(hydrologic cycle) (water resources management system...

40
ผศ.ไพฑูรย ปยะปกรณ 1. วัตถุประสงค เมื่อศึกษาบทนีแลว นักศึกษาสามารถปฏิบัติไดดังนี1. เขาใจความสัมพันธของปริมาณน้ําฝน น้ําทา และน้ําบาดาลของประเทศไทย 2. อธิบายความแตกตางของปริมาณน้ําทาในลําน้ําภาคตาง ของประเทศไทยได 3. แจกแจงความแตกตางของแหลงน้ําบาดาลในภาคตาง ของประเทศได 4. อธิบายสภาพการใชน้ําในกิจกรรมดานตาง ของประเทศได 5. ประมวลสรุปปญหาทรัพยากรน้ําและแนวทางการพัฒนาแหลงน้ําของประเทศไทยได 2. บทนํา น้ําคือชีวิต มีหลักสําคัญวา ตองมีน้ําบริโภคและน้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะชีวิตอยูทีน้ํา ถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได ...” เปนพระราชดํารัสความตอนหนึ่งของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ดังนั้นทรัพยากรน้ําจึงเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอมนุษย และมี คุณคาตอการดํารงอยูของสังคมไทย เปนทรัพยากรประเภทที่ไมหมดสิ้นมีการหมุนเวียนเปนวัฏจักร อุทกวิทยา (hydrologic cycle) การที่จะนําทรัพยากรน้ําไปใชประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพและ เพียงพอ โดยไมเกิดปญหาทางดานคุณภาพและทางปริมาณของน้ํา (นอยเกินไปหรือมากเกินไป) นั้น จําเปนตองมีการบริหารจัดการน้ําอยางเปนระบบ (water resources management system) และ จะตองทราบถึงสถานการณน้ําของประเทศทั้งทางปริมาณและศักยภาพของแหลงน้ําผิวดิน แหลงน้ํา บาดาลในธรรมชาติของแตละลุมน้ํา หรือแอง หรือแตละภูมิภาคของประเทศเปนอยางดี GE253 85

Transcript of (hydrologic cycle) (water resources management system...

Page 1: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

บทท่ี 4 บทที่ 4

ทรัพยากรนํ้าผิวดินและน้ําบาดาล ทรัพยากรนํ้าผิวดินและนํ้าบาดาล

ผศ.ไพฑูรย ปยะปกรณ

1. วัตถุประสงค เม่ือศึกษาบทนี้ แลว นักศึกษาสามารถปฏิบัติไดดังนี ้ 1. เขาใจความสัมพันธของปริมาณน้ําฝน น้ําทา และนํ้าบาดาลของประเทศไทย 2. อธิบายความแตกตางของปริมาณนํ้าทาในลําน้ําภาคตาง ๆ ของประเทศไทยได 3. แจกแจงความแตกตางของแหลงน้ําบาดาลในภาคตาง ๆ ของประเทศได 4. อธิบายสภาพการใชน้ําในกิจกรรมดานตาง ๆ ของประเทศได 5. ประมวลสรุปปญหาทรัพยากรน้ําและแนวทางการพฒันาแหลงน้ําของประเทศไทยได

2. บทนํา “น้ําคือชีวิต มีหลักสําคัญวา ตองมีน้ําบริโภคและน้ําใช น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะชีวิตอยูท่ีน้ํา ถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีน้ําคนอยูไมได...” เปนพระราชดํารัสความตอนหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ดังนั้นทรัพยากรน้ําจึงเปนทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งตอมนุษย และมีคุณคาตอการดํารงอยูของสังคมไทย เปนทรัพยากรประเภทท่ีไมหมดส้ินมีการหมุนเวียนเปนวัฏจักรอุทกวิทยา (hydrologic cycle) การที่จะนําทรัพยากรน้ําไปใชประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพและเพียงพอ โดยไมเกิดปญหาทางดานคุณภาพและทางปริมาณของน้ํา (นอยเกินไปหรือมากเกินไป) นั้น จําเปนตองมีการบริหารจัดการน้ําอยางเปนระบบ (water resources management system) และจะตองทราบถึงสถานการณน้ําของประเทศท้ังทางปริมาณและศักยภาพของแหลงน้ําผิวดิน แหลงน้ําบาดาลในธรรมชาติของแตละลุมน้ํา หรือแอง หรือแตละภูมิภาคของประเทศเปนอยางดี

GE253 85

Page 2: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

น้ําตามธรรมชาติในประเทศไทย จะมีแหลงน้ําแบงออกเปน 3 ประเภท คือ น้ําในบรรยากาศ (atmospheric water) น้ําผิวดินหรือน้ําทา (surface water) และน้ําใตดินหรือน้ําบาดาล (ground

water) น้ําในบรรยากาศในสถานะเปนไอ (หมอก เมฆ) ในสถานะของเหลว (ฝน น้ําคาง) และในสถานะของแข็ง (ลูกเห็บ หิมะ) น้ําในบรรยากาศเหลานี้เม่ือตกลงมาสูพื้นผิวโลก ก็จะถูกเก็บกักหรือเคล่ือนตัว เปนน้ําในแมน้ํา ลําธาร หนอง บึง สระ และทะเลสาบ ก็คือแหลงน้ําผิวดิน และนํ้าผิวดินบางสวนท่ีไหลซึมลงไปใตดินจะถูกกักเก็บไวท้ังในดินและหิน ก็จะเกิดเปนแหลงน้ําใตดินหรือน้ําบาดาล สําหรับทรัพยากรน้ําของประเทศไทยท่ีนําเสนอในบทนี้ จะเปนเร่ืองของปริมาณและศักยภาพของทรัพยากรน้ําผิวดิน น้ําบาดาล ในลุมน้ําประธานและแองภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ สภาพการใชน้ําและแนวโนมความตองการในกิจกรรมดานตาง ๆ รวมท้ังปญหาทรัพยากรน้ําและโครงการพัฒนาแหลงน้ําของประเทศ

3. ปริมาณของแหลงทรัพยากรน้ํา 3.1 ปริมาณน้ําท่ีมีบนโลก ภาพรวมของปริมาณนํ้าท้ังหมดท่ีมีอยูบนโลก เปนน้ําเค็มในทะเลและมหาสมุทร ประมาณ 97.22% หรือ 1.321 พันลานลูกบาศกกิโลเมตร เปนน้ําจืดประมาณ 2.78% หรือ 37,800,000 ลูกบาศกกิโลเมตร ในปริมาณนํ้าจืดบนโลกท้ังหมดจะเปนน้ําผิวดินประมาณ 77.78% หรือ 29,423,250 ลูกบาศกกิโลเมตร และเปนน้ําบาดาลประมาณ 22.22% หรือ 8,407,000 ลูกบาศกกิโลเมตร รายละเอียดแหลงและปริมาณนํ้าจืดดังตารางท่ี 4.1 (Christopherson, 2000)

GE253 86

Page 3: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ตารางท่ี 4.1 แหลงและปริมาณน้ําจืดบนโลก แหลงน้ํา ปริมาณ (กม.3) %

29,180,000

125,000 104,000 13,000 1,250

4,170,000

4,170,000

67,000

77.14 0.33 0.28 0.03

0.003

11.02 11.02 0.18

น้ําผิวดิน - น้ําแข็งและธารน้ําแข็ง - ทะเลสาบน้ําจืด - ทะเลสาบน้ําเค็ม - ไอน้ําในบรรยากาศ - แมน้ํา ลําธาร น้ําบาดาล - น้ําบาดาล ลึกไมเกิน 762 ม. - น้ําบาดาล ลึกไมเกิน 762 – 3,962 ม. - ความช้ืนในดิน ท่ีมา Christopherson, 2000 จะเห็นไดวาน้ําผิวดินหรือน้ําทาในทะเลสาบนํ้าจืดและแมน้ําลําธาร จะมีปริมาณเพียง 0.333% หรือ 126,250 ลูกบาศกกิโลเมตร สวนน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลที่อยูลึกไมเกิน 762 เมตร และอยูในระดับที่สามารถพัฒนาขึ้นมาใชไดมีประมาณ 11.02% หรือ 4,170,000 ลูกบาศกกิโลเมตร น้ําผิวดินบนโลกจะมีปริมาณนอยกวาน้ําบาดาลในระดับที่สามารถพัฒนาไดถึงประมาณ 30 เทา 3.2 ปริมาณน้ําฝน น้ําผิวดินและน้ําบาดาลในประเทศไทย 3.2.1 ปริมาณนํ้าฝน จากสถิติขอมูลน้ําฝนสถานีตาง ๆ ของกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมชลประทาน เม่ือวิเคราะหตามพื้นท่ีลุมน้ําประธานเฉลี่ยเปนรายภาคของประเทศ จะมีปริมาณ

GE253 87

Page 4: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

3.2.2 ปริมาณน้ําผิวดินหรือน้ําทา จากสถิติขอมูลน้ําฝนและน้ําทาสถานีตาง ๆ ของกรมชลประทาน เม่ือวิเคราะหปริมาณน้ําท่ีเกิดจากฝน จะเกิดเปนปริมาณนํ้าผิวดินหรือน้ําทาตามธรรมชาติ ท่ีกักเก็บและไหลอยูในลําหวย ลําธารและแมน้ํา เฉล่ียรวมทั้งประเทศตอปจะมีปริมาณน้ําทาประมาณ 209,251.28 ลานลูกบาศกเมตร หรือมีสัดสวนปริมาณน้ําฝนเปนน้ําทาประมาณ รอยละ 28.75 สัดสวนนี้เม่ือพิจารณาตามภาคลุมน้ําภาคใตจะมีปริมาณสัดสวนปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทาสูงท่ีสุด ประมาณรอยละ 42.16 ลุมน้ําภาคตะวันออกจะมีสัดสวนสูงรองลงมาจากภาคใต มีประมาณรอยละ 37.06 สวนลุมน้ําภาคกลางจะมีสัดสวนนอยท่ีสุด จะมีประมาณรอยละ 22.36 (วีรพล แตสมบัติ, 2542) ปริมาณนํ้าทารวมเฉล่ียท้ังประเทศนี้ เม่ือพิจารณาจําแนกปริมาณน้ําทาระหวางชวงฤดูฝนกับชวงฤดูแลง จะมีปริมาณนํ้าทาในชวงฤดูฝนเฉล่ียของประเทศถึงรอยละ 91.96 และเปนปริมาณน้ําทาชวงฤดูแลงรอยละ 8.04 ทุกภาคลุมน้ําของประเทศจะมีปริมาณนํ้าทาในชวงฤดูฝน รอยละ 87.43 – 94.10 ในชวงฤดูแลงรอยละ 5.90 – 12.57 ดังตารางท่ี 4.2 3.2.3 ปริมาณนํ้าบาดาล จากขอมูลอัตราการไหลซึมของน้ําฝนลงสูน้ําบาดาลของกรมทรัพยากรธรณี (ปจจุบันงานน้ําบาดาลข้ึนอยูกับกรมน้ําบาดาล) ท่ีวิเคราะหจําแนกตามช้ันหินประเภทตาง ๆ และพ้ืนท่ีของช้ันหินแตละชนิดท่ีรองรับท้ังประเทศ จะมีปริมาณนํ้าฝนท่ีไหลซึมลงสูน้ําบาดาลเฉล่ียตอปท้ังประเทศประมาณ 38,000 ลานลูกบาศกเมตร หรือเทากับ 4.75% ของปริมาณน้ําฝนท่ีตกท้ังประเทศ (วจี รามณรงค และสมชัย วงศสวัสดิ์, 2542) โดยแองน้ําบาดาลในพื้นท่ีลุมน้ําภาคเหนือจะมีปริมาณน้ําฝนท่ีไหลซึมลงสูแหลงน้ําบาดาลตอปมากท่ีสุด มีประมาณ 11,000 ลานลูกบาศกเมตร มีรายละเอียดดังตารางท่ี 4.2

GE253 88

Page 5: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

GE253 89

Page 6: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

GE253

512,107 1,421 727,842.31 209,251.28 28.75 91.96 8.04 38,000

90

ตารางที่ 4.2 ปริมาณน้ําฝน น้ําทาและน้ําบาดาลเฉลี่ยรายปในแตละภาคลุมน้ํา

ปริมาณน้ําทา

ภาคลุมน้ํา พื้นที่รับน้ํา (ตร.กม.)

ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย (มม.)

ปริมาณน้ําที่เกิดจากฝน 100% (ลาน ลบ.ม.)

เฉลี่ยรายป (ลาน ลบ.ม.)

น้ําฝนเปนน้ําทา (%)

ฤดูฝน (%)

ฤดูแลง (%)

ปริมาณน้ําฝน*เปนน้ําบาดาล (ลาน ลบ.ม.)

ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต

128,450 176,599

98,476 36,480 72,102

1,217 1,325

1,223 1,734 2,133

156,329.30 234,065.74

120,391.83 63,244.55

153,810.89

39,748.43 54,290.46

26,924.19 23,435.37 64,852.84

25.43 23.19

23.36 37.06 42.16

87.43 93.84

90.62 94.10 92.96

12.57 6.16

9.38 5.90 7.04

11,000 9,700

6,300 3,000 8,000

รวมทั้งประเทศ

ที่มา : วีรพล แตสมบัติ, 2539, 2542 *วจี รามณรงค และสมชัย วงศสวัสดิ์, 2542

GE 253

89

Page 7: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

แหลงน้ําผิวดินในประเทศไทย 4. 4.1 การแบงลุมน้ําประธานของประเทศไทย คณะกรรมการอุทกวิทยาแหงชาติ (ปจจุบันเปนคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ) ไดทํารายงาน “มาตรฐานลุมน้ําและลุมน้ําสาขา” โดยไดจําแนกแบงลุมน้ําของประเทศไทยออกเปน 25 ลุมน้ําประธาน พรอมกําหนดรหัสลุมน้ําดังแผนท่ีภาพที่ 4.1 และตารางท่ี 4.3 แสดงจังหวัดตาง ๆ ท่ีตั้งอยูในแตละเขตพื้นท่ี 25 ลุมน้ําประธาน นอกจากนั้นยังไดทําการจําแนกแบงลุมน้ําประธานแตละลุมน้ําออกเปนลุมน้ํายอย โดยมีลุมน้ํายอยท้ังหมด 254 ลุมน้ํา มีพื้นท่ีลุมน้ํารวมท้ังประเทศประมาณ 512,107 ตารางกิโลเมตร ดังแผนท่ีภาพที่ 4.2 และ 4.3 ภาคลุมน้ําในท่ีนี้เปนการแบงเขตพื้นท่ีลุมน้ําประธานเปนภาคตาง ๆ 5 ภาค ทําใหขนาดพื้นท่ีของภาคการปกครองกับภาคลุมน้ําจะมีความแตกตางกันบาง โดยเฉพาะจังหวัดเพชรบูรณมีพื้นท่ีอยูท้ังในลุมน้ํานาน ลุมน้ําปาสัก ลุมน้ําชี และลุมน้ําเจาพระยา แตเขตการปกครองจัดอยูในภาคเหนือ สวนจังหวัดนครนายกจะมีพื้นท่ีอยูในเขตลุมน้ําปราจีนบุรีและลุมน้ําบางปะกง ท่ีจัดอยูในภาคลุมน้ําตะวันออก แตเขตการปกครองจัดอยูในภาคกลาง เปนตน นอกจากน้ันการรวมกลุมลุมน้ําประธานเปนแตละภาคลุมน้ํา ทําโดยประมาณจากกลุมน้ํายอย เนื่องจากบางลุมน้ําประธานจะมีพื้นท่ีลุมน้ําคลุมภาคลุมน้ํามากกวาหนึ่งภาค เชน ลุมน้ําโขง ลุมน้ําสะแกกรัง เปนตน มีรายละเอียดการกําหนดภาคลุมน้ําดังตารางท่ี 4.3

GE253 91

Page 8: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

GE253 92

Page 9: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ภาพท่ี 4.1 ลุมน้ําประธาน 25 ลุมน้ําและรหัสลุมน้ํา ตารางท่ี 4.3 จังหวัดตาง ๆ ในแตละพื้นท่ี 25 ลุมน้ําประธานของประเทศไทย รหัส พื้นท่ี

ลุมน้ํา ลุมน้ําประธาน ลุมน้ํา (ตร.กม.)

จังหวัดในเขตลุมน้ํา (%พื้นท่ี)

ลุมน้ําภาคเหนือ

01

03

06

07

08 09

02

04

05

10

สาละวิน

กก

ปง วัง ยม

นาน ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โขง

ชี

มูล

ลุมน้ําภาคกลาง เจาพระยา

17,920

7,895

33,898

10,791

23,616

34,330

57,422

49,477

69,700

20,125

เชียงใหม (5.97), ตาก (27.81), แมฮองสอน (66.22) เชียงราย (70.29), เชียงใหม (29.71) กําแพงเพชร (13.80), เชียงใหม (56.26), ตาก (15.71), นครสวรรค (1.13), แมฮองสอน (0.31), ลําพูน (12.79) ตาก (7.29), แพร (0.54), ลําปาง (92.17) กําแพงเพชร (11.09), ตาก (0.69), นครสวรรค (0.11), นาน (1.79), พะเยา (10.26), พิจิตร (6.98), พิษณุโลก (5.90), แพร (26.02), ลําปาง (10.55), สุโขทัย (26.20), อุตรดิตถ (0.41) กําแพงเพชร (0.36), นครสวรรค (2.42), นาน (34.42), พิจิตร (7.01), พิษณุโลก (26.80), เพชรบูรณ (6.11), แพร (0.16), สุโขทัย (0.28), อุตรดิตถ (22.44)

กาฬสินธุ (0.01), เชียงราย (11.05), นครพนม (9.81), พะเยา (6.53), พิษณุโลก (0.31), เพชรบูรณ (0.22), มุกดาหาร (7.10), ยโสธร (0.12, รอยเอ็ด (0.04), เลย (14.53), สกลนคร (16.78), หนองคาย (12.72), หนองบัวลําภู (1.95), อํานาจเจริญ (1.46), อุดรธานี (13.54), อุบลราชธานี (3.83) กาฬสินธุ (14.05), ขอนแกน (19.47), ชัยภูมิ (25.50), นครราชสีมา (1.77), เพชรบูรณ (1.80), มหาสารคาม (3.71), มุกดาหาร (0.09), ยโสธร (3.50), รอยเอ็ด (9.53), เลย (3.05), ศรีสะเกษ (0.40), หนองบัวลําภู (6.42), อุดรธานี (6.91), อุบลราชธานี (1.41) ขอนแกน (1.55), ชัยภูมิ (0.01), นครนายก (0.06), นครราชสีมา (26.93), บุรีรัมย (14.24), มหาสารคาม (3.71), มุกดาหาร (0.05), ยโสธร (3.26), รอยเอ็ด (4.42), ศรีสะเกษ (12.23), สุรินทร (12.40), อํานาจเจริญ (3.55), อุบลราชธานี (17.59)

กรุงเทพมหานคร (7.17), กําแพงเพชร (2.18), ฉะเชิงเทรา (3.03), ชัยนาท (3.73), นครนายก (0.08), นครสวรรค (27.73), นนทบุรี (1.85), ปทุมธานี (6.67), พระนครศรีอยุธยา (10.89), พิจิตร (1.14), เพชรบูรณ (3.43), ลพบุรี

GE253 93

Page 10: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

รหัส

ลุมน้ํา ลุมน้ําประธาน

พื้นท่ี

ลุมน้ํา จังหวัดในเขตลุมน้ํา (%พื้นท่ี) (ตร.กม.)

11

12

13 14 19 20

15

16 17 18 21 22 23

5,192

16,292

13,682

30,837

5,603

6,745

9,821

8,679

4,150

13,830

26,352

12,225

8,495

สะแกกรัง กําแพงเพชร (11.37), ชัยนาท (0.01), นครสวรรค (44.32), อุทัยธานี (44.30) ชัยภูมิ (1.42), นครนายก (0.01), นครราชสีมา (4.41), พระนครศรีอยุธยา

(1.07), เพชรบูรณ (55.94), ลพบุรี (18.55), เลย (3.75), สระบุรี (14.85) ปาสัก

กรุงเทพมหานคร (0.34), กาญจนบุรี (15.34), ชัยนาท (11.82), นครปฐม (14.40), นนทบุรี (1.59), ปทุมธานี (0.04), พระนครศรีอยุธยา (0.29), ราชบุรี (0.35), สมุทรสาคร (5.51), สุพรรณบุรี (33.95), อางทอง (0.72), อุทัยธานี (15.65)

ทาจีน

กาญจนบุรี (57.52), ตาก (16.11), นครปฐม (0.46), ราชบุรี (15.26), สมุทรสงคราม (0.93), สมุทรสาคร (0.07), สุพรรณบุรี (33.95), อางทอง (0.72), อุทัยธานี (7.63)

แมกลอง

ประจวบคีรีขันธ (1.27), เพชรบุรี (87.69), ราชบุรี (9.11), สมุทรสงคราม (1.93) เพชรบุรี ชุมพร (3.93), ประจวบคีรีขันธ (84.60), เพชรบุรี (11.47) ชายฝงทะเลตะวันตก จันทบุรี (5.38), ฉะเชิงเทรา (5.75), นครนายก (1.28), ปราจีนบุรี (47.45), สระแกว (40.14)

ลุมน้ําภาคตะวันออก

ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา (47.44), ชลบุรี (23.72), นครนายก (21.86), นครราชสีมา (0.02), ปทุมธานี (0.35), ปราจีนบุรี (1.31), สระบุรี (5.30)

บางปะกง จันทบุรี (31.22), สระแกว (68.78)

จันทบุรี (33.75), ชลบุรี (17.54), ตราด (21.37), ระยอง (27.34) โตนเลสาบ

ชายฝงทะเลตะวันออก

ลุมน้ําภาคใต ภาคใตฝงตะวันออก

ตาป

ทะเลสาบสงขลา

ชุมพร (20.68), ตรัง (0.10), นครศรีธรรมราช (23.52), นราธิวาส (16.66), ประจวบคีรีขันธ (1.10), ปตตานี (6.39), พัทลุง (0.89), ยะลา (3.71), ระนอง (0.49), สงขลา (11.74), สุราษฎรธานี (68.75) กระบ่ี (10.90), ), นครศรีธรรมราช (19.48), ระนอง (0.87), สุราษฎรธานี (68.75) นครศรีธรรมราช (1.57), พัทลุง (40.70), สงขลา (57.55), สตูล (0.18) ปตตานี (6.82), ยะลา (93.16), สงขลา (0.02) กระบ่ี (16.76), ชุมพร (0.12), ตรัง (24.81), นครศรีธรรมราช (6.18), พังงา

GE253 94

Page 11: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

24 25

ปตตานี 3,858

21,172 ภาคใตฝงตะวันตก

รหัส พื้นท่ีลุมน้ํา ลุมน้ําประธาน

ลุมน้ํา (ตร.กม.) จังหวัดในเขตลุมน้ํา (%พื้นท่ี)

รวมท้ังประเทศ 512,107 76 จังหวัด

หมายเหตุ: 1) ตัวเลขในวงเล็บหมายถึงเปอรเซ็นตของพื้นท่ีจังหวัดท่ีอยูในลุมน้ําประธาน

2) เนื่องจากการแบงเขตการปกครองและเขตพ้ืนท่ีลุมน้ําประธานใชพื้นฐานแตกตางกัน ดังนั้นบางลุมน้ําประธานอาจมีพื้นท่ีอยูสองภาคการปกครอง แตจะพจิารณาพื้นท่ีลุมน้ําประธานอยูในเขตภาคลุมน้ําเดียว

4.2 ปริมาณน้ําทาในลุมน้ําประธานภาคตาง ๆ ของประเทศ เม่ือพิจารณาปริมาณน้ําทาตามภาคลุมน้ําในแตละลุมน้ําประธาน 25 ลุมน้ํา ตามขนาดพ้ืนท่ีลุมน้ํา ปริมาณนํ้าฝนรายปเฉล่ีย ศักยภาพปริมาณน้ําทาท่ีเกิดจากฝน 100% ปริมาณน้ําทารายปเฉล่ีย และสัมประสิทธ์ิน้ําทาของแตละลุมน้ําหรือเปอรเซ็นตปริมาณน้ําฝนเปนน้ําทาแตละลุมน้ํา ดังรายละเอียดขอมูลตารางท่ี 4.4 4.2.1 ลุมน้ําภาคเหนือ มีลุมน้ําประธาน 6 ลุมน้ํา ประกอบดวยลุมน้ําสาละวิน ลุมน้ํากก ลุมน้ําปง ลุมน้ําวัง ลุมน้ํายมและลุมน้ํานาน มีพื้นท่ีรับน้ํารวมกันประมาณ 128,450 ตารางกิโลเมตร ลุมน้ําประธานใหญสุดในภาคลุมน้ํานี้ คือ ลุมน้ํานานและลุมน้ําปง มีขนาดพื้นท่ีประมาณ34,333 และ 33,898 ตารางกิโลเมตรตามลําดับ ลุมน้ํากกจะมีขนาดพื้นท่ีเล็กท่ีสุด มีพื้นที่ประมาณ 7,895 ตารางกิโลเมตร แตละลุมน้ําประธานจะมีปริมาณนํ้าฝนรายปเฉล่ียแตกตางกันอยูระหวาง 1,075 – 1,481 มิลลิเมตร เม่ือ

GE253 95

Page 12: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

GE253 96

Page 13: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ภาพท่ี 4.2 ขอบเขตพ้ืนท่ีลุมน้ํายอย 254 ลุมน้ํา

GE253 97

Page 14: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ภาพท่ี 4.3 ขอบเขตพ้ืนท่ีลุมน้ํายอย ในลุมน้ําประธานลุมน้ํามูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

GE253 98

Page 15: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

4.2.2 ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวยลุมน้ําประธาน 3 ลุมน้ํา คือ ลุมน้ํามูล ลุมน้ําชี และลุมน้ําโขง มีพื้นท่ีลุมน้ํารวมประมาณ 176,599 ตารางกิโลเมตร ลุมน้ํามูลจะมีพื้นท่ีลุมน้ําใหญท่ีสุด รองลงมาคือลุมน้ําโขงและลุมน้ําชีตามลําดับ (69,700; 57,422 และ 49,477 ตารางกิโลเมตร) แตละลุมน้ําประธานในภาคลุมน้ํานี้มีปริมาณน้ําฝนรายปเฉล่ียประมาณ 1,522 มม. (ลุมน้ําโขง) 1,266 มม. (ลุมน้ํามูล) และ 1,180 มม. (ลุมน้ําชี) ดังนั้นศักยภาพปริมาณน้ําทาท่ีเกิดจากฝน 100% ในแตละลุมน้ําประธาน ลุมน้ํามูลและลุมน้ําโขงจะมีปริมาณมากท่ีสุด ประมาณ 88,268 และ 87,421 ลานลูกบาศกเมตร ในจํานวนปริมาณดังกลาวลุมน้ําโขงจะเกิดเปนปริมาณนํ้าทาเฉล่ียรายปมากท่ีสุด มีประมาณ 22,746 ลานลูกบาศกเมตร ลุมน้ํามูลและลุมน้ําชีมีประมาณ 20,408 และ 11,135 ลานลูกบาศกเมตร ตามลําดับ โดยลุมน้ําแตละลุมน้ําจะมีปริมาณนํ้าทาเกิดข้ึนในชวงฤดูฝนมากถึงประมาณ 93 – 94% เกิดปริมาณน้ําทาในชวงฤดูแลงเพียงประมาณ 5 – 6% เทานั้น ซ่ึงจะบงช้ีใหเห็นถึงปญหาน้ําในชวงฤดูแลงของภาคลุมน้ํานี้ไดเปนอยางดีสําหรับลุมน้ําโขงเปนลุมน้ําประธานท่ีมีสัมประสิทธ์ิน้ําทาประมาณ 26% สวนลุมน้ํามูลและลุมน้ําชีจะมีประมาณ 23% และ 19% ตามลําดับ

4.2.3 ลุมน้ําภาคกลาง เปนภาคลุมน้ําท่ีประกอบดวยลุมน้ําประธาน 7 ลุมน้ํา ไดแก ลุมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําสะแกกรัง ลุมน้ําปาสัก ลุมน้ําทาจีน ลุมน้ําแมกลอง ลุมน้ําเพชรบุรี และลุมน้ําชายฝงทะเลตะวันตก มีพื้นท่ีลุมน้ํารวมประมาณ 98,476 ตารางกิโลเมตร ลุมน้ําแมกลองจะเปนพื้นท่ีลุมน้ําท่ีใหญท่ีสุด มีพื้นท่ีประมาณ 30,837 ตารางกิโลเมตร สวนลุมน้ําเพชรบุรีและลุมน้ําสะแกกรัง เปนลุมน้ําท่ีมีพื้นท่ีขนาดเล็กท่ีสุด ประมาณ 5,603 และ 5,192 ตารางกิโลเมตร ตามลําดับ ลุมน้ําประธานแตละลุมน้ําจะมีปริมาณนํ้าฝนรายปเฉล่ียแตกตางกันอยูระหวาง 1,053 – 1,422 มิลลิเมตร ลุมน้ําแมกลองในภาคลุมน้ํานี้จะมีศักยภาพปริมาณนํ้าทาท่ีเกิดจากฝน 100% สูงท่ีสุด (43,585 ลาน ม.3) ลําดับรองลงมาคือลุมน้ําเจาพระยา (22,754 ลาน ม.3) ลุมน้ําท่ีมีปริมาณนํ้านอยท่ีสุดคือลุมน้ําเพชรบุรี ปริมาณนํ้าทาท่ีเกิดจากฝนแตละลุมน้ําประธานดังกลาว จะเกิดเปนปริมาณน้ําทารายปเฉล่ียแตกตางกัน ลุมน้ําแมกลองมีปริมาณมากท่ีสุด ประมาณ 12,379 ลานลูกบาศกเมตร ปริมาณรองลงมาไดแกลุมน้ําเจาพระยา จะมีประมาณ 4,435 ลานลูกบาศกเมตร และท่ีมีปริมาณนอยท่ีสุดไดแกลุมน้ําสะแกกรัง นอกจากนั้นแตละลุมน้ําก็มีปริมาณนํ้าทาเกิดในชวงฤดูฝนประมาณ 89 – 93% และเกิดในชวงฤดูแลง ประมาณ 7 – 11% เม่ือพิจารณาเปนคาสัมประสิทธ์ิน้ําทาหรือเปอรเซ็นตปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทา ลุมน้ําแมกลองจะมีเปอรเซ็นตมากท่ีสุด ประมาณ 28% ลุมน้ําเจาพระยา มีประมาณ 19.49% สวนลุมน้ําทาจีนจะมีเปอรเซ็นตนอยท่ีสุดในภาคลุมน้ํานี้ มีประมาณ 16.51%

GE253 99

Page 16: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ตารางท่ี 4.4 ปริมาณนํ้าฝน ปริมาณนํ้าทาเฉล่ียทั้งป เฉลี่ยชวงฤดูฝน ฤดูแลงและเปอรเซ็นตน้ําฝนเปนน้ําทาในแตละลุมนประธาน ปริมาณนํ้าทา ปริมาณ

ฝนรายปเฉล่ีย

ศักยภาพปริมาณนํ้าทา

เปอรเซ็นตปริมาณ

รหัส พื้นท่ีลุมนํ้า

รายปเฉล่ีย ฤดูฝน ฤดูแลง

ลุมนํ้า

ลุมนํ้าประธาน ท่ีเกิดจากปริมาณฝน100% (ลบ.ม.)

ฝนเปนนํ้าทา (ลาน ลบ.ม.)

(%) (ตร.กม.)

(มม.) (%) (%)

01 03 06 07 08 09

ลุมน้ําภาคเหนือ 17,920 7,895

33,898 10,791 23,616 34,330

1,367.64 1,481.72 1,143.09 1,075.67 1,145.70 1,244.11

24,508.09 11,698.22 38,748.41 11,607.66 27,056.80 42,710.12

8,622.89 4,710.32 9,001.96 1,658.03 4,247.09

11,508.12

83.39 80.86 84.55 92.87 92.73 92.65

16.61 19.14 15.45 7.13 7.27 7.35

35.18 40.27 23.23 14.28 15.70 26.94

สาละวิน กก ปง วัง ยม นาน

รวมลุมนํ้าภาคเหนือ 128,450 1,217.04 156,329.30 39,748.41 87.43 12.57 25.43

02 04 05

ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

57,422 49,477 69,700

1,522.43 1,179.86 1,266.41

87,421.04 58,376.05 88,268.65

22,746.48 11,135.14 20,408.85

93.08 94.50 94.33

6.92 5.50 5.67

26.02 19.07 23.12

โขง ชี มูล

รวมลุมนํ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 176,599 1,325.41 234,065.74 54,290.47 93.84 6.16 23.19

10 11

ลุมน้ําภาคกลาง เจาพระยา สะแกกรัง

20,125 5,192

1,130.68 1,235.86

22,754.87 6,416.53

4,435.03 1,185.65

92.78 91.18

7.22 8.82

19.49 18.48

12 13 14 19 20

ปาสัก 16,292 13,682 30,837 5,603 6,745

1,191.96 1,084.32 1,422.26 1,071.02 1,053.53

19,419.40 14,835.65 43,858.35 6,000.94 7,106.09

3,560.49 2,449.19

12,379.41 1,337.91 1,576.51

90.63 91.03 90.02 89.85 88.85

9.37 8.97 9.98

10.15 11.15

18.33 16.51 28.23 22.30 22.19

ทาจีน แมกลอง เพชรบุรี ชายฝงทะเลตะวันตก

รวมลุมนํ้าภาคกลาง 98,476 1,222.55 120,391.83 26,924.19 90.62 9.38 22.36

15 16 17 18

ลุมน้ําภาคตะวันออก 9,821 8,679 4,150

13,830

1,507.95 1,365.48 1,522.32 2,188.45

14,809.63 11,851.08 6,317.62 7,106.09

4,569.44 3,765.43 2,409.60

12,690.90

96.29 96.40 91.16 93.19

3.71 3.60 8.84 6.81

30.85 31.77 38.14 41.93

ปราจีนบุรี บางปะกง โตนเลสาบ ชายฝงทะเลตะวันออก

รวมลุมนํ้าภาคตะวันออก 36,480 1,733.68 63,244.55 23,435.38 94.10 5.90 37.06

21 22 23 24 25

ลุมน้ําภาคใต 26,352 12,225 8,495 3,858

21,172

2,046.37 1,888.82 1,930.82 1,864.71 2,512.64

53,925.93 23,090.78 16,402.36 7,194.04

53,197.78

21,778.99 12,528.12 5,483.39 3,320.02

21,742.30

91.00 94.96 91.57 88.59 94.78

9.00 5.04 8.43

11.41 5.22

40.39 54.26 33.43 46.15 40.87

ภาคใตฝงตะวันออก ตาป ทะเลสาบสงขลา ปตตาน ีภาคใตฝงตะวันตก

รวมลุมนํ้าภาคใต 72,102 2,133.24 153,810.89 64,852.83 92.96 7.04 42.16

รวมท้ังประเทศ 512,107 1,421.27 727,842.31 209,251.28 91.96 8.04 28.75

ท่ีมา : วีรพล แตสมบัติ, 2539, 2542

GE253 100

Page 17: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

4.2.4 ลุมน้ําภาคตะวันออก มีลุมน้ําประธาน 4 ลุมน้ํา ประกอบดวยลุมน้ําปราจีนบุรี ลุมน้ําบางปะกง ลุมน้ําโตนเลสาบ และลุมน้ําชายฝงทะเลตะวันออก มีพื้นท่ีลุมน้ํารวมประมาณ 36,480 ตารางกิโลเมตร ลุมน้ําชายฝงทะเลตะวันออก เปนลุมน้ําท่ีเรียกรวมลุมน้ําเล็ก ๆ ท่ีมีระบบระบายน้ําไหลลงสูชายฝงทะเลภาคตะวันออกทั้งหมด สวนใหญอยูในเขตพื้นท่ีจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด มีพื้นท่ีลุมน้ํารวมประมาณ 13,830 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณนํ้าฝนท่ีตกเฉล่ียรายปในพื้นท่ีลุมน้ําประมาณ 2,188 มิลลิเมตร เม่ือคํานวณเปนศักยภาพปริมาณน้ําทาท่ีเกิดจากฝน 100% จะมีปริมาณนํ้าทาประมาณ 30,266 ลานลูกบาศกเมตร แตจะเกิดเปนปริมาณนํ้าทาเฉล่ียรายปประมาณ 12,691 ลานลูกบาศกเมตร ซ่ึงมีปริมาณมากท่ีสุดในลุมน้ําภาคตะวันออก ปริมาณน้ําทาท่ีเกิดข้ึนนี้ รอยละ 93 จะเกิดในชวงฤดูฝน ในชวงฤดูแลงจะมีปริมาณนํ้าทาเกิดข้ึนเพียงประมาณรอยละ 6.81 และมีเปอรเซ็นตปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทาประมาณ 42% ลุมน้ําปราจีนบุรีและลุมน้ําบางปะกง เปนลุมน้ําประธานท่ีมีขนาดพื้นท่ีลุมน้ําไมแตกตางกันมากจะมีปริมาณนํ้าทาเฉล่ียรายปประมาณ 4,569 และ 3,765 ลานลูกบาศกเมตร ตามลําดับ รอยละประมาณ 96 ของปริมาณนํ้าทาจะเกิดในชวงฤดูฝน ชวงฤดูแลงจะมีปริมาณนํ้าทาเกิดข้ึนเพียงรอยละ 3.6 เทานั้น ลุมน้ําประธานท้ังสองนี้จะมีสัมประสิทธ์ิน้ําทาหรือเปอรเซ็นตปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทาประมาณ 30 – 31% สวนลุมน้ําโตนเลสาบจะเปนลุมน้ําเล็ก ๆ บริเวณใกลชายแดน ท่ีมีตนน้ําอยูในเขตประเทศไทย ระบบระบายน้ําจะไหลลงสูท่ีลุมต่ําในประเทศกัมพูชา จะมีปริมาณนํ้าทาเฉล่ียรายปประมาณ 2,409 ลานลูกบาศกเมตร มีปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทาประมาณ 38% 4.2.5 ลุมน้ําภาคใต มีการจําแนกลุมน้ําประธานออกเปน 5 ลุมน้ํา ไดแก ลุมน้ําภาคใตฝงตะวันออก ลุมน้ําตาป ลุมน้ําทะเลสาบสงขลา ลุมน้ําปตตานีและลุมน้ําภาคใตฝงตะวันตก มีพื้นท่ีลุมน้ํารวมประมาณ 72,102 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณนํ้าทารายปเฉล่ียประมาณ 64,853 ลานลูกบาศกเมตร ลุมน้ําตาปเปนลุมน้ําประธานที่ใหญท่ีสุด มีพื้นท่ีลุมน้ําประมาณ 12,225 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณน้ําฝนรายปเฉล่ียประมาณ 1,888 มิลลิเมตร คํานวณเปนศักยภาพปริมาณนํ้าทาท่ีเกิดจากฝน 100% จะมีปริมาณน้ําประมาณ 23,090 ลานลูกบาศกเมตร เกิดเปนปริมาณนํ้าทาเฉล่ียรายปประมาณ 12,528 ลานลูกบาศกเมตร มีสัดสวนปริมาณนํ้าทาระหวางชวงฤดูฝนกับชวงฤดูแลงรอยละ 95 : 5 และมีเปอรเซ็นตปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทาหรือสัมประสิทธ์ิน้ําทาสูงท่ีสุดของลุมน้ําประธานท้ังหมดในประเทศ มีประมาณ 54%

GE253 101

Page 18: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ลุมน้ําทะเลสาบสงขลา เปนลุมน้ําท่ีมีระบบการระบายนํ้าของแมน้ําไหลลงสูแองท่ีลุมทะเลสาบสงขลา มีพื้นท่ีลุมน้ําเล็ก ๆ รวมกันประมาณ 8,495 ตารางกิโลเมตร ปริมาณนํ้าฝนท่ีตกรายปเฉล่ียประมาณ 1,930 มิลลิเมตร มีปริมาณนํ้าทาท่ีเกิดข้ึนรายปเฉล่ียประมาณ 5,483 ลานลูกบาศกเมตร และมีเปอรเซ็นตปริมาณน้ําฝนเกิดเปนน้ําทาเฉล่ียประมาณ 33% สวนลุมน้ําภาคใตฝงตะวันออกและภาคใตฝงตะวันตก จะเปนลุมน้ําขนาดเล็ก ๆ ท่ีมีระบบการระบายน้ําของแมน้ําไหลลงสูทะเล ในภาคใตท้ังดานฝงตะวันออก (ฝงอาวไทย) และฝงตะวันตก (ฝงทะเล อันดามัน) รวมลุมน้ําขนาดเล็ก ๆ เหลานี้จําแนกเปนลุมน้ําประธานภาคใตชายฝงทะเลตะวันออกและชายฝงทะเลตะวันตก มีขนาดพื้นท่ีลุมน้ํารวมประมาณ 26,352 และ 21,172 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณนํ้าทารายปเฉล่ียประมาณ 21,779 และ 21,742 ลานลูกบาศกเมตร ลุมน้ําภาคใตท้ังสองนี้จะมีเปอรเซ็นตปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทาเฉล่ียเทากันประมาณ 40 – 41% ลุมน้ําปตตานี เปนลุมน้ําประธานขนาดเล็กท่ีสุดของภาคใตมีขนาดพื้นท่ีลุมน้ําประมาณ 3,858 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณน้ําทารายปเฉล่ียประมาณ 3,320 ลานลูกบาศกเมตร และมีเปอรเซ็นตปริมาณฝนเกิดเปนน้ําทา ประมาณ 46% ซ่ึงลุมน้ําภาคใตโดยรวมจะมีสัมประสิทธ์ิน้ําทาหรือเปอรเซ็นตปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําทาเฉล่ียสูงท่ีสุดในแตละภาคลุมน้ํา มีคาเฉล่ียประมาณ 42% 4.3 ศักยภาพนํ้าผิวดินของลุมน้ําท่ีสําคัญ จากผลการศึกษาศักยภาพน้ําผิวดินหรือน้ําทาโดยใชขอมูลปริมาณน้ําทาในชวงปจจุบันยอนหลังไป 10 ป (จากสถานีวัดจริง) กับขอมูลปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียรายปท้ังลุมน้ํา วิเคราะหสัมประสิทธ์ิน้ําทาดวยวิธี Double Mass Curve (นพคุณ โสมสิน และอรรถพร พุทธปาลิต, 2546) พบวา ลุมน้ําภาคใต ภาคตะวันตกและภาคตะวันออกของประเทศ จะมีอัตราสวนของปริมาณน้ําทาตอปริมาณนํ้าฝนในชวงปจจุบันยอนหลังไป 10 ป มีศักยภาพน้ําทาสูงท่ีสุด มีคาประมาณ รอยละ 37 – 40 คือปริมาณนํ้าฝนท่ีตกลงมารายปเฉล่ียในพื้นท่ีลุมน้ําภาคดังกลาว จะเหลือเกิดเปนน้ําทาท่ีไหลในแมน้ําถึงประมาณรอยละ 37 – 40 โดยมีลุมน้ําทะเลสาบสงขลา มีศักยภาพน้ําทาตํ่าท่ีสุดของภูมิภาค ลุมน้ํากลุมนี้มีคาประมาณรอยละ 27 ลุมน้ําภาคกลางและภาคเหนือ จะมีศักยภาพน้ําทาเฉล่ียประมาณรอยละ 18 และ 24 ตามลําดับ โดยมีลุมน้ํากกในภาคเหนือมีศักยภาพนํ้าทาสูงท่ีสุดถึงรอยละ 42 สวนลุมน้ําท่ีมีศักยภาพ

GE253 102

Page 19: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี จะเปนพื้นท่ีลุมน้ําประธานของประเทศท่ีมีศักยภาพน้ําทาตํ่าท่ีสุด มีประมาณรอยละ 9 และ 12 ตามลําดับ ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบปริมาณนํ้าฝนรายปเฉล่ียของ 2 ลุมน้ํานี้กับลุมน้ําในภาคเหนือแลวจะมีคาใกลเคียงกัน แตมีศักยภาพน้ําทาต่ํากวา อาจเปนผลเนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศของลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี ไมมีทําเลที่เหมาะสมสําหรับการสรางเข่ือนขนาดใหญ เพื่อกักเก็บน้ําไวใชในชวงฤดูแลงไดตลอดลําน้ํา การพัฒนาแหลงน้ําจึงเปนเพียงการสรางฝายกั้นแมน้ําเปนระยะ ๆ ตามลําน้ํา ทําใหในชวงฤดูแลงจะมีน้ําใชเพียงพอระดับหนึ่งเทานั้น เพราะไมมีแหลงน้ําสํารองไวใชเหมือนเข่ือนภูมิพล เข่ือนสิริกิติ์ เข่ือนวชิราลงกรณและเข่ือนศรีนครินทร ท่ีสามารถเก็บกักน้ําในชวงฤดูฝน (90% ของปริมาณน้ําทา) ไวใชในชวงฤดูแลงไดตลอดท้ังลุมน้ํา ศักยภาพน้ําทาของลุมน้ําตาง ๆ ท่ีอยูในเกณฑท่ีดีนั้น เกณฑเฉล่ียอัตราสวนของปริมาณน้ําทาตอปริมาณนํ้าฝน ควรมีประมาณรอยละ 25

5. แหลงน้ําบาดาลในประเทศไทย น้ําบาดาลหรือน้ําใตดิน โดยท่ัวไปมักจะใชส่ือในความหมายเดียวกัน แตน้ําบาดาลในท่ีนี้จะหมายถึง น้ําท่ีเก็บกักอยูในชองวาง หรือในรอยแตกของช้ันหินใตพื้นดิน และชองวางดังกลาวจะอ่ิมตัวดวยน้ํา ดังนั้นบอท่ีเจาะลงในช้ันน้ําชนิดนี้จะเรียกวา “บอบาดาล” (วจี รามณรงค และสมชัย วงศสวัสดิ์, 2541) เปนแหลงน้ําท่ีสําคัญสามารถพัฒนาข้ึนมาใชเพ่ือแกไขภาวการณขาดแคลนนํ้าไดเปนอยางดี ซ่ึงอาจจะตองปรับปรุงทางดานคุณภาพน้ําบาง เทคโนโลยีปจจุบันสามารถทําใหเสียคาใชจายตํ่า การพัฒนาน้ําบาดาลข้ึนมาใชนั้น บริเวณตาง ๆ จะตองมีการสํารวจใหทราบถึงปริมาณนํ้าบาดาล คุณภาพน้ําบาดาล และความลึกของแหลงน้ําบาดาล รวมถึงศักยภาพของแหลงน้ําบาดาลแตละบริเวณหรือแอง มีการกักเก็บอยูในปริมาณมากนอยเทาใด ในแตละปจะมีปริมาณนํ้าฝนและนํ้าทาไหลลงไปเพิ่มเติมปริมาณมากนอยเทาใด ขอมูลการศึกษาและสํารวจตาง ๆ ดังกลาวเปนส่ิงจําเปนตองมี

GE253 103

Page 20: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

5.1 การไหลซึมของปริมาณน้ําฝนลงสูแหงน้ําบาดาล ปริมาณน้ําฝนท่ีไหลซึมลงไปเก็บกักอยูในแหลงน้ําบาดาล (groundwater recharge) จะมีปริมาณมากหรือนอย ข้ึนอยูกับความสามารถในการกักเก็บน้ําของช้ันหินใตดิน คือบริเวณท่ีเปนหินรวน (unconsolidated rocks) เชน กรวด ทรายหรือดินเหนียว จะมีปริมาณนํ้าฝนไหลซึมลงสูแหลงน้ํ าบาดาล ประมาณ 10% ของปริมาณน้ํ าฝนท่ีตกเฉล่ียท้ังป บริเวณท่ีเปนหินแข็ง (consolidated rocks) อุมน้ํามาก จะมีประมาณ 5% ปริมาณนํ้ามากนอยข้ึนอยูกับรอยแตก รอยเล่ือน โพรงหรือชองวาง สวนบริเวณท่ีเปนหินแข็งมีน้ําปานกลาง จะมีประมาณ 3% และหินแข็งน้ํานอย จะมีประมาณ 2% จากการศึกษาและจําแนกพ้ืนท่ีรองรับดวยหินรวนและหินแข็งของประเทศไทย พบวามีพื้นท่ีท่ีรองรับดวยหินรวน ประมาณ 101,240 ตารางกิโลเมตรหรือรอยละ 20 พื้นท่ีหินแข็งอุมน้ํามีน้ํามาก ประมาณ 123,654 ตารางกิโลเมตรหรือรอยละ 24 พื้นท่ีหินแข็งมีน้ําปานกลาง ประมาณ 170,940 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 33 และพื้นท่ีหินแข็งมีน้ํานอยประมาณ 117,036 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 23 ของพื้นท่ีท้ังหมดของประเทศ จากขอมูลอัตราการไหลซึมของน้ําฝนลงสูแหลงน้ําบาดาลในช้ันหินประเภทตาง ๆ และพื้นท่ีของช้ันหินแตละชนิดท่ีรองรับ สามารถทําการคํานวณประมาณการปริมาณนํ้าฝนท่ีไหลซึมลงสูแหลงน้ําบาดาลท้ังประเทศได จะมีประมาณ 38,000 ลานลูกบาศกเมตร หรือประมาณ รอยละ 5 ของปริมาณน้ําท่ีเกิดจากฝน 100% รวมทั้งประเทศ แตละภาคของประเทศจะมีปริมาณนํ้าฝนเปนน้ําบาดาลแตกตางกันดังตารางท่ี 4.2 5.2 ปริมาณน้ําบาดาลท่ีกักเก็บอยูในแองของภาคตาง ๆ จากการคํานวณปริมาณนํ้าท่ีกักเก็บอยูในแองน้ําบาดาลของภาคตาง ๆ และปริมาณนํ้าบาดาลที่สามารถพัฒนาข้ึนมาใชไดโดยไมเกิดผลกระทบ (safe yield) คือ มีความสมดุลกับปริมาณน้ําท่ีไหลเติมลงไปตามธรรมชาติ (ตอปและตอวัน) ดังตารางท่ี 4.5

GE253 104

Page 21: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ตารางท่ี 4.5 ปริมาณนํ้าท่ีกักเก็บอยูในแองน้ําบาดาลและปริมาณนํ้าท่ีสามารถพัฒนาไดโดยไมเกิด

ผลกระทบ แองน้ําบาดาล ปริมาณน้ําท่ีเก็บ

กัก

ปริมาณน้ําท่ีพัฒนาไดตอป

ปริมาณน้ําท่ีพัฒนาไดตอวัน

(ลาน ลบ.ม.) (ลาน ลบ.ม.) (ลบ.ม.) แองเชียงใหม-ลําพูน 485

295

212

160

200

6,400

6,470

320

420

400

175

340

97

59

42

32

40

1,280

1,294

64

84

80

35

68

265,000

161,000

115,000

87,000

110,000

3,500,000

3,500,000

175,000

230,000

200,000

96,000

186,000

แองลําปาง

แองเชียงราย-พะเยา

แองแพร แองนาน

แองเจาพระยาตอนเหนือ

แองเจาพระยาตอนใต แองทาฉาง

แองนครศรีธรรมราช

แองระโนด-สงขลา แองหาดใหญ แองปตตานี

ท่ีมา : วจี รามณรงค และสมชัย วงศสวัสดิ์, 2542: 245 จากตารางท่ี 4.5 จะเห็นวา ปริมาณท่ีกักเก็บอยูในแองน้ําบาดาลเจาพระยาตอนบน (เหนือ) และเจาพระยาตอนลาง (ใต) จะมีปริมาณมากท่ีสุดของประเทศ มีประมาณ 6,400 และ 6,470 ลานลูกบาศกเมตร ปริมาณท่ีกักเก็บนี้สามารถสูบน้ําบาดาลข้ึนมาใชไดโดยไมเกิดผลกระทบไดปละประมาณ 1,280 และ 1,294 ลานลูกบาศกเมตร ตามลําดับ หรือเฉล่ียวันละประมาณ 3,500,000

GE253 105

Page 22: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ปจจุบันบริเวณพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีการใชน้ําบาดาลจากแองเจาพระยาตอนลาง ประมาณวันละ 2.5 ลานลูกบาศกเมตร หรือปละประมาณ 900 ลานลูกบาศกเมตร เม่ือรวมจังหวัดตาง ๆ ท่ีอยูในพื้นท่ีแองน้ําบาดาลเจาพระยาตอนลางท่ีมีการใชน้ําบาดาลมากเชนกัน ทําใหมีการสูบน้ําบาดาลข้ึนมาใชมากเกินความสมดุลกับปริมาณนํ้าท่ีไหลเติมลงไปตามธรรมชาติ โดยเฉพาะบริเวณพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จะมีการใชปริมาณน้ําบาดาลมากท่ีสุด การกระจุกตัวของพื้นท่ีสูบน้ําบาดาลท่ีอยูในวงแคบจึงสรางผลกระทบตอพื้นท่ีแหลงน้ําบาดาลอยางมาก ระดับน้ําบาดาลในบริเวณดังกลาวลดตํ่าลงอยางรวดเร็ว น้ําเค็มไหลแทรกซึมเขามาแหลงน้ําบาดาลท่ีเคยเปนน้ําจืด เปล่ียนเปนน้ํากรอยและนํ้าเค็มและผลกระทบท่ีรอยแรงท่ีสุดก็คือ เกิดแผนดินทรุดและเกิดการกัดเซาะบริเวณชายฝงรุนแรงมากข้ึน การใชน้ําบาดาลในบริเวณแองเจาพระยาตอนลางนี้ ถาใชในอัตราประมาณปละ 1,290 ลานลูกบาศกเมตร และมีการใชกระจายตัวในลักษณะสมดุลท้ังพื้นท่ีแอง ก็จะไมเกิดผลกระทบดานตาง ๆ อยางท่ีเปนอยูปจจุบัน

แองและชั้นน้ําบาดาลท่ีสําคัญ 5.3 5.3.1 แองน้ําบาดาลเจาพระยาตอนลาง เปนแหลงน้ําบาดาลในประเภทหินรวนขนาดใหญท่ีสุดของประเทศ ตะกอนที่สะสมในแองท่ีราบมีความหนาเฉล่ีย 200 – 600 เมตร ท่ีมีความหนามากท่ีสุดประมาณ 2,000 เมตร ในระดับความลึกไมเกิน 700 เมตร มีช้ันกรวดทรายและดินเหนียวสลับกันเปนช้ันน้ําบาดาลจํานวน 8 ช้ัน แตละช้ันมีความหนาเฉลี่ยประมาณ 50 เมตร ดังรายละเอียดและภาพท่ี 4.4

GE253 106

Page 23: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ภาพท่ี 4.4 แองช้ันน้ําบาดาลเจาพระยาตอนลาง (ใต) 1. ช้ันน้ํากรุงเทพฯ ลึกประมาณ 50 เมตร 2. ช้ันน้ําพระประแดง ลึกประมาณ 100 เมตร 3. ช้ันน้ํานครหลวง ลึกประมาณ 150 เมตร 4. ช้ันน้ํานนทบุรี ลึกประมาณ 200 เมตร 5. ช้ันน้ําสามโคก ลึกประมาณ 300 เมตร 6. ช้ันน้ําพญาไท ลึกประมาณ 350 เมตร 7. ช้ันน้ําธนบุรี ลึกประมาณ 450 เมตร 8. ช้ันน้ําปากนํ้า ลึกประมาณ 550 เมตร ช้ันน้ําบาดาลท่ีความลึกประมาณ 150 – 450 เมตร สวนใหญมีคุณภาพดี ยกเวนบางพื้นท่ีทางตอนใตของกรุงเทพมหานครและธนบุรี คุณภาพน้ําจะกรอยหรือเค็ม ช้ันน้ําท่ีมีความลึกตั้งแต 550 เมตรข้ึนไป จะใหน้ําบาดาลคุณภาพดีท่ีสุด จะใหปริมาณนํ้าอยูในเกณฑ 50 – 100 ลูกบาศกเมตร ตอช่ัวโมง

GE253 107

Page 24: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

5.3.2 แองน้ําบาดาลเชียงใหม – ลําพูน มีพื้นท่ีรองรับดวยหินรวนประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร ตะกอนท่ีสะสมมีความหนาเฉล่ีย 200 – 500 เมตร ประกอบดวยตะกอน 2 ชนิด คือ ตะกอนน้ําพาปจจุบัน (recent flood plain deposits) และตะกอนน้ําพาเกา (terrace deposits) พื้นท่ีความกวางประมาณ 5 กิโลเมตรตามแนวแมน้ําปง จะเปนตะกอนนํ้าพาปจจุบันท่ีมีความหนาเฉล่ีย 20 – 50 เมตร ใหน้ําบาดาลอยูในเกณฑเฉล่ีย 10 – 50 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมงคุณภาพของน้ําบาดาลสวนใหญจะมีปริมาณเหล็กสูงกวามาตรฐานน้ําบริโภค สวนตะกอนน้ําพาเกาจะอยูในบริเวณท่ีราบข้ันบันไดหรือลานตะพักแมน้ํา จะประกอบดวยตะกอน 2 ชุด คือ ตะกอนที่ราบลานตะพักแมน้ําระดับตํ่า เปนตะกอนดินเหนียวและทรายละเอียด มีช้ันกรวดและทรายหยาบแทรกสลับเปนช้ันบาง ๆ ตะกอนมีความหนาเฉล่ีย 30 – 70 เมตร ใหน้ําบาดาลอยูในเกณฑเฉล่ีย 5 – 10 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง และตะกอนท่ีราบลานตะพักแมน้ําระดับสูง มีพื้นท่ีอยูบริเวณขอบแองท้ังสองขาง ความหนาของช้ันน้ําแตละช้ันเฉล่ียช้ันละ 20 – 50 เมตร ใหน้ําในเกณฑเฉล่ีย 50 – 20 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง ดังภาพที่ 4.5 มีคุณภาพน้ําบาดาลสวนใหญคุณภาพดี แตจะมีปริมาณเหล็กคอนขางสูง ประมาณ 0.5 – 10 มิลลิกรัมตอลิตร และในพื้นท่ีจังหวัดลําพูน (อําเภอบานโฮง และปาซาง) จะมีปริมาณฟลูออไรดคอนขางสูงในน้ําบาดาลประมาณ 1 – 5 มิลลิกรัมตอลิตร ภาพท่ี 4.5 แองน้ําบาดาลเชียงใหม – ลําพูน

GE253 108

Page 25: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

5.3.3 แองน้ําบาดาลนครศรีธรรมราช มีพื้นท่ีประมาณ 2,000 ตารางกิโลเมตร มีตะกอนกรวด ทรายและดินเหนียว มีความหนาเฉล่ีย 200 – 400 เมตร ความหนามากที่สุด 500 เมตร ปจจุบันมีการพัฒนานํ้าบาดาลท่ีความลึก ไมเกิน 300 เมตร เปนระดับความลึกท่ีมีช้ันกรวดทรายท่ีเปนช้ันน้ําบาดาล จํานวน 3 ช้ัน ช้ันแรกอยูท่ีระดับความลึก 80 – 100 เมตร มีความหนาของช้ันกรวดทรายเฉล่ีย 10 – 20 เมตร ปริมาณนํ้าท่ีสูบข้ึนมาใชไดอยูในเกณฑ 20 – 50 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง คุณภาพน้ําดี สําหรับช้ันท่ีสองอยูท่ีความลึกประมาณ 130 – 150 เมตร มีความหนาของช้ันกรวดทรายเฉล่ีย 15 – 20 เมตร ปริมาณนํ้าท่ีสามารถสูบข้ึนมาใชไดอยูในเกณฑ 10 – 30 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง คุณภาพน้ําดี สวนช้ันท่ีสามอยูท่ีความลึกประมาณ 170 – 200 เมตร มีความหนาของช้ันกรวดทรายเฉล่ีย 10 – 15 เมตร ปริมาณนํ้าท่ีสามารถสูบข้ึนมาใชไดอยูในเกณฑ 15 – 30 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง คุณภาพน้ําดี ดังภาพท่ี 4.6 ภาพท่ี 4.6 แองน้ําบาดาลนครศรีธรรมราช

6. การใชน้ําในกิจกรรมดานตาง ๆ ของประเทศ ความตองการใชน้ําในกิจกรรมดานตาง ๆ ของประเทศ จากรายงานโครงการศึกษาเพื่อจัดทําแผนหลักงานพัฒนาแหลงน้ําท่ัวประเทศ ไดสรุปแบงกิจกรรมการใชน้ําดานตาง ๆ ออกเปน 5 ประเภท ไดแกการบริโภคและอุปโภค การอุตสาหกรรมและทองเที่ยว การชลประทาน การรักษา

GE253 109

Page 26: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

GE253 110

6.1 การอุปโภคและบริโภค เปนความตองการใชน้ําดานน้ําดื่มและน้ําใช กิจกรรมการใชน้ําประเภทนี้จะเปล่ียนแปลงไปตามจํานวนประชากรที่เพิ่มข้ึน ตามมาตรฐานดานสุขอนามัยและระดับของคุณภาพชีวิต เกณฑการใชน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภคสําหรับประเทศไทย พอสรุปไดดังนี้ ประชากรในเขตพื้นท่ีชนบทใชน้ําประมาณ 50 – 60 ลิตร / คน / วัน เขตเมืองเล็กประมาณ 110 – 120 ลิตร / คน / วัน เขตเมืองขนาดกลาง ประมาณ 120 – 200 ลิตร / คน / วัน เขตเมืองใหญ ประมาณ 200 – 250 ลิตร / คน / วัน และกรุงเทพฯ ใชน้ํามากกวา 250 ลิตร / คน / วัน จากภาพรวมท้ังประเทศ ในชวงป พ.ศ. 2536 ถึง 2549 มีความตองการใชน้ําประเภทน้ีประมาณ 3,118 ลานลูกบาศกเมตรตอป เพิ่มเปนประมาณ 6,593 ลานลูกบาศกเมตรตอป มีอัตราการเพิ่มข้ึนถึงรอยละ 111.45 โดยลุมน้ําภาคกลางและลุมน้ําภาคตะวันออก จะมีความตองการใชน้ําประเภทนี้สูงสุด มีอัตราการเพ่ิมรอยละ 144.57 และ 101.45 ตามลําดับ ลุมน้ําภาคเหนือมีอัตราการเพ่ิมนอยท่ีสุดเพียงรอยละ 19.27

6.2 การอุตสาหกรรมและทองเที่ยว ความตองการใชน้ําจะเพ่ิมข้ึนตามการพัฒนาและการเติบโตดานการอุตสาหกรรมและการทองเท่ียวของประเทศ อุตสาหกรรมแตละประเภทจะมีความตองการใชน้ําท่ีแตกตางกัน ประเภทอุตสาหกรรมโรงงานกระดาษ โรงงานถลุงเหล็ก โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร จะเปนประเภทที่มีความตองการใชน้ํามาก ภาพรวมท้ังประเทศความตองการใชน้ําเพื่อการอุตสาหกรรมและทองเที่ยว มีความตองการใชน้ําประมาณ 1,311 ลานลูกบาศกเมตรตอป (ป 2536) เพ่ิมเปน 2,154 ลานลูกบาศกเมตรตอป (ป 2549) มีอัตราการเพ่ิมข้ึนของความตองการน้ํารอยละ 64.27 โดยเฉพาะการอุตสาหกรรมและการทองเท่ียว ท่ีเพิ่มข้ึนในพ้ืนท่ีลุมน้ําภาคเหนือ ภาคใตและภาคตะวันออก จะมีอัตราการเพ่ิมข้ึนของความตองการน้ํารอยละ 449.79, 159.48 และ

1 3 8 . 3 2 ต า ม ลํ า ดั บ

Page 27: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ตารางที่ 4.6 ความตองการปริมาณน้ําในกิจกรรมการใชน้ําในดานตาง ๆ ทั้งสภาพปจจุบันและอนาคต (2549) ของแตละภาคลุมน้ําประธาน ความตองการน้ํา, ลาน ลบ.ม./ป พื้นที่การ ความหนาแนน จํานวน

ประชากร การขาดแคลนน้ํา

ชลประธาน ประชากร ภาคลุมน้ํา อุตสาหกรรม รักษาสมดุล ผลิตกระแส (อุปโภค-บริโภค ชลประทาน

(ไร) (คน/ตร.กม.) (คน) และทองเที่ยว นิเวศวิทยา ไฟฟา ลาน ลบ.ม./ป)

9,532,550

11,346,194 19.03

14,957,762 18,578,889

26.21

19,801,782 25,003,666

26.27

3,452,081 4,954,312

33.09

7,751,437 9,404,082

21.32

64.10 76.29 19.03

122.24 151.83 24.21

112.26 141.75 26.27

95.08

126.54 33.09

105.91 128.47 21.30

5,949,430 9,871,296

65.92

12,987,645 14,490,901

11.57

5,375,291 9,857,237

83.38

2,525,145 3,590,725

42.20

3,382,974 6,082,754

79.80

242.49 289.22 19.27

1,822.92 4,454.72

144.37

665.62 1,175.81

76.65

163.96 330.30 101.45

223.15 343.27 53.83

7.29

40.08 449.79

985.45

1,442.50 46.38

145.90 243.43 66.85

95.33

227.19 138.32

77.54

201.20 159.48

2,843.80 2,843.80

0.00

4,094.45 4,094.45

0.00

2,675.65 2,675.65

0.00

1,407.50 1,407.50

0.00

4,304.50 4,412.50

2.51

7,663.87

12,772.63 66.66

21,683.16 22,613.07

4.29

10,005.00 12,884.55

28.78

3,857.38 5,691.96

47.56

4,962.51 7,784.43

56.86

6,251.00 6,335.20

1.35

5,363.00 5,363.00

0.00

2,747.30 2,747.30

0.00

80.94 965.80

1,093.23

6,325.00 8,014.00

26.70

140.99 419.59 197.60

1,655.78 1,792.50

8.26

961.48 1,543.67

60.55

748.84 756.11

0.97

2,195.35 1,729.01

-21.24

ลุมน้ําภาคเหนือ ปจจุบัน (2536) อนาคต (2549) เพิ่มขึ้น (%) ลุมน้ําภาคกลาง ปจจุบัน (2536) อนาคต (2549) เพิ่มขึ้น (%) ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปจจุบัน (2536) อนาคต (2549) เพิ่มขึ้น (%) ลุมน้ําภาคตะวันออก ปจจุบัน (2536) อนาคต (2549) เพิ่มขึ้น (%) ลุมน้ําภาคใต ปจจุบัน (2536) อนาคต (2549) เพิ่มขึ้น (%) รวมทั้งประเทศ

55,495 68,927,143

24.20

99.64

123.75 24.20

30,220,485 43,892,913

45.24

3,118.14 6,593.32

111.45

1,311.52 2,154.40

64.27

15,325.90 15,433.90

0.70

48,171.92 61,746.64

28.18

20,767.24 23,425.30

12.80

5,702.44 6,240.88

9.44

ปจจุบัน (2536) อนาคต (2549) เพิ่มขึ้น (%)

GE253 111

GE 253

109

Page 28: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

GE253 112

ที่มา วีรพล แตสมบัติ, 2539

Page 29: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

6.3 การชลประทาน เปนประเภทการใชน้ําเพื่อการเกษตร เกี่ยวกับการเพาะปลูก การเล้ียงสัตวและการประมง มีปริมาณนํ้าท่ีใชมากท่ีสุด ขณะท่ีปจจุบันมีเนื้อท่ีชลประทานขยายตัวเพิ่มข้ึน มีเนื้อท่ีรวมประมาณ 30 ลานไรหรือ 24% ของพื้นท่ีเพาะปลูก และยังมีความจําเปนท่ีตองการขยายเนื้อท่ีชลประทานเพ่ิมข้ึนอีกในอนาคต ในป 2536 มีความตองการใชน้ําเพื่อการเกษตร ประมาณ 48,171 ลานลูกบาศกเมตรตอป เพ่ิมเปน 61,746 ลานลูกบาศกเมตรตอป ในป 2549 มีอัตราเพ่ิมข้ึนรอยละ 28.18 โดยพ้ืนท่ีลุมน้ําภาคเหนือและลุมน้ําภาคใต จะมีอัตราเพิ่มรอยละ 66.66 และ 56.86 ตามลําดับ รองลงมาไดแกพื้นท่ีลุมน้ําภาคตะวันออก และลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอัตราเพิ่มรอยละ 47.56 และ 28.78 ดังนั้นความตองการน้ําเพื่อใชในดานการชลประทาน หรือการเกษตรจะมีมากท่ีสุด โดยเฉล่ียจะมีมากถึงรอยละ 85 – 90 ของความตองการใชน้ําทุกประเภท เพราะการทํานา 1 ไร จะตองใชน้ําประมาณ 2,000 – 2,500 ลูกบาศกเมตร และในอนาคตความจําเปนท่ีจะตองขยายเน้ือท่ีชลประทานเพ่ิมข้ึน ความตองการน้ําเพื่อการเพาะปลูกยังตองการปริมาณนํ้าเพิ่มข้ึนเชนกัน

6.4 การรักษาสมดุลนิเวศวิทยาและผลักดันน้ําเค็ม ในฤดูแลงพื้นที่บริเวณปากแมน้ําสําคัญๆ จะประสบปญหาน้ําเค็มจากทะเลแทรกดันตัวเขาไปในแมน้ํา เปนสาเหตุทําใหระบบนิเวศใกลชายฝงเกิดการเปลี่ยนแปลง กอใหเกิดความเสียหายตอพื้นที่เพาะปลูก และน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคขาดแคลน ทําใหปจจุบันมีกิจกรรมหลักอยางหนึ่งที่ตองใชน้ําจากแหลงน้ําตนทุนของลุมน้ําเจาพระยา โดยเฉพาะจากอางเก็บน้ําเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ เพื่อผลักดันน้ําเค็มบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา (50 ม3 /วินาที) และปากแมน้ําทาจีน (30 ม3 /วินาที) รวมประมาณปละ 2,500 ลานลูกบาศกเมตร ไมเชนนั้นน้ําในแมน้ําเจาพระยา จะมีความเค็มมากกวาเมื่อ 30 – 40 ปกอน และความเค็มอาจขึ้นไปถึงโรงสูบน้ําวัดสําแล จังหวัดปทุมธานี จนใชผลิตเปนน้ําประปาไมไดก็เปนได ความตองการใชน้ําในกิจกรรมประเภทนี้ในป 2536 มีการใชน้ําในกิจกรรมนี้ถึงประมาณ 15,325 ลานลูกบาศกเมตร จะเพิ่มเปนประมาณ 15,433 ลานลูกบาศกเมตร ในป 2549 โดยมีอัตราเพ่ิมรอยละ 0.70 พื้นท่ีลุมน้ําภาคใต จะมีอัตราเพิ่มความตองการน้ํามากข้ึนถึงรอยละ 2.51

GE253 113

Page 30: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

6.5 การผลิตกระแสไฟฟา เข่ือนขนาดใหญไดติดต้ังเคร่ืองกําเนิดไฟฟาจากพลังน้ํา ความตองการน้ําเพ่ือผลิตกระแสไฟฟา เปนปริมาณท่ีตองใชในการปลอยผานเคร่ืองกําเนิดไฟฟา ซ่ึงน้ําสวนนี้สามารถนําไปใชประโยชนในกิจกรรมดานอ่ืน ๆ ทางดานทายน้ําไดอีก ในป 2536 น้ําเพื่อการผลิตกระแสไฟฟามีประมาณ 20,767 ลานลูกบาศกเมตรตอป และจะเพ่ิมเปนประมาณ 23,425 ลานลูกบาศกเมตรตอป ในป 2549 จะมีอัตราเพ่ิมเพียงรอยละ 12.80 เทานั้น เพราะโครงการสรางเข่ือนขนาดใหญเกิดข้ึนนอยมากหรือเกือบไมมีเลย จากปริมาณความตองการใชน้ําในกิจกรรมประเภทตาง ๆ ของประเทศ จะเห็นวาปริมาณนํ้าท่ีใชในกิจกรรมดานการอุปโภคและบริโภค และดานการอุตสาหกรรมและทองเท่ียวมีเปอรเซ็นตนอยมากเม่ือเทียบกับกิจกรรมดานการชลประทาน แตในอนาคตจะมีเปอรเซ็นตเพิ่มมากข้ึนตามจํานวนประชากรที่เพิ่มข้ึน และตามระดับการพัฒนาของประเทศ สําหรับน้ําท่ีใชในกิจกรรมประเภทการรักษาสมดุลนิเวศวิทยาและผลักดันน้ําเค็ม และการผลิตกระแสไฟฟาจะเปนปริมาณนํ้าท่ีมาก แตปริมาณนํ้าสวนนี้ตามความเปนจริงปริมาณนํ้าสวนนี้จะถูกนําไปใชประโยชนในกิจกรรมประเภทตาง ๆ ทางดานทายน้ําดวย

7. ปญหาทรัพยากรน้ําของประเทศไทย

จากปริมาณนํ้าฝนและปริมาณนํ้าทา ตารางท่ี 4.4 โดยภาพรวมของประเทศไทยจะมีทรัพยากรน้ําท่ีเปนน้ําทาหรือน้ําผิวดินเกิดข้ึนในชวงฤดูฝนเฉล่ียประมาณรอยละ 92 เกิดในชวงฤดูแลงประมาณรอยละ 8 เทานั้น ดังนั้นปญหาทรัพยากรน้ําโดยรวมของประเทศจึงอยูท่ีวาจะกักเก็บปริมาณน้ําท่ีมีอยูเปนจํานวนมากในชวงฤดูฝน เพื่อไวใชประโยชนในชวงฤดูแลงหรือตลอดปไดอยางไร โดยไมเกิดวิกฤตการณน้ําขาดแคลน ซ่ึงปญหาทรัพยากรน้ําของประเทศไทยสามารถจําแนกเปนปญหาเฉพาะไดดังนี ้

7.1 ปญหาขาดแคลนน้ําในฤดูแลง เปนวัฏจักรธรรมชาติท่ีเกิดฤดูฝนและฤดูแลงสลับกันในรอบป ในชวงฤดูแลง 4 – 5 เดือน จะมีปริมาณน้ําทาเกิดข้ึนเพียงประมาณรอยละ 6 – 15 เทานั้น ในภาคลุมน้ําตาง ๆ ดังนั้นปญหาขาดแคลนน้ําในฤดูแลงจึงเปนปญหาวิกฤตการณน้ําหรือสภาวะภัยแลง ท่ีสําคัญเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําของประเทศ เพราะกิจกรรมการใชน้ําทุกประเภท จะมีความตองการน้ํา

GE253 114

Page 31: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

7.2 ปญหานํ้าทวมในฤดูฝน ก็เกิดเปนวัฏจักรทางธรรมชาติเชนกัน เพราะปริมาณนํ้าทาท่ีเกิดจากน้ําฝนประมาณรอยละ 87 – 94 ในแตละภาคลุมน้ําเกิดในชวงฤดูฝน ทําใหบางเดือนในชวงฤดูฝนอาจเกิดฝนตกหนักจากความแรงของมรสุมตะวันตกเฉียงใต หรือจากพายุหมุนเขตรอนเคล่ือนตัวผานเขามา มีปริมาณนํ้าฝนมากกวาปกติ ก็จะกอใหเกิดอุทกภัยในพื้นท่ีลุม หรือเกิดน้ําทวมฉับพลัน เปนปญหาทรัพยากรน้ําท่ีมีปริมาณน้ํามากกวาปกติและเปนภัยธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนเปนประจําทุกปในลุมน้ําภาคตาง ๆ ของประเทศ กอใหเกิดความเสียหายและเดือดรอนแกราษฎรในพ้ืนท่ีประสบภัยในแตละปมีมูลคาเปนจํานวนมาก

7.3 ปญหานํ้าเสีย เกิดจากกิจกรรมการใชน้ําประเภทตาง ๆ โดยเฉพาะการใชเพื่ออุปโภคบริโภค การใชเพื่อการอุตสาหกรรมและทองเที่ยว และการใชเพื่อการเกษตร น้ําที่ใชในกิจกรรมเหลานี้จะมีน้ําจํานวนหนึ่งเกิดเปนน้ําเสีย ซึ่งเกิดจากสิ่งตาง ๆ เจือปนหรือละลายอยูในน้ํา เชน สารอินทรีย เชื้อโรค จุลินทรีย สารเคมี โลหะหนัก (ปรอท ตะกั่ว) และตะกอนขนาดเล็ก สิ่งตางๆ เหลานี้ที่กอใหเกิดเปนน้ําเนาเสีย จะมีแหลงที่มาจากครัวเรือน ชุมชน เมือง อุตสาหกรรม และการทําการเกษตร น้ําเสียเหลานี ้ส วนใหญย ังใชแหลงน้ําตามธรรมชาติเปนที ่รองรับ กอใหเกิดแหลงน้ําดีแปรสภาพเปนแหลงน้ําเสีย เมื่อปริมาณนํ้าดีมีนอยกวาปริมาณน้ําเสีย ระบบบําบัดทางธรรมชาติขาดสมดุล เนื่องจากน้ําทิ้งที่เปนน้ําเสียขาดการบําบัดที่ถูกวิธีกอนระบายลงสูแหลงน้ํา

7.4 ปญหาแหลงเก็บกักน้ํา ถาไมมีการพัฒนาและปรับแหลงเก็บกักน้ําเพิ่มเติม อยางมีแบบแผนท่ีมีประสิทธิภาพและเปนระบบในภาคลุมน้ําตาง ๆ คาดวาปญหาเร่ืองน้ําจะเพ่ิมทวีความรุนแรงข้ึนตามลําดับ เนื่องจากความตองการน้ําจะเพ่ิมมากข้ึนตามประชากรของประเทศท่ีเพิ่มข้ึน และการพัฒนาประเทศ เพราะความจุของแหลงเก็บกักน้ําท้ังขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็กในปจจุบัน

GE253 115

Page 32: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

7.5 ปญหาประสิทธิภาพการใชน้ํา กิจกรรมประเภทการเกษตร จะมีปริมาณการใชน้ํามากท่ีสุดและเปนการใชน้ําท่ีฟุมเฟอยไมมีประสิทธิภาพ เพราะเกษตรกรผูใชน้ํายังมีความคิดวาน้ําเปนส่ิงท่ีไดเปลาและเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติจากฝน สามารถใชไดโดยไมมีขอจํากัดและไมตองเสียคาใชจายในรูปของเงินตรา รวมถึงวิธีการทําการเพาะปลูกท่ีใชน้ํามากยังไมเปล่ียนแปลงไปจากอดีตมากนัก ดวยเหตุนี้การใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพจึงเปนส่ิงสําคัญอยางยิ่งในปจจุบันและในอนาคต วิธีการเพาะปลูกแบบดั้งเดิมท่ีใชน้ํามากจะตองพัฒนาใหใชน้ํานอยลง ระบบชลประทานจะตองมีการบํารุงรักษาอยางสม่ําเสมอ การจายน้ําเขาสูระบบตองตรงตามเวลา สถานที่และมีปริมาณท่ีเพียงพอ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพในการใชประโยชนจากน้ํา ดังนั้นแนวทางการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพในอนาคตอันใกลนี้ จะตองสรางสํานึกการใชน้ําในกิจกรรมการใชน้ําทุกประเภท รูจักคุณคาของน้ํา ไมใชอยางฟุมเฟอยและเปลาประโยชน โดยทําการเก็บคาน้ําตามปริมาณการใชน้ําและผลตอบแทนท่ีเกิดจากการใชน้ําในกิจกรรมแตละประเภทอยางเปนธรรม

7.6 ปญหานํ้าเค็มแทรกดันเขาแมน้ํา ในชวงฤดูแลงน้ําเค็มจากทะเลบริเวณปากแมน้ําจะแทรกดันไหลเขามาในแมน้ําและลําคลอง น้ําเค็มกอใหเกิดความเสียหายแกพื้นท่ีเพาะปลูกและน้ําอุปโภคบริโภค เปนปญหาเร่ืองน้ําของชุมชนและเมืองบริเวณปากแมน้ําชายฝงทะเล ทําใหตองมีการใชน้ําจืดท่ีเก็บกักจากเขื่อนท่ีสําคัญ ๆ สวนหนึ่งระบายน้ําลงมาเพ่ือผลักดันน้ําเค็มและเพิ่มน้ําอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะแมน้ําเจาพระยาและแมน้ําทาจีน ตองใชน้ําจากเข่ือนภูมิพลและเข่ือนสิริกิติ์ มาใชเพื่อผลักดันน้ําเค็ม รวมประมาณปละ 2,500 ลานลูกบาศกเมตร ซ่ึงชวยทําใหระบบนิเวศวิทยาในพื้นท่ีดังกลาวไมเกิดการเปล่ียนแปลง ปญหานี้มีแนวโนมท่ีจะขยายตัวรุนแรงเพิ่มข้ึน ในพื้นท่ีลุมน้ําภาคใต ลุมน้ําภาคตะวันออก และลุมน้ําภาคกลางตอนลาง

GE253 116

Page 33: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

7.7 ปญหาการจัดการน้ํา เนื่องจากวิถีการดําเนินชีวิตในกิจกรรมดานตาง ๆ ทุกประเภทจะมีน้ําเปนปจจัยสําคัญเหมือนน้ําคือชีวิต ดวยสภาพปริมาณน้ําผิวดินหรือน้ําทาตามธรรมชาติของประเทศไทยปจจุบัน ยังคงมีปญหาเร่ืองน้ํามาก (น้ําทวม) และนํ้านอย (การขาดแคลนน้ําหรือภัยแลง) ในชวงฤดูฝนและฤดูแลงเกิดข้ึนอยูเกือบทุกภูมิภาค ดังนั้นหากไมมีการบริหารจัดการน้ําอยางมีประสิทธิภาพและพัฒนาแหลงกักเก็บน้ําเพ่ิมเติมอยางเปนระบบ ท้ังในทางปริมาณและคุณภาพของน้ําใหเพียงพอตอความตองการใชน้ํา และจัดสรรน้ําอยางมีประสิทธิภาพแลว ปญหาเร่ืองน้ําจะทวีความรุนแรงข้ึนตามลําดับ ซ่ึงปญหาการจัดการน้ํานี้จําเปนตองมีการรวมมือและเขาใจของทุก ๆ ฝายท่ีเกี่ยวของ รวมท้ังดําเนินการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางจริงจัง

8. การพัฒนาแหลงน้ํา

การพัฒนาแหลงน้ําในลุมน้ําตาง ๆ ท้ังขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก จะมีการดําเนินการโดยหลายหนวยงานดวยกัน เชน กรมชลประทาน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน กรมเรงรัดพัฒนาชนบท กรมพัฒนาท่ีดิน หนวยบัญชาการทหารพัฒนา เปนตน จากการรวบรวมขอมูลโดยโครงการพัฒนาแหลงน้ําตั้งแตเร่ิมดําเนินการจนถึงป 2539 จากสองหนวยงานหลัก คือ กรมชลประทาน และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เปนหนวยงานหลักท่ีดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญและขนาดกลางของประเทศ ความสามารถในการกักเก็บน้ําผิวดินของประเทศไทย จากการพัฒนาแหลงน้ําท่ีผานมาถึงป 2539 มีจํานวนโครงการและความจุอางเก็บน้ําท่ีระดับเก็บกักท้ังโครงการขนาดใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก แยกตามรายภาคการปกครองดังนี้ (วีระพล แตสมบัติ, 2542) จากการพัฒนาแหลงน้ําท่ีผานมาของประเทศไทยจะเห็นไดวา ความสามารถในการกักเก็บน้ําของอางเก็บน้ําขนาดใหญและขนาดกลาง โดยพิจารณาท่ีระดับเก็บกักปกติ จะมีปริมาณความจุเก็บกักรวมท้ังประเทศประมาณ 69,174 ลานลูกบาศกเมตร และอางเก็บน้ําขนาดเล็กจะมีปริมาณความจุเก็บกักรวมประมาณ 1,296 ลานลูกบาศกเมตร หรือรวมทั้งหมดมีความจุเก็บกักท้ังส้ินประมาณ 70,470 ลานลูกบาศกเมตร หรือประมาณ 34 เปอรเซ็นตของปริมาณนํ้าทาตามธรรมชาติเฉล่ียรายปของประเทศเทานั้น สําหรับโครงการเข่ือนเก็บกักน้ําขนาดใหญและขนาดกลางท่ีสําคัญของประเทศในแตละภูมิภาคของประเทศ มีลักษณะทางอุทกวิทยาตาง ๆ ท่ีสําคัญ ดังตารางท่ี 4.8

GE253 117

Page 34: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ตารางท่ี 4.7 จํานวนโครงการและความจุเก็บกักในการพัฒนาแหลงน้ําของประเทศ โครงการขนาดใหญและขนาดกลาง โครงการขนาดเล็ก

ภาคการปกครอง จํานวนโครงการ ความจุเก็บกัก จํานวนโครงการ ความจุเก็บกัก (ลาน ลบ.ม.) (ลาน ลบ.ม.)

เหนือ 200 24,207.02 1,709 324.81 ตะวันออกเฉียงเหนือ 281 8,659.68 3,904 781.12 กลาง 108 28,410.44 817 121.55 ตะวันออก 73 650.63 480 55.25 ใต 80 7,245.80 912 13.37 รวมท้ังประเทศ 742 69,173.57 7,822 1,296.10 เนื่องจากกรมชลประทานเปนหนวยงานหลักในการพัฒนาโครงการเข่ือนเก็บกักน้ําขนาดใหญและขนาดกลางของประเทศ ไดดําเนินการจัดทําแผนหลักโครงการพัฒนาและปรับปรุงแหลงน้ําท่ัวประเทศในชวงป 2540 – 2549 โดยมีโครงการพัฒนาแหลงน้ําขนาดกลาง ท่ีจัดเขาเปนแผนหลักประมาณ 407 โครงการ มีจํานวนโครงการและปริมาณความจุเก็บกักน้ําท่ีจะเพิ่มข้ึนในแตละภาคตามภาคการปกครอง ดังตารางท่ี 4.9 การพัฒนาแหลงน้ําตามโครงการที่อยูในแผนหลักท้ังหมดของกรมชลประทาน ในชวงป 2540 – 2549 ถาสามารถดําเนินการกอสรางตามโครงการ 407 โครงการไดท้ังหมด จะทําใหมีความสามารถในการเก็บกักน้ําของอางเก็บน้ําเพิ่มข้ึนอีก 12,893 ลานลูกบาศกเมตร หรือประมาณ 6.2 เปอรเซ็นตของปริมาณน้ําทาผิวดินตามธรรมชาติของประเทศ โดยเพิ่มข้ึนในภาคเหนือ ภาคตะวันออกและภาคใต ประมาณ 4,193, 3,636 และ 3,509 ลานลูกบาศกเมตร ตามลําดับ

GE253 118

Page 35: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ตารางท่ี 4.8 ลักษณะอุทกวทิยาของโครงการเข่ือนเก็บกักน้ําขนาดใหญและขนาดกลางท่ีสําคัญของ

ประเทศ เข่ือน จังหวัด พื้นท่ีรับน้ํา ปริมาณน้ําไหลเขา ความจุท่ีระดับเก็บ

กัก ความจุท่ีระดับ

ต่ําสุด ความจุใชงาน

(ตร.กม.) รายปเฉลี่ย, ลาน ลบ.ม. ((ลาน ลบ.ม.) (ลาน ลบ.ม.)

ลาน ลบ.ม.)

ภาคเหนือ 26,386.0 13,130.0 1,280.0

569.0 285.0

2,700.0

5,627.05 5,375.75

329.52 176.88 50.92

580.13

13,462.00 9,510.00

265.00 263.00 108.55 110.00

3,800.00 2,850.00

10.00 14.00 15.81 6.00

9,662.00 6,660.00

255.00 249.00 92.74

104.00

1. เข่ือนภูมิพล ตาก 2. เข่ือนสิริกิติ์ อุตรดิตถ 3. เข่ือนแมงัด เชียงใหม 4. เข่ือนแมกวง เชียงใหม 5. เข่ือนแมจาง ลําปาง 6. เข่ือนก่ิวลม ลําปาง รวมภาคเหนือ 44,350.0 12,140.25 23,718.55 6,695.81 17,022.74 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

454.0 601.0

1,430.0 820.0 545.0 297.0

1,100.0 12,000.0

666.4 5,900.0

2,097.0

113.00 255.00 243.86 153.15 153.68 116.09 415.68

2,085.82 156.50

1,899.58 26.51

1,640.82

141.00 275.00 310.00 152.00 188.00 165.48 520.00

1,263.00 113.00

1,430.00 150.00

1,966.00

7.00 7.00

20.00 3.70

43.50 8.68

45.00 502.00

5.25 85.00 8.00

831.00

134.00 268.00 290.00 148.30 144.50 156.80 475.00

1,761.00 107.75

1,345.00 142.00

1,135.00

1. เข่ือนมูลบน นครราชสีมา 2. เข่ือนลําแซะ นครราชสีมา 3. เข่ือนลําตะคอง นครราชสีมา 4. เข่ือนลําพระเพลิง นครราชสีมา 5. เข่ือนจุฬาภรณ ชัยภูมิ 6. เข่ือนน้ําพุง สกลนคร 7. เข่ือนน้ําอูน สกลนคร 8. เข่ือนอุบลรัตน ขอนแกน 9. เข่ือนหวยขวาง อุดรธานี 10. เข่ือนลําปาว กาฬสินธุ 11. เข่ือนลํานางรอง บุรีรัมย 12. เข่ือนสิรินธร อุบลราชธานี รวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

25,910.4 7,259.69 7,673.48 1,566.00 14,717.80

ภาคกลาง 1. เข่ือนทับเสลา อุทัยธานี 2. เข่ือนกระเสียว สุพรรณบุรี 3. เข่ือนศรีนครินทร กาญจนบุรี 4. เข่ือนวชิราลงกรณ กาญจนบุรี 5. เข่ือนทาทุงนา กาญจนบุรี 6. เข่ือนแกงกระจาน เพชรบุรี

534.0

1,324.0 10,880.0 3,720.0

11,428.0 2,210.0

116.93 239.44

4,150.28 5,212.00 3,892.36

928.82

160.00 240.00

17,745.00 8,860.00

54.80 710.00

17.00 40.00

10,275.00 3,012.00

26.00 67.00

143.00 200.00

7,470.00 5,848.00

28.80 643.00

GE253 119

Page 36: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ประจวบคีรีขันธ 7. เข่ือนปราณบุรี 2,029.0 410.53 445.00 785.00

60.00 385.00 *เข่ือนปาสักชลสิทธ์ิ ลพบุรี รวมภาคกลาง 31,125.0 14,949.37 28,999.80 13,497.00 14,717.80 ภาคตะวันออก

130.0 291.0 408.0 45.0

45.57

165.89 212.09 90.70

110.00 71.40

163.75 65.80

10.10 3.00

13.50 15.80

99.90 68.40

150.25 50.00

1. เข่ือนบางพระ ชลบุรี 2. เข่ือนดอกกราย ระยอง 3. เข่ือนหนองปลาไหล ระยอง 4. เข่ือนคีรีธาร จันทบุรี รวมภาคตะวันออก 874.0 514.25 410.95 42.40 368.55

เข่ือน จังหวัด พื้นท่ีรับน้ํา ปริมาณน้ําไหลเขา ความจุท่ีระดับเก็บกัก

ความจุท่ีระดับต่ําสุด

ความจุใชงาน (ตร.กม.) รายปเฉลี่ย,ลาน ลบ.ม. (

(ลาน ลบ.ม.) (ลาน ลบ.ม.) ลาน ลบ.ม.)

ภาคใต 1,435.0 2,080.0

2,501.34 1,425.61

5,640.00 1,404.00

1,440.00

260.00

4,200.00 1,144.00

1. เข่ือนรัชชประภา สุราษฎรธานี 2. เข่ือนบางลาง ยะลา รวมภาคใต 3,515.0 3,926.98 7,044.00 1,700.00 5,344.00

ตารางท่ี 4.9 แผนหลักจํานวนโครงการและความจุเก็บกักการพัฒนาแหลงน้ํา ป 2540 – 2549

ภาคการปกครอง จํานวนโครงการ ความจุเก็บกัก (ลาน ลบ.ม.)

ภาคเหนือ 120 4,193.35 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 132 1,134.65 ภาคกลาง 33 419.11 ภาคตะวันออก 52 3,636.52 ภาคใต 70 3,509.03 รวมท้ังประเทศ 407 12,892.65 ท่ีมา : วีระพล แตสมบัติ, 2542

9. สรุป

GE253 120

Page 37: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

ทรัพยากรนํ้าผิวดินตามธรรมชาติของประเทศไทย โดยเฉล่ียตอปมีประมาณ 209,251 ลานลูกบาศกเมตร เปนน้ําผิวดินในลุมน้ําภาคเหนือ 19 เปอรเซ็นต ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 26 เปอรเซ็นต ลุมน้ําภาคกลาง 12.9 เปอรเซ็นต ลุมน้ําภาคตะวันออก 11.2 เปอรเซ็นต ลุมน้ําภาคใต 30.9 เปอรเซ็นต จากการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อเก็บกักน้ําผิวดินท้ังโครงการขนาดใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก จะมีปริมาณความจุเก็บกักรวมท้ังประเทศประมาณ 70,470 ลานลูกบาศกเมตร หรือประมาณ 34 เปอร เซ็นตของปริมาณน้ําผิวดินตามธรรมชาติ ฉะนั้นหากไมมีการบริหารจัดการน้ําใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมถึงพัฒนาแหลงเก็บกักน้ําเพิ่มเติมใหสอดคลองกับการพัฒนาและการเพ่ิมข้ึนของประชากรแลว ปญหาเร่ืองน้ํานอยหรือการขาดแคลนนํ้าในชวงฤดูแลง จะทวีความรุนแรงข้ึนตามลําดับในทุกภูมิภาคลุมน้ํา จึงควรใหความสําคัญอยางมากกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําผิวดินอยางเปนระบบทั้งประเทศ เพื่อสามารถท่ีจะนําไปใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพ และพอเพียงตอความตองการในดานตาง ๆ รวมถึงมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมนอยท่ีสุด

GE253 121

Page 38: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

แนวขอสอบ จงเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุด 1. ปริมาณนํ้าทาท่ีเกิดจากน้ําฝนเฉล่ียตอปมีสัดสวนรอยละเทาไร? (1) 18.50% (2) 28.75% (3) 35.80% (4) 40.50% 2. ปริมาณนํ้าทาตามธรรมชาติของประเทศไทยระหวางฤดูฝนกับฤดูแลงแตกตางกันเทาไร (1) 80 : 20% (2) 82 : 18% (3) 90 : 10% (4) 92 : 8% 3. ลุมน้ําภาคใดท่ีมีปริมาณนํ้าฝนไหลซึมลงสูแหลงน้ําบาดาลมากท่ีสุด เฉล่ียตอปเทาไร? (1) ลุมน้ําภาคเหนือ (2) ลุมน้ําภาคกลาง (3) ลุมน้ําภาคตะวันออก (4) ลุมน้ําภาคใต 4. ลุมน้ําภาคใดท่ีมีปริมาณนํ้าทาเฉล่ียตอปมากท่ีสุด (1) ลุมน้ําภาคเหนือ (2) ลุมน้ําภาคกลาง (3) ลุมน้ําภาคตะวันออก (4) ลุมน้ําภาคใต 5. ประเภทการใชน้ํากิจกรรมใดท่ีมีปริมาณการใชน้ํามากท่ีสุด? (1) อุปโภคบริโภค (2) อุตสาหกรรมและทองเท่ียว (3) การชลประทาน (4) การผลิตไฟฟา

GE253 122

Page 39: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

เอกสารอางอิง

นพคุณ โสมสิน และอรรถพร พุทธปาลิต. 2546. “การเปล่ียนแปลงศักยภาพน้ําผิวดินของลุมน้ํา

สําคัญในประเทศไทย”. วารสารชมรมนักอุทกวิทยา. 8(7-2546): 137 – 153. เล็ก จินดาสงวน. 2545. “วิกฤตการณน้ําทวมและภัยแลงในประเทศไทย”. วารสารชมรมนักอุทก

วิทยา. 7(6-2546): 127 – 158. วีระพล แตสมบัติ. 2539. “ทรัพยากรน้ําของประเทศไทย”. วารสารชมรมนักอุทกวิทยา. 1(1-2539):

171 – 203. วีระพล แตสมบัติ. 2542. “ทรัพยากรน้ําผิวดินของประเทศไทย”. วารสารชมรมนักอุทกวิทยา. 3(1-

2542): 105 – 128. วจี รามณรงค และสมชัย วงศสวัสดิ์. 2541. “ศักยภาพน้ําบาดาลในประเทศไทย”. วารสารชมรม

นักอุทกวิทยา. 2(2): 240 – 276. วจี รามณรงค และสมชัย วงศสวัสดิ์. 2542. “ทรัพยากรน้ําใตดินในประเทศไทย”. วารสารชมรม

นักอุทกวิทยา. 3(1-2542): 129 – 172. Christopherson, R.W. 2000. Geosystems. 4th ed. Upper Saddle River, New Jersey:

Prentice Hall.

GE253 123

Page 40: (hydrologic cycle) (water resources management system ...old-book.ru.ac.th/e-book/g/GE253(50)/GE253-4.pdf · บททบทที่ี่. 4 . 4. ทรัพยากรน้ํิิวดาผนและน้ําบาดาล.

GE253 124