากเก็บเกี่ยวในสิ่งที่สนใจให ได มากที่สุด

เพราะเมื่อเราจบออกไปแลวจะไปหาความ

รูขางนอก โอกาสยอมไมมีใหเลือกมากเทาใน

มหาวิทยาลัย” น้ำาฝนกลาว

จุดประสงคของวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป

ที่แทจริง คือ ตอบสนองความตองการของนิสิต

เติมความสมบูรณใหแกบัณฑิต ดังนั้นรายวิชา

ที่เปดสอนในหมวดศึกษาทั่วไปจึงมีหลากหลาย

ใหเลือก แตนาเสียดายที่นิสิตหลายคนกลับ

ปลอยใหค านิยมในโลกแหงการแขงขันเขา

ครอบงำา จนบางครั้งอาจหลงลืมหรือมองขามจุด

ประสงคแหงความตั้งใจที่ดีนี้ไป

อาจเปนเพราะในวันนี้ คุณคาของเกรด

มีความหมายมากกวาการเติมเต็มความสม-

บูรณใหแกชีวิตในสิ่งที่ขาดหาย หรือหาไมไดจาก

นอกรั้วมหาวิทยาลัย

สังคมทุกวันนี้พอใจที่จะเห็นปญญาชน

ของชาติเติบโตไปพรอมความคิดเฉกเชนนี้หรือ?

อยาลืมวาความคิดเชนใด ยอมมาจากสังคมเชน

นั้น สังคมทุกวันนี้เปนสังคมเชนใด ปญญาชน

ของชาติถึงมีความคิดเชนนี้

คงจะดีไมนอยหากเราทั้งหลายจะเลิก

มองขามปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม และ

ปลอยใหปญหาเหลานั้นคอยๆ ฝงรากลึกจน

กลายเปนปญหาที่ทุกคนมองวาไมสามารถแกไข

ได

และลงทายดวยการอยู ร วมกับปญหา

ตางๆ เหลานั้นราวกับวา มันเปนเรื่อง...ธรรมดา

ความโดงดังของวิชานี้มีมากจนทำาให

หลายคนถึงกับยอมวัดดวง ลงทะเบียน

เรียนซ้ำาแลวซ้ำาอีกทุกภาคเรียน

บทความ

Page 6: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 6 สัมภาษณ

ตาตอตา! 6 ผูสมัครผูวาฯ

กับนโยบายวัยรุน

ใกลถึงวันลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู วาราชการกรุงเทพมหานครคนใหมเขาไปทุกที

นิสิตนักศึกษาฉบับนี้จึงขอเกาะกระแสโคงสุดทายในศึกชิงทำาเนียบผูวาฯ เผยนโยบายเกี่ยว

ของกับวัยรุนที่แตละทานมี มาลองดูกันวา 6 ผูสมัครผูวาฯ นี้จะมีความคิดนาสนใจ แปลก

ใหม และตรงใจคุณหรือไม แตที่สำาคัญไมวาคุณจะไดผูสมัครที่ถูกใจกอนเขาคูหาหรือยังลังเล

จนวินาทีสุดทาย อยาลืมออกไปใชสิทธิ์ใชเสียงของคุณใหเปนประโยชน และรวมเปนสวน

หนึ่งในการผลักดันระบอบประชาธิปไตยของประเทศของเราในวันที่ 11 มกราคมนี้

ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตรผูสมัครหมายเลข 2

(สังกัดพรรคประชาธิปตย)

คุณมีนโยบายเพื่อสนับสนุนการศึกษา

และการเรียนรูของนักศึกษาในระดับ

อุดมศึกษาอยางไร?

กทม.เองก็มีแผนในระยะยาวที่จะ

เปดมหาวิทยาลัย กทม. อีกสวนหนึ่งคือ

การสานตอโครงการของอดีตผูวาฯ อภิรักษ

โกษะโยธิน คือโครงการ WiMax เพื่อใหวัย

รุนใชอินเตอรเน็ตในการเรียนรูไดอยางไม

จำากัดพื้นที่

คุณมีความคิดใหวัยรุนแสดงออกผาน

กิจกรรมตางๆ อยางไร?

ใหวัยรุนไดใชตลาดที่มีชื่ออยางโบเบ

วังหลัง หรือตลาดนัดเปดใหมเพ่ือแสดงความ

คิดสรางสรรคผานงานฝมือตางๆ และนำามา

จำาหนาย สนับสนุนใหวัยรุนออกมาเลนกีฬา

กัน โดยจะสรางลานกีฬาออกกำาลังกายทั่ว

กรุง นอกจากนี้ชาวเมืองควรจะใชชีวิตรวม

กับธรรมชาติ ดังนั้นสวนสาธารณะจึงเปน

สถานที่ที่ทุกคนมาทำากิจกรรมตางๆ ได ไม

จำาเปนตองอยูบานอยางเดียว

คุณคิดวาอะไรเปนปญหาสำาคัญที่สุดที่

วัยรุนเผชิญ แลวคุณมีนโยบายในการ

แกไขปญหาเหลานั้นอยางไร?

วัยรุนในสมัยนี้ขาดความคิดท่ีจะกอ

ประโยชนแกสังคม ขาดความรูสึกรวมตอสิ่ง

ตางๆ รอบๆ ตัว ซ่ึงหน่ึงในโครงการท่ีวางไวคือ

เว็บไซต Young@Art ซ่ึงจะมีเกมตอบคำาถาม

ชิงรางวัล มุงเนนใหวัยรุนตื่นตัวตอความ

รูรอบตัว อีกเว็บไซตหนึ่งคือ YoungBangkok

เป นเว็บบอร ดให วัยรุ นโพสตอะไรก็ได

ที่ตองการ โดยมีทีมดูแลเว็บบอรด

และ ผู เ ช่ียวชาญมาช วยตอบคำ าถ าม

เด็กในมหาวิทยาลัยจะสามารถชวยคุณ

ในฐานะผูวาฯ ในการพัฒนากรุงเทพฯ

ไดอยางไรบาง?

สภาเยาวชนเปดโอกาสใหการพัฒนา

โครงการตางๆ เปนไปไดดี เพราะบางครั้ง

การพัฒนานโยบายตางๆ จะทำาในมุมมอง

ของผูใหญ แตวาถามีเยาวชนมามีสวนชวย

และแสดงความคิดเห็น นโยบายนั้นก็จะตรง

ตามความตองการของเยาวชน

ม.ล.ณัฏฐกรณ เทวกุล ผูสมัครหมายเลข 8

(ผูสมัครอิสระ)

คุณมีนโยบายเพื่อสนับสนุนการศึกษา

และการเรียนรูของนักศึกษาในระดับ

อุดมศึกษาอยางไร?

นโยบายที่ ดู อยู คื อ ระดับมั ธยม

ศึกษา โดยจะใหทุนการศึกษาปริญญาตรี 1

ทุนตอ 1 โรงเรียน ตอ 1 ป อีก 1 เรื่องคือการ

ใหโอกาสกับเด็กที่เปนออทิสติกและดาวน

ซินโดรม ซึ่งเปนไปไดที่จะใหโรงเรียนใน

กทม. มีหองพิเศษสำาหรับเด็กเหลานั้น

คุณมีความคิดใหวัยรุนแสดงออกผาน

กิจกรรมตางๆ อยางไร?

กิจกรรมดานอื่นๆ ยังไมไดมุงเนน

มากในตอนนี้ จะเล็งไปที่ปญหาสังคมและ

ปญหาปากทองกอน แนนอนวาถาทำาไป

สั ก พั ก ก็ จ ะ มี ค น ม า เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร

ที่แตะเรื่องพวกนั้น

คุณคิดวาอะไรเปนปญหาสำาคัญที่สุดที่

วัยรุนเผชิญ แลวคุณมีนโยบายในการ

แกไขปญหาเหลานั้นอยางไร?

การที่วัยรุนไมมีที่จะสามารถเรียนรู

ไดโดยปราศจากส่ิงรบกวน เชน อินเทอรเน็ต

คาเฟที่มี มันเขาไปนั่งทำาการบาน คนหา

ขอมูลไมได เพราะมีแตคนเลนเกมเสียงดัง

หองสมุดดีๆ หลายแหงก็ไมใหเด็กเขาไป คือ

ตองมี accessibility สำาหรับวัยรุน เชน TCDC

ที่เอ็มโพเรียม ถือวาดีแตเราตองมีมากขึ้น

หรือหองสมุดตางๆ ตองเปดใหเปนหองสมุด

ที่ทุกคนในกรุงเทพฯ ใชได

เด็กในมหาวิทยาลัยจะสามารถชวยคุณ

ในฐานะผูวาฯ ในการพัฒนากรุงเทพฯ

ไดอยางไรบาง?

อยากจะใหมีตัวแทนของสภาเยาวชน

กทม. มาเปนหนึ่งในที่ปรึกษาของผูวาฯ

ถาจะใหเยาวชนมีสวนรวม วิธีที่ดีที่สุดคือ

ใหเขารางโครงการขึ้นมาเลย วาทำาอะไร

ใชงบประมาณเทาไหร อยางไร แลว กทม.

คอยสานตอในขอเสนอของเขา

นายยุรนันท ภมรมนตรี ผูสมัครหมายเลข 10 (สังกัดพรรคเพื่อไทย)

คุณมีนโยบายเพื่อสนับสนุนการศึกษา

และการเรียนรูของนักศึกษาในระดับ

อุดมศึกษาอยางไร?

หนาที่เกี่ยวกับการศึกษาในระดับ

อุดมศึกษาเปนหนาที่ของรัฐบาลโดยสำานัก

การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ แตใน

ฐานะของผูวาฯ ก็สามารถสนับสนุนกิจกรรม

ตางๆ ที่รัฐบาลจัดได ไมวาจะเปนการใช

สถานที่หรือการใหความรวมมือตางๆ

คุณมีความคิดใหวัยรุนแสดงออกผาน

กิจกรรมตางๆ อยางไร?

เพิ่มพื้นที่สวนสาธารณะและเนน

กิจกรรมตางๆ ในสวนสาธารณะ รวมทั้งลาน

ตางๆ ในชุมชน ไมวาจะเปน ศิลปะดนตรีหรือ

อื่นๆและก็จะเนนในสภาเยาวชน เพื่อใหได

แสดงความคิดเห็นสำาหรับงานดานนิเทศฯ

เชน ทำาหนัง ก็จะเนนที่ Bangkok Film Festival

ก็จะเปดโอกาสใหนองๆ เยาวชนสามารถ

แสดงผลงานได

คุณคิดวาอะไรเปนปญหาสำาคัญที่สุดที่

วัยรุนเผชิญ แลวคุณมีนโยบายในการ

แกไขปญหาเหลานั้นอยางไร?

ที่จะเนนคือปญหาครอบครัว เพราะ

ครอบครัวเปนรากฐานสำาคัญของสังคมเมือง

ถาโครงสรางครอบครัวไมแข็งแรงสังคมเมือง

ก็จะมีปญหาได โดยจะมีการออกบัตร

ครอบครัว เพื่อใหครอบครัวมีเวลารวมกัน

ในวันใดวันหนึ่ง เมื่อโชวบัตรครอบครัวนี้

ก็จะไดสวนลดพิเศษจากสถานประกอบการ

ตางๆ ทั้งโรงภาพยนตร หางสรรพสินคา

หรือสวนสนุกที่รวมมือกับกทม.

เด็กในมหาวิทยาลัยจะสามารถชวยคุณ

ในฐานะผูวาฯ ในการพัฒนากรุงเทพฯ

ไดอยางไรบาง?

ในวันที่ 11 มกราคมนี้ ก็สามารถ

ทำาหนาที่ของตนในระบอบประชาธิปไตย

และออกไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง โดยใหดูจาก

นโยบายและศักยภาพที่ผู สมัครแตละคนมี

พิจารณาข อมูลดังกล าวแล วออกไปใช

สิทธิ์ใชเสียงใหไดผูวาฯ ที่ตรงใจเรา

นายแกวสรร อติโพธิ ผูสมัครหมายเลข 12

(ผูสมัครอิสระ)

คุณมีนโยบายเพื่อสนับสนุนการศึกษา

และการเรียนรูของนักศึกษาในระดับ

อุดมศึกษาอยางไร?

นิสิตนักศึกษาสามารถเป นผู จัด

กิจกรรมใหแกสาธารณะ ซึ่งโดยมากผูรวม

กิจกรรมน้ันก็จะเปนกลุมเยาวชนดวยกันเอง

จะเรียกว าเป นการสนับสนุนกันเฉยๆ

คงจะไมถูกนัก เพราะถือวาการรวมงานกัน

ระหวางมหาวิทยาลัยกับกทม. อยางจริงจัง

คุณมีความคิดใหวัยรุนแสดงออกผาน

กิจกรรมตางๆ อยางไร?

กทม. ตองคนหาและพัฒนาพื้นที่วาง

เปลามากมายในกรุงเทพฯ ท้ังพ้ืนท่ีใตทางดวน

พื้นที่ใตโครงขายสายไฟ หรือแมแตพื้นที่ที่

เปนพ้ืนท่ีตาบอด มาทำาเปนส่ิงมีชีวิตสาธารณะ

เปนสวนสาธารณะระดับชุมชน, แขวง และ

ยาน ในระดับชุมชนอาจทำาไดงายและรวดเร็ว

แปรสนามโรงเรียนกทม. เปนสวนสาธารณะ-

ลานกีฬาทุกเย็น บางแหงอาจมีลานกีฬา

Extreme เลยก็ได

คุณคิดวาอะไรเปนปญหาสำาคัญที่สุดที่

วัยรุนเผชิญ แลวคุณมีนโยบายในการ

แกไขปญหาเหลานั้นอยางไร?

วัยรุ นเป นวัยที่ต องการชีวิตหมู

คนหาและแสดงออกซึ่งตัวตนของเขาเอง

แต กลับไม มีการลงทุนเพื่อให พวกเขา

ไดมีกิจกรรมที่ตองการเลย กทม. จึงตองมี

มูลนิธิมาดูแลบริหาร ไมวาจะเปนดานกีฬา

หรือดนตรี เขามาจัดกิจกรรมตางๆ เชน การ

แขงขัน อบรม ดนตรีในสวน หรือเขาสอน

ในชุมชน จัดไปตามสถานท่ีตางๆ ตามความ

เหมาะสมของสถานท่ีและกลุมเปาหมาย

เด็กในมหาวิทยาลัยจะสามารถชวยคุณ

ในฐานะผูวาฯ ในการพัฒนากรุงเทพฯ

ไดอยางไรบาง?

นิสิตนักศึกษาที่อยู ในชมรมตางๆ

สามารถอาสาเปนโคช เปนหัวหนาทีมเยาวชน

เปนผูบริหารการแขงขัน เปนครูดนตรี

ตามที่จะมอบหมาย นอกจากนั้นยังเปน

อาสาสมัครสาธารณสุข ใหแกกรรมการ

ชุมชนหรืออนามัยชุมชนตางๆ ไดอีกดวย

ดานนางลีนา จังจรรจา ผูสมัครอิสระ

หมายเลข 3 ก็ขอเสนอนโยบายรื้อฟนมหาวิท-

ยาลัยกรุงเทพฯ เรงผลิตแพทยเฉพาะทางและ

พยาบาลวิชาชีพ ผลักดันหอศิลป กทม. ใหกลาย

เปนตลาดนัด 365 วัน เพื่อใหวัยรุนไดแสดง

ความคิดสรางสรรค และอาจจะใหผลงานเดนๆ

ไดวางขายตามหางสรรพสินคา หรือสงออก

ตางประเทศ เรื่องปญหาวัยรุน “ลีนาจัง” มอง

วาการม่ัวสุมทางเพศสำาคัญท่ีสุด โดยจะใหสอน

วิชาเพศศึกษาตั้งแตประถมฯ ตามแนวคิดที่วา

“เด็กมักอยากรูอยากเห็น เมื่อรูอยูแลว ก็จะไม

อยากรู”

สวนนางธรณี ฤทธีธรรมรงค ผูสมัคร

อิสระหมายเลข 4 ก็ไมยอมนอยหนา ขอปูพื้น

ฐานเร่ืองคุณธรรม-วัฒนธรรมไทยเสียใหม ท้ัง

การทำาความดี หรือแมแตเร่ืองงายๆ อยางการ

ไหว สนับสนุนใหวัยรุนไทยออกคายพัฒนา

ชนบท มุงใหครอบครัวอบอุนแนนแฟน และ

ขยายไปถึงระดับชุมชน นอกจากนี้วัยรุนยัง

สามารถมีสวนชวยหลายๆ โครงการของเธอ

ทั้งการปรับปรุงพื้นที่เขตชุมชนแออัดใหเปน

บานทรงไทยเรียงตอกันที่ใหเด็กสถาปตฯ มา

ชวยได หรือหนังสือพิมพเสียง กทม. ท่ีใหนิสิต

มาใชพื้นที่แสดงความเห็นของตนไดเชนกัน

เรื่อง : กรกช สุริยาอาภรณ

Page 7: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 7ความรู

เดิมทีแลวบริเวณตั้งแตหนาคณะครุศาสตรปจจุบัน

ไปจนถึงถนนพระรามส่ีเปนพ้ืนท่ีของจุฬาฯ ท่ีทางมหาลัยไมไดนำา

ไปใชประโยชน จึงเกิดเปนชุมชนท่ีอาศัยของคนไทย และคนไทย

เช้ือสายจีนท่ีมีรายไดนอย ประกอบอาชีพคาขายถานและขนมหวาน

เล็กๆ นอยๆ ใหแกนิสิต เปนชุมชุนท่ีเต็มไปดวยหองไมโกโรโกโส

ในสมัยนั้นมีการแบงหองเชาราคาถูกจำานวนมากไวใหนิสิตชาย

จับกลุมกันเชาพัก บานแตละหลังมีไมกระดานเชื่อมระหวางทาง

เดิน เพราะบริเวณขางใตเปนน้ำาครำาท่ีไหลมาจากคลองแสนแสบ

คนทั่วไปจึงเรียกที่แหงนี้วาเปนชุมชนสลัม

สวนบริเวณคณะนิเทศศาสตรปจจุบัน ในอดีตเคยเปนท่ีต้ัง

ของผับ สถานที่ขายหญิงบริการที่คนจีนเขามาประกอบอาชีพ

ยุคน้ันเรียกบริเวณน้ีวา ซองนางโลม เพราะราคาถูก อยูในหองไม

เล็กๆ ในยานสลัม

จนกระท่ังประมาณป พ.ศ. 2508 - 2510 จุฬาฯ ไดถมคลอง

ท่ีลอมรอบจุฬาฯ ท้ังหมด พรอมๆ กับยกแผนกอิสระส่ือสารมวลชน

เปนคณะนิเทศศาสตร และปรับสภาพที่ดิน เปลี่ยนพื้นที่ที่เคย

เปนสลัมใหกลายเปนหองแถวสองช้ัน เปนแหลงชุมชนท่ีมีสภาพ

ความเปนอยูที่ดีขึ้น หลังจากนั้นประมาณป พ.ศ. 2525 จึงมีการ

ปรับปรุง และสรางตลาดสามยานขึ้นใหม ใหเปนตลาดสองชั้น

ท่ีขายอาหารสด จนเปนทำาใหตลาดไดรับความนิยมจากผูจับจาย

ทั่วไปและชาวจุฬาฯ เอง

ตลาดสามยานในยุคแรกเร่ิมน้ัน ไมไดมีแคฝงตลาดสดฝงเดียว

แตยังมีตลาดฝ งตรงขามที่ปจจุบันกลายมาเปนจามจุรีสแควร

สมัยนั้นตลาดหลังคณะบัญชีฯ กินพื้นที่ไปถึงฝงสภากาชาดไทย

ผูคนในสมัยนั้นเรียกกันวา ตลาดโตรุง สภาพตลาดคลายกับ

ชุมชุนประตูน้ำา บางลำาพูในสมัยกอน คือจะมีตลาดสดอยูดานใน สวน

ริมถนนเปนตึกแถวสองชั้นที่เปดเปนรานขายอาหาร รานเสื้อผา

รานรองเทา รานของใชจิปาถะ ที่เรามักเรียกจนติดปากวา

รานโชวหวย

ตลาดโตรุงฝงบัญชีฯ ดูจะเจริญมากกวาฝงตลาดขายของสด

เพราะรานอาหาร รานหนังสือ รานพิมพเขียว โรงรับจำานำา

และสถานอาบอบนวด ฯลฯ ทำาใหบริเวณนี้ดูมีชีวิตชีวา คึกคัก

และพลุกพลาน โดยเฉพาะยามเย็นหลังนิสิตเลิกเรียน คลายๆ กับ

วา ตลาด จะเปนที่นัดชุมนุมของหนุมสาวในเวลานั้น

รานอาหารที่ขึ้นชื่อวาสุดยอดแหงความหรูหราในสมัยนั้น

คงหนีไมพนราน อี๊ โภชนา แหลงรวมอาหารทะเลเลิศรส

มีออสวนเปนเมนูข้ึนช่ือ ใครท่ีไดมีโอกาสเขาไปล้ิมรสถือวาโกไมนอย

รานหนังสือหลายรานเปนแหลงสรางนักเขียนที่เรา

คุนช่ือกัน ไมวาจะเปน คุณสุวรรณี สุคนธา ส.ศิวลักษณ ลวนเปน

บุคคลที่เริ่มตนงานเขียนจากรานหนังสือเล็กๆ หนาตลาดโตรุง

แหงนี้

ใครที่ผานไปผานมาแถวตลาดสามยานในสมัยนั้นเปน

ประจำา คงจะสะดุดตากับปายโฆษณาขนาดใหญริมถนนของสถาน

อาบอบนวด ส.โบต๋ัน สำานักนางโลมลือช่ือ เม่ือพูดถึงรับรองไดวา

ไมมีนิสิตชายคนใดในสมัยนั้นไมรูจัก

พื้นที่บริเวณตลาดโตรุงดานหลังคณะบัญชีฯ ไดรับการ

พฒันาปรบัปรงุมาเรือ่ยจนกระทัง่เมือ่ป พ.ศ. 2538 จฬุาฯ กด็ำาเนนิ

การทุบหองแถวทั้งหมด เพื่อสรางจามจุรีสแควร แมวาโครงการ

จะหยุดชะงักไปนับ 10 ป แตในทายที่สุดก็เสร็จสมบูรณ กลายเปน

หางสรรพสินคา ศูนยการเรียนรูแหงใหม ที่เหมาะกับยุคสมัย

ไฮเทคของนิสิตปจจุบัน

--เรียบเรียงจากคำาเลาขานของ รศ.ดร.ศักดา ปนเหนงเพ็ชร

อดีตนิสิตคณะครุศาสตร ปจจุบันเปนอาจารยภาควิชาวาทวิทยา

คณะนิเทศศาสตร และรศ.ดร.ยุบล เบญจรงคกิจ คณะบดี

คณะนิเทศศาสตร--

เรียงรอยคำ�เล� ยอน อดีต ส�มย�น

อดีต ส�มย�น คำ�เล�ของคนรุนตอรุน

ยอนหลังไปกว� 50 ปกอน ช�วจุฬ�ฯ คงคิดไมถึงว� รอบๆ มห�วิทย�ลัยนั้น

เต็มไปดวยสีสันแหงชีวิต นอยคนที่ไดเคยสัมผัสกับคว�มรูเหล�นั้น คว�มรูสึก ที่คนรุนหลัง

ไมมีท�งไดหวนกลับไปสัมผัสเองนอกจ�กจะรับรูไดจ�กคำ�บอกเล�ผ�นรุนตอรุนเท�นั้น . . .

นาวาเอกวรนิต ไชยหาญ หัวหนาฝายปฎิบัติงานสำานักงาน

ความรักษาความปลอดภัยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดบอก

สาเหตุของการเขมงวดกฎจราจรในจุฬาฯ กับเราวา กอนหนาน้ีนิสิต

ทำาผิดกฎจราจร สงผลใหการจราจรในจุฬาฯ ติดขัด รถในจุฬาฯ

เคลื่อนที่ไดชา สงผลใหจราจรภายนอกจุฬาฯ ติดขัดไปดวย โดย

เฉพาะเวลาเรงดวน ดังนั้นทางสำานักงานรักษาความปลอดภัย

เขาจึงนำากฎระเบียบที่มีอยูแลว มาปดฝุนและทำาใหกฎเขมแข็งขึ้น

โดยใชหลักการล็อคลอเพื่อเตือนนิสิตที่ทำาผิดกฎ ใหมารายงานตัว

และผลตอบรบัในขณะนีถ้อืวาดมีาก นสิติจฬุาฯ เกอืบทกุคน มคีวาม

เขาใจและปฏิบัติตามกฎระเบียบกันมากขึ้น ตอนนี้ก็เหลือเพียงแค

บุคคลภายนอก เชน ผูปกครองของนองๆ โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ท่ี

อาจจะยังไมทราบกฎและยังจอดรถกันผิดอยู

นางสาววลัยลักษณ อุดมวานิช นิสิตคณะนิเทศศาสตร

ชั้นปที่ 3 เลาใหเราฟงวา ปกติแลวเธอแอบจอดรถในที่หามจอด

บริเวณคณะครุศาสตรอยูเสมอ แตหลังจากท่ีมีการเขมงวดกฎจราจร

รถของเธอก็ถูกล็อคลอ และเธอสังเกตเห็นวาเพื่อนคนอื่นที่ทำาผิด

กฎจราจรก็โดนล็อคลอเชนกัน ไมมีรายไหนรอดสายตาพี่ยาม

ไปไดเลย

ในดานของการเสียคาปรับ นาวาเอกวรนิต บอกเราวา

ในตอนนี้ยั งไม มีการปรับเงินนิสิตที่ทำ าผิดอย างจริงจังนะ

เพราะที่ผานมา ลำาพังเพียงเตือนดวยการล็อคลออยางเดียวก็ไดผล

แลว นิสิตที่มารายงานตัวไดพูดคุยกับเจาหนาที่ของสำานักงาน

รักษาความปลอดภัย ทำาใหเกิดความเขาใจ มีการเปลี่ยนแปลง

ทัศนคติของตนเอง และไมทำาผิดกฎจราจรกันอีก

แตทานนักขับทั้งหลายอยาเพิ่งไดใจเมื่อเห็นวายังไมมีการ

ปรับเงิน เพราะในอนาคตจะมีการลงโทษผูผาฝนกฎจราจรกันจริงจัง

มากขึ้น และใครที่ยังทำาผิดก็จะถึงเวลาเสียเงินเสียทองกันจริงๆ

คาปรับเมื่อถูกล็อคลอครั้งแรกอยูที่ 100 บาท หากมีครั้งที่สอง

จะเพิ่มเปน 200 บาท ครั้งที่สามเพิ่มเปน 400 บาท และถาถูก

ล็อคลอถึงสี่ครั้งขึ้นไปคาปรับจะพุงถึง 1000 บาทเลยทีเดียว แถม

อาจจะถูกสงชื่อไปที่ฝายกิจการนิสิตเพื่อพิจารณาตัดคะแนน

ความประพฤติอีกดวย

สวนความผิดสำาหรับคนที่ปลอมแปลงบัตรอนุญาตจอดรถ

หากถูกจับไดจะถือเปนความผิดทางอาญา ผูที่ปลอมแปลงจะถูก

แจงดำาเนินคดีตามกฎหมายแนนอน

เห็นอยางนี้แลว ใครไมอยากทำาผิดกฎจราจรขอแนะนำาให

จอดรถอยางถูกท่ีถูกทาง โดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปดบริการ

พื้นที่สำาหรับจอดรถบริเวณตึกจามจุรี 9 ที่สามารถจุรถไดถึง 800

คัน หรือจะเปนที่จตุรัสจามจุรีก็ไดไมวากัน ถึงแมวาจะตองเสียคา

จอดรถ (600 บาทตอเดือน) แตก็ถือวาเปนการเสียสละเพื่อ

ประโยชนสวนรวม และที่สำาคัญการจราจรในจุฬาฯ จะไดเลิกติดขัด

กันเสียที…สาธุ!

ผูใชรถใชถนนในจุฬาฯ ทุกคน โปรดฟงทางนี้ ตั้งแตวันที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผานมา มหาวิทยาลัยของเราไดเขมงวดกับการฝาฝนกฎจราจรมากขึ้น ตั้งแตการจอดรถ

ในพ้ืนท่ีหามจอด การจอดรถผิดท่ี ไปจนถึงการปลอมแปลงบัตรอนุญาตจอดรถ โดยพ่ียามของเราจะล็อคลอรถยนตของนิสิตท่ีทำาผิดกฎจราจร และนิสิตจะตองไปรายงานตัว

ที่สำานักงานรักษาความปลอดภัยแหงจุฬาฯ เพื่อเสียคาปรับและบันทึกความผิดลงในระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัย

ผูใชรถในจุฬาฯ ทราบแลวเปลี่ยนเรื่อง : อรณิชชา โภชนจันทร, พชรกร อนุศิริ

เรื่อง : ชัญญา ติ๋วตระกูล, สุธินี ภูโกสีย

Page 8: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 8

พ.ร.บ. คอมพิวเตอรฯ จุดนัดพบระหวาง

“ความรับผิดชอบ” กับ “ความกลัว” บนโลกอินเทอรเน็ต

ตั้งแตเปดเทอมมานี้ คุณเห็นความเปลี่ยนแปลงอะไรบางที่เกิดขึ้นในการใชอินเทอรเน็ตภายในจุฬาฯ ?

ถาไมนับเรื่องความเร็วของอินเทอรเน็ตที่เปลี่ยนแปลงแทบจะทุกวินาทีแลว หลายคนคงสังเกตเห็นวา หนาตาเว็บไซตเว็บแรกที่เราตั้งใจ

จะเขาใชนั้นเปลี่ยนไป คือแทนที่จะเปนหนาเว็บกูเกิ้ล หรือเว็บอื่นๆ ตามปกติ แตเว็บเบราวเซอรกลับกลายเปนหนาจอบางอยางเพื่อใหเรากรอกรหัสนิสิต ใสพาสเวิรด มีชองใหตองติ๊กถูกเพื่อยอมรับขอตกลง และที่สำาคัญเมื่อกดยอมรับแลว ตองเปดหนาเว็บนั้นทิ้งไวดวย

ระบบจึงจะยอมใหใชงานได บางคนอาจไมไดสนใจขั้นตอนขางตนมากนัก ระบบถามอะไรมาก็ตอบไป แตสำาหรับบางคนที่ใสใจขึ้นมาหนอย

เมื่อไดอานขอตกลงกอนกดยอมรับ คงชวยใหเขาใจไดในระดับหนึ่งวา หนาเว็บดังกลาวเปนผลมาจากการประกาศใช “พระราชบัญญัติวาดวย

การกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550” แตสวนใหญก็หยุดความสนใจลงแคนั้น เพราะคงมีไมกี่คนที่จะมานั่งสืบคน

กันตอถึงรายละเอียดของตัวพ.ร.บ.ฯ จึงทำาใหนอยคนนักที่จะรูวาแทจริงแลว การประกาศใชกฎหมายดังกลาวมีผลตอผูใชอินเทอรเน็ตอยางเรา

มากนอยเพียงใด

จฬุาฯ เปลี่ยนไป !ผลกระทบของการประกาศใชพ.ร.บ.ฯที่

เห็นเปนรูปธรรมที่สุดคือ ระบบการดูแลการใช

อินเทอรเน็ตภายในจุฬาฯ เปล่ียนแปลงไป จากเดิม

หากตองการใชบริการคอมพิวเตอรตามคณะ

ตางๆ เพียงเสียบบัตรนิสิตหรือเขียนชื่อในสมุด

เขาใช ก็สามารถใชงานไดแลว หรือถาตองการ

ใชคอมพิวเตอรสวนตัว เคร่ืองคอมพิวเตอรเคร่ือง

น้ันตองลงทะเบียนกับทางระบบดวยรหัสนิสิตกอน

หนึ่งคนตอหนึ่งเครื่อง ซึ่งขั้นตอนดังกลาวก็ไมได

มีผลอะไรมากไปกวาการท่ีจุฬาฯ ตองการใหแนใจ

วาไมมีบุคคลภายนอกเขามาใชงาน แตปจจุบัน

สำานักเทคโนโลยีสารสนเทศจุฬาฯ จำาเปนตองสราง

หนาล็อกอินบนเว็บเบราว เซอร ขึ้นมาเสริม

ระบบเดิม เพ่ือใหสามารถตามจับผูกระทำาความผิด

ตามพ.ร.บ.ฯ ได

สวนสาเหตุที่ทำาใหจุฬาฯ ตองหันมาเขม

งวดกับการเขาใชอินเทอรเน็ตภายในมหาวิทยาลัย

มากขึ้นนั้น เปนเพราะเนื้อหาภายในพ.ร.บ.

วาดวยการกระทำาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ.2550 ที่นอกจากจะกำาหนดบทลงโทษดาน

การกออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร เชน ความ

ผิดจากการปลอมแปลงหนาเว็บ การปลอยไวรัส

และการแฮคขอมูลแลวยังกำาหนดมาตราท่ีสามารถ

เอาผิดกับ “ผูใชอินเทอรเน็ต” และ “ผูใหบริการ

อินเทอรเน็ต” เอาไวดวย จึงเปนเหตุใหจุฬาฯ รวมท้ัง

สถาบันการศึกษา และหนวยงานตางๆ ท่ีถูกนิยาม

วาเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ต ตองทำาตามมาตรา

ท่ี 26 ซึ่งระบุใหผูใหบริการอินเทอรเน็ต ตองเก็บ

ขอมูลผูเขาใชบริการ และหากไมทำาตามใหถือวา

ผิดกฎหมายและตองไดรับโทษ

“เราจำาเปนตองสรางระบบล็อกอินขึ้น

เพราะพ.ร.บ.ฯ เขาเขียนเอาไววาผูใหบริการตอง

เก็บขอมูลเทาที่จำาเปนเพื่อใหสามารถระบุตัว

ผูใชบริการได หนาล็อกอินที่เห็นก็เปนเหมือน

การคุมถนนกอนออกไปนอกมหาวิทยาลัยวาคน

ที่ออกไปชื่ออะไร IP Address อะไร เริ่มใชกี่โมง

เลิกใชก่ีโมง ถาเจาหนาท่ีไดขอมูลวา IP เคร่ืองท่ีทำา

ความผิดคือเครื่องของมหาวิทยาลัย เขาก็จะให

เราเปนคนชวยหาวาใครเปนคนใช ซึ่งเราก็จะได

ขอมูลมาจากระบบท่ีวาน่ีเองชวยใหตามตัวไดถูก

วาใครเปนคนทำา แลวถาไมเก็บขอมูลพวกนี้ไว

มหาวิทยาลัยก็จะมี โทษปรับห าแสนบาท”

คุณชยา ลิมจิตติ รักษาการ ผูอำานวยการ สำานัก

เทคโนโลยีสารสนเทศจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กลาว

โลกอินเทอรเน็ตเปลี่ยนแปลง!!แนนอนวาการตรวจสอบทางอินเทอรเน็ต

ยอมไมไดกินพ้ืนท่ีแคภายในจุฬาฯ ภายในสถาบัน

ศึกษา หรือเพียงแคผูใหบริการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร

เทาน้ัน เพราะลำาพังรหัส IP Address และเวลา

ในการเขาใชเคร่ือง คงมีน้ำาหนักไมเพียงพอที่จะใช

เอาผิดผูละเมิดพ.ร.บ.ฯ ได ดังน้ันนอกจากมาตรา

ท่ี 26 จะระบุใหผูใหบริการคอมพิวเตอรตองเก็บ

ขอมูลการเขาใชเครื่องแลว ยังระบุใหผูใหบริการ

เว็บไซต หรือเจาของเว็บไซตทั้งหลาย เก็บขอมูล

การใช อิน เทอร เน็ตทั้ งหมดของผู เข าชม

เว็บไซตดวย

ขอมูลท่ีผูใหบริการทางอินเทอรเน็ตตองเก็บ

หรือที่เรียกตามนิยามกฎหมายวา “ขอมูลจราจร

ทางคอมพิวเตอร (Log File)” น้ัน เปนขอมูลท่ีระบุถึง

แหลงกำาเนิด ตนทาง ปลายทาง วันที่ ระยะเวลา

ชนิดของบริการ และอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการใช

อินเทอรเน็ต ดังนั้นไมเชื่อก็ตองเชื่อวา ตัวอักษร

ขอความ รูปภาพ ตัวเลข สัญลักษณ ฯลฯ พฤติกรรม

ทั้งหมดทั้งปวงที่เรากระทำาการผานอินเทอรเน็ต

จะถูกบันทึกไวในฮารดดิสกของผู ใหบริการ

ของแต ล ะ เ ว็ บตามที่ เ ร า เ ข า ไป เ ย่ียมชม

เปนเวลาไมนอยกวา 90 วันตามท่ีกฎหมายกำาหนด

และความรับผิดชอบสวนนี้ เองที่ผู ประกอบ

การเว็บไซตสวนใหญมองวาเปนภาระรูปแบบ

ใหมบนอินเทอรเน็ตที่ตองแบกรับ

“ถาเปนเว็บไซตขนาดใหญ แคตองเก็บ

ขอมูลวันเดียวก็เยอะอยูแลว ลองคิดวาใหเก็บ

ขอมูลถึง 90 วัน ตองใชพื้นที่มากมายมหาศาล

ขนาดไหนถึงจะเก็บขอมูลเหลานี้ไดหมด แทนที่

ผู ประกอบการจะไดใชฮารดดิสกเก็บขอมูลที่

นาจะเปนประโยชนมากกวานี้ แตตองมาเสียคา

ใชจายเพิ่มในจุดนี้ คนทำาเว็บสวนใหญเลยก็ไม

คอยพอใจ มันเหมือนกับวาทางรัฐเองผลักภาระ

มาทางผูประกอบการเสียเยอะ” คุณอภิศิลป

ตรุงกานนท กรรมการบริหารสมาคมผูดูแล

เว็บไทยเจาของบล็อก www.macroart.net กลาว

ความรับผิดชอบ - ความกลัวนอกจากพ.ร.บ.ฯ จะสรางความไมพอใจ

ใ ห กั บ ผู ดำ า เ นิ น ธุ ร กิ จ ท า ง อิ น เ ท อ ร เ น็ ต

สวนหน่ึงแลว ยังมีผูใชอินเทอรเน็ตบางสวนออกมา

แสดงความหวงใยวา เนื้อหาที่ระบุในบางมาตรา

อาจสงผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพของผู ใชอิน

เทอร เน็ตอย างที่หลายคนอาจคาดไม ถึ ง

เชนเน้ือหาในมาตราท่ี 14 ซ่ึงระบุวา หามไมให

ผูใชอินเทอรเน็ตทั้งหลายนำาเขาหรือสงตอขอมูล

ในลักษณะที่ “นาจะเกิดความเสียหายตอความ

มั่นคงของประเทศ” “ขอมูลอันเปนความผิดเกี่ยว

สิ่งที่เขียนในพ.ร.บ.ฯ คอมพิวเตอรยังไมชัดเจน คือใชคำาวา “อาจจะ” “นาจะ” และ

คำาที่นิยามวาเปนความผิด เปนคำาที่สามารถตีความไดอยางกวางขวาง ซึ่งตรงนี้

มองวาจะสงผลใหเปนปญหาตอการบังคับใชรวม

“,,

เรื่อง : อิสสริยา อาชวานันทกุล, ชญตา ธารไพศาลสมุทร, ปรัช เกียรติพงษสาร

สกูปหลัก

Page 9: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 9

กับความมั่นคงแหงราชอาณาจักร” “นาจะกอให

เกิดความตื่นตระหนกแกประชาชน” หรือแมแต

ขอมูลประเภทท่ีเรียกวา “ลักษณะอันลามก” การ

ใชถอยคำาในลักษณะดังกลาวในพ.ร.บ.ฯ ทำาให

กลุมผูใชอินเทอรเน็ตท่ีเรียกวา “เครือขายพลเมือง

เน็ต (Thai Netizen Network)” กังวลวาอาจสราง

ความคลุมเครือในการตีความ จนอาจนำาไปสูการ

ส่ันคลอนเสรีภาพบนสื่ออินเทอรเน็ตได

“สิ่งที่เขียนในพ.ร.บ.ฯ คอมพิวเตอรยังไม

ชัดเจน คือใชคำาวา “อาจจะ” “นาจะ” และคำาที่นิยาม

วาเปนความผิด เปนคำาที่สามารถตีความไดอยาง

กวางขวาง ซึ่งตรงนี้มองวาจะสงผลใหเปนปญหา

ตอการบังคับใช รวมท้ังมันก็เปนปญหาในการสราง

บรรยากาศแหงความกลัวในการที่จะแลกเปลี่ยน

ส่ือสาร และถามีเร่ืองบรรยากาศของความกลัวอยูวา

ตกลงทำาอะไรไดบาง ทำาอะไรไมไดบาง ก็จะทำาให

มีท้ังคนท่ีอาจจะโดนจับโดยไมรูตัว หรืออีกแงหน่ึง

คืออาจทำาใหผู คนหวาดกลัวกฎหมายจนไม

กลาทำาอะไรเลย ซึ่งก็จะทำาใหไมเกิดการพัฒนา

ไปทางไหนเลยดวยเหมือนกัน” คุณจีรนุช

เปรมชัยพร กรรมการเครือขายพลเมืองเน็ต

ผูจัดการโครงการสำานักขาวออนไลนประชาไท

กลาว

มองอีกดานหนึ่ง พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน

อดีตผูบัญชาการสำานักคดีสารสนเทศ กรมสอบ

สวนคดีพิเศษ หนึ่งในกรรมการรางพ.ร.บ.ฯ กลับ

ไมเชื่อวาการมีกฎหมายที่ออกมาควบคุมการ

กระทำาความผิดทางคอมพิวเตอรจะสงผลกระทบ

ตอสิทธิเสรีภาพของผูใชอินเทอรเน็ตอยางท่ีหลาย

คนหวาดกลัวแตมองวาจะชวยใหคนในสังคมได

รับความเดือดรอนนอยลง เพราะผูคนทำาผิดลด

ลงและตระหนักถึงความรับผิดชอบมากขึ้น

“ คนส วน ใหญ พยายามจะ ใช สิ ท ธิ

เสรีภาพในการแสดงออก แมกระทั่งการดาทอ

คนอื่น แตเหมือนไมเคยตระหนักถึงหนาที่ในการ

ที่จะรับผิดชอบในการกระทำาของตัวเอง การ

มีตัวพ.ร.บ.ฯ ก็เหมือนกับเปนเคร่ืองมือท่ีทำาให

แตละคนมีความรับผิดชอบตอสิ่งที่ตัวเองพูด

หรือทำามากขึ้น” พ.ต.อ.ญาณพล นายกสมาคม

ผูดูแลเว็บไทยกลาว

แรงบีบจากกฎหมายหากลองตัดเรื่องความกลัวของผู ใช

อินเทอรเน็ตออกไป แลวลองสมมติวาพ.ร.บ.ฯ

ฉบับนี้ไม มีผลทำาให ผู ใช อินเทอร เน็ตกลัว

การกระทำาผิดไดเลยแมแตคนเดียว จะเห็นวา

ยังคงมีป ญหาเรื่องเสรีภาพบนอินเทอร เน็ต

ปรากฏใหเห็นอยูในแงมุมท่ีเกิดจากความกลัวของ

ผูใหบริการ หรือเจาของเว็บไซต เพราะ พ.ร.บ.ฯ

วาดวยการกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ.2550 ตามมาตราที่ 15 ระบุใหผูใหบริการมี

ความผิดเชนเดียวกับผูกระทำาความผิด คือหาก

มีขอมูลที่เขาขายความผิดหลุดรอดอยูบนหนา

เว็บ เจาหนาที่จะถือวาผูใหบริการมีความผิดฐาน

ยินยอมใหเนื้อหาเหลานั้นอยูในเว็บดวย จึงสงผล

ใหเจาของเว็บไซตจำาเปนตองตรวจสอบเน้ือหาทุก

อยางที่ผูใชสรางขึ้นอยางละเอียด หากไมตองการ

ใหเกิดเหตุการณอยางที่เคยเกิดกับกรณีเจาของ

เว็บ 212 café.com ที่ตองนอนคุกหนึ่งคืน เพราะ

ไมรู ว ามีผู ใชบริการเขามาโพสตรูปที่ละเมิด

สิทธิมนุษยชนในเว็บบอรด การตีความกฎหมาย

ในขอน้ี นอกจากจะเปนการเพ่ิมภาระใหกับเจาของ

เว็บไซตแลว คุณจีรนุช เปรมชัยพร กรรมการ

เครือขายพลเมืองเน็ตยังมองวา ความกดดันจาก

แรงบีบของกฎหมายท่ีผูใหบริการไดรับ จะวกกลับ

มาทำาลายเสรีภาพของผูใชอินเทอรเน็ตในที่สุด

“ถาเขารูสึกวามีขอความหรืออะไรที่สุ ม

เสี่ยงปุบ หรือบางทีอาจจะไมไดสุมเสี่ยงขนาดนั้น

แตผูบริการก็เลือกที่จะปด หรือลบขอมูลพวกนั้น

เอาไวกอน ซ่ึงก็จะทำาใหผูใชอินเทอรเน็ตถูกปดก้ัน

จากขอมูลขาวสารบางสวน ถึงแมผูใหบริการจะ

ไมมีเจตนาจะบีบเสรีภาพในการโพสตขอความ

ของเราก็ตาม แตเขาก็ตองเลือกที่จะปดไวกอน

ถาเห็นวาอันไหนสุมเสี่ยง”

มี พ.ร.บ.ฯ ดีกวาไมมีถึงแมพ.ร.บ.ฯ วาดวยการกระทำาความผิด

เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 อาจยังมีขอ

บกพรองในเนื้อหาบางสวน และยังไมสามารถ

สรางความพอใจใหกับทุกฝายได แตสิ่งที่ทุกคน

เห็นพองตองกันคือ ความสำาคัญของการมีพ.ร.บ.ฯ

อยางที่ พ.ต.อ. ญาณพล ยั่งยืน นายกสมาคม

ผูดูแลเว็บไทย มองวาจำาเปนตองมีกฎหมาย

เอาผิดดานคอมพิวเตอรเชนเดียวกับท่ีมีกฎหมาย

ดานอื่นๆ

“คอมพิวเตอรตองมีตัวพ.ร.บ.คอมพิวเตอร

ออกมาเพ่ือควบคุม เปรียบเทียบงายๆ ก็เหมือนกับ

รถยนตท่ีตองมีทะเบียนรถ ถาจะบอกวาไมควรมี

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร เพราะมันขัดกับหลักสิทธิ

เสรีภาพ ก็หมายความเหมือนกับวาการขับรถยนต

การซื้อรถ ก็ไมจำาเปนตองมีทะเบียนรถ จะไดมี

สิทธิเสรีภาพกันอยางเต็มท่ี ขับไปไหนมาไหนก็ได

อยากใหคนที่พูดถึงเรื่องสิทธิเสรีภาพลองไป

คิดดู เพราะคอมพิวเตอรก็เหมือนกับอยางอื่น

ที่ตองมีกฎหมายออกมาควบคุมดูแล”

ดานกรรมการเครือขายพลเมืองเน็ตเอง

ถึงแมจะออกมาแสดงความหวงใยว าการมี

กฎหมายควบคุมพื้นที่โลกไซเบอรอาจสั่นคลอน

สิทธิเสรีภาพบนอินเทอรเน็ต แตก็ไมมีเจตนาจะ

ปฏิเสธการประกาศใชพ.ร.บ.ฯ ตรงกันขามกลับ

สนับสนุนการจับตั วผู กระทำ าความผิดบน

อินเทอรเน็ตมาลงโทษ ตราบใดที่บุคคลนั้นมี

ความผิดจริง ซึ่งไมใชความผิดที่เกิดจากการ

ตีความของกฎหมายที่คลุมเครือ

“เรายอมรับการเกิดของพ.ร.บ.ฯ วาเปน

เพราะทุกคนตองการสภาพความปลอดภัยในการ

ใชพ้ืนท่ีทางอินเทอรเน็ต เพราะคงไมมีใครอยาก

โดนไวรัสหรือใหมีคนมาแฮ็คขอมูลของเราไป

ซ่ึงเราเองก็เห็นดวยกับการมีกฎหมายเพ่ือดูแล

เรื่องนี้ และกฎหมายก็ควรทำาหนาที่ตรงนั้น แต

ที่เปนปญหาก็คือตัวกฎหมายมันไมไดถูกใชเพื่อ

จับตัวผูกระทำาผิดอยางเดียว แตมันสงผลดาน

สิทธิเสรีภาพของคนดวย ซึ่งเปนเรื่องที่นากังวล

คือเราไมไดมองวาตองการใหกฎหมายอนุญาต

ใหทุกคนเขียนอะไร พิมพอะไรก็ไดในอินเทอรเน็ต

เพียงแตเราไมเห็นดวยกับการที่กฎหมายจะมา

กำาหนดตัวเน้ือหาบนเว็บไซตดวยถอยคำาท่ีสามารถ

ตีความไดอยางกวางขวาง ซ่ึงจุดน้ีมองวาจะสงผล

ใหเปนปญหาตอการบังคับใช และเปนปญหาใน

การสรางบรรยากาศแหงความกลัว” คุณจีรนุช

เปรมชัยพร กรรมการเครือขายพลเมืองเน็ตกลาว

ทางเลือกที่พอทำาไดเราควรจะปรับตัวอยางไรภายใตกฎหมาย

ใหมและระบบอินเทอร เน็ตที่ยังไม คุ นชินนี้

หน่ึงในขอเสนอแนะจากคุณภูมิจิต ศิระ วงศประเสริฐ

กรรมการควบคมุจรยิธรรม สมาคมผูดแูลเวบ็ไทย

คื อ ใ ห พ ล เ มื อ ง บ น โ ล ก อิ น เ ท อ ร เ น็ ต

ทั้งหลายหันมาสอดสองโลกไซเบอรร วมกัน

เพื่อไมใหกฎหมายตองเขมงวดเกินความจำาเปน

“สิ่งที่ดีที่สุดคือเราทุกคนตองชวยกัน

ดูแลตรวจสอบกันเอง ตกลงรวมกัน ถึงจะทำาให

เขาใจวา วัฒนธรรม ความเชื่อแบบไหนที่ผิด

แบบไหนที่ถูก อยาโยนใหตำารวจตองเปนคน

จัดการเพราะถาเราสามารถควบคุมตัวเราเอง

กันกอนได ใหสังคมมันไมดูโหดรายเกินไปนัก

ภาครัฐก็ไม มีความจำาเป นที่จะต องมาออก

กฎหมายบังคับพวกเรากันมาก”

หากเราทุกคนรวมกันหาขอตกลง หาจุด

กึ่ ง ก ล า ง บ น พื้ น ที่ อิ น เ ท อ ร เ น็ ต ไ ด ก็ จ ะ

ทำาใหคนในสังคมอินเทอรเน็ตสามารถจัดการกับ

ความขัดแยงไดโดยไมจำาเปนตองพึ่งกฎหมาย

ไมจำาเปนตองอางมาตราใดๆ เพื่อใชเอาผิด

กันและกัน และเมื่อทุกฝายคุยกันดวยเหตุผล

ท ายที่สุดสังคมอินเทอร เน็ตก็จะเป นสังคม

ประชาธิปไตยโดยที่ไมจำาเปนตองมีอำานาจใด

เขามาแทรกแซง

“เราควรตระหนักวาทุกคนสามารถแสดง

ออกความคดิเหน็ได ทกุคนมเีสรภีาพจะพดู จะคดิ

แบบที่ตัวเองตองการ แตตองอยาลืมวาเสรีภาพ

นั้นตองอยูบนพื้นฐานของการมีความรับผิดชอบ

ความเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูอื่น

ถาเรายอมรับจุดนี้รวมกันได เราก็จะสามารถ

สรางกระบวนการเรียนรู คิดแกไขเรื่องตางๆ รวม

กันได เพราะโดยสวนตัวแลวเช่ือวาถาสังคมปลอย

ใหประชาชนมีการสื่อสารอยางเสรีจะชวยลด

ความขัดแยงและความรุนแรงลงไดเองโดยท่ี

รัฐคอยเขามากำากับดูแล แตไมใชการควบคุมหรือ

สั่งปด ก็จะชวยใหความเปนประชาธิปไตยคอยๆ

พัฒนาขึ้นมาไดเอง” คุณสุภิญญา กลางณรงค

รองประธานคณะกรรมการรณรงคเพื่อการ

ปฏิรูปสื่อ และกรรมการเครือขายพลเมืองเน็ต

แสดงความเห็น

ถาจะบอกวาไมควรมีพ.ร.บ.คอมพิวเตอร เพราะมันขัดกับหลักสิทธิเสรีภาพ ก็

หมายความเหมือน กับวาการขับรถยนต การซื้อรถ

ก็ไมจำาเปนตองมีทะเบียนรถ จะไดมีสิทธิเสรีภาพกันอยางเต็มท่ี

“,,

สกูปหลัก

Page 10: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 10

รูหรือไมวาคุณอาจจะกำาลังทำาผิด

“พ.ร.บ. คอมพิวเตอร”อยู?ผูใชคอมพิวเตอรจำานวนมากยังคงไมทราบเรื่องพระราชบัญญัติวาดวยการกระทำาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ที่มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 18 มิถุนายน 2550 ทั้งๆ ที่ในปจจุบัน

การใชอินเตอรเน็ตนั้นแพรหลายมาก แตผูใชจำานวนมากกลับยังไมทราบวาพ.ร.บ.ฉบับนี้ ไดเปลี่ยนแปลงวิธีการใชอินเตอรเน็ตของโลกไซเบอรไปมากเพียงใด ตอนนี้การใชอินเตอรเน็ตมีการควบคุม

จากทางรัฐมากขึ้น สงผลใหผูใชทุกคนตองมีความรับผิดชอบตอการกระทำาของตนเองและตอสังคมมากขึ้นเชนเดียวกัน ซึ่งการละเลยและไมปฏิบัติตามขอบังคับของ พ.ร.บ. อาจจะทำาใหเราเสี่ยง

ตอการโดนปรับหรือติดคุกไดเลยทีเดียว

ลองมาดูกันวานิสิตจุฬาฯ คณะตางๆ เขารูกันหรือเปลาวาตอนนี้มีการบังคับใช พ.ร.บ.คอมพิวเตอรกันแลว และแตละคนรูหรือไมวาตนเองอาจจะกำาลังกระทำาความผิดอยูก็ได

กษิต ตั้งมานะสกุล

คณะวิทยาศาสตร

“ก็พอรู บ า งแต ก็ ไม

มากเทาไหรคิดวาคงจะเคยทำา

ผิดบางเล็กนอยถาเราไม่ชอบ

ใครหรือไมชอบอะไรเราก็จะ

ไปประจานเคาในเว็บบอรด

บาง วาเคาเสียๆ หายๆ บาง”

ชานนท์ คูวัฒนะศิริ คณะ

วิศวกรรมศาสตร์

“ไม เคยรู มาก อนเลย

ครับวามีพ.ร.บ.ฯ ออกมาแลว

ผมไมนาจะเคยทำาผิดนะ แตถา

ทำาก็คงจะไมรูมากอนวามันผิด

เคยโพสตพวกความเห็นหรือ

ขอความบางแตก็ไมคิดวาจะมี

ใครมาตรวจสอบได”

ยุวดี สรางนิทร

คณะรัฐศาสตร

“รูคะแตไมคิดวาตัวเอง

จะทำาอะไรผิดเคยฟอรเวิรดเมล

เรื่องที่ประเทศไทยจะปรับเวลา

30 นาทีซึ่งสุดทายก็เปนเมลล

หลอก แตก็ไมคิดวามันจะผิด

กฎหมายอะไรคะ”

- การนำารูปภาพของผูอื่นที่เปนภาพที่

เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติม หรือดัด

แปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือ

วิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยที่นาจะทำาใหผูอื่นนั้น

เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได

รับความอับอาย จะมีความผิดตามมาตรา

ที่ 16 ของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทำา

ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550

ตองระวางโทษจำาคุกไมเกินสามป หรือปรับ

ไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ

ตัวอยาง หากเรานำารูปตัดตอของคนหน่ึง

ไปเผยแพร เชน การนำาไปโพสตไวตามเว็บไซต

หรือกระทูตางๆ แลวทำาใหบุคคลในรูปนั้นเกิด

รัฐกานต ฐิตะฐาน

คณะรัฐศาสตร

“ ไม ทราบเลยครับก็อาจ

จะมีบ างที่ทำาผิดแต อาจไม รู ตัว

อยางเชน เรื่องการไปคอมเมนทใน

กระทู ที่มีการพาดพิงถึงคนอื่นซึ่ง

บางทีก็อาจจะไมใชเรื่องจริงของ

เคา”

อมตบุญ ศาสตรสุข

คณะอักษรศาสตร

“ไม ทราบเลยคะเรื่องพ.ร.บ.

คอมพิวเตอร ไมแนใจวาในพ.ร.บ.ฯ มี

เน้ือหาอะไรบาง เลยคิดวาอาจจะเคย

ทำาผิดพวกเรื่องฟอรเวิร ดเมลที่อาจ

เปนขอมูลสวนตัว หรือเปนรูปภา

พลับๆ ของคนที่มีชื่อเสียง ก็ไดมาอีกที

แลวก็สงตอใหเพื่อนๆ”

อังกศิกา ถังมณี

คณะวิทยาศาสตร

“ ก็ รู บ า ง ค ะ ค ง จ ะ

เคยทำาผิดและคิดวาหลายๆ

ค น ก็ น า จ ะ มี ทำ า ผิ ด บ า ง

เหมือนกัน เชน สงตอพวก

รูปลับดารา หรือคลิปลับ

ค น มี ชื่ อ เ สี ย ง พ ว ก นี้

ใหเพื่อนๆ ดู”

ณัฐพร รอดเจริญ

คณะนิติศาสตร

“รูครับเรื่องพ.ร.บ.ฯ

แตคิดวาไมเคยทำาผิดอะไร

เพราะ เวลาได รั บพวก

ฟอรเวิรดเมลก็ไมไดสงตอ

ใหใครครับ”

ปนมุก จองศิริ

คณะนิติศาสตร

“รูคะ นาจะ

เคยทำาผิดโดยตอน

นั้นยั งไม รู ค ะ เช น

พวกspam mail หรือ

junk mail”

ขวัญเรือน พลอยแสง

คณะอักษรศาสตร

“ยังไมทราบคะวามี

การออกพ.ร.บ.คอมพิวเตอร

แลว คดิวาคงจะมบีางทีท่ำาผดิ

เชน พวกฟอรเวิรดเมลชวง

เหตุการณระหวางพันธมิตร

กับรัฐบาลที่จะเปนขอมูลโจม

ตีแตละฝาย”

- การเผยแพรหรือสงตอขอมูลคอม-

พิวเตอรที่เปนเท็จ หรือมีลักษณะลามก จะ

มีความผิดตามมาตราที่ 14 ของพระราช-

บัญญัติวาดวยการกระทำาความผิดเก่ียวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 ตองระวางโทษจำา

คุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหน่ึงแสนบาท

หรือท้ังจำาท้ังปรับ

ตัวอยาง หากเราไดรับอีเมลที่มีรูปภาพ

ลามกอนาจาร หรือมีการใหขอมูลที่ผิดๆ สราง

ความเสียหายหรือกอใหเกิดความตื่นตระหนก

แกผูอื่นหรือประชาชน แลวเราสงตอใหผูอื่น

เราก็จะเขาขายกระทำาผิดตามมาตราที่ 14 นี้

ได

ความเสียหาย เราก็จะเขาขายกระทำาผิดตาม

มาตราที่ 16 นี้ได

- การสงขอมูลคอมพิวเตอรหรืออีเมล

แกบุคคลอ่ืนโดยปกปดหรือปลอมแปลงแหลง

ท่ีมาของการสงขอมูลดังกลาว และไปรบกวน

การใชระบบคอมพิวเตอรของบุคคลอื่น ก็จะ

เขาขายกระทำาผิดตามมาตราที่ 11 ของพระ-

ราชบัญญัติวาดวยการกระทำาความผิดเกี่ยว

กับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 ตองระวางโทษ

ปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท

ตัวอยาง หากเราสงอีเมลที่เปนการทำา

สแปม (spamming) คือสงไปยังผูรับซ้ำาๆ ทั้งที่

เขาไมอยากได ก็จะถือวาเราทำาผิดมาตราท่ี 11 น้ี

นอกจากนี้การที่เราไปตั้งกระทู หรือ

เขียนขอความโจมตีใสรายผู อื่นบนเว็บไซต

หรือบนเว็บบอรดสาธารณะ เราก็อาจจะเขา

ขายการหมิ่นประมาทใสความบุคคลที่ 3 มี

ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา

326 ตองระวางโทษจำาคุกไมเกิน 1 ป หรือ

ปรับไมเกิน 2 หมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ

อีกดวย สำาหรับคนที่อยากจะอาน พ.ร.บ. นี้

ฉบับเต็ม ก็สามารถไปหาอานหรือดาวนโหลด

ไดที่ http://www.inet.co.th/computer_act/

ความผิดทางอาญา ที่ผูใชคอมพิวเตอรอาจจะกระทำาไปโดยรูเทาไมถึงการณ:

ความเห็น

Page 11: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 11

เปิดกล้องส่องจุฬาฯ

ทีวีทั่วจุฬาฯ...

สื่อที่ยังรอการพัฒนา

เหลานิสิตทั้งชายและหญิงตางวุนวาย

กับการซื้ออาหารในโรงอาหารที่คราคร่ำาไป

ดวยคนจำานวนมาก ที่นั่งที่เคยโล่งสบายแทบ

จะไมมีใครในตอนเชา บัดนี้กลับหาที่วาง

ไมได้

กลิ่นอาหารและเสียงคุยกันดังเซ็ง

แซไมหยุด...

นี่เปนบรรยากาศที่หาไดทั่วไปจากโรง

อาหารทุกแหงในเวลาเที่ยงวัน ทามกลางความ

วุนวายเหลานั้นเสียงจากลำาโพงโทรทัศนที่ติดใน

จุดตางๆ ถูกเปดราวกับจะใหประชันกับเสียงดัง

กลาว ทวา...แมเสียงจากโทรทัศนจะดังไมขาด

สายแตกลับไมอาจเอาชนะเสียงจอกแจกจอแจ

เหลานั้นเหมือนที่ละครหลังขาวได ‘สยบ’ สายตา

ประชาชนสวนใหญไว

นางสาวธนิษฐา แกวศิริวรรณ นิสิตช้ัน

ปที่ 1 คณะวิทยาศาสตรมีความเห็นเชนเดียวกับ

นิสิตอีกหลายคน เธอกลาวถึงเจาเพื่อนใหมนี้วา

การมีโทรทัศนในโรงอาหารเปนสิ่งที่ดีเพราะทำา

ใหไดรับขาวสารตางๆ แตยังขาดความนาสนใจ

ในดานเนื้อหา เพราะรับชมไดเพียงสถานีเดียว

คือสถานี UNetwork.tv ซึ่งมีแตเนื้อหาเดิมวนซ้ำา

ไปซ้ำามา

จากความเห็นของผูรับบริการสะทอนไป

ถึงผูใหบริการอยาง UNetwork.tv ซึ่งเปนผูสง

‘เจาเพื่อนใหม’ เหลานี้มา ซึ่งหลายคนอาจจะ

สงสัยวาการทุมงบประมาณเพื่อติดตั้งโทรทัศน

ทั่วทั้งโรงอาหารในจุฬาฯ มีเพื่อจุดประสงคใด

และจุฬาฯ จะไดรับประโยนชคุมคากับการลงทุน

นี้หรือไม แลวเพราะเหตุใดจึงตองเปน

UNetwork.tv เพียงสถานีเดียวเทานั้น

นางสาวอัจฉราวรรณ จันทรเพ็ญศร ี

เลขานุการโครงการ ‘UNetwork.tv’ ซึ่งเปน

โครงการที่ทำาให เกิดการติดตั้งโทรทัศน ใน

โรงอาหาร และใตอาคารหลายแหงในจุฬาฯ

ไดเลาเกี่ยวกับโครงการวา เปนโครงการสงเสริม

การเผยแพรผลงานทางการศึกษาสำาหรับสถา-

บั นอุ ดมศึ กษา เพื่ อพัฒนาการศึ กษาของ

สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดย

สกอ.จะติดตอไปทางมหาวิทยาลัยตางๆ วาสนใจ

จะเขารวมโครงการนี้หรือไม ซึ่งทางจุฬาลงกรณ-

มหาวิทยาลัยคิดวาโครงการนี้ จะเอื้อประโยชน

ใหกับนิสิต โดยการเผยแพรผลงานและประชา-

สัมพันธ์กิจกรรมตางๆ เป็นไปไดอยางสะดวก

และกวางขวางขึ้นจึงตอบรับโครงการนี้ เพราะ

นอกจากจะมีชองทางเผยแพรผลงานแลวยังไม

เสียคาใชจายใดๆ โทรทัศนที่ติดตั้งเขามาหรือแม

กระทั่งคาใชจายในการติดตั้ง คาไฟฟา บริษัทผู

รับผิดชอบโครงการจะจัดการเองทั้งหมด

โครงการดังกลาวเปนการทำาบันทึกขอ

ตกลงความรวมมือสนับสนุนระหวางกัน โดย

บริษัท แอปโซลูท อิมแพค จำากัด และมหา-

วิทยาลัยที่เขารวมโครงการ ซึ่งจะเปนรายแรก

และรายเดียวที่มีสื่อในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

รวมทั้งมหาวิทยาลัยอีกหลายแหงที่ตอบรับ

โครงการดังกลาว โดยทางบริษัทจะแบงเครือ-

ขายการเผยแพรออกเปน 2 เฟส เริ่มตนจาก

ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จากนั้นจึงจะขยาย

กวางออกไปใหครอบคลุมมหาวิทยาลัยอีกกวา

40 แหงท่ัวประเทศ

ดังนั้น เนื้อหาที่ออกอากาศจึงเปนเนื้อหา

ที่ถูกปอนจากสถานีในโครงการ UNetwork.tv

โดยมีคณะกรรมการซึ่งเปนตัวแทนจากมหา-้

วิทยาลัยตางๆ ซึ่งเขารวมโครงการเปนผูจัดสรร

เวลาและดูแลทางดานเนื้อหา ในขณะนี้ผังราย-

การออกอากาศท้ังหมดมุงเนนไปท่ีการเผยแพรขาว

สารของมหาวิทยาลัยตางๆ คิดเปน 25%

รายการเพื่อส งเสริมความรู้และการศึกษา

อีก 23% รายการนำาเสนอผลงานและรายการนิสิต

นักศึกษาของมหาวิทยาลัยที่เขารวมโครงการ

อีก 22% นอกจากนั้นเปนรายการธรรมะ,

การนำาเสนอผลงานวิจัยหรือโครงงานตางๆ

รวมไปถึงขาวประชาสัมพันธของ สกอ.

“การมีโทรทัศนในโรงอาหารเปนเรื่องดี

เพราะไดประชาสัมพันธขาวตางๆ ในรั้วมหา-

วิทยาลัยสูมหาวิทยาลัยอ่ืน และรับความเคล่ือนไหว

ตางๆ ของแตละมหาวิทยาลัยวาเปนอยางไร

แตเทาที่เห็นในดานรายการตางๆ ที่จะมุงไปสู

การสงเสริมการศึกษาทางสถานียังทำาไดไม

เต็มที่ เพราะนอกจากขาวประชาสัมพันธแลวเนื้อ

หายังวนอยูไมกี่อยาง ความจริงการที่มีสถานีเพื่อ

เชื่อมโยงแตละมหาวิทยาลัยเชนนี้เปนเรื่องนา

สนใจ นาจะมีการพัฒนาอยางจริงจัง อาจมีการจัด

สรรเวลาใหนิสิตนักศึกษาแตละมหาวิทยาลัย

ไดมีสวนรวมมากกวานี้ เชน มีรายการตางๆ

มีการนำาเสนอภาพยนตรหรือมิวสิควิดีโอที่นิสิต

นักศึกษาทำา เปนการแลกเปลี่ยนผลงานใหตาง

มหาวิทยาลัยไดรับชม ซึ่งมีผลตอการพัฒนาใน

ดานการเรียนไดอยางแทจริง” น่ีเปนอีกหน่ึงเสียง

ของผูที่สนใจใน ‘เพื่อนใหม’ จากนายธีรภัทร

โอสุวรรณ นิสิตชั้นปที่ 4 คณะนิเทศศาสตร

จากความเห็นของนายธีรภัทรเห็นไดวา

การมี เนื้อหาซ้ำ าซากเป นอีกสาเหตุที่ทำาให

โทรทัศนเหลานี้จะดูไมคอยมีประโยชนและไมได

รับความสนใจเมื่อไมมีกิจกรรมใหตองประชา-

สัมพันธ แตจากขอมูลขางตนจะไมแปลกใจนักที่

เราจะเห็นรายการในแตละวันเปดหมุนวนซ้ำาๆ

และมีเนื้อหาที่จำาเจจนหลายคนอาจไมใหความ

สนใจ ‘เพื่อนใหม’ เหลานี้นัก

สังเกตจากผังรายการในแตละวันจะมี

ชวงเวลาของประเภทรายการที่ซ้ำากันหลายชวง

เขาใจวาผูวางผังรายการตั้งใจใหมีการสับเปลี่ยน

หมุนเวียนรายการตางๆ บาง แตในชวงนี้เพิ่งจะ

เริ่มตนโครงการอาจจะยังไมมีมหาวิทยาลัยเขา

รวมโครงการตามเปาที่วางไว สงผลใหนิสิต

นักศึกษาไมคอยสงผลงานหรือขาวสารไปยัง

สถานีเพื่อออกอากาศ

อย างไรก็ตามนางสาวอัจฉราวรรณ

ไดเพิ่มเติมในประเด็นนี้วา “ชวงนี้เราอาจจะเห็น

วาเนื้อหาที่ออกอากาศยังเปนเพียงขาวประชา-

สัมพันธของมหาวิทยาลัยตางๆ เสียสวนใหญ

มีรายการแทรกนอย และยังหมุนเวียนอยูไมกี่

รายการ ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากเปนชวงเริ่มตนของ

โครงการ ในอนาคตไดมีการวางแผนไววาจะให

นิสิตเขามามีสวนรวมในเรื่องการจัดทำาเนื้อหา

และเวลาให การออกอากาศใหเป นสัดส วน

และมีเนื้อหาหลากหลายมากยิ่งขึ้นทั้งรายการ

ที่มีสาระและบันเทิง”

เห็นไดวา...นิสิตก็ไมไดปลอยปละละเลย

เพื่อนใหมที่ถูกเพิ่มเติมเขามาในโรงอาหารที่

พวกเขาเดินเขาเดินออกอยูเกือบทุกวัน และยัง

ใหความสนใจเจาเพื่อนใหมที่เปนอยางดี เพราะ

การมีเครื่องมือที่สามารถเปนสื่อรับขาวสารและ

ความบันเทิงไดในเวลาเดียวกันยอมเปนเรื่องดี

ถึงกระนั้นทุกคนก็ยังอยากเห็นเพื่อนใหมนี้มี

ประโยชนมากกวาที่เปนอยู และหากมีเนื้อหา

ใหมๆที่นาสนใจ เชื่อวาโทรทัศนเหลานี้จะ ‘สยบ’

เสียงจอกแจกจอแจไดไมตางจากละครหลังขาว

โทรทัศนมีจุดเดนตรงที่สามารถถายทอด

ไดทั้งภาพและเสียง การใชประโยชนในดาน

ประชาสัมพันธหรือเผยแพรขาวสารตางๆ เปน

เรื่องดีแตขณะเดียวกัน แตละมหาวิทยาลัยก็ไม

ไดมีกิจกรรมที่ตองประชาสัมพันธตลอดเวลา

วิดีทัศนที่ทำามาเปดจึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะถูก

ฉายซ้ำา และหลีกเลี่ยงไมไดอีกเชนกันหากผูที่

เปนฝายรอรับสารจะรูสึกเบื่อจนไมสนใจ

การเพิ่มรายการใหมีความนาสนใจแลว

แทรกขาวประชาสัมพันธลงไปเปนเหมือนชวง

คั่นโฆษณาของรายการตางๆ รวมทั้งมีการจัด-

สรรเวลาอยางเปนสัดสวนและเปนรูปธรรมมาก

กวาที่เปนอยู นาจะทำาใหรายการหรือแมแตขาว

ประชาสัมพันธตางๆ ที่เปดมีความนาสนใจและ

ไดประโยชนมากยิ่งขึ้น

ณ เวลานี้... นอกจากจะตองดำาเนินการ

ขยายเครือขายในโครงการ “UNetwork.tv” ดังที่

วางแผนไวแลว ก็นาจะตองดูและใหความสำาคัญ

ในดานเนื้อหา ควรจะมีการประชาสัมพันธ และ

เปดรับใหนิสิตนักศึกษาไดเขาไปรวมแสดงความ

คิดเห็นและเสนอผลงานที่นาสนใจเขาไปรวมใน

การออกอากาศดวย

ทั้งนี้ก็เพื่อใหแตละมหาวิทยาลัยไดเห็น

ผลงานของมหาวิทยาลัยอื่น กระตุนการพัฒนา

งานและการเรียนรู ซึ่งเปนการตอบสนองจุด-

ประสงคของโครงการดังกลาว นั่นคือ... ‘การเปน

สื่อสงเสริมการเผยแพรผลงานทางการศึกษา

และองคความรูสำาหรับสถาบันอุดมศึกษา’

“การมีเนื้อหาซ้ำาซากเปนอีกสาเหตุที่ทำาใหโทรทัศนเหลานี้จะดู

ไมคอยมีประโยชนและไมไดรบัความสนใจเมื่อไมมีกิจกรรม

ใหตองประชาสัมพันธ

เรื่อง : แสงอรุณ วรรณจู

อางอิงขอมูลจาก http://www.unetwork.tv/

บทความ

Page 12: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 12 บทความ

ยอนกลับไปเมื่อชวงกลางป พ.ศ. 2549

วงการอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศสหรัฐ

อเมริกาไดเป ดตัวภาพยนตรเนื้อหาเสียดสี

วัฒนธรรมและคานิยมอเมริกันชนเรื่องหนึ่งออก

สูสายตาคนในประเทศ ที่ชื่อวา American

Dreamz มีความยาวประมาณ 107 นาที มีดารา

ช่ือดังมารวมแสดงจำานวนมาก และมีชาวอเมริกัน

ชื่อ พอล ไวทซ รับหนาที่ควบทั้งตำาแหนงผูกำากับ

ผูเขียนบทและโปรดิวเซอร

ภาพยนตรเรื่องนี้ไมคอยประสบความ

สำาเร็จในดานรายไดและคำาชื่นชมจากนักวิจารณ

ท้ังยังไมเปนท่ีจดจำาของผูคนมากนัก ความสำาเร็จ

ประการเดียวของหนังเรื่องนี้ถามันยังพอจะมี คือ

การที่นายพอล ไวทซ ตัดสินใจใช Tagline

ประโยคเด็ดประจำาภาพยนตรวา...

“ลองนึกภาพถึงประเทศที่มีประธา-

นาธิบดีซึ่งไมเคยอานหนังสือพิมพ ประเทศ

ที่รัฐบาลตัดสินใจเขารวมสงครามอยางไร

เหตุผล และผูคนในประเทศสนใจโหวตให

ดาราไอดอลมากกวาออกมาลงคะแนน

เลือกตั้งประธานาธิบดี”

Tagline ประโยคนี้ติดหู และเสียดสีได

เจ็บแสบ จนถูกนำาไปอางถึงในบทวิจารณและ

บทความตางๆ เปนจำานวนมาก

หากนาย พอล ไวทซ ไมไดเกิดในเมือง

นิวยอรค ประเทศสหรัฐฯ แตลืมตาขึ้นมาดูโลก

ที่เมืองบางกอกนครใหญใจกลางราชอาณาจักร

สยาม สภาพสังคมที่นี่อาจผลักดันใหเขาตอง

ตัดสินใจทำาหนังที่มี Tagline ประโยคใหมวา

“ลองนึกภาพถึงประเทศที่มีนายก

รัฐมนตรีถูกปลดเพราะทำารายการอาหาร

ประเทศที่รัฐบาลตัดสินใจเรื่องเขตแดน

ระหวางประเทศอยางไรเหตุผล และผูคนใน

เมืองหลวงกวา 80 เปอรเซ็นตไมรูวันเลือก

ตั้งผูวาราชการ”

เนื้อเรื่องใน American Dreamz อาจ

เปนความจริงเพียงบางสวน และตองอาศัยการ

เสริมเรื่องราวไรสาระเกินจริงเขาไปเพื่อเพิ่ม

อรรถรสในการรับชม แตภาพยนตรเรื่อง Thai

Dreamz นี้คงไมจำาเปนตองแตมเติมสีสันเพื่อ

เพิ่มความสนุกสนาน เพราะแค่ขอเท็จจริงลวนๆ

ก็เพียงพอแลวที่จะทำาใหผู ชมภาพยนตรรู สึก

ขนลุกขนพอง จนนั่งแทบไมติดเกาอี้ตลอดระยะ

เวลากวา 75 ป ของระบอบประชาธิปไตยไทย

หนงัสอืพมิพไทยรฐั ฉบบัประจำาวนัเสารที ่

27 กันยายน พ.ศ. 2551 ตีพิมพขาวที่มีใจความวา

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) คาดหวังวาใน

วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งเปนวันเลือกตั้ง

ผูวาฯ กทม. ประชาชนจะออกมาใชสิทธิ์เลือกตั้ง

กันไมนอยกวารอยละ 70 โดยใหเหตุผลขอหนึ่ง

วาเนื่องจากคนกรุงเทพฯ สวนใหญนั้น “เปนผูมี

ความรู” จึงคาดวาตัวเลขประมาณการนี้นาจะ

เปนจริงได

เรื่อง : หนอแกว เสนพันธุ ภาพ : Sauce Harrison

OUR DREAMZ

แตแลวประมาณหนึ่งเดือนถัดมา ในวันที่

30 สิงหาคม สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนดุสิตกลับประกาศผลสำารวจความคิดเห็น

ของผูมีสิทธิ์เลือกตั้งผูวาฯ กทม. จากประชาชน

ผูมีสิทธิ์เลือกตั้งจำานวน 1,254 คน ระหวาง

วันที่ 27-30 สิงหาคม 2551 พบวาคนกรุงเทพฯ

ถึงรอยละ 83.97 ไมทราบวาจะมีการเลือกตั้ง

ผูวาฯ กทม.ในวันอาทิตยที่ 5 ตุลาคม 2551!

ขณะที่คาดการณตัวเลขผู มาเลือกตั้ง

คณะกรรมการการเลือกตั้งคงลืมไปวาปริมาณ

“ความรู” นั้นไมอาจบอกวัดระดับจิตสำานึกทาง

การเมืองของผูคนได ในวันที่ 5 ตุลาคม ที่ผานมา

สถิติผู มาใชสิทธิ์ เลือกตั้งจึงมีเพียงประมาณ

รอยละ 54.18 เทานั้น

นอยกวาการเลือกตั้งผูวาฯ ในครั้งกอน

หนานั้นซึ่งมีผูมาใชสิทธิ์คิดเปนรอยละ 62.50

ไมนับวาตัวเลขของผูคนที่อาศัยอยูในกรุงเทพฯ

แทจริงแลวมีไมต่ำากวา 10 ลานคน น่ันหมายความ

วาชาวกรุงเทพฯ ไดปลอยใหคนจำานวนประมาณ

เพียง 1 ใน 5 มาลงคะแนนตัดสินอนาคตความ

เปนอยูของคนกวา 10 ลาน ซึ่งประกอบอาชีพ

และอาศัยอยูในเมืองหลวงแหงนี้

หันมาดูจิตสำานึกทางการเมืองของกลุม

คนในสถานศึกษา ที่ถือวาเปนแหลงรวมผูมีความ

รู ชั้นนำาของประเทศอยางจุฬาลงกรณมหา-

วิทยาลัยกันดูบาง ในชวงตนป พ.ศ. 2551

ที่ผานมา มีนิสิตชาวจามจุรีทั้งหมด 7,189 คน

ออกมาลงคะแนนเสียงเลือกตั้งคณะกรรมการ

องคการบริหารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหา-

วิทยาลัย (อบจ.)

ชาวจุฬาฯ กวาเจ็ดพันคนนี้ไดรวมออกมา

เลือกคนที่จะมาเปนตัวแทนผู มีอำานาจในการ

บริหารงานกิจการนิสิตทั้งหมด กลุมคนผูมีสวน

รวมสำาคัญในการกำาหนดงบประมาณกิจการ

นิสิตตางๆ ที่สำาคัญยิ่งกวานั้น ชาวจุฬาฯ 7,189

คนนี้ไดรวมกันแสดงจิตสำานึกทางการเมือง และ

มีสวนรวมกับประชาธิปไตยระดับสถานศึกษา ใน

ฐานะที่เปนสวนหนึ่งของประชาคมจุฬาฯ สถาบัน

ซึ่งเป นความหวังในการพัฒนาอนาคตของ

คนทั้งชาติ

นาเสียดาย พลังเสียงของพวกเขาไมดัง

พอที่จะปลุกสำานึกทางการเมืองของคนสวน

ใหญในสถานศึกษาแหงนี้ได ดวยวาคนจำานวน

7,189 คนคิดเปนจำานวนรอยละ 34.23 ของผูมี

สิทธิ์ทั้งหมดเทานั้น!

ไมเพียงเฉพาะการแสดงจิตสำานึกทาง

การเมืองของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิตของ

จุฬาฯ ที่ดูจะนาเปนหวง ในระดับบุคลากรและ

อาจารยก็นาพิจารณาไมยิ่งหยอนไปกวากัน

หลายคนอาจไมทราบวาในชวงตนเดือนธันวาคม

ที่ผานมา มีการจัดการประชุมรับฟงความคิดเห็น

เรื่องการเปลี่ยนแปลงขอบังคับจุฬาฯ วาดวย

การเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภท

คณาจารยประจำา

การเลือกตั้ งดั งกล าวมีความสำ าคัญ

อยางยิ่งตอความเปนประชาธิปไตยในจุฬาฯ

เนื่องจากเปนระบบการคัดเลือกตัวแทนผู เขา

รวมในที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยระบบเดียว

ที่มาจากการเลือกตั้ง เปนโอกาสเดียวที่บุคลากร

คณาจารยจุฬาฯ จะไดมีสิทธิในฐานะผูลงคะแนน

เสียงอยางแทจริง แตแลวในการประชุมรับฟง

ความคิดเห็นซึ่งจะสงผลตอการเปลี่ยนแปลง

ระบบการเลือกตั้งดังกลาว กลับมีผูมาเขารวม

ไมถึง 10 คนเทานั้น!

ตัวเลขที่บงบอกผูมีสวนรวมในการเมือง

ประชาคมจุฬาฯ ทั้งสองระดับ บงชี้สภาพการณ

และการตระหนักในสิทธิหนาที่ทางการเมืองของ

คนในสถาบันแหงนี้ได จนเราไมจำาเปนตอง

สาธยายใหมากความ หากนาย พอล ไวทซ ไมได

เกิดในเมืองนิวยอรค ประเทศสหรัฐอเมริกา

แตเกิดในประเทศไทย และเขาเรียนในจุฬาฯ

ภาพยนตรเรื่อง Chula Dreamz ของเขาคงมี

Tagline ใหมที่วา…

“ลองนึกภาพถึงประเทศที่บุคลากรใน

มหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งไมสนใจความเปน

ประชาธิปไตย เปนมหาวิทยาลัยที่แทบไมมี

คนเขารวมการประชุมซึ่งอาจเปลี่ยนแปลง

โฉมหนาสภาของสถาบัน และมีนิสิตใสใจ

ใชสิทธิ์ในการเลือกตั้งเพียง 34% เทานั้น”

นี่หรือคือเนื้อหาของ Chula Dreamz

ที่เราชาวจุฬาฯ ตองการจะประกาศใหชาวไทย

ทุกคนไดรับรู? ยิ่งไปกวานั้น หากนี่คือสถาบัน

ซึ่งกลาวไดวาเปนอันดับหนึ่งของประเทศ แลว

ประชาธิปไตยของคนไทยในอนาคตจะดำาเนิน

ไปในทิศทางใด…

“ถาเราสามารถเริ่มสรางความเปนประชา

ธิปไตย การมีสวนรวมกันในมหาวิทยาลัยได

ก็จะสามารถเป นกรณีศึกษาสะท อนระดับ

ประเทศ เพราะถาแคหนวยมหาวิทยาลัยยังไม

สามารถสรางความเปนประชาธิปไตยที่ดีได

คงตองลองพิจารณาดูวา แลวระดับชาติจะเปน

อยางไร” ผูชวยศาสตราจารยวงแข หงษวิศิษฐกุล

(ชีวธาดาวิรุทน) หนึ่งในคณาจารยที่เขารวม

ประชุมรับฟงความคิดเห็นครั้งนั้นกลาวอยาง

เปนหวงถึงสภาพการณในปจจุบัน

แตยังไมสายสำาหรับผูที่แมจะละเลยการ

แสดงสิทธ์ิ แตยังคงมีจิตสำานึกรักในประชาธิปไตย

วันที่ 9 มกราคม ที่จะถึงนี้ เปนวันเลือกตั้งคณะ

กรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทคณาจารย

ประจำาครั้งที่ 1 วันอาทิตยที่ 11 มกราคม

จะเปนวันเลือกตั้งผูวาฯ กทม.ครั้งใหม และวันที่

5 กุมภาพันธ จะเปนวันเลือกตั้งคณะกรรมการ

องคการบริหารสโมสรนิสิต จุฬาลงกรณมหา-

วิทยาลัย (อบจ.) ประจำาป 2552

“ลองนึกภาพถึงประเทศที่ประชาชน

ทุกคนตื่นตัวมีสวนรวมในประชาธิปไตย

ประเทศที่มีรัฐบาลที่มีคุณภาพ และมีมหา

วิทยาลัยอันดับหนึ่งซึ่งบุคลากรทุกคนลวน

มีจิตสำานึกทางการเมือง”

ภาพยนตรเรื ่อง Our Dreamz นี้มีชาว

จุฬาฯ และคนไทยทุกคนเปนผูแสดง ควบทั้ง

ตำาแหนงผูเขียนบท โปรดิวเซอร และผูกำากับ

แมจะมี Tagline ที่ดูเหมือนเปนภาพใน

ความฝน …

แตคงไมยากเกินทำาใหกลายเปนจริง

“ลองนึกภาพถึงประเทศที่บุคลากรในมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่ง

ไมสนใจความเปนประชาธิปไตย

และมีนิสิตใสใจใชสิทธิ์ในการเลือกตั้งเพียง 34% เทานั้น

Page 13: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 13

ตั้งใจดูหนังกันใหญ่ สงสัยกำ�ลังสนุก

วันวาง เวลาวาง ที่จัตุรัสศิลปเรื่อง : ทักษยา วัชรสารทรัพย

มีดนตรีให้ฟังดวย

พอรวมกันเยอะๆแล้วก็เป็นอย่�งนี้

เวลาวางคุณทำาอะไร

วันนี้ฉันวาง ฉันเลยเดินไปเรื่อยๆ เพราะเปนอะไรที่ฆาเวลา

ไดไมเลว การเดินมันก็มีขอดีอยูในตัว คือทำาใหเราไดเห็นส่ิงท่ีไมเคย

เห็นหรือมองผาน แนนอนวาเดินยอมใชเวลานานกวานั่งรถ แตมัน

ก็ทำาใหเราไดพิจารณาสิ่งรอบตัวมากขึ้น และในที่สุด การเดินวันนี้

ก็ทำาใหฉันสะดุดกับอะไรบางอยาง ทามกลางบรรยากาศสบายๆ ของ

กิ่งไมใหญนอยที่โบกพัดไปตามแรงลมหนาว ฉันไดเห็นอะไรใหมๆ

จนเกิดคำาถามขึ้นในใจวา “จุฬาฯ มีที่แบบนี้ดวยเหรอ”

และคำาตอบก็คือ “มี” ที่หอศิลปจุฬาฯ

หอศลิปจฬุาฯ เปนสถานทีจ่ดัแสดงงานศลิปะ ซึง่มศีลิปนทีม่ี

ชื่อเสียงแวะเวียนมาแสดงผลงานอยูเปนประจำา อยางงานในชวง

กลางธันวาคมนี้ ที่ใชชื่อวา ”จัตุรัสศิลป” ก็มาพรอมกับลมหนาว

และบรรยากาศสบายๆ งานนี้จัดขึ้นดานนอกของตัวอาคาร ซึ่งเมื่อ

ฉันเดินเขาไปดานในงาน บริเวณโดยรอบก็ดูแลวรมรื่นเหมือนการ

เดินเลนในสวน โคมไฟกระดาษสีขาวประดับอยูตามตนไม ไลระดับ

กันสูงต่ำา ดูแลวเหมาะกับการมาผอนคลายในชวงหนาวนี้จริงๆ

กิจกรรมในงานมีอะไรนาสนใจมากมายแบบอุนกระเปาเงิน

หนอยก็มีหนังกลางแปลงที่รวบรวมหนังดีจากผู กำากับมีชื่อ

มาไวใหชมกันรวมทั้งมีเสียงดนตรีหวานๆ จากวง CU BAND

มาคอยขับกลอมผูเขามาชมงาน ใหสนุกสนานในการบริหารรายจาย

กับตลาดนัดขนาดยอมๆ ที่มีทั้งของกินของใชมากมายใหเลือก

มีคนจำานวนไมนอยใหความสนใจกับงานนี้ไมวาจะมาซื้อ

หรือมาขาย ดูไดจากจำานวนรานคาที่มาตั้งขายของอยูในงานซึ่งมี

ตั้งแตสากกะเบือยันเรือรบ แตที่เห็นแลวดูนาสนใจกวาอยางอื่น

คงเปนพวกของ hand made หรือของทำามือที่กำาลังเปนที่นิยม

มากในปจจุบัน

สิง่ทีส่ะดดุตาฉนัเปนอยางแรกเมือ่กาวเขาไปในงาน คอืราน

เครื่องประดับและตางหู สินคาทั้งหมดนี้เปนของทำามือที่ใชกระดุม

หลากสีหลากขนาด ดูแลวเกไกไปอีกแบบ ตรงนี้เจาของรานก็แอบ

กระซบิมาวา ทีอ่อกรานกเ็พราะชอบซือ้ตางหมูาก ตอนหลงัเลยลอง

ทำาขายตามงานจุฬาฯ พอชักขายดีก็ติดใจเลยทำาออกมาอยูเรื่อยๆ

ถัดมาคือซุมใหญที่มีเหลาศิลปนนั่งวาดรูป ทั้งภาพลอเลียน

ภาพเหมือน หรือแนวไหนก็แลวแตคำาขอของผูมาเท่ียวงานท่ีอยากได

รูปวาดมาเก็บไวเปนที่ระลึก ซุมนี้เปนการรวมกลุมของนิสิตคณะ

ศิลปกรรมศาสตร ซึ่งใชเวลาวางในการหารายไดพิเศษ และการ

ตอบรับก็ดีเยี่ยมเพราะมีคนแนนซุมตลอดเวลา โดยสนนราคาของ

ที่ระลึกนี้ไมถูกไมแพง 50 บาทตอรูปเทานั้น

หันไปไมใกลไมไกลก็เจอรานที่อารทไมแพกัน มีทั้งกระจก

รองเทา กระเปาโดยของแตละชิ้นมีการเขียนลายแตกตางกันไป

รานนี้เปนของนองอติญา เด็กครุฯ ป2 ซึ่งบอกกับฉันเองวา

ลายทั้งหมดที่วาดมาจากความคิด และฝมือของตัวเองลวนๆ

โดยของทุกชิ้นคิดลายเอง วาดเอง ลงสีเอง เพื่อเพิ่มมูลคาใหของใช

แถมตอนนี้ยังขายดิบขายดี ขนาดขยายไปขายถึงงาน Indy In-

Town และตลาดนัดสวนจตุจักรแลวดวย!

ใครที่ชอบสะสมสมุดลายสวยเกานาจะถูกใจรานนี้ ซึ่ง

เจาของรานที่เปนเด็กสถาปตฯ ตัวจริง การันตีเลยวาไมเหมือนใคร

โดยเฉพาะลายที่มี เอกลักษณในเรื่องของลายเสนและการลงสี

ท่ีดูแลวนารักเหมาะกับวัยรุน “ผมวาดเองท้ังหมด ทำามาต้ังแตอยูม.6

แลว จุดเดนของที่รานคือการใหลูกคามีสวนรวมกับงานเวลาเห็น

ต่�งหูทำ�จ�กกระดุม

รองเท้าคู่เดียวในโลก

hand made to order จ้��...

ลูกคาชอบผมก็มีความสุข เราจะ made to order และวาดสด

ใหเด๋ียวน้ัน สวน theme น้ันข้ึนอยูกับงานท่ีไปขายอยางลอยกระทง

ก็จะเนนแสงเทียน งานจัตุรัสศิลปก็จะเนนหิมะเพราะเปนชวง

หนาหนาว” เจาของรานที่เปนเด็กสถาปตฯ ตัวเปนๆ เลาใหฉันฟง

อยางภาคภูมิใจ

เมื่อลองเดินสำารวจดูของในงานแลวก็จะเห็นไปรษณียบัตร

วางขายอยูหลายราน โดยสวนใหญแลวจะเนนไปที่ภาพทิวทัศน

สวยงามทัว่ๆ ไป แตมอียูรานหนึง่ทีม่สีไตลของภาพทีไ่มเหมอืนใคร

เจาของรานอยาง นายมนตสัน กัณธรรม บอกกับฉันวารานอ่ืนๆ

จะมีแตภาพวิว แตที่รานจะมีทั้งภาพวิว และภาพกราฟฟคที่คิด

และทำาขึ้นมาเอง แถมออกแบบใหไมเหมือนใคร แบบนี้ลูกคา

ที่ไหนก็ตองชอบเพราะเรียกวาแหวกแนวกันแบบสุดๆ

นอกจากของทำามือแลวในงานน้ีก็ยังมีขาวของและเส้ือผา

มือสองมาวางขายมากมาย นับเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน

มากเลยทีเดียว แถมยังหารายไดจากของที่ไมใชแลวไดอีกดวย

จัตุรัสศิลป นับเปนกิจกรรมที่สงเสริมการใชเวลาวางใหเปน

ประโยชนอยางแทจริง หากคุณมีเวลาวางอยากใหคุณลองคิดวา

จะทำาอะไรดี หาในสิ่งที่ตัวเองชอบ มองในสิ่งที่ตัวเองรัก แลวถาม

ตัวเองซิวาเราจะทำาอะไรกับมันไดบาง แตหากถามแลวก็ยังไมได

คำาตอบ...

ลองเดินดูกอนสิ เผื่อจะรูวาเวลาวางคุณอยากจะทำาอะไร

ในง�นไม่ได้มีแต่เด็กจุฬ�ฯนะ แม้แต่ฝรั่งก็ขอแจมด้วย

โปสการ์ดก็ทำา

บทความ

Page 14: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 14 บันเทิง

สยองขวัญ

ทามกลางบรรยากาศปใหมนี้ ภาพยนตรที่กำาลังจะเขา

สวนมากมักจะเปนภาพยนตรกุกกิ๊ก โรแมนติก ไปเสียสวนใหญ

ซึ่ งก็น าจะเหมาะกับช วงเวลาป ใหม อันเป นเทศกาลแห ง

ความสุข แตก็ใชวาจะไมมีที่วางสำาหรับภาพยนตรสยองขวัญเลย

นิสิตนักศึกษาฉบับนี้จึงขอเสนอภาพยนตรซอมบี้สำาหรับผู ที่

ตองการความตื่นเตนเราใจในชวงศักราชใหมนี้

--- Diary of the Dead --- วันที่เขาฉาย 31 ธันวาคม 2551

เรื่องราวของนักศึกษากลุมหนึ่งรวมกัน

สรางภาพยนตรแบบไมมีตนทุนโดยอาศัยปาเปน

สถานที่ถายทำา แตในระหวางถายทำาในปานั้น

พวกเขาก็ไดขาววามีผีดิบอาละวาดอยูทั่วเมือง

ที่พวกเขาอาศัย ตัวละครไดบันทึกเหตุการณ

สยองขวัญเกือบทุกเหตุการณผานกลองวิดีโอ

ราวกับวาหากมีใครพบวิดีโอของเขาจะไดรูวามี

เหตุการณอะไรที่เคยเกิดขึ้นบาง

เรื่องลาสุดในซีรีส The Dead ของผูกำากับ

ภาพยนตรซอมบี้ขึ้นหิ้งอยาง George A. Romero

ในภาพยนตรเรื่องนี้ Romero ไดละทิ้งเอกลักษณ

ตัวเอง ที่จะใชกลองหลายๆ ตัว และเรียบเรียง

เรื่องในหองตัดตอ แตจะใชวิธีถายแบบ long take

คือใชกลองตัวเดียวถายตอเนื่อง และใชภาพแบบ

hand-held หรือกลองมือถือปนกันไปกับการ

ถายทำาแบบธรรมดา ซึ่งจุดสำาคัญในการถายแบบ

นี้คือการที่นักแสดงแตละคนตองมีประสบการณ

และความเชี่ยวชาญ สามารถแสดงบทบาทของ

ตัวเองไดอยางตอเนื่องและไมผิดพลาด ซึ่ง

Romero ก็ออกมายืนยันดวยตัวเองวา นักแสดงที่

เขาคัดเลือกมามีคุณภาพมาก

เปนที่นาสนใจวา เมื่อตัวผูกำากับมายืนยัน

หนักแนนขนาดนี้ ภาพยนตร Diary of the Dead

จะออกมาถูกใจคอภาพยนตรซอมบี้สักเพียงใด

--- Quarantine ---วันที่เขาฉาย 8 มกราคม 2552

ภาพยนตร แนวซอมบี้ สยองขวัญที่

ฮอลลีวู ดได ซื้อลิขสิทธิ์จากภาพยนตรสเปน

เรื่อง [REC] มาผลิตใหมอีกรอบภาพยนตรก็

เปนแนวเดิมๆ คือซอมบี้ออกอาละวาดฆาคน

เพียงแต เหตุการณหลักของเรื่องถูกจำ ากัด

อยู แค เพียงอพาร ทเมนทป ดตายกลางกรุง

ลอสแอนเจลิส เรื่องราวเกิดขึ้นกับทีมสำารวจที่สง

เขาไปโดยรัฐบาลและทีมนักขาวที่เขาไปทำาขาว

พรอมกัน

เทคนิคการถ ายทำาภาพยนตร เรื่องนี้

คือใชการถายทำาแบบ hand-held หรือกลอง

มือถือ ซึ่งทำาใหผูชมรูสึกเหมือนเขาไปอยูใน

เหตุการณจริง ความสยองของเรื่องคือความ

ธรรมชาติของภาพที่ออกมา ซึ่งภาพที่ไดจะ

เสมือนวาผูชมไดเจอเหตุการณนี้กับตัวเอง ไมมี

มุมกลอง ไมตองคำานึงถึงความพอดีของภาพ

เรียกงายๆ วาเดาไมออกเลยวาจะเกิดอะไรขึ้น

ตอนไหนหรือเมื่อไหร ยิ่งหากใครดูเรื่อง [REC]

มาแลว คงรูอยูแลววาตอนจบของเรื่องตองมีอะไร

ใหเซอรไพรสแนๆ

ดวยทุนสรางเพียง 12 ลานเหรียญสหรัฐฯ

แตดวยชื่อของ [REC] ที่เคยสรางปรากฏการณ

ความสยดสยองมาแลวนั้นคงจะการันตีดีกรี

ความสยองของภาพยนตรไดแนนอน

ห้องน่ังเล่น

ธรรมพร ดีปลื้ม

เซ็นเตอรพอยทแหงใหมที่ศูนยการคา

เซ็นทรัลเวิลดพลาซา เปดโรงละครรูปแบบใหม

-ปรับรูปแบบรานคาใหแหวกแนวมากขึ้น มุง

เปาใหวัยรุนแสดงออกอยางสรางสรรค

นายชยะบูรณ ชวนไชยสิทธ์ิ กรรมการ

ผูจัดการ บริษัท เซ็นเตอรพอยท เอ็นเตอรเทน

เมนท จำากัด กลาววา เซ็นเตอรพอยทแหงใหม

ซึ่งเปดขึ้นบนชั้นเจ็ดและแปดของศูนยการคา

เซ็นทรัลเวิลด มีขนาดใหญกวาเซ็นเตอรพอยท

เดิมซึ่งอยูบนพื้นที่สยามสแควรถึง 10 เทา โดย

มีแนวคิดในการเปนศูนยรวมความทันสมัย

เปนแหลงนัดพบ และเปนสถานที่จัดกิจกรรม

สรางสรรคใหวัยรุ นไดแสดงความสามารถ

และระบุวาโครงการนี้ใชเงินลงทุนกวารอย

ลานบาท

นายชยะบูรณเปดเผยวา มีการเปด

โรงละครแนวคิดใหมชื่อ “CENTERPOINT

Playhouse” ในพื้นที่โครงการเซ็นเตอรพอยท

เซ็นทรัลเวิลดพลาซา ชั้นแปด โดยประยุกต

แนวคิด โรงละครเพื่อการศึกษา (Theatre in

Education) มาปรับใช กลาวคือ เปนการเปด

เซ็นเตอรพอยทเปดโรงละครใหม-ปรับรานคา ใหพื้นที่วัยรุนโชวผลงาน

โอกาสและตอบสนองนักศึ กษาที่ มี ความ

สามารถ แตขาดพื้นที่และองคประกอบของการ

แสดง เชน เวที แสง สี เสียง ใหมาเสนอละคร

หรือการแสดงของตนออกสูสาธารณชน

“เซ็นเตอร พ อยท อยากสนับสนุนให

นักศึกษามีโอกาสไดนำางานที่ตนทำามาออกงาน

ในสาธารณะ โดยที่เด็กไมตองลงทุนมาก” นาย

ชยะบูรณกลาวและเพิ่มเติมอีกวา การเปดเพลย

เฮาสเพิ่มขึ้นนี้เปนการตอบโจทยกลุ มวัยรุ นที่

ปจจุบันหันมาใหความสนใจในสาขาวิชานิเทศ

ศาสตรจำานวนมาก เนื่องจากตลาดใหญกวาเดิม

จึงรองรับใหคนมาทำางานทางดานบันเทิงมากขึ้น

ดานรานคาในพื้นที่เซ็นเตอรพอยทใหม

นั้น นายชยะบูรณกลาววา รานคาที่มาตั้งจะเปน

รานขายของที่เปนลักษณะแหวกแนวไปตาม

คอนเซ็ปตโครงการ โดยจะคัดเลือกรานคาใหม

เกือบทั้งหมด โดยเนนไปที่รานคาที่มีความ

สรางสรรค และมีความเฉพาะตัวเขากับธีมของ

โครงการ ทั้งนี้ รานคาในโครงการเซ็นเตอรพอยท

เซ็นทรัลเวิลดพลาซา จะมีสองรูปแบบ คือ

รูปแบบธุรกิจ และรูปแบบของผลงานนักศึกษา

นายชยะบูรณกลาวเพิ่มเติมวา รูปแบบ

พื้นที่ซึ่งเปลี่ยนจากพื้นที่ โล งเป ดกว างเป น

ภายในหางสรรพสินคา ทำาใหตองมีการประชา

สัมพันธมากขึ้น มีความชัดเจนในเรื่องเวลาที่จัด

และกลุมเปาหมายจะไมใชเพียงแคเด็กนักเรียน

วัยรุนช้ันมัธยมศึกษาเทาน้ัน จะเพ่ิมเปนนักศึกษา

และคนวัยทำางานดวย

“เมื่อกอนที่จัดกลางลานโลงแจงแบบ

Outdoor ใชเสียงดึงดูดกลุมผูเขาชมโดยบังเอิญ

เจอนั้น เราตองปรับเปลี่ยนเปนการประชา

สัมพันธในรูปแบบใหม เปนแบบการตั้งใจมาดู

เชน ทางเว็บไซต สื่อออนไลน และการแจก

ใบปลิว ทำาใหตองชัดเจนในเรื่องวัน เวลา และ

สถานที่มากขึ้น” นายชยะบูรณกลาว

ดานนางสาวอาภรณ ผดุงเจริญ

นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ กลาววา การปรับ

เปลี่ยนรูปแบบรานคาใหมทำาใหวัยรุนที่มีโอกาส

นำาผลงานมาออกขาย ไดพัฒนาฝมือของตนให

สรางสรรคในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น โดย

เฉพาะผลงานที่ผลิตออกมานั้นจะมีรูปแบบไม

เหมือนใคร ไมซ้ำากันแตละชิ้น เพราะผลิตดวยมือ

“ถาเขาจะเปลี่ยนใหดูแนวขึ้น หรือเกกวา

เกาก็ดี เพราะเด็กจะไดมีรายไดเพิ่ม หรือไมก็มา

โชวพวกของอินดี้ ของแฮนดเมด ที่ตัวเองทำาดวย”

นางสาวอาภรณกลาวเพิ่มเติมวา รานคารูปแบบ

ใหมชวยเปดโอกาสใหวัยรุน ดีกวาที่จะใหเปน

รานคาแบรนดดังที่มีราคาสูง

นางสาวอิ่มใจ มงคลธนารักษ นิสิต

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาวเสริมวา ตน

ชอบรูปลักษณใหม ของเซ็นเตอร พ อยท

เนื่องจากมีบริเวณที่กวางขวาง สะดวกสบาย

และมีประโยชนสงเสริมการใชเวลาวางใหกับ

วัยรุนไดดีกวาที่เกา ซึ่งตนมองวาเปนแหลง

มั่วสุม

“จากที่มีแตอารมณอินดี้ มีวัยรุนมานั่ง

คุยกัน แลวสูบบุหรี่ ก็กลายมาเปนแหงใหม

ที่ทำาให ตัววัยรุ นนำาเสนอจุดเด นของตน”

นางสาวอิ่มใจ กลาว

ทั้งนี้ โครงการเซ็นเตอรพอยท สยาม

สแควร ปดตัวลงในปลายป พ.ศ. 2550

เนื่องจากสำานักงานทรัพยสิน จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย ไมตอสัญญากับผูเชา เพราะจะ

ทำาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่บริเวณสยามสแควร

ไปเปนประตูสูสยามสแควร ซึ่งนายเจริญ

สิริวัฒนภักดี เจาของบริษัท ไทย เบฟเวอเรจ

จำากัด ประมูลชนะดวยโครงการ “ดิจิตัลเกตเวย”

แหลงรวมสินคาไอที และกำาลังอยูในขั้นตอน

การกอสราง

เรื่อง : อัจฉริยา เอิบประสาทสุข

Page 15: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 15

ยอนไปเมื่อ 20 ปกอน เด็กหญิงสิริยากร

ฝนอยากเปนนักสื่อสารมวลชนตั้งแตอยู ม.2 เมื่อ

เธอใหคำาตอบกับตัวเองไดวา “ไมมีเปาหมายอื่น

ในชีวิต” เธอจึงตัดสินใจเลือกคณะนิเทศศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนอันดับหนึ่งโดย

สอบเทียบไดตอนม.5

“สมัยปหน่ึงก็เรียนไมคอยเปน เหมือนเด็ก

ไทยทั่วๆ ไป ที่เขามหาลัยฯ ก็จะเหวอๆ หนอยนึง

ประมาณวาแลวจะยังไงตอดี”

แมว าจะเปนเด็กเรียนดีมาตลอดสมัย

มัธยม ไมเคยไดเกรดต่ำากวา 3 แตเม่ือเขามานิเทศฯ

ก็ไดเกรดรวมไมคอยดีนัก และไดเกรดซีเปนเรื่อง

ปกติ แตก็ยังทำากิจกรรมทั้งเปนเชียรลีดเดอรของ

คณะ รวมทั้งเปนเชียรลีดเดอรของงานฟุตบอล

ประเพณีจุฬาฯ – ธรรมศาสตรครั้งที่ 48

“คือในชีวิตการเรียนไมเคยต่ำากวา 3

ใชไหม แตปรากฎเขาจุฬาฯ เทอม 1 ได 2.6

พอเปนลีดฯ ได 2.4 ในชีวิตไมเคยแยขนาดนี้”

พี่อุมเลา

ถึงเกรดจะแยขนาดไหน แตเพราะความ

อยากรู อยากลอง ทำาใหเกิดวีรกรรมมากมายใน

สมัยเรียน ทั้งการอยูถึงหกโมงเชาที่บานเพื่อน

ไมหลับไมนอน ไปจนถึงการอยูที่ใตถุนคณะ ไม

ยอมกลับบาน การอยูทาสีคัทเอาทละครคณะจน

กระโปรงสีดำาเลอะเปรอะเปอนจนถูกทักวาเปน

เด็กชางศิลป รวมไปถึงการโดดเรียน

“มีคนบอกวา คณะเรานี่คัดเอาแบบเกงๆ

มาเลยนะ เขายากมาก ออกมาแลวติงตองหมด

สอบเขามาเกงเชียวนะ เอะ แลวทำาไมออกมาเปน

อยางนี้” เธอเลาถึงชีวิตวัยเรียนอยางอารมณดี

“...พอปสามเร่ิมสำานึก วาฉันอยากไดเกียรติ

นิยม ทำายังไงดี ก็มุงมั่น แตหารูไมวาปหนึ่ง ทำาได

งายท่ีสุด ถาเกรดดีต้ังแตปหน่ึง ปหลังๆ ก็ไมเหน่ือย”

“...แตแลกกับการไดไปเปนลีดจุฬาฯ มัน

ก็คุมคากัน และแมวาตองแลกกับการตองขยันใน

ปสามปสี่ ก็ถือวาคุมกัน”

เธอเริ่มตน 2 ปแรกดวยกิจกรรมและ

ความสนุกสนาน จบทายดวย 2 ปของความขยัน

และพยายามในการเรียน โดยมีเพื่อนเปนสวน

สำาคัญที่ทำาใหชีวิตนิสิตนักศึกษาของพี่อุมจบลง

ดวยเกียรตินิยมอันดับสอง

“โชคดีมากที่เพื่อนในกลุมขยัน คือกลุมพี่

นี่ใหญโตมากถึง 16 คน บางคนบอกวานี่คือชั้นป

นึงเลยรึเปลา 16 คนนี่เปนผูหญิงลวน ก็ขยัน คือ

ถาเขาเรียนสาย 10 นาทีเพื่อนพี่จะเกิดอาการ

มือเย็น จะรีบชวนกันไปเขาเรียน แลวพี่ก็เลยขยัน

จนกระทั่ง เพื่อนในกลุมไดเกียรตินิยม 10 คน เปน

พวกจดเล็คเชอร ที่ถายเอกสารอานกันจะเปน

ลายมือกลุมพี่ กระจายอยูทั่วคณะ มีของพี่ดวย

เพราะตัวใหญมาก” เธอเลาพลางหัวเราะไปดวย

“พี่วามหาลัยฯ เปนเหมือนการจัดระบบ

ความคิด ทำาใหเราไดฝกวินัยการดูแลตัวเอง

เริ่มตนการรับผิดชอบชีวิตตัวเอง และก็ตองเลือก

ดวยวาจะทำาอะไรบาง แตละคนเลือกเองวาจะทำา

อะไร อยางการเปน คณะกรรมการนิสิตของคณะ

หรือบางคนก็ไปเปน อบจ. ไปทำางานขางในเมือง

บาง บางคนก็ทำากิจกรรมขางนอก บางคนก็แลว

แตเลย” พี่อุมสรุป

จากเด็กนักศึกษาวิชาเอกโฆษณาที่อยาก

เปนนักส่ือสารมวลชนต้ังแตวัยเยาว อะไรกันท่ีพลิก

ผันใหเธอกลายเปนนักแสดงในวงการบันเทิง

“คือตอนอยูป 3 เคยไปถายโฆษณา

Rejoice ก็มีคนชวนทำาละคร ก็ไมไดเลน เพราะ

คิดวาไม ฉันจะทำาโฆษณา ก็มีอาจิ๋ม (มยุรฉัตร

เหมือนประสิทธิเวช) มาชวน ก็เลยเลน...ยาวเลย”

พี่อุมตอบพรอมรอยยิ้ม

“ตอนนั้นชีวิตมันก็มีอะไรเขามา โดยที่เรา

ไมไดคาดคิด เพราะวาหลายคนก็สวย มีความ

สามารถ ไมตางกัน แตพี่คิดวา สิ่งที่ทำาใหตางกัน

ก็คือโอกาส คุณยาพี่จะสอนเสมอวา มีคนที่เคา

สวยกวาหนู เกงกวาหนู แตเคาไมไดโอกาสอยาง

ที่เราได เพราะฉะนั้นสำาคัญมากที่คุณจะตอง

กตัญูตอคนที่ใหโอกาสเรา” พี่อุมเลา

หลังจากเป นนักแสดงเล นละครและ

ภาพยนตรมาหลายเรื่อง นับตั้งแตละคร “สามใบ

ไมเถา” มาโดงดังขึ้นชื่อก็ในเรื่อง “จินตปาตี” ได

รับรางวัลการันตีความเปนนักแสดงคุณภาพใน

หลายสถาบัน แตเธอก็ยังไมหยุดจะกาวไป เมื่อ

วันหนึ่งเธอคนพบวา อยากทำางานในสายที่ตน

เรียนมา...

“ตอนอายุ 20 กวาๆ ก็ไมไดคิดอะไรมาก

เลนละครไป แตพออายุประมาณ 27 นี่เริ่มตั้งถาม

คำาถามในชีวิตเยอะ วาจะทำาอะไรตอไป จะเปน

อยางนี้ตอไปเหรอ เพราะอยูในวงการก็มีชื่อเสียง

เงินทอง เมื่อเทียบในอายุเทากันกับเพื่อน แตที่

เราเรียนมาแลวเราไมคิดจะทำาอะไรใหมันเปน

ประโยชนกวานี้เหรอ ก็เลยเริ่มตั้งบริษัท แลวทำา

รายการโทรทัศน อยาง บานอุม” เธอเลา

ดวยความเปนคนชางคิด ทำาใหเริ่มตนจับ

ปากกาเขียนหนังสือ

เธอเลาวา เมื่อกาวเขามาสูงานเขียน และ

การทำารายการ ทำาใหเธอตองหาขอมูลจำานวน

มาก และนั่นคือความรับผิดชอบอีกขั้นหนึ่งที่เธอ

จะตองทำาเพื่อใหเกิดประโยชนตอผูรับมากที่สุด

“อยางที่พี่ทำา นิตยสารหรือรายการ แค

เขียนเพียงยอหนาเดียว บางทีพี่อานเปนปก

เพราะพี่รูวาคนไมมีเวลาเยอะ เราก็เปนคนหนึ่งที่

เสพสื่อ อีกทั้งมีหนังสือไมรูกี่รอยกี่ลานเลม เรามี

เวลาแคนิดเดียวเอง so many books so little

time เพราะฉะนั้น เราจึงมีหนาที่อีกอยางหนึ่งคือ

การกลั่นกรอง แลวก็เลือกใหผูอานอานนอยสุด

แตไดเยอะที่สุด และก็ไมไดทำาเพื่อสนองความ

ตองการของเราเอง” เธอกลาวอยางเรียบงาย

สิ่งที่ถายทอดออกมาผานงานเขียน และ

รายการโทรทัศนนั้น เปนการกลั่นกรองจากการ

เรียนรูและลองผิดลองถูกในทุกชวงชีวิตของเธอ

“การเรียนรูโลกนี่เปนเรื่องสำาคัญ คือกวา

พี่จะมานั่งอยูตรงนี้ พี่ก็ใชเวลาเรียนรู จริงๆ แลวก็

สั้น ชีวิตก็สั้นมากเลยนะ เพียงแค 30 กวาป แตก็

เปนชีวิตที่ไดลองผิด ลองถูก เรียนรู เพื่อที่จะรูวา

สุดทายเราเลือกไมไดทำาอะไร และก็เลือกที่จะทำา

อะไรบาง” พี่อุมกลาว

ดวยประสบการณที่ผานมาในแทบทุก

สาขางานทางสายนิเทศศาสตร ทำาใหพ่ีอุมก็อดเปน

หวงเด็กสมัยนี้เสียไมได เพราะเปนยุคของขอมูล

ขาวสาร มีสิ่งตางๆ ใหเลือกมากมายแตละวัน

“...ทุกวันนี้ขอมูลลนมาก เด็กสมัยนี้ก็

อาจจะพลาด เพราะวามีทางใหเลือกเยอะมาก

อยากทำานูน อยากทำาน่ี ขณะท่ีอานเร่ืองหน่ึง เพ่ือน

ก็มาจะคุย ดึ๊งดึง ดึ๊งดึง ตลอดเวลา ทีวีก็มี 90 ชอง

ไมรูจะดูอะไรดี สุดทายก็ดูละครละกัน มันเยอะไป

ชีวิตทั้งหมดก็คือการเลือก มีงาน 100 กวาอยาง

รออยู หลังรั้วมหาลัยฯ ชีวิตเปน decision หมด

เลย วาเราจะทำาอะไร แลวไดอะไร ไมไดอะไร”

“เรื่องเงินก็เปนเรื่องที่สำาคัญเหมือนกัน

มีเด็กใจรอนเยอะ เพราะบางคนก็อยากรวยเร็ว

อยากดังเร็ว เชนบอกวา อยากเปนอะไร อยาก

เปนผูกำากับ อยากอยูใน lime light ทำาหนังสือก็

อยากเปน บก. คืออยากไปอยูตรงหัวแถวโดยเร็ว

ก็ดีท่ีต้ังเปาหมาย แตก็ตองอยากเปนแรงงานดวย

ก็ต องอยากเป นคนที่ทุ มเทและเหนื่อยยาก

ดวย จะอยากไปถึงเร็วก็เลยยอมทนๆ เพื่อจะไป

ถึงจุดนั้น พี่คิดวามันไมใช คือคุณตองรักทุกๆ

ขั้นที่จะขึ้นไป”

บทสรุปของบันไดแตละขั้น คือความตั้งใจ

ที่จะไมดูถูกวันเล็กนอย แตทำาทุกๆ วันอยางดีที่

สุดดวยใจที่จะเรียนรู เพราะในชีวิตไมมีอะไรที่ได

มางายๆ ...และนี่คือความคิดของพี่อุม “สิริยากร

พุกกะเวส”

สัมภาษณ

ชีวิตคนเราเปรียบเสมือนขั้นบันได ที่เรา

ตองกาว ขึ้นไปทีละขั้นเพื่อไปสูจุดๆ หนึ่งที่เรา

วาดฝน แตหลายครั้งคนเราก็มักจะหลงลืมไปวา

แตละขั้นตอนในชีวิต กำาลังสรางเราใหเรียนรูที่จะ

รักและพรอมที่จะกาวตอไปในอีกขั้น

น่ีคือ ความคิดของพ่ีอุม สิริยากร พุกกะเวส

ชวงชีวิตในวัย 34 ป กับบทบาทและ

ตำาแหนงหนาที่ที่ผานมานับไมถวน ทั้งนักแสดง

พิธีกร นักเขียน คอลัมนิสต โปรดิวเซอร ไปจนถึง

ตำาแหนงระดับผูบริหาร ทำาใหพ่ีอุม สิริยากร บัณฑิต

จากคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กลายเปนที่รูจักและถือไดวาประสบความสำาเร็จ

ขณะที่อายุยังนอย

เรื่อง : ชัญญา ติ๋วตระกูล

“อุ้ม สิริยากร พุกกะเวส” กับขั้นบันไดแห่งชีวิต

“คุณยาพี่จะสอนเสมอวา

มีคนที่เคาสวยกวาหนู เกงกวาหนู แตเคาไมไดโอกาสอยางที่เราได

เพราะฉะนั้นสำาคัญมากที่คุณจะตองกตัญูตอคนที่ใหโอกาสเรา

Page 16: NisitNaksuksa Vol.43

หนา 16

เรื่อง : ชัญญา ติ๋วตระกูล

สุธินี ภูโกสีย

“ศูนยบริการสุขภาพฯ

...สิทธิที่ชาวจุฬาฯ พึงไดรับ”

เรื่องสวัสดิการการรักษาพยาบาลนับ

เปนเรื่องที่สำาคัญมากสำาหรับประเทศพัฒนา

แลว อยางสหรัฐอเมริกา ในทุกๆ รัฐจะมีการ

ชวยเหลือเรื่องการรักษาพยาบาลในแทบ

ทุกพื้นที่โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย เมื่อนิสิต

ที่เขาศึกษาจำาเปนตองมีสุขภาพรางกายที่

แข็งแรงเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน

ใ น ง า น วิ จั ย ข อ ง ด็ อ ก เ ต อ ร เ อ็ ด

เอฮลิงคเกอร (Dr. Ed Ehlinger) ผูอำานวยการ

และประธานของศูนยบริการสุขภาพแหงมหา

วิทยาลัยมินเนโซตา (University of Minnesota

Boynton Health Service) กลาวไวอยางนา

สนใจวา “ปญหาสุขภาพ เปนสาเหตุโดยตรงที่

สงผลกระทบตอการเรียนดี”

ผลงานวิชานี้ไดถูกตีพิมพเปนครั้งแรก

ในป พ.ศ. 2550 หลังจากที่ไดทำาการศึกษาจาก

นิสิตนักศึกษาหลากหลายสถาบันกวา 9,000

แหงกระจายทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา และ

ศึกษาอยางเจาะจงในกลุมนักศึกษาตัวอยาง

กวา 24,000 คน ในสถาบันการศึกษาทั่วมลรัฐ

มินเนโซตา ผลสรุปที่ไดคือกวา รอยละ 69 ของ

เด็กทั้งหมด ไดเกรดเฉลี่ยที่ลดลงเมื่อสุขภาพ

ใจและกายของตนเองย่ำาแย ไมวาจะดวย

สาเหตุของการพักผอนนอย การเครียด การ

ดื่มเหลา การสูบบุหรี่ หรืออื่นๆ แตนั่นสงผลตอ

ความกาวหนาทางการเรียนในอนาคต

ดร.เอ็ด เอฮลิงคเกอรจึงไดออกมาเรียก

รองผานทางหนังสือพิมพ Star Tribune ฉบับ

วันที่ 28 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 ดวยความ

หวังที่ว าขอมูลจากงานวิจัยที่เขาคนพบจะ

สามารถสร างแรงจูงใจให นักศึกษารักษา

สุขภาพของตนเองอยางดี และหวังวามหา

วิทยาลัยเองก็จะแสดงความตั้งใจมากขึ้นที่จะ

ชวยเหลือนักศึกษาเหลานั้น

ไมว างานวิจัยของดร.เอฮลิงคเกอร

จะสงผลในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรทาง

สุขภาพของมหาวิทยาลัยชื่อดังแหงใดบางใน

สหรัฐอเมริกา แตวันนี้มหาวิทยาลัยรัฐแหง

แรกของไทยก็ไดแสดงใหเห็นถึงความตั้งใจ

จริง และปรารถนาดี จะดวยเหตุผลหรือแรง

จูงใจใด วันนี้ถือวาเปนสิทธิที่เราควรจะเก็บ

รักษาไว

ความรู

ขณะที่พยาบาลกำาลังเรียกชื่อคนไข

เรียงตามลำาดับกอน-หลังไปเรื่อยๆ ภายในชั้น

2 ของตัวอาคาร ที่แหงนี้กลายเปนที่พักกาย

พักใจของผูปวยมากมาย ทั้งผูที่เปนนิสิต

บุคลากร ตลอดจนบุคคลภายนอก บางเปน

ตำารวจแถวสถานีตำารวจปทุมวัน บางเปนญาติ

หรือสามี-ภรรยาของพนักงานประจำาในจุฬาฯ

บางเปนนักกีฬาที่มาฝกซอมแถวสนามกีฬา

บางเจ็บหู บางไขสูง บางปวดฟน แมเปนเพียง

อาการที่เล็กนอย แตไมไดลดความสำาคัญของ

การรักษาเยียวยาใหหาย

ดูเหมือนวานี่คือโรงพยาบาลสักแหงใน

ตัวเมือง หากแตนี่คือ “ศูนยบริการสุขภาพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” ที่ตั้งอยู ณ บริเวณ

ชั้น 2 อาคารจามจุรี 9 ที่เดิมเปนเพียงหนวย

อนามยัฯ อยูในซอกแคบๆ บรเิวณใตสนามกฬีา

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บัดนี้ไดแปร

เปลี่ยนสภาพกลายเป นสถานพยาบาลที่

ตกแตงหรูหราเทียบเทาคลินิกนอกเวลาของ

โรงพยาบาล เวนแตเพียงใหการรักษาในระดับ

ปฐมภูมิหรืออาการเบื้องตนเทานั้น

ในพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณมหา

วิทยาลัย ฉบับปรับปรุงโดยสภานิติบัญญัติ หรือ

สนช. ระบุในหมวดที่ 7 ขอที่ 49 เรื่องสวัสดิการ

และสิทธิประโยชนใจความวา “ใหพนักงาน

มหาวิทยาลัยได รับสวัสดิการการประกัน

สุขภาพตามกฎหมายวาดวยการประกันสังคม

โดยอาจเข ารับการรักษาพยาบาลที่ศูนย

บริการสุขภาพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

โดยไมเสียคาใชจายหรือเสียคาใชจายไมเต็ม

จำานวนได”

หลังจากที่จุฬาฯ ออกนอกระบบ

พนักงาน นิสิต ขาราชการประจำา ภายในรั้ว

จุฬาฯ แหงนี้ หลายฝายไมรูวามีสิ่งใดบางที่

กำาลังเปลี่ยนไป และเราจะเสียสิทธิและผล

ประโยชนใดบาง หากเปนเรื่องของสวัสดิการ

การรักษาพยาบาล สิทธิดังกลาวที่เคยสงผาน

ทางหนวยอนามัยฯ และการตรวจรักษาสุขภาพ

ประจำาปนั้น จะยังเหมือนเดิม ทั้งการเบิกจาย

สำาหรับขาราชการ และการใหบริการนิสิตจะยัง

เหมือนเดิม แตท่ีเพ่ิมคือเร่ืองนายินดีของพนักงาน

ประจำา และบุคคลภายนอกท่ีจะไดรับสิทธิประโยชน

ในการเบิกจายจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการ

คลัง จนถึงไมตองเสียคาใชจายแตอยางใด

รศ.พญ.ปรียาจิต เจริญวงค ผูอำานวยการ

ศูนย บริการสุขภาพแห งจุฬาลงกรณ มหา

วิทยาลัยกลาวถึงเรื่องนี้วา “บุคลากรของจุฬาไม

วาจะเปนขาราชการ ขาราชการบำานาญ ลูกจาง

ลูกจางเงินงบประมาน ลูกจางเงินนอกประมาณ

พนักงานมหาวิทยาลัยก็ไมตองจายเงิน เราจะไป

เก็บเอาตามตนสังกัด”

นับแตการจัดตั้งหนวยอนามัย เมื่อป พ.ศ.

2502 ตอมากรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

ไดพิจารณาและกำาหนดใหศูนยบริการสุขภาพ

แห งจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เป นสถาน

พยาบาลของทางราชการ

แตหลายคนยังไมรูวาสิทธิประโยชนที่เรา

ไดรับผานศูนยบริการสุขภาพฯ ถือเปนสวนหนึ่ง

ที่หักจากเงินคาเทอมของนิสิต เปนจำานวนเงิน

120 บาทตอคน เพื่อนำามาใชจาย และบริหาร

จัดการโดยวิธีการเดียวกับการบริหาร “ศูนยฯ”

อืน่ๆ ของมหาวทิยาลยั เพยีงแตเนนการใหบรกิาร

มากกวาหารายได ถือเปนสิ่งที่นิสิต “ทุกคน”

สมควรไดรับอยางเทาเทียมกัน

“ตอนนั้นปวดทองเพื่อนก็เลยบอกให

ไปหาหมอที่อนามัยฯ ที่จามเกาฟรี หมอก็

ตรวจละเอียดดี พยาบาลก็ใหบริการเหมือนโรง

พยาบาลทั่วไป” นายวรุตม เข็มประสิทธ ิ์ นิสิต

ชั้นปที่1 คณะอักษรศาสตร เลาประสบการณที่ได

เขารับรักษา

นอกจากรักษาอาการพื้นๆ หรือที่เรียกวา

อาการที่สามารถรับประทานยาสามัญประจำา

บานแลวหายไดนั้น สิทธิประโยชนที่จะใหกับ

บุคคลทั้งในและนอกจุฬาฯ คือการรักษาดวยยา

ในบัญชีหลักแหงชาติจำานวน 300 รายการของ

กระทรวงสาธารณสุข การรักษาโดยอาจารยแพทย

ผูเชี่ยวชาญในโรคทั่วไป และโรคเฉพาะทาง ที่

แบงเปนคลินิครักษาโรคตางๆ ทั้ง โรคผิวหนัง

โรคสูติ-นรีเวช โรคขอ โรคทางจักษุกรรม โรคทาง

ทันตกรรม และที่กำาลังดำาเนินการเพิ่มเติม คือ

โรคภูมิแพ โรคที่เกิดจากตอมไรทอ และโรคที่

เกี่ยวของกับวัยทองทั้งหลาย รวมทั้ง คลินิก

เวชศาสตรฟ นฟูผู ปวยใหรับการทำากายภาพ

บำาบัด เชน ผูปวยหลังการผาตัด

ดวยการยกระดับหนวยอนามัยมาสูการ

เปนศูนยบริการสุขภาพฯ ที่ใหบริการเทียบเทา

สถานพยาบาลของรัฐจึงเปนขอบังคับที่ทำาให

ตองพัฒนา และปรับปรุงเพิ่มเติมมากยิ่งขึ้น ซึ่ง

รวมไปถึงการจัดเวชภัณฑสำาหรับกิจกรรมตางๆ

ไวสำาหรับนิสิตและงานรณรงคอื่นๆ ดวย เชน

กระเปายาเพื่อใชในกิจกรรมตางๆ ของนิสิต

อยางไรก็ตาม ความลาชา และอุปกรณ

ท่ียังไมพรอมในหลายๆ ดาน รวมท้ังปญหาเวลาการ

รักษาที่จำากัดของอาจารยแพทยซึ่งมีจำานวนไม

มากนัก ทำาใหผูเขารับบริการจำานวนหนึ่งทวงติง

“การใหบริการบางครั้งเปนไปดวยความ

ลาชา คนไขใชเวลานานในการน่ังรอเพ่ือพบแพทย

ซึ่งพบวาบางครั้งแพทยมาไมตรงเวลา หรือมาไม

ตรงนัด สงผลใหคนไขตองนั่งรอนาน และมีคนไข

ตกคาง ทำาใหเกิดความลาชา นอกจากนี้ในบาง

กรณีที่เครื่องมือ/อุปกรณไมเพียงพอตอการ

รักษา ตองไปรักษาตอท่ีโรงพยาบาลจุฬาฯ แตทาง

ศูนยไมมีการสงตอคนไข หรือทำาเอกสารสงตอ

คนไข (ซ่ึงในแผนภูมิการใหบริการมีเขียนไวเก่ียว

กับการสงตอ) ทำาใหคนไขเสียเวลามากในการไป

ดำาเนินการท่ีโรงพยาบาลจุฬา ซ่ึงบางกรณีจำาเปน

ตองนำาผลมาใหแพทยที่ศูนยใชประกอบการ

วินิจฉัย จึงอยากใหอำานวยความสะดวกดานนี้”

นางสมพร ต้ังคำา เจาหนาท่ีประจำาภาควิชาประวัติ

ศาสตร คณะอักษรศาสตร แสดงความคิดเห็น

“ฟดแบ็กบอกวารอนาน เรื่องยาก็รอ

นาน เรื่องการจัดยาก็รอนาน จากหนวยอนามัยฯ

ดั้งเดิม เพราะมีอาจารยจากคณะเภสัชทำาเอง

ทุกอยางเลย หายา เช็คยา จัดยา อธิบายยา

และคียยาเขาไป บางอาจารยก็จะชา คนไขรอนาน

แตพอผอ.เขามาก็เลยไปหาผูชวยเภสัชมาชวย

จัดยาให ตอนนี้เร็วขึ้นเยอะ และจะมีใบประเมิน

เรื่อยๆ แรกๆ จะมีติงวาเจาหนาที่ไมดี แตตองคอย

เตือนวา คนไขที่มาทุกขกายแลวอยาใหเขาทุกข

ใจอีก ก็ตองคอยเตือนพนักงานใหยิ้มแยม”

ผอ.ศูนยชี้แจง

“หลังจากที่จุฬาฯ ออกนอกระบบ

พนักงาน นิสิต ขาราชการประจำา

ภายในรั้วจุฬาฯ แหงนี้ หลายฝายไมรู

วามีสิ่งใดบางที่กำาลังเปลี่ยนไป และเรา

จะเสียสิทธิและผลประโยชนใดบาง

*ขอมูลผลการวิจัยแปลและเรียบเรียงจาก

http://www.physorg.com/news143809940.html