บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee)...

209

Transcript of บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee)...

Page 1: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ
Page 2: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

บทสรปุผู้บรหิาร

รายงานการศึกษาวิจัยกลยุทธ์การตลาดธุรกิจแฟรนไซส์สู่สากลจัดท าโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือพัฒนาศักยภาพธุรกิจแฟรนไชส์ไทยให้สามารถขยายตลาดสู่ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน การศึกษาประกอบด้วยการวิเคราะห์สถานการณ์ธุรกิจแฟรนไชส์ไทยโดยจัดท าฐานข้อมูลธุรกิจแฟรนไชส์ไทย ประกอบด้วยข้อมูล สถิติ โครงสร้าง ทิศทางและแนวโน้มการเติบโต การวิเคราะห์ส่วนแบ่งตลาด การค้า การลงทุน กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ปัญหาและอุปสรรค โดยศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับธุรกิจแฟรนไชส์ของประเทศสมาชิกอาเซียน ด าเนินการศึกษาโดยใช้การส ารวจ การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ การศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร รายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การประชุมระดมสมอง และการส ารวจตลาดประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน

ธุรกิจแฟรนไชส์ไทยได้รับการพัฒนาและส่งเสริมจากภาครัฐมาอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงระยะเวลาประมาณ 20 ปีที่ผ่านมาเนื่องจากเป็นธุรกิจที่ดีต่อผู้บริโภค ดีต่อการลงทุนและดีต่อผู้ที่ต้องการเป็นเจ้าของธุรกิจ ในประเทศพัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา ระบบธุรกิจแฟรนไชส์มีบทบาทอย่างส าคัญในการขยายธุรกิจสู่ต่างประเทศและเป็นธุรกิจที่น ารายได้เข้าประเทศ

ส าหรับประเทศไทยจากผลการส ารวจพบว่าปี 2556 มีธุรกิจแฟรนไชส์รวมทั้งสิ้น 477 ราย ประกอบด้วยธุรกิจแฟรนไชส์ไทย 452 ราย ธุรกิจแฟรนไชส์ต่างประเทศ 25 ราย มีมูลค่าตลาดปี 2556 รวมประมาณ 184,120 ล้านบาท ธุรกิจแฟรนไชส์ไทยส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดกลางมีการจ้างงานเฉลี่ยรายละ 10-50 คน มีรายไดต้่อรายประมาณ 1-5 ล้านบาทต่อปี

ผลการส ารวจประเภทธรุกจิแฟรนไชสป์ ี2556

เมื่อพิจารณาประเภทธุรกิจพบว่าธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มมีจ านวนมากผู้ประกอบการมากที่สุด รองลงมาเป็นธุรกิจบริการ ธุรกิจการศึกษา ธุรกิจค้าปลีก และธุรกิจความงามและสปาตามล าดับ ส่วนใหญ่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลในรูปบริษัทจ ากัด มีจ านวนสาขารวมกันทั้งสิ้น 42,681 สาขา ผู้ประกอบส่วนใหญ่มีจ านวนสาขา 11-50 สาขา การลงทุนต่อสาขามีมูลค่าต่ ากว่า 100,000 บาท ส่วนใหญ่เก็บค่าธรรมเนียมแรก

Page 3: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ (Royalty fee) ตามอัตราร้อยละของยอดขายในอัตราที่ต่ ากว่าร้อยละ 10 มีการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาร้อยละ 71.4 ของจ านวนผู้ประกอบการทั้งหมด

โครงสรา้งสาขาธรุกจิแฟรนไชสป์ ี2556

ธุรกิจแฟรนไชส์มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประเมินว่ามูลค่าตลาดจะขยายตัวร้อยละ 20-30 ต่อปีเนื่องจากเศรษฐกิจในประเทศเติบโตต่อเนื่องส่งผลให้ก าลังซื้อของผู้บริโภคขยายตัว ประกอบกับ มีผู้ต้องการลงทุนธุรกิจแฟรนไชส์เพ่ิมขึ้น ประมาณการณ์ว่ามีนักลงทุนที่สนใจลงทุนธรกิจแฟรนไชส์ที่มีมาตรฐานไม่น้อยกว่า 40,000 ราย/ปี และคาดว่าจะมีนักธุรกิจที่พัฒนาธุรกิจสู่ระบบแฟรนไชส์เพ่ิมขึ้นไม่น้อยกว่า 60 ราย ในปี 2556

ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นส่วนหนึ่งของการเปิดเสรีการค้าบริการ (Trade in Service Liberlization) ซึ่งกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศได้ร่วมเจรจาตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) โดยการเปิดเสรีการค้าบริการแบ่งออกเป็น 2 องค์ประกอบส าคัญ องค์ประกอบแรกว่าด้วยการผูกพันการเปิดตลาด (Commitment to Market Access) องค์ประกอบที่ 2 ว่าด้วยการผูกพันการไม่เลือกปฎิบัติ (Commitment to Non-discriment) ซึ่งประกอบด้วยการให้การปฎิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่ง (Most Favored Nation: MFN) และการให้การปฎิบัติเยี่ยงชาติ (National Treatment) โดยมีรูปแบบการให้บริการ 4 รูปแบบ ประกอบด้วย รูปแบบที่ 1 การให้บริการข้ามพรมแดน (Cross –border Supply) รูปแบบที่ 2 การเดินทางไปใช้บริการในต่างประเทศ (Consumption Aboard) รูปแบบที่ 3 การจัดตั้ งธุรกิจ (Commercial Presences) รูปแบบที่ 4 การเคลื่อนย้ายบุคลากรวิชาชีพ (Movement of Natural Persons)

ผลการศึกษาพบว่าประเทศสมาชิกอาเซียนผูกพันการเปิดเสรีแตกต่างกันทั้งการเข้าสู่ตลาดและการไม่เลือกปฎิบัติ บรูไน อินโดนีเซีย เมียนมาร์ ไม่ผูกพันการเปิดเสรีธุรกิจแฟรนไซส์ทุกรูปแบบ สปป.ลาวผูกพันการเปิดเสรีธุรกิจแฟรนไชส์เฉพาะสาขาสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า โดยมีเงื่อนไขด้านการถือหุ้นของ

ประเภทธรุกจิ จ านวน (สาขา)

อาหารและเครื่องดืม่ 16,207 การศึกษา 1,688 บริการ 8,122 ค้าปลีก 8,268 สปาและความงาม 3,527 อื่นๆ 116 รวม 40,930

Page 4: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ชาวต่างชาติ มาเลเซียผูกพันการเปิดเสรีธุรกิจแฟรนไชส์รูปแบบที่ 1-3โดยมีเงื่อนไขส าคัญ 9 ประการ ฟิลิปปินส์ผูกพันการเปิดเสรีในรูปแบบที่ 1-3 โดยมีเงื่อนไขส าคัญ 3 ประการ สิงคโปร์ผูกพันการเปิดเสรีรูปแบบที่ 1-3 โดยมีเงื่อนไขส าคัญ 3 ประการ เวียดนามผูกพันการเปิดเสรีในรูปแบบที่ 1-3 โดยมีเงื่อนไขส าคัญ 3 ประการ ทั้งนี้ประเทศสมาชิกอาเซียนไม่เปิดเสรีในรูปแบบที่ 4 แต่บางประเทศมีการยกเว้นให้มีการโอนย้ายบุคลากรระหว่างบริษัทข้ามชาติในระดับผู้บริหาร ผู้จัดการ และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ประเทศที่การผูกพันการเปิดเสรีธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มในรูปแบบที่ 3 โดยเปิดให้ผู้ให้บริการสามารถจัดตั้งธุรกิจในประเทศได้ประกอบด้วย กัมพูชา มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม

ตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคประเทศสมาชิกอาเซียนมีส่วนส าคัญต่อการก าหนดกลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดของผู้ประกอบการไทย การศึกษาตลาดประเทศสมาชิกอาเซียนโดยพิจารณาจากขนาดเศรษฐกิจ รายได้อประชากรต่อหัว กลุ่มตลาดเป้าหมาย รสนิยม วัฒนธรรม และคู่แข่งในตลาดและผู้ประกอบการธุรกิจแฟรนไชส์ที่มีอยู่เดิมพบว่าก าลังซื้อของผู้บริโภคในตลาดของประเทศสมาชิกอาเซียนมีความแตกต่างกันมากโดยประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดคือประเทศอินโดนีเซียประเทศมีมีขนาดเศรษฐกิจเล็กที่สุดคือประเทศ สปป.ลาว โดยเศรษฐกิจของประเทศอินโดนีเซียมีขนาดโตกว่าประเทศสปป.ลาวถึง 94 เท่า ในแง่รายได้ประชากรต่อหัวพบว่า ประเทศสิงคโปร์มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงสุด เมียนมาร์มีรายได้ประชากรต่อหัวต่ าสุด เมื่อพิจารณากลุ่มเป้าหมายของธุรกิจแฟรนไชส์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มประชากรเมืองพบว่าประเทศสมาชิกอาเซียนมีประชากรอาศัยในเมืองค่อนข้างมากโดยประชากรประเทศสิงคโปร์อาศัยอยู่ในเมืองทั้งหมด อินโดนีเซียประชากรอาศัยอยู่ในเมืองร้อยละ 44 มาเลเซียมีประชากรอาศัยอยู่ในเมืองร้อยละ 72 ขณะที่กัมพูชา เมียนมาร์ สปป.ลาว แม้อัตราส่วนของประชากรที่อาศัยในเมืองไม่สูงมากนัก แต่เมืองหลวงและเมืองเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้เป็นแหล่งรองรับนักท่องเที่ยวจึงเป็นโอกาสในการขยายตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์ได้

เมื่อพิจารณารสนิยมของผู้บริโภคพบว่าผู้บริโภคในประเทศสมาชิกอาเซียนมีแนวโน้มยอมรับสิ่งใหม่และยอมรับวัฒนธรรมการบริโภคแบบตะวันตกมากขึ้น ส่งผลให้ธุรกิจแฟรนไชส์อาหารและเครื่องดื่มมีโอกาสเติบโตขยายตลาดได้ อย่างไรก็ตามตลาดของประเทศสมาชิกอาเซียนส่วนใหญ่มีการแข่งขันที่เข้มข้นเนื่องจากมีแฟรนไชส์จากต่างประเทศ (International Franchise) ที่มีชื่อเสียงและแฟรนไชส์ที่มีอยู่ภายในของแต่ละประเทศ (Local Franchise) ครองตลาดอยู่แล้ว ตลาดประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ มีการแข่งขันสูง ขณะที่ตลาดเมียนมาร์ สปป.ลาว การแข่งขันยังไม่สูงมากนัก ตลาดประเทศกัมพูชาการแข่งขันมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

กฎหมายมีความส าคัญต่อการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์เนื่องจากการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ผู้ซื้อและผู้ขายแฟรนไชส์ต้องมีปฎิสัมพันธ์กันภายใต้สัญญา เมื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกฎหมายการประกอบธุรกิจ แฟรนไชส์พบว่าสามารถแบ่งประเทศสมาชิกอาเซียนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นประเทศท่ีมีกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์เป็นการเฉพาะ ประกอบด้วย มาเลเซีย อินโดนีเซียและเวียดนาม กลุ่มที่ 2 เป็นประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไม่มีการตรากฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์เป็นการเฉพาะประกอบด้วย

Page 5: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

7 ประเทศประกอบด้วย ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เมียนมาร์ สปป.ลาว กัมพูชา บรูไน การประกอบธุรกิจแฟรนไชส์เกี่ยวข้องกับกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาประกอบด้วยกฎหมายชื่อทางการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายร่วม และกฎหมายความลับทางการค้า

เมื่อพิจารณากฎหมายการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ กรณีของประเทศมาเลเซียมีองค์ประกอบคือนิยามของธุรกิจแฟรนไชส์ ข้อก าหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายแฟรนไชส์ ก าหนดการจดทะเบียนแฟรนไชส์ แบบสัญญาแฟรนไชส์ สิทธิและหน้าที่คู่สัญญา บทก าหนดโทษ กรณีประเทศที่ไม่มีกฎหมายธุรกิจแฟรนไชส์เป็นการเฉพาะจะน ากฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจ แฟรนไชส์ ในส่วนกฎหมายเกี่ยวกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญานั้นประเทศเมียนมาร์ประเทศเดียวที่ไม่มีกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้าโดยตรง ส่วนประเทศอ่ืนๆมีกฎหมายเครื่องหมายการค้าโดยตรงโดยใช้ระบบจดทะเบียน

ธุรกิจแฟรนไชส์ประเภทอาหารและเครื่องดื่มมีโอกาสเติบโตมากที่สุดแต่ผู้ประกอบไทยต้องปรับ กลยุทธ์ธุรกิจให้เหมาะสมกับบริบทของตลาดแต่ละประเทศ รวมทั้งต้องมีความรู้ ความเข้าใจมาตรฐานคุณภาพของแต่ละประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรฐานฮาลาลส าหรับประเทศที่ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นมุสลิม รวมทั้งต้องมีการความรู้ ความเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ กฎเกณฑ์การน าเข้าและส่งออกของแต่ละประเทศ รวมทั้งต้องมีความรู้และความเข้าใจเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของประเทศที่ต้องการขยายธุรกิจเข้าไปเป็นอย่างดี

เพ่ือให้แฟรนไชส์ไทยสามารถขยายตลาดสู่ประเทศสมาชิกอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเร่งพัฒนาศักยภาพธุรกิจแฟรนไชส์ให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ควรเร่งด าเนินการตรากฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ให้มีผลบังคับโดยเร็ว พัฒนามาตรฐานแฟรนไชส์อย่างต่อเนื่อง จัดฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมการขยายธุรกิจแฟรนไชส์ไปต่างประเทศครอบคลุมด้านรู้ด้านการตลาด การบริหารจัดการ รวมทั้งการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย และวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดตั้งศูนย์ให้ค าปรึกษาด้านกฎหมายการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ในต่างประเทศ กระตุ้นให้ผู้ประกอบการให้ความส าคัญกับกฎหมายทรัพย์สินทรงปัญญา ด้านผู้ประกอบการควรร่วมพัฒนาการรวมตัวให้เข้มแข็งเป็นเอกภาพเป็นหนึ่งเดียว เพ่ือร่วมด าเนินกิจกรรมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ในการขยายธุรกิจไปต่างประเทศ

Page 6: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ค ำน ำ

ธุรกิจแฟรนไชส์มีควำมส ำคัญต่อเศรษฐกิจไทยมำกยิ่งขึ้นทั้งมิติในกำรสร้ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจและมิติที่เป็นทำงเลือกในกำรเสนอขำยสินค้ำและบริกำรที่มีคุณภำพและมีมำตรฐำนให้แก่ผู้บริโภค ธุรกิจแฟรนไชส์ไทยได้รับกำรพัฒนำและผ่ำนกำรเปลี่ยนแปลงมำอย่ำงต่อเนื่องตลอดระยะเวลำประมำณ 20 ปีที่ผ่ำนมำมี แฟรนไชส์ที่ต้องปิดกิจกำรลงเพรำะไม่สำมำรถแข่งขันได้ขณะเดียวกันก็มีแฟรนไชส์ใหม่เข้ำสู่ตลำดส่งผลให้ธุรกิจแฟรนไชส์มีพลวัตรสูงเนื่องจำกได้รับอิทธิพลจำกภำวะเศรษฐกิจทั้งจำกภำยในประเทศและต่ำงประเทศ

ประเทศไทยและประเทศสมำชิกอำเซียนอ่ืนๆ 9 ประเทศก ำลังเตรียมควำมพร้อมเพ่ือก้ำวสู่ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียนอย่ำงเต็มรูปแบบในปี 2558 ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นหนึ่งในธุรกิจบริกำรที่อยู่ภำยใต้กำรเปิดเสรีกำรค้ำบริกำรตำมกรอบ AFAS ซึ่งจะเป็นทั้งโอกำสและควำมท้ำทำยใหม่ที่ผู้ประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ไทยต้องเร่งปรับตัวเพ่ือรองรับกำรเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึน

กำรเตรียมพร้อมทั้งด้ำนควำมรู้ ข้อมูล และทักษะด้ำนกำรบริหำรจัดกำรธุรกิจมีควำมจ ำเป็นอย่ำงยิ่งในบริบทกำรเปลี่ยนแปลงที่ก ำลังจะเกิดขึ้น ผู้ประกอบกำรธุรกิจแฟรนไชส์ไม่เพียงต้องรู้และประเมินศักยภำพตนเองอย่ำงถูกต้องเท่ำนั้น แต่ยังจ ำเป็นต้องรู้มิติระหว่ำงประเทศด้วยโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรรู้และเข้ำใจประเทศเพ่ือนบ้ำนอำเซียน ทั้งมิติด้ำนเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมเพ่ือให้สำมำรถก ำหนดกลยุทธ์ธุรกิจได้อย่ำงแยบยลเพ่ือบรรลุเป้ำหมำยทำงธุรกิจให้ได้ หน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้องก็ต้องพัฒนำและให้กำรสนับสนุนธุรกิจแฟรนไชส์ให้ถูกต้อง ตรงปัญหำและควำมต้องกำร มีควำมเป็นเอกภำพเพ่ือให้แฟรนไชส์ไทยสำมำรถยืนหยัดและก้ำวสู่สำกลได้อย่ำงยั่งยืน

สถำบันระหว่ำงประเทศเพ่ือกำรค้ำและกำรพัฒนำ(องค์กำรมหำชน)ได้รับมอบหมำยจำกกรมพัฒนำธุรกิจกำรค้ำ กระทรวงพำณิชย์ให้ด ำเนินโครงกำรพัฒนำกลยุทธ์กำรตลำดธุรกิจแฟรนไชส์ไทยสู่สำกลภำยใต้โครงกำรพัฒนำและสร้ำงโอกำสทำงกำรตลำดธุรกิจแฟรนไชส์ กิจกรรมหลักของโครงกำรประกอบด้วยกำรจัดท ำและวิเครำะห์ฐำนข้อมูลธุรกิจแฟรนไชส์ไทย กำรฝึกอบรมผู้ประกอบกำรธุรกิจแฟรนไชส์ไทยด้ำนกลยุทธ์กำรขยำยธุรกิจสู่ต่ำงประเทศ กำรให้ค ำปรึกษำแก่ผู้ประกอบกำรธุรกิจแฟรนไชส์ให้ขยำยตลำดสู่ต่ำงประเทศ กำรศึกษำวิเครำะห์ธุรกิจแฟรนไชส์ ตลำด กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ของประเทศสมำชิกอำเซียน รวมทั้งจัดกิจกรรมจับคู่ธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศเกำหลีใต้ มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และสปป.ลำว กิจรรมทั้งหมดด ำเนินกำรช่วงเดือนมกรำคม – กรกฏำคม 2556

รำยงำนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของกำรด ำเนินงำนตำมโครงกำรกำรพัฒนำกลยุทธ์กำรตลำดธุรกิจแฟรนไชส์สู่สำกลภำยใต้โครงกำรพัฒนำและสร้ำงโอกำสทำงกำรตลำดธุรกิจแฟรนไชส์ องค์ประกอบของรำยงำนประกอบด้วย 4 ส่วน ส่วนแรกเป็นผลกำรจัดท ำและวิเครำะห์ธุรกิจแฟรนไชส์ไทยซึ่งได้ชี้ให้เห็นสถำนะของผู้ประกอบกำรธุรกิจแฟรนไชส์ทั้งมิติด้ำนกำรลงทุน กำรประกอบกำร และกำรตลำด ส่วนที่ 2 เป็นข้อมูลธุรกิจแฟรนไชส์อำเซียนที่ใด้ชี้ให้เห็นสถำวะตลำด กำรแข่งขันของตลำดภำยในประเทศในของประเทอำเซียน ส่วนที่ 3 เป็นผลกำรศึกษำวิเครำะห์กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจแฟรนไชส์ทั้งกฎหมำยที่เกี่ ยวข้องกับธุรกิจ

Page 7: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

แฟรนไชส์โดยเฉพำะ กฎหมำยทรัพย์สินทำงปัญญำที่เกี่ยวข้องกับกำรประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ ส่วนที่ 4 แนวทำงกำรพัฒนำธุรกิจแฟรนไชส์ไทยเข้ำสู่ตลำดอำเซียน

คณะที่ปรึกษำหวังว่ำรำยงำนฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำธุรกิจแฟรนไชส์ไทยให้มีควำมสำมำรถในกำรแข่งขันอย่ำงยั่งยืนในอนำคต คณะวิจัยขอขอบพระคุณเจ้ำหน้ำที่กรมพัฒนำธุรกิจกำรค้ำทุกท่ำนที่ได้ให้ควำมอนุเครำะห์ช่วยเหลือด้วยดีจนส่งผลให้กำรด ำเนินกำรโครงกำรดังกล่ำวนี้เสร็จสิ้นลงด้วยดี ขอขอบพระคุณผู้ประกอบกำรธุรกิจแฟรนไชส์ที่เข้ำร่วมกิจกรรมทุกท่ำนทั้งกิจกรรมกำรฝึกอบรมเชิงปฎิบัติกำร กิจกรรมจับคู่ธุรกิจในต่ำงประเทศ และกำรประชุมระดมสมองรับฟังควำมคิดเห็นเพ่ือก ำหนดแนวทำง กำรพัฒนำธุรกิจแฟรนไชส์ไทยสู่สำกลซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกำรด ำเนินงำนของโครงกำร หำกรำยงำนวิจัยฉบับนี้มีข้อพกพร่องผิดพลำด คณะที่รึกษำขออภัยอย่ำงสูงและยินดีน้อมรับควำมคิดเห็น

คณะที่ปรึกษำ

กรกฎำคม 2556

Page 8: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานฉบับสมบูรณ

รายงานวิจัย

การพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส

ป 2556

เสนอ

คณะกรรมการดําเนินการจางท่ีปรึกษาฯ

กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย

โดย

สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา

(องคการมหาชน)

9 กรกฎาคม 2556

Page 9: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

รายงานฉบับสมบูรณ รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556 เสนอ

คณะกรรมการจัดจางท่ีปรึกษาฯ กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย

โดย สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

-------------------------------- คณะนกัวจิยั

หัวหนาโครงการวิจัย ดร.วัชรัศม์ิ ลีละวัฒน รองผูอํานวยการ (วิชาการ) สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการ

มหาชน)

1. รองศาสตราจารย ดร.ชนินทร มีโภคี

คณะทํางาน

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2. รองศาสตราจารย วิทวัส รุงเรืองผล

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3. ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

4. นายวิมล ปนคง

หัวหนาสวนงานวิจัย สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

5. นายภานุมาส เทพทอง

หัวหนาสวนงานวิจัย สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

6. นางสาวจิราวดี รัตนไพฑูรยชัย

นักวิจัย สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

7. นายเอกภทัร ลกัษณะคํา

นักวิจัย สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

Page 10: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

8. นายนันทวุฒิ นุนสพ

เจาหนาท่ีบริหารงานสถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

9. นายเพ่ิมวิทย สุขโสตร

เจาหนาท่ีฝกอบรม สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

10. นายสมาน นนทสิทธิชัย

เจาหนาท่ีบุคลากร สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

11. นายทวีพูล ศรีหงส

นักวิจัยรวม สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

12. นางสาวนิศาชล โรจนสัตตรัตน

นักวิจัยรวม สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน)

13. นายพีรพงษ ตรีชะฎา

นักวิจัยอิสระ

14. นายธันยบูรณ ดีสมสุข

สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

15. นายวิชยุทตม ทัพชัย

สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

16. นายสิริกาญจน เชิดชู

สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

17. นายปรวี หะรีเมา

สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

18. นายกัมพล เหลาพงศสวัสดิ์

สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 11: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

สารบญั

หนา

บทท่ี 1 ขอมูลพ้ืนฐานของธุรกิจแฟรนไชสไทย ....................................................................................... 1

1.1 สรุปสภาวะตลาดแฟรนไชสของไทยป 2555-2556 ...................................................................... 2 1.2 บทวิเคราะหปจจัยในการเติบโตของธุรกิจแฟรนไชส ..................................................................... 3 1.3 ผลการสํารวจฐานขอมูลผูประกอบการแฟรนไชส ......................................................................... 5

บทท่ี 2 ขอมูลธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียน ............................................................................................. 13

2.1 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน ................................................ 13 2.1.1 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศบรูไน ........................... 13 2.1.2 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศกัมพูชา ........................ 13 2.1.3 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศอินโดนีเซีย ................... 15 2.1.4 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศ สปป.ลาว .................... 16 2.1.5 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศมาเลเซีย ...................... 17 2.1.6 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศเมียนมาร ..................... 19 2.1.7 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศฟลิปปนส ..................... 20 2.1.8 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศสิงคโปร ........................ 22 2.1.9 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศเวียดนาม ..................... 23

2.2 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียน ....................................................................................... 25 2.2.1 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศบรูไนในกรอบอาเซียน ...................................... 27 2.2.2 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศกัมพูชาในกรอบอาเซียน ................................... 27 2.2.3 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของอินโดนีเซียในกรอบอาเซียน ........................................... 28 2.2.4 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศลาวในกรอบอาเซียน ........................................ 28 2.2.5 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศมาเลเซียในกรอบอาเซียน ................................. 28 2.2.6 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศเมียนมารในกรอบอาเซียน ................................ 29 2.2.7 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศฟลิปปนสในกรอบอาเซียน ................................ 29 2.2.8 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศสิงคโปรในกรอบอาเซียน .................................. 30 2.2.9 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศเวียดนามในกรอบอาเซียน ................................ 30

บทท่ี 3 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศสมาชิกอาเซียน .............................. 32

3.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศบรูไน .............................................. 32 3.1.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 32 3.1.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ...................... 33

3.2 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศกัมพูชา ........................................... 34 3.2.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 34 3.2.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ...................... 35

Page 12: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

สารบญั(ตอ)

หนา

3.3 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศอินโดนีเซีย ........................................ 36 3.3.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 36 3.3.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชส .......................................... 40

3.4 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศลาว ................................................ 41 3.4.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 41 3.4.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ...................... 41

3.5 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศมาเลเซีย ........................................... 42 3.5.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 42 3.5.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชส .......................................... 46

3.6 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ........................... 48 3.6.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 48 3.6.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ...................... 49

3.7 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศฟลิปปนส ..................................... 51 3.7.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 51 3.7.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ...................... 54

3.8 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศสิงคโปร .......................................... 56 3.8.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 56 3.8.2. กฎหมายภายในที่เก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส .......................................... 57 3.8.3 กฎหมายภายในท่ีสงผลกระทบตอธุรกิจแฟรนไชส ......................................................... 57

3.9 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศไทย ................................................... 61 3.9.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ............................................................... 61 3.9.2 ขอจํากัดของการประกอบธุรกิจแฟรนไชสภายใตกฎหมายไทย ....................................... 62 3.9.3 แนวทางในการแกไขปญหา ............................................................................................ 63

3.10 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศเวียดนาม ...................................... 64 3.10.1 กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส............................................................. 64 3.10.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส .................... 65

บทท่ี 4 แนวทางการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสของไทยในการเขาสูตลาดอาเซียน ..................................... 68

4.1 ปญหา อุปสรรคของการทําธุรกิจแฟรนไชสในกลุมประเทศอาเซียน .......................................... 68 4.1.1 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภค ..................................................... 68 4.1.2 การเปดเสรีของธุรกิจแฟรนไชส...................................................................................... 71 4.1.3 กฎหมายท่ีเก่ียวกับการประกอบการแฟรนไชส .............................................................. 71

Page 13: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

สารบญั(ตอ)

หนา

4.2 ปญหาและอุปสรรคของการทําธุรกิจแฟรนไชสในประเทศสมาชิกอาเซียน ............................. 82

4.2.1 ปญหาและอุปสรรคของผูประกอบการ........................................................................... 82 4.2.2 ปญหาและอุปสรรคของการสงเสริมธุรกิจแฟรนไชสไทย ................................................ 82 4.2.3 ปญหาและอุปสรรคของการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสของไทยในประเทศสมาชิก

อาเซียนตางๆ ............................................................................................................... 83 4.3 แนวทางการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสของไทยในการเขาสูตลาดอาเซียน .................................. 99

บรรรณานุกรม ................................................................................................................................... 103 ภาคผนวก ................................................................................................................................................

ภาคผนวก ก รายชื่อแฟรนไชสระหวางประเทศดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประกอบการในAEC..… 108 ภาคผนวก ข รายชื่อแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประกอบการใน AEC………………………….112 ภาคผนวก ค ตัวอยางสัญญา…………………………………………………………………………………….…………..131 ภาคผนวก ง การสํารวจฐานขอมูลผูประกอบการแฟรนไชสมีรายละเอียดของการสํารวจ ฐานขอมูลท่ีดําเนินการในการสงรายงานความคืบหนาครั้งท่ี 2….................................192

- การสํารวจฐานขอมูลผูประกอบการแฟรนไชสเพ่ิมเติมจากแหลงขอมูลทุติยภูมิตางๆ

Page 14: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

สารบัญตาราง

หนา

ตารางท่ี 2.1 จํานวนรานท่ีใหบริการอาหารและเครื่องดื่ม ป 2008 .................................................. 15 ตารางท่ี 2.2 แสดงสัดสวนมูลคาการตลาดจําแนกตามชื่อผลิตภัณฑ ................................................. 16 ตารางท่ี 2.3 สวนแบงตลาดของธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่ม จําแนกตามประเภทบริการ .. 20 ตารางท่ี 2.4 สวนแบงตลาดในธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่มฟลิปปนส ................................ 21 ตารางท่ี 4.1 ขนาดเศรษฐกิจและจํานวนประชากรของกลุมประเทศอาเซียน ................................... 73 ตารางท่ี 4.2 จํานวนประชากรในเมืองของกลุมประเทศอาเซียน ...................................................... 73 ตารางท่ี 4.3 สภาพธุรกิจแฟรนไชสไทยและธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียนโดยเปรียบเทียบ .................. 74 ตารางท่ี 4.4 สรุปประเด็นปญหาและอุปสรรคสําหรับการประกอบการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่ม

ในประเทศอาเซียนตางๆ ............................................................................................. 95

Page 15: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

บทที่ 1

ขอมูลพ้ืนฐานของธุรกิจแฟรนไชสไทย

ในปจจุบันธุรกิจแฟรนไชสนั้นถือเปนหนึ่งในสาขาธุรกิจท่ีสําคัญท่ีมีการเติบโตอยางรวดเร็วใน

ประเทศ เนื่องจากเปนสาขาธุรกิจท่ีสามารถสรางมูลคาทางเศรษฐกิจ และชวยใหธุรกิจสามารถพัฒนาและขยายธุรกิจไดอยางรวดเร็ว ท้ังยังสามารถลดขอจํากัด และสรางความไดเปรียบในดานแหลงทุนและบุคลากรท่ีจะมารวมสรางความเจริญเติบโตใหกับองคกรและสรางผูประกอบการรายใหมใหมีโอกาสประสบความสําเร็จมากกวา และเร็วกวาการเริ่มตนธุรกิจดวยตนเองอีกดวย จากสถิติการประกอบธุรกิจแฟรนไชสไทย พบวา ปจจุบันธุรกิจแฟรนไชส 0

1ในประเทศไทยนั้นมีสาขาธุรกิจแฟรนไชสไทยจํานวนมากถึง 67 ,269 สาขา คิดเปนมูลคาการลงทุน 285 ,677,258 บาท 1

2 สวนใหญประกอบดวยธุรกิจอาหาร (รอยละ 21.17) เครื่องดื่มและไอศกรีม (รอยละ 19.12) และธุรกิจบริการ (รอยละ 10.59) ซ่ึงเปนธุรกิจท่ีไทยมีศักยภาพ

กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เปนหนวยงานรัฐซ่ึงมีภารกิจสําคัญในการสงเสริมการพัฒนาธุรกิจใหมีความเขมแข็งสามารถแขงขันไดสําหรับธุรกิจเปาหมายท่ีมีความสําคัญตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ก็ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญ และใหการสงเสริมการพัฒนาศักยภาพของธุรกิจแฟรนไชสไทยมาอยางตอเนื่องมาระยะหนึ่งแลว โดยเฉพาะการสงเสริมเพ่ือใหเกิดการพัฒนา มาตรฐานการขยายตลาดธุรกิจแฟรนไชสไปยังตลาดตางประเทศ โดยเฉพาะตลาดอาเซียน ท้ังนี้เพ่ือมุงเนนใหการสงเสริมการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสไทยซ่ึงเปนหนึ่งในสาขาบริการท่ีมีการเชื่อมโยงและอยูภายใตความตกลงวาดวยบริการของอาเซียน (AFAS: Asean Framework Agreement on Services) ใหมีศักยภาพ เขมแข็ง สามารถขยายตลาดสูสากลได และเพ่ือรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางการคาและการแขงขันท่ีจะมีความรุนแรงมากข้ึนได ท้ังจากการเปดเสรีในกรอบอาเซียน และการรวมตัวกันเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC) อยางสมบูรณในป 2015

อยางไรก็ตามเนื่องจากแฟรนไชส แตละประเภท อาจไมไดเหมาะสมกับผูซ้ือสิทธิ หรือผูรับสิทธิ (Franchisee) ทุกราย จึงจําเปนตองมีความรูความเขาใจบริบทของตลาด หรือไมไดมีความเหมาะสมกับพ้ืนท่ีทุกพ้ืนท่ี หรือตลาดทุกตลาด ซ่ึงนอกจากผูประกอบการจะตองเผชิญกับกลุมเปาหมายท่ีแตกตางกันแลว ยังตองเผชิญการแขงขันกับธุรกิจแฟรนไชสทองถ่ิน และสภาพความหลากหลายของตลาดท่ีมีความแตกตางกันอยางมาก ท้ังในดานขนาดเศรษฐกิจ รายไดของประชากร พฤติกรรมผูบริโภค รวมท้ังกฎระเบียบในการดําเนินธุรกิจแฟรนไชสแตละตลาดดวย

1 นิยามธุรกิจแฟรนส ตามราง พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจแฟรนไชส พ.ศ......ในมาตรา 4 กําหนดความหมาย “ธุรกิจ แฟรนไชส” ดังน้ี คือ

(1) การประกอบธุรกิจท่ีบุคคลหน่ึงเรียกวา “แฟรนไชสซอร ” ตกลงใหบุคคลอีกคนหน่ึงเรียกวา “แฟรนไชสซี ” ประกอบธุรกิจโดยใชรูปแบบ ระบบ ข้ันตอนและสิทธิในทรัพยสินทางปญญาของตน หรือท่ีตนมีสิทธิท่ีจะใหผูอ่ืนใชเพ่ือประกอบธุรกิจภายในระยะเวลาหรือเขต พ้ืนท่ีท่ีกําหนด และการประกอบธุรกิจน้ันอยูภายใตการสงเสริม และควบคุมตามแผนการดําเนินธุรกิจของแฟรนไชสซอร และแฟรนไชสซีมีหนาท่ีตองจายคาตอบแทนแกแฟรนไชสซอร

(2) และ (2) การประกอบธุรกิจอ่ืนตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง โดยท่ี “แฟรนไชสซอร” หมายความวา ผูใหสิทธิในการประกอบธุรกิจ และ“แฟรนไชสซ”ี หมายความวา ผูรับสิทธิในการประกอบธุรกิจ

2 “สถิติธุรกิจแฟรนไชสไทย”. [online] สืบคนวันท่ี 6 พ.ย.2555 เขาถึงไดจาก http://www.thaifranchisecenter.com/franchise_stats.php

Page 16: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 2 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

การศึกษาการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากลภายใตโครงการพัฒนาและสราง

โอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556 เพ่ือสงเสริมการพัฒนาตลาดธุรกิจแฟรนไชสไปยังตลาด

ตางประเทศนี้ จึงมีความสําคัญอยางยิ่งตอการสรางองคความรูความเขาใจ และฐานขอมูลท่ีจําเปนสําหรับ

การตัดสินใจหรือกําหนดยุทธศาสตรในการแขงขัน ท้ังยังจะเปนขอมูลท่ีสําคัญสําหรับหนวยงานท่ีเก่ียวของ

ของไทยในการสนับสนุนการขยายฐานการคาการลงทุนของไทยใหเปนไปอยางเหมาะสม สอดคลองกับ

สถานการณเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในหมูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตอไป

1.1 สรุปสภาวะตลาดแฟรนไชสป 2555-2556

จากการสํารวจ ธุรกิจแฟรนไชส พบวาจํานวนธุรกิจในระบบแฟรนไชสมีท้ังสิ้น 477 ราย เปนธุรกิจ แฟรนไชสไทย 452 ราย และแฟรนไชสตางประเทศ 25 ราย ประมาณ การณวามีผูสนใจ ซ้ือสิทธิประกอบธุรกิจโดยประเมิน ลงทุนจากปจจัยความพรอมดานบุคคลและความพรอม ดานเงินลงทุนในธุรกิจไมนอยกวา 30,000 ราย ความสําเร็จในการลงทุนประกอบธุรกิจแฟรนไชสข้ึนอยูกับหลายปจจัยท้ังความพรอมของบุคลากร เงินทุน และทักษะดานการจัดการและการเจรจา และถาหากกลุมผูประกอบการรายใหมเหลานี้ไมสามารถเลือกลงทุนไดถูกตอง ก็เรียกไดวาโอกาสการสรางนักธุรกิจดานนี้ถูกผลกระทบโดยตรง และตองหามาตราการแกไขอยางเรงดวน ในป 2555 ระบบธุรกิจแฟรนไชสยังมีมูลคาตลาดอยูท่ีประมาณ 184,120 ลานบาท เพ่ิมข้ึนจากใกลเคียงกับมูลคาธุรกิจในป 2552 ท่ี มีขนาดของตลาดประมาณ 160,000 - 170,000 ลานบาท2

3 ปจจุบันสามารถแบงธุรกิจแฟรนไชสของประเทศไทยไดเปน 5 ประเภท มีผูประกอบการจํานวนท้ังสิ้น 477 ราย โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม มีจํานวน 238 ราย 2. ธุรกิจบริการ มีจํานวน 78 ราย 3. ความงามและสปา มีจํานวน 49 ราย 4. ธุรกิจคาปลีก มี จํานวน 51 ราย 5. ธุรกิจการศึกษา มีจํานวน 61 ราย

จากการวิเคราะหขอมูล พบวา ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม มีจํานวนผูประกอบการมากสุด และธุรกิจท่ีมีแนวโนมการเติบโตในเชิงปริมาณผูประกอบการเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ คือ ธุรกิจการศึกษา ปจจุบัน มูลคาลงทุนเฉลี่ยรวมทุกประเภทในธุรกิจแฟรนไชสมีมูลคาการลงทุนข้ันตนประมาณ 850,000 บาท ตอ 1 ธุรกิจ จะสังเกตไดวา มูลคาการลงทุนตอธุรกิจเพ่ิมสูงข้ึนเกือบเทาตัว เม่ือเทียบกับการลงทุนเฉลี่ยในป 2552 ซ่ึงมีงบประมาณการลงทุนอยูท่ี 350 ,000 บาท ขอสังเกตจากการท่ีมี มูลคาการลงทุนสูงข้ึน ชี้ใหเห็นวา สําหรับคาบริหารจัดการหรือท่ีเรียกวาคา "รอยัลตี้ ( Royalty Fee)" นั้นจะมีคาเฉลี่ยอยูท่ีประมาณรอยละ 3 - 5 ของรายได นักลงทุนเลือกลงทุนในธุรกิจแฟรนไชสมีมาตรฐานสูงข้ึน ท้ังนี้มีการใหอนุญาตเปนสัญญา เปนระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 5 ป และมีแนวโนมการใหระยะเวลาสัญญายาวนานเพ่ิมข้ึนตอเนื่อง

3 พีระพงษ กิติเวชโภคาวัฒน อางอิงจาก www.thaifranchisecenter.com

Page 17: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 3 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

สําหรับการคาดการณในป พ.ศ. 2556 มีแนวโนมท่ีจะมี จํานวนนักลงทุนเพ่ิมข้ึนประมาณ รอยละ 30 และจะมีนักลงทุนที่สนใจในระบบแฟรนไชสท่ีมี มาตรฐาน ไมนอยกวา 40,000 ราย การสนใจของนักลงทุนกลุมใหมท่ีเขามาลงทุนในธุรกิจเพ่ิมข้ึน จะสงผลทําใหธุรกิจภาพรวมมีโอกาสเติบโตไดถึง รอยละ 20-30 และอาจสงผลใหท้ังจํานวนและประเภทธุรกิจจะมีการพัฒนาเพ่ิมข้ึน แนวโนมการสรางธุรกิจใหมในป 2556 คาดวาจะมีนักธุรกิจท่ีจะพัฒนาระบบแฟรนไชสเพ่ิมข้ึนในระบบไมนอยกวา 60 ราย จะเรงใหภาพรวมของธุรกิจแฟรนไชสในป 2556 มีมูลคาธุรกิจเพ่ิมข้ึนไมนอยกวารอยละ 17 - 20

1.2 บทวิเคราะหปจจัยในการเติบโตธุรกิจแฟรนไชส

1. ความตองการในการลงทุนในระบบแฟรนไชส ความตองการลงทุนในระบบแฟรนไชส ในป 2555 มีแนวโนมสูงข้ึนไมนอยกวา รอยละ 8-10 เม่ือวิเคราะหเปรียบเทียบกับผลการสํา รวจในป 2551 ซ่ึง นักลงทุนจะตองมีเงินเก็บเพ่ือความพรอมในการลงทุนไมนอยกวา 700,000 - 800,000 บาท จึงตัดสินใจลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส แตในปจจุบันมูลคาการสะสมทุนของนักลงทุนโดยเฉลี่ยจะมีเงินเก็บหรือท่ีเราเรียกวา " Saving Amount Ratio" ประมาณ 300,000 บาท แสดงใหเห็นถึงจํานวนมูลคานอยลงเกือบครึ่ง ก็เริ่มท่ีจะมีความสนใจในการลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส การลดลงของมูลคาเงินทุนแสดงใหเห็นถึงความตองการของกลุมนักลงทุนท่ีมีเปาหมายมากยิ่งข้ึน และกระจายตัวสูกลุมนักลงทุนรายใหมแตละระดับมากข้ึน มีผูท่ีจะมาลงทุนกลุมระดับกลางเพ่ิมข้ึน ถือวาเปนการเรงภาวะการลงทุนท่ีสืบเนื่องมาจากผูท่ีจะมาลงทุนมีความรูความเขาใจในธุรกิจแฟรนไชสมากยิ่งข้ึน ท้ังจากสื่อมวลชนแขนงตาง ๆ ท่ีนําเสนอขอมูลดานแฟรนไชสมากยิ่งข้ึน ประกอบกับมีงานวิจัยตาง ๆ ท่ีเสริมอยางถูกตองกวาเดิม นอกจากนั้นยังมีปจจัยท่ีนาสนใจ ท่ีเชื่อวาเปนตัวกระตุนระบบธุรกิจ ดังนี้

(1) ความพรอมของแหลงลงทุน มีสถาบันการเงินหลายแหงท่ีเขามาสนับสนุนการกูยืมเงิน เพ่ือตอบวัตถุประสงคสําหรับการลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส เชน การพัฒนาสินเชื่อท่ีไมตองมีสินทรัพยคํ้าประกัน เปนตน (2) โอกาสเรงการลงทุนดานอ่ืน

- จิตวิทยาดานการลงทุน มีขาวสารมากมาย เชน เรื่องของ AEC การขยายธุรกิจไปในตางประเทศ ซ่ึงธุรกิจขนาดยอยอยาง " Retail Business" เริ่มมีปจจัยทางตรงท่ีทําใหคนเห็นโอกาสในการลงทุนมากข้ึน เปนตน

- มูลคาทางการตลาดมีขนาดใหญข้ึน หมายความวาธุรกิจขนาดเล็กท่ีเปนระบบสาขา มีโอกาสขยายสาขาและเพ่ิมสวนแบงตลาดมากข้ึน ท้ังในประเทศและใน AEC

- กําลังซ้ือในประเทศจะมีการขยายตัว เนื่องจากการกระตุนของรัฐบาลในภาคการเกษตรก็ดี หรือในเรื่องการปรับคาแรงท่ีจะทําใหคนมีกําลังซ้ือเพ่ิมข้ึน ในภาคอุตสาหกรรมท่ีถูกเรงใหโตข้ึน ท้ังหมดนี้มีผลทําใหวิถีชีวิตประจําวันของคน หรือท่ีเราเรียกวา " Social Economy" ถูกเรงใหมีการจับจายใชสอยมากข้ึน จึงทําใหคนมองถึงโอกาสในธุรกิจแฟรนไชสมากข้ึน

2. ธุรกิจแฟรนไชสท่ีมีมาตรฐานมีโอกาสเติบโดมากข้ึน

จากการสํารวจพบวาธุรกิจไขอาชีพ ( Business Opportunity ) ลดจํานวนลง ธุรกิจดังกลาวนี้มีมูลคาการลงทุนต่ํา ( ประมาณ 40,000 - 50,000 บาท ) เนื่องจากธุรกิจดังกลาวนี้ไมมีมาตรฐานท่ีชัดเจน ผูสนใจธุรกิจจึงหันไปซ้ือแฟรนไชสท่ีมีมาตรฐานสูงข้ึน แมวาตองลงทุนมากข้ึนก็ตามสงผลใหธุรกิจแฟรนไชสท่ี

Page 18: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 4 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

มีขนาดใหญและมีมาตรฐานสูงสามารถเติบโต ขณะเดียวกันธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียนซ่ึงมีขนาดเล็กและขาดมาตรฐานลดจํานวนลง

3. การแขงขันจากแฟรนไชสตางประเทศสูงข้ึน

การบังคับใชขอตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ในป 2558 จะทําใหประเทศไทยกลายเปนเปาหมาย เปนฐานในการขยายธุรกิจ ในตลาดท่ีเรียกวา " C L M V " ประกอบไปดวย กัมพูชา ลาว เมียนมาร และเวียดนาม 4 ประเทศนี้ฐานสําคัญคือประเทศไทย ถาเจาะ ตลาด ท่ีประเทศไทยจะสามารถขยายตัวออกไปไดทุกประเทศ เพราะประเทศไทยนั้นอยูตรงกลางพอดี ท้ังยังมีขนาดตลาดและการบริโภคดีกวา การเรงสรางระบบแฟรนไชสขามชาตินั้นจะตองมีปจจัยท่ีเปนแรงผลักและแรงดึงตาง ๆ เขามาเปนองคประกอบ จากการสํารวจสภาวะธุรกิจแฟรนไชสในปนี้ พบวา (1) ปจจุบัน ธุรกิจแฟรนไชสตางประเทศท่ีเขามาในตลาดและไดรับการยอมรับท้ังจากคนไทยและนักทองเท่ียวตางชาติ ท่ีมีอัตราการเติบโตของนักทองเท่ียวมากข้ึน เม่ือไดเห็นธุรกิจท่ีตัวเองคุนเคยก็จะบริโภค ประเทศไทยท่ีเปนเมืองทองเท่ียว ชาวตางชาติท่ีมาเห็นธุรกิจแฟรนไชสของประเทศตัวเองหรือจากประเทศท่ีเคารูจักก็จะบริโภค ฉะนั้นธุรกิจแฟรนไชสหลายตัวท่ีมาจาก อเมริกา เกาหลี มาเลเชีย สิงคโปร หรือญี่ปุน เขามาในประเทศไทยและประสบความสําเร็จมีจํานวนมากข้ึน ซ่ึงความสําเร็จเหลานี้จึงกลายเปน " Pull Factor" หมายถึงปจจัยท่ีจะดึงนักลงทุนดานแฟรนไชสใหเขามาลงทุนในประเทศไทย (2) ประเทศไทยกลายเปนหนาตางของ "เอเชียใต" ซ่ึงมีความหมายทางการตลาดวาเปน Media ในระบบ แฟรนไชส คือ การเปดตัว การเปดรานตนแบบ หรือท่ีเรียกวา " Flagship Store" ฉะนั้นนักลงทุนท่ีเม่ือกอนจะเขาไปลงทุนในประเทศอ่ืน ๆ ก็จะเขามาในประเทศไทยมากข้ึน และหากมี Brand ใหญ ๆ ในเชิงคาปลีกเขามามากข้ึน ก็จะทําใหเกิดการเรงพัฒนาระบบเชิงรูปแบบ หรือท่ีเรียกวา " Business Format" และหาก Business Format เกิดการเปลี่ยนแปลงจะมีผลตอระบบภาพรวม ธุรกิจแฟรนไชสก็จะพัฒนา สงผลตอระบบธุรกิจแฟรนไชสท้ังหมดโดยตรง การสรางระบบแฟรนไชสขามเง่ือนไขของการเปนตางเขต ตางพ้ืนท่ี รวมถึงธรรมชาติทางการคาท่ีเปลี่ยนไปนั้นเปนอีกข้ันตอนของการพัฒนาระบบธุรกิจโดยเฉพาะแฟรนไชส ขอสําคัญของธุรกิจดานนี้เม่ือตองการขยายธุรกิจออกไป สิ่งท่ีตองคํานึงมากท่ีสุดคือ ความพรอมของธุรกิจ ท่ีจะตองสรางความสําเร็จในวงกวางไดในประเทศของตนเองเสียกอน ในความหมายท่ีลึกลงไป คือการสรางความเขมแข็ง ท้ังในดานของตราสินคา ชื่อเสียง เงินทุน ทีมงาน เพ่ือใหสามารถผานปญหาท่ีอาจจะสงผลตอธุรกิจในพ้ืนท่ีท่ีหางไกล ทําใหยากตอการจัดการ หรือการปรับเปลี่ยนตามภาวะของสังคมและวัฒนธรรมท่ีตองการสรางตลาด

4. การเติบโตตองมุงเนนคุณภาพและมาตรฐาน

อยางไรก็ตาม เปนท่ีนาสังเกตวาแฟรนไชสอาหารถึงแมจะมีปริมาณเพ่ิมข้ึนแตแฟรนไชสอ่ืนๆ กลับปรับตัวในทิศทางตรงกันขาม คือ มีจํานวนท่ีลดลงจากสาเหตุสําคัญ ดังนี้

1) หยุดขยายสาขา เนื่องจากมีจํานวนสาขามากพอแลว จึงหันมาพัฒนาธุรกิจท่ีมีอยูมากกวาการมุงขยายสาขา

2) เปลี่ยนรูปแบบหันไปหาตัวแทนจําหนาย 3) หยุดการขายแฟรนไชสเปลี่ยนมาเปนขยายสาขาของตัวเอง 4) เลิกกิจการ

Page 19: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 5 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

กระบวนการดําเนินงาน

1.3 ผลการสํารวจฐานขอมูลผูประกอบการแฟรนไชส

สรุปผลความคืบหนา

จากฐานขอมูลผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชสท่ีไดรับจากกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ซ่ึงประกอบไปดวยนิติบุคคล และบุคคลท่ัวไป คณะทํางานไดดําเนินการวิเคราะหรายละเอียดจากฐานขอมูลดังกลาวเพ่ือนํามาใชในการจัดทําแบบสํารวจ ซ่ึงการสํารวจนั้นคณะทํางานไดจัดทําระหวางวันท่ี 15 กุมภาพันธ - 5 มีนาคม 2556 โดยแบงออกเปน 4 รอบ ดังนี้ รอบท่ี 1 ดําเนินการจัดสงแบบสํารวจตอบรับทางไปรษณียดวยจดหมายลงทะเบียน รอบท่ี 2 ดําเนินการโทรศัพทสัมภาษณสําหรับผูประกอบการท่ียังไมไดสงแบบตอบรับกลับ หรือมี รายละเอียดการตอบกลับท่ียังไมครบถวน รอบท่ี 3 ดําเนินการโทรศัพทสัมภาษณเฉพาะรายท่ียังไมสงแบบตอบรับกลับในรอบท่ี 1 และรายท่ีไม

สามารถติดตอไดหรือไมสะดวกในการใหสัมภาษณในการสํารวจรอบท่ี 2 พรอมดําเนินการหาขอมูลเพ่ิมเติมสําหรับรายท่ีเบอรโทรศัพทและท่ีอยูในการติดตอผิด จากทางอินเตอรเน็ต และการ สอบถามผาน bug 1133

วิเคราะหฐานขอมูลผูประกอบการท่ีไดรับจากกรมฯ

จัดทําแบบสํารวจ

ดําเนินการสํารวจรอบท่ี 1 ดวยการสงจดหมายตอบรับ

ดําเนินการสํารวจรอบท่ี 2 ดวยการสัมภาษณทางโทรศัพท

ดําเนินการสํารวจรอบท่ี 3 ดวยการสัมภาษณทางโทรศัพท (เฉพาะรายที่ไมสามารถติดตอไดหรือไมสะดวกใน การใหสัมภาษณในการสํารวจรอบท่ี 1 และ 2)

ดําเนินการสํารวจรอบท่ี 4 จากแหลงขอมูลทุติยภูมิ (เฉพาะรายท่ีมีรายชื่อจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย มีเว็บไซดหรือหาขอมูลไดจากทําเนียบสมาชิกของสมาคมแฟรนไชสไทย

หรือคนหาขอมูลผาน bug 1133)

Page 20: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 6 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

รอบท่ี 4 ดําเนินการสํารวจขอมูลเพ่ิมเติมจากแหลงขอมูลทุติยภูมิ จากฐานขอมูลออนไลนการจดทะเบียนนิติบุคคลจาก Business Online (www.bol.co.th) การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญากับฐานขอมูลออนไลนของกรมทรัพยสินทางปญญา การคนหาขอมูลจากเว็บไซดของผูประกอบการและทําเนียบรายชื่อสมาชิกของสมาคมท่ีเก่ียวของ อาทิ สมาคมแฟรนไชสและไลเซนส สมาคมธุรกิจแฟรนไชส

สําหรับการดําเนินการเพ่ิมเติมในรายงานความคืบหนาครั้งท่ี 2 นั้น คณะทํางานไดดําเนินการเพ่ิมเติมฐานขอมูลผูประกอบการจากแหลงขอมูลทุติยภูมิตางๆ โดยมีผูประกอบการในฐานขอมูลจํานวนท้ังสิ้น 477 ราย ดังมีรายละเอียดการวิเคราะหดังนี้ 1. ประเภทของการจดทะเบียน

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สามารถ แบงเปนแฟรนไชสไทย รอยละ 95 และแฟรนไชสที่นําเขามาจากตางประเทศรอยละ 5 พบวา ในภาพรวมผูประกอบการกวาครึ่งหนึ่ง (รอยละ 60) มีการจดทะเบียนในรูปแบบบริษัทจํากัด (บจก.) รองลงมา ไดแก กลุมบุคคลท่ัวไป (รอยละ 33) 2. ทุนจดทะเบียนและสินทรพัยรวม

Page 21: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 7 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ผลจากการสํารวจฐานขอมูล พบวา ในป 2554 มีทุนจดทะเบียนรวม 27 ,337.48 ลานบาท โดยเปนสัดสวนมูลคาการจดทะเบียนแฟรนไชสตางประเทศ รอยละ 63 สําหรับมูลคาสินทรัพยรวมนั้น มีมูลคารวม 151,152.96 ลานบาท โดยเปนสัดสวนมูลคาสินทรัพยรวมแฟรนไชสตางประเทศ รอยละ 60 3. ประเภทของผูประกอบการ

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา ธุรกิจประเภทอาหารและเครื่องดื่มนั้น เปนประเภทท่ีมีจํานวนผูประกอบการดําเนินธุรกิจมากท่ีสุด (รอยละ 49) ซ่ึงปจจุบันสวนใหญยังคงดําเนินธุรกิจในรูปแบบของบุคคลธรรมดา (รอยละ 56) รองลงมา ไดแก ธุรกิจบริการ และธุรกิจการศึกษา (รอยละ 17 และ 13 ตามลําดับ)

Page 22: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 8 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4. จํานวนพนักงาน

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญเปนธุรกิจขนาดกลาง มีผูประกอบการสวนใหญมีการจางแรงงาน 10-50 คน (รอยละ 36.8) โดยผูประกอบการท่ีมีการจางงานสูงสุด ไดแก บจก. เชสเตอรฟูดส มีการจางงาน 2,900 คน

5. รายไดป 2555

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา ในป 2555 ธุรกิจแฟรนไชส มีมูลคาตลาดประมาณ 184 ,120 ลานบาท คาดการณวาอัตราการเติบโตจะเพ่ิมและสูงข้ึนถึงรอยละ 20-30 สวนใหญมีรายไดในป 2555 ประมาณ 1-5 ลานบาท (รอยละ 40.6) โดยผูประกอบการท่ีมีรายไดสูงสุด ไดแก บจก. แบล็ค แคนยอน (ประเทศไทย) มีรายได 1,000,000,000 บาท และผูประกอบการท่ีมีรายไดนอยสุด ไดแก บจก.วิมาน สปา มีรายได 120,000 บาท 6. มูลคาการลงทุนตอสาขา

หมายเหตุ: จํานวนสัดสวนของกลุมตัวอยางรวมกันมากกวารอยละ 100 เนื่องจากผูประกอบการแตละรายอาจมีมูลคาการลงทุนมากกวา 1 รูปแบบ

Page 23: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 9 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

มี73.7%

ไมมี26.3%

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญมีรูปแบบมูลคาการลงทุนตอสาขาหลายรูปแบบ และรูปแบบสวนใหญมีมูลคาต่ํากวา 100 ,000 บาท (รอยละ 42.1) โดยผูประกอบการท่ีมีรูปแบบการลงทุนท่ีมีมูลคาตอสาขาสูงสุด ไดแก บจก.ที อาร โปรดักส & มารเก็ตติ้ง ซ่ึงใหบริการศูนยบริการดูแลรักษารถยนตครบวงจรภายใตแบรนด WIZARD มีมูลคาการลงทุนตอสาขา 25 ,000,000 บาท และผูประกอบการท่ีมีรูปแบบการลงทุนท่ีมีมูลคาตอสาขาต่ําสุด ไดแก บจก.ทีนสตาร เพอรฟูมท่ีจําหนายสเปรยและน้ําหอมปรับอากาศ ท่ีมีมูลคาการลงทุนตอสาขา 999 บาท 7. การจดทะเบียนทรพัยสนิทางปญญา / เครื่องหมายการคา

8. สัญญามาตรฐาน และจํานวนผูรับสัญญา

9. รปูแบบการแบงผลตอบแทน

หมายเหตุ: จํานวนสัดสวนของกลุมตัวอยางรวมกันมากกวารอยละ 100 เนื่องจากผูประกอบการแตละรายอาจมีรูปแบบการเก็บคาธรรมเนียมแรกเขามากกวา 1 รูปแบบ

ผลจากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญมีการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา/เครื่องหมายการคา (รอยละ 71.4)

ผลจากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญมีการทําสัญญามาตรฐาน (รอยละ 73.7) และในจํานวนผูประกอบการดังกลาวท่ีเปดเผยขอมูลท้ังสิ้น 69 ราย สวนใหญมีจํานวนผูรับสัญญาต่ํากวา 100 ราย (รอยละ 68.1)

สัญญามาตรฐาน

คาธรรมเนียมแรกเขา

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญมีการจัดเก็บคาธรรมเนียมแรกเขา ต่ํากวา 100,000 บาท (รอยละ 46.5)

จดทะเบยีน71.4%

ยงัไมไดจด

ทะเบยีน28.6%

Page 24: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 10 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

หมายเหตุ: จํานวนสัดสวนของกลุมตัวอยางรวมกันมากกวารอยละ 100 เนื่องจากผูประกอบการแตละรายอาจมีการกําหนดงบประมาณเร่ิมแรกมากกวา 1 รูปแบบ

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา การเก็บคาบริการจัดการ ( Royalty Fee) นั้น ผูประกอบการมีการเก็บอยู 2 รูปแบบ รูปแบบแรกเปนการจัดเก็บตามอัตรารอยละของยอดจําหนาย (รอยละ 83) และรูปแบบท่ีสอง เปนการจัดเก็บแบบคาธรรมเนียมคงท่ี (รอยละ 17) การจัดเก็บตามอัตรารอยละของยอดจําหนายนั้น ผูประกอบการจํานวนครึ่งหนึ่ง (รอยละ 47) มีการจัดเก็บในอัตราท่ีต่ํากวารอยละ 10 หมายเหตุ: จํานวนสัดสวนของกลุมตัวอยางรวมกันมากกวารอยละ 100 เนื่องจากผูประกอบการแตละรายอาจมีการกําหนดอายุของสัญญามากกวา 1 รูปแบบ

ในการตอสัญญานั้น ผลจากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญ (รอยละ 80) มีการคิดคาตอสัญญาต่ํากวา 500,000 บาท 10. การฝกอบรมทักษะ

ผลจากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญใชระยะเวลาการอบรมในพ้ืนท่ีจริงกอนเริ่มดําเนิน

กิจการเปนระยะเวลาท่ีต่ํากวา 1 สัปดาห (รอยละ 49)

งบประมาณเริ่มแรก

ผล จากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญมีการกําหนดงบประมาณเริ่มแรกต่ํากวา 100,000 บาท (รอยละ 50.2)

ผลจากการสํารวจฐานขอมูล พบวา สวนใหญมีอายุของสัญญามากกวา 3 ป (รอยละ 50.5)

อายุของสัญญา

Page 25: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 11 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

11. การขยายธุรกิจ

ประเภท จํานวน (สาขา)

อาหารและเครื่องดื่ม 16,207 การศึกษา 1,688 บริการ 8,122 คาปลีก 8,268 สปาและความงาม 3,527 อ่ืนๆ 116 รวม 40,930

หมายเหตุ: จํานวนสาขาที่ผูประกอบการบริหารเองกับใหผูรับสัญญาบริหาร และสาขาที่เปดในประเทศ-ตางประเทศมีจํานวนรวมกันไมเทากับจํานวนสาขาทั้งหมด เนื่องจากมีผูประกอบการ บางรายที่ไมเปดเผยขอมูลที่ครบถวน

ธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจแฟรนไชสบริการ และธุรกิจแฟรนไชสคาปลีก เปนสาขาธุรกิจท่ีมีจํานวนสาขามากท่ีสุด โดยมีจํานวนสาขารวมกันมากกวา 30 ,000 สาขา แบงเปนสาขาท่ีบริหารเองและใหผูรับสัญญาบริหารในสัดสวนเทาๆกัน ซ่ึงแตกตางกับธุรกิจแฟรนไชสการศึกษา และธุรกิจแฟรนไชสสปาและความงาม ท่ีมักจะขยายสาขาโดยใหสิทธิผูรับสัญญาเปนผูบริหาร

พ้ืนท่ี รวม นิติบุคคล บุคคลธรรมดา

จาํนวน รอยละ จาํนวน รอยละ จาํนวน รอยละ

กรงุเทพ 325 68 228 70 97 65 ภูมิภาค 152 32 100 30 52 35

รวม 477 100 328 100 149 100

จํานวนสาขา

ผลจากการสํารวจฐานขอมูล พบวา มีจํานวนสาขารวมกันท้ังสิ้น 40,930 สาขา ผูประกอบการสวนใหญมีจํานวนสาขาปจจุบัน 11-50 สาขา (รอยละ 31.4) และมีผูประกอบการท่ีมีเพียงสาขาเดียวในปจจุบัน รอยละ 6.6 โดยผูประกอบการท่ีมีจํานวนสาขามากท่ีสุด ไดแก บมจ. ซีพีออลล ซ่ึงใหบริการรานคาปลีก 7-11 ซ่ึงปจจุบันมีสาขามากกวา 6,400 แหง

Page 26: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 12 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเภทธุรกิจ ท่ัวประเทศ กรุงเทพ ภูมิภาค

จาํนวน รอยละ จาํนวน รอยละ จาํนวน รอยละ

อาหารและเครื่องดื่ม 238 50 159 49 79 52

บรกิาร 78 16 54 17 24 16

การศึกษา 61 13 46 14 15 10

คาปลีก 51 11 32 10 19 13

ความงามและสปา 49 10 34 10 15 9

รวม 477 100 324 100 153 100

สาขาสวนใหญของธุรกิจแฟรนไชสยังคงอยูในพ้ืนท่ี กทม. เปนหลัก สําหรับการขยายสาขาไปยังตางประเทศ ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม และธุรกิจบริการ เชน ธุรกิจนําเท่ียว และธุรกิจบันเทิง เปนสาขาธุรกิจท่ีมีการขยายสาขาไปยังตางประเทศมากท่ีสุด

Page 27: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

บทที่ 2

ขอมูลธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียน

2.1 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน 2.1.1 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศบรูไน

1) เศรษฐกิจบรูไน บรูไนนับเปนประเทศขนาดเล็กท่ีประชากรมีรายไดสูง โดยรายไดประชาชนตอคนตอปสูงถึง

38,000 ดอลลาร สรอ . โดยน้ํามันและกาซธรรมชาติมีสวนแบงของ GDP ถึง 60% อยางไรก็ตาม บรูไนเปนประเทศท่ีพ่ึงพาการนําเขาอาหารในสัดสวนท่ีสูงมาก คือ มีการนําเขาอาหารถึง 90 % ของปริมาณการบริโภคในแตละป

ประชากรของบรูไนมีประมาณ 427 ,000 คน ในจํานวนนี้ 66 % เปนชาวมาเลย อีก 11 % เปนประชากรเชื้อสายจีน และอีก 3 % เปนชาวพ้ืนเมือง นอกจากนั้นมีการนําเขาแรงงานจํานวนมากมาจากอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส และไทย

ศาสนาอิสลามถือเปนศาสนาประจําชาติ ซ่ึงมีผลตอพฤติกรรมในการรับประทานอาหารของชาวบรูไน อยางไรก็ตาม จากขนาดของตลาดท่ีเล็ก ประชาชนมีจํานวนนอย และรายไดท่ีสูง ทําใหธุรกิจแฟรนไชสขนาดเล็กมีโอกาสในตลาดไมมากนัก

2) สภาพธุรกิจ บรูไนถือเปนตลาดใหม และเปนตลาดท่ีมีขนาดเล็กสําหรับธุรกิจแฟรนไชส อยางไรก็ตามสภาพ

เศรษฐกิจท่ีแข็งแกรงทําใหในชวง 20 ปท่ีผานมามีแฟรนไชสตางประเทศเริ่มทยอยเขามาในตลาดบรูไนมากข้ึน เริ่มตั้งแต Kenny Rogers มาถึง Dome, A&W, Baskin Robbins และ Dunkin Donuts ในดานธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มแฟรนไชสหลักในปจจุบันคือ KFC, Pizza Hut, และ Jollibee โดยมีแฟรนไชสของสิงคโปรและมาเลเซียเริ่มเขามามีบทบาทมากข้ึน โดยมีผูนําคือ Pastamania (สิงคโปร) Secret Recipe (มาเลเซีย) ตามมาดวย Fish&co (สิงคโปร) และแฟรนไชสของบรไูนคือ Royal Brunei Catering Sdn (RBC) นอกจากนั้น RBC ยังซ้ือสิทธิแฟรนไชสจาก McDonalds และ Fish&co

2.1.2 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศกัมพูชา

1) สภาพธุรกิจ

กัมพูชาเปนประเทศยากจน ประชากรสวนใหญของประเทศประมาณรอยละ 80 ประกอบอาชีพ

ดานเกษตรกรรม อยางไรก็ตาม กัมพูชานับเปนประเทศหนึ่งท่ีมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจอยูในระดับสูง

แมวาจะประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจในชวงป 2552 ซ่ึงทําใหอัตราการเติบโตเหลือเพียงรอยละ 2.5 แตก็

สามารถฟนตัวโดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจระหวางรอยละ 6-7 ในชวงป 2553-2555 โดย

อุตสาหกรรมสําคัญตอเศรษฐกิจของกัมพูชาไดแก อุตสาหกรรมสิ่งทอ การทองเท่ียว และการกอสราง

Page 28: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 14

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

เนื่องจากความแตกตางดานรายไดระหวางเมืองและชนบทของกัมพูชามีอยูมาก ประชากรสวนใหญ

ซ่ึงอยูในชนบทมีรายไดต่ํา ทําใหระดับราคาสินคาเปนสิ่งจําเปนตอการตัดสินใจบริโภคเปนอยางมาก สินคา

อาหารและเครื่องดื่มท่ีเปนแฟรนไชสจากตางประเทศถูกมองวามีราคาสูงและเปนสินคาฟุมเฟอย ในขณะท่ี

ชาวกัมพูชาในเมืองหลวงและเมืองทองเท่ียวสําคัญมีโอกาสในการหารายไดมากกวา มีความตองการบริโภค

สินคาและบริการท่ีมีคุณภาพสูงข้ึนมาก ทําใหโอกาสในการเขาดําเนินธุรกิจและการเติบโตของแฟรนไชสดาน

อาหารและเครื่องดื่มจะเกิดข้ึนไดเฉพาะในเมืองใหญหรือเมืองทองเท่ียวเทานั้น เชน พนมเปญ เสียมราฐ และ

สีหนุวิลล เปนตน

กิจการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในกัมพูชาเพ่ิงจะเริ่มดําเนินการไมนานนัก แตมีอัตราการ

เติบโตรวดเร็วอยางนาสนใจ สวนใหญเปดดําเนินการในเมืองหลวงของประเทศคือกรุงพนมเปญ และมีสาขาท่ี

เสียมราฐและสีหนุวิลล ซ่ึงเปนเมืองทองเท่ียวอยูบาง โดยตัวอยางกิจการแฟรนไชสท่ีมีศักยภาพในกัมพูชา

ไดแก The Pizza Company แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มจากประเทศไทยเริ่มเปดกิจการในป 2548

ปจจุบันมีจํานวนสาขามากกวา 10 แหง KFC แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มจากสหรัฐอเมริกา เปด

ดําเนินกิจการในกัมพูชาในป 2551 ปจจุบันมีจํานวน 10 สาขา และ SWENSEN’S แฟรนไชสรานไอศกรีม

จากสหรัฐอเมริกาก็เพ่ิงเปดกิจการในกัมพูชาเม่ือป 2553 เปนตน

2) การประกอบกิจการแฟรนไชสในกัมพูชา

การประกอบการธุรกิจแฟรนไชสในกัมพูชามีท้ังแฟรนไชสท่ีเปนธุรกิจภายในภูมิภาคอาเซียน ท้ังจากมาเลเซีย ( Secret Recipe) ไทย (BlackCanyon Coffee และ The Pizza Compant) และเวียดนาม (Pho24) และแฟรนไชสขนาดใหญจากสหรัฐอเมริกา เชน KFC, DairyQueen, Tutti Frutti, SWENSEN’S, Spinelli Coff และจากประเทศอ่ืนๆ เชน เกาหลีใต ( BBQ Chicken) อังกฤษ (Costa Coffee) หรือจากแคนาดา (Sarpino’s Pizzeria) เปนตน

ลักษณะการลงทุนในการประกอบกิจการแฟรนดไชดในกัมพูชามีท้ังท่ีเปนการซ้ือสิทธิแฟรนไชสจากเจาของสิทธิแฟรนไชส (Franchisor) ซ้ือสิทธิผานแฟรนไชสตัวแทน (Master Franchise) ภายในภูมิภาค รวมท้ังการรวมทุนระหวางบริษัทแฟรนไชสตัวแทน ( Master Franchise) กับบริษัทภายในกัมพูชา โดยมีผูประกอบการแฟรนไชสรายใหญในกัมพูชา อาทิ Express Food Group (EFG) ซ่ึงเปนบริษัทในเครือของ RMA (Cambodia) ดําเนินกิจการแฟรนไชส The Pizza Company, SWENSEN’S, BBQ Chicken, DailyQueen และ Costa Coffee กลุม Kampuchea Food Corporation ซ่ึงเปนกิจการรวมทุนระหวาง The Royal Group of Companies Ltd (กัมพูชา) QSR (มาเลเซีย) และ Rightlink (ฮองกง) ดําเนินกิจการแฟรนไชส KFC นอกจากนี้ กัมพูชายังมีบริษัทภายในประเทศท่ีดําเนินกิจการดานอาหารและเครื่องดื่มประเภทอาหารดวน รานกาแฟ และรานไอศกรีมเองดวย ไดแก Lucky Market Group ซ่ึงดําเนินกิจการภายใต Brand ของตัวเอง ไดแก Lucky Burger, Lucky Bakery, Lucky café’ และ Lucky Gelato

3) โอกาสของแฟรนไชสในกัมพูชา

เศรษฐกิจของกัมพูชาในเมืองหลวงและเมืองทองเท่ียวสําคัญมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดมีผูบริโภคซ่ึงเปนชนชั้นกลาง โดยเฉพาะกลุมหนุมสาวรุนใหมท่ีมีรายไดเพ่ิมมากข้ึนจากคนรุนกอน มีกําลังซ้ือท่ีสูงข้ึน และมีโอกาสเดินทางทองเท่ียวหรือศึกษายังตางประเทศ ประกอบกับการขยายตัวของการสื่อสาร

Page 29: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 15

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ผานอินเตอรเน็ต ทําใหชาวกัมพูชามีโอกาสพบเห็นสินคา รวมท้ังรูปแบบการบริโภคสินคาในประเทศอ่ืนๆ สงผลใหเกิดความตองการบริโภคสินคาและวิถีชิวิตท่ีมีความเปนสากลมากข้ึน อีกท้ังปจจุบันยังมีผูประกอบการแฟรนไชสในกัมพูชาไมมากนัก กัมพูชาจึงเปนประเทศท่ีมีความเหมาะสมสําหรับการดําเนินกิจการในธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มเปนอยางมาก

นอกจากนี้ ศักยภาพดานโลจิสติกสจากการมีเสนทางคมนาคมเชื่อมตอกับไทย ลาว และเวียดนามได มีแผนการพัฒนาเสนทางรถไฟเชื่อมตอระหวางประเทศ ขณะท่ีมีทางออกทะเลท่ีสามารถพัฒนาเปนทาเทียบเรือขนาดใหญไดดวย ประกอบกับกฎหมายท่ีเอ้ือตอการลงทุนของชาวตางประเทศ ลวนแตเปนปจจัยพ้ืนฐานท่ีสําคัญท่ีจะทําใหกัมพูชามีโอกาสในการพัฒนาทางเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง ซ่ึงยอมเปนปจจัยสงเสริมใหเกิดความตองการบริโภคสินคาและบริการท่ีมีคุณภาพดีและมีความแตกตางไดอีกมากในอนาคต

2.1.3 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศอินโดนีเซีย

1) สภาพท่ัวไปของธุรกิจ ธุรกิจบริการอาหารและเครื่องดื่มประเทศอินโดนีเซียมีการพัฒนาตามภาวะเศรษฐกิจ ในชวงป

2008 ประเทศมีปญหาเศรษฐกิจถดถอย อํานาจซ้ือของประชาชนลด สงผลลบตอธุรกิจบริการอาหารและเครื่องดื่ม อยางไรก็ตาม ปจจัยดานบวกในตลาดยังคงคางอยู โดยเฉพาะพฤติกรรมของคนรุนใหมท่ีนิยมรับประทานอาหารนอกบาน หรือใชรานอาหารเปนท่ีนัดพบเพ่ือนฝูงและเจรจาธุรกิจ ทําใหยังคงมีธุรกิจใหมๆ เขามาในตลาด เชน Blue Elephant (ธุรกิจภัตตาคารจากประเทศไทย) Toreore (อาหารดวนประเภทไกจากเกาหลีใต) และ Domino’s Pizza (บริการสง Pizza ถึงบานหรือ Take away จากสหรัฐอเมริกา) ซ่ึงผูประกอบการรายใหมเหลานี้ตองเขามาแขงขันกับผูประกอบการรายเดิมในตลาด เชน Starbuck, Pizza Hut, KFC และ McDonald’s

จากรายงานของ Euromonitor International พบวา ธุรกิจสวนใหญเปดในรูปภัตตาคาร (96,474 ราน) รองลงมาคือ รานเล็กขางทาง (87,851 ราน)

ตารางที่ 2.1 จํานวนรานท่ีใหบริการอาหารและเครื่องดื่ม ป 2008

รานอิสระ รานท่ีมีสาขา รวม รานกาแฟและบาร 2,822 364 3,186 ภัตตาคาร 95,566 908 96,474 รานอาหารดวน 1,374 2,466 3,840 บริการสงและนํากลับบาน - 10 10 รานบริการตัวเอง 353 58 411 รานเล็กขางทาง 80,120 7,731 87,851 ราน Pizza 166 225 391

รวม 180,235 11,537 191,772 ท่ีมา: Euromonitor International

ในกิจการภัตตาคาร Pizza Hut ถือเปนบริการท่ีมีสัดสวนมูลคาตลาดสูงสุด (26.9 %) รองลงมา

คือ Sedarhana Rumah Makan (9.2%) และ Hot CMM (2.6%)

Page 30: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 16

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ตารางที่ 2.2 แสดงสัดสวนมูลคาการตลาดจําแนกตามช่ือผลิตภัณฑ

ท่ีมา: Euromonitor International

2) ปจจัยทางธุรกิจ จากตารางจะเห็นวาธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่ม มีผูประกอบการหลายราย มีรายใหญสุด

เพียงรายเดียวคือ Pizza Hut จํานวนผูประกอบการท่ีมีมาก จํานวนสาขาท่ีกระจายไปท่ัวประเทศ และสินคามีความหลากหลาย ทําใหเชื่อไดวาตลาดของธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซียคอนขางอ่ิมตัว จากหัวเมืองหลักไปยังเมืองรอง เชน Bekasi, Cilaeap, Jepara และ Pare Pare สงผลใหธุรกิจมีการขยายตัวชาในอนาคต อยางไรก็ตาม ธุรกิจท่ีมีสาขา มีการเติบโตเร็ววารานอิสระ เนื่องจากผูบริโภคมีความเชื่อถือในชื่อผลิตภัณฑ ดังนั้น จึงสรุปไดวาธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซียจะพบกับภาวะการเติบโตท่ีชะลอลงเม่ือเทียบกับในอดีต

2.1.4 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศ สปป.ลาว

การประกอบกิจการแฟรนไชสในลาวเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของลาวมีขนาดไมใหญมากนัก มี

ประชากรเพียง 6.8 ลานคน โดยเปนประชากรในวัยทํางาน (15-64 ป) รอยละ 56.1 ในจํานวนนี้ประมาณ

รอยละ 80 อยูในภาคเกษตรกรรม มีอัตราคาจางข้ันต่ําวันละประมาณ 38 บาท หรือเดือนละ 1 ,137 บาท

(ITD: การลงทุนของอาเซียนในประเทศ CLV และโอกาสทางธุรกิจของ SMEs ไทย, 2553) ทําใหความ

ช่ือผลิตภัณฑ บริษัทเจาของ 2005 2008 Pizza Hut Yum! Brands Inc 25.0 26.9 Sedarhana, Rumah Makan

Sedarhana Citra Mandiri PT 6.3 9.2

Hot CMM Hot Cwie Mie Malang 3.6 2.6 Papa Ron’s Entertainment International Tbk

PT 4.0 2.3

Planet Hollywood Planet Hollywood Inc 2.6 2.1 Bakmi Japos Tara Knliner PT 2.5 2.0 Hard Rock Cafe’ Hard Rock Cafe’ International Inc - 2.0 Pho Hoa Anxeflam Corp 2.4 1.7 Bakmi GM Griya Mie Sejati PT 1.8 1.5 Izzi Sri Agung Cahaya Sakti PT - 1.3 Sizzler Worldwide Resturant Concepts

Inc 1.1 1.1

Sapo Oriental Pioneerindo Gourmet International Tbk

1.3 1.0

Fish&Co OB Singapore Operations Pte.Ltd 0.6 0.8 Tony Roma’s Romacorp Inc 0.9 0.8

Page 31: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 17

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

นาสนใจในการดําเนินกิจการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีเนนการบริโภคจากผูบริโภคภายในประเทศ

ยังไมนาสนใจนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งถาการดําเนินกิจการนั้นมีตนทุนประกอบการท่ีสูงมากเกินไป ทําให

กิจการแฟรนไชสในลาวยังมีอยูนอยมาก สวนใหญเปนการ ดําเนินงานโดยแฟรนไชสหรือเปนการลงทุนจาก

ประเทศไทย เชน The Pizza Company, BlackCanyon Coffee, True Coffee, COCA SUKI หรือท่ีเปน

หรือแฟรนไชสตัวแทน (Master Franchise) ของผูประกอบการชาวไทย ไดแก SWENSEN’S เปนตน

อยางไรก็ตาม หากพิจารณาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะดานการทองเท่ียวซ่ึงลาวมีการเติบโตคอนขางสูง โดยมีรายไดจากการทองเท่ียวในป 2552 ประมาณ 263 ลาน ดอลลาร สรอ . จากจํานวนนักทองเท่ียวประมาณ 2 ลานคน เพ่ิมข้ึนจากป 2550 ประมาณรอยละ 16 และการตั้งเปาหมายจํานวนนักทองเท่ียวเปน 4 ลานคนภายในป 2563 โดยใหสรางรายไดมากกวา 600 ลาน ดอลลาร สรอ . ก็อาจจะพบความนาสนใจการในดําเนินกิจการแฟรนไชสในธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มเพ่ือรองรับการเติบโตดังกลาว โดยเฉพาะในเขตเมืองทองเท่ียว เชน นครหลวงเวียงจันทน และเมืองหลวงพระบาง

2.1.5 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศมาเลเซีย

1) สภาพธุรกิจ มาเลเซียถือเปนประเทศหนึ่งใน ASEAN ท่ีมีการขยายตัวของธุรกิจแฟรนไชสสูง อันเกิดจากปจจัย

3 ดาน คือ นโยบายสงเสริมของภาครัฐ ความพรอมของภาคเอกชน และอํานาจซ้ือท่ีสูงของผูบริโภค ทําใหธุรกิจนี้มีการเติบโตเฉลี่ยถึงปละ 15% มาตลอดระยะเวลา 10 ป และคาดการณวาในอนาคตธุรกิจยังคงมีการเติบโตสอยูในระดับเดียวกันนี้ ในปจจุบันธุรกิจนี้มีขนาดคิดเปน 3.5% ของ GDP

2) อุปสงคของตลาด รัฐบาลมาเลเซียมีนโยบายใหธุรกิจแฟรนไชสเปนตัวผลักดันใหเกิดมีผูประกอบการใหมในตลาด

โดยทางรัฐบาลมีโครงการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชส โดยใหมีแฟรนไชสใหมๆ เพ่ิมข้ึน ทําใหในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับท่ี 9 ( the 9th Malaysian Economic Plan) ในชวง 2005-2010 ไดเกิดมีผูรับสิทธิแฟรนไชสถึง 1 ,000 ราย และมีผูท่ีเปนเจาของแฟรนไชสอีกกวา 50 ราย นอกจากนั้น ทางรัฐบาลยังสงเสริมใหผูประกอบการชาวมาเลเซียไดเปนเจาของแฟรนไชสเอง โดยใหมาเลเซียเปนศูนยกลางของแฟรนไชสสินคา Halal ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก นอกจากนั้น รัฐบาลยังพิจารณาถึงกิจการสาขาอ่ืนๆดวย เชน การศึกษา บริการซอมรถยนต บริการใหคําปรึกษาทางธุรกิจ โรงแรม บริการทําความสะอาด และกิจการการพิมพงานดวน เพ่ือการนี้ รัฐบาลไดสนับสนุนการเขามาของเจาของแฟรนไชสตางประเทศ โดยหนวยงานรับผิดชอบคือ Ministry of Domestic Trade, Co-operatives and Consumerism และยังมีองคกรของรัฐชื่อ Perbadanan Nasional Berhad (PNS) ทําหนาท่ีใหความชวยเหลือดานการเงินและอ่ืนๆ แกผูประกอบการ

ในแงของธุรกิจ ธุรกิจแฟรนไชสหลักคือ อาหารและเครื่องดื่ม มีสวนแบงตลาดถึง 31 % ของธรุกิจ แฟรนไชสรวม รองลงมาคือ ธุรกิจดานเสื้อผาและเครื่องประดับ (15 %) และธุรกิจรานอาหาร โดยท่ีกิจการอาหารและเครื่องดื่ม พบวาธุรกิจ Donut เปนธุรกิจท่ีไดรับความสนใจ นอกจาก Dunkin Donuts เปดกิจการในมาเลเซียมานานหลายสิบปแลวนั้น ก็ยังมีผูประกอบการหนาใหมเขามาในตลาด เชน J.Co. (อินโดนีเซีย) Big Apple Donut (มาเลเซีย) และ Krispy Kreme (สหรัฐอเมริกา)

Page 32: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 18

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

การท่ีผูบริโภคมีรายไดเพ่ิมข้ึน และประเทศเปดสูตลาดโลกมากข้ึน พฤติกรรมของผูบริโภคมีแนวโนมยอมรับมาตรฐานการใชชีวิตแบบสากลมากข้ึน ทําใหสินคา Brand Name ไดรับความนิยมสูงในตลาดอยางรวดเร็ว เชน McDonalds, KFC และ Domino Pizza

อยางไรก็ตาม ผูประกอบการรายใหญในธุรกิจนี้คือ ผูประกอบการชาวมาเลเซีย 56 % ของเจาของแฟรนไชสในตลาด เปนผูประกอบการชาวมาเลเซีย ในจํานวนนี้มี 27 รายท่ีมีกิจการในตางประเทศ (48 ประเทศ) ท้ังกิจการดานอาหาร เลี้ยงเด็กเล็ก เสื้อผาและเครื่องประดับ และบริการดานความงาม ปจจุบันมีธุรกิจแฟรนไชสกวา 400 รายมีกิจการในมาเลเซีย ประกอบดวยธุรกิจดานอาหารและเครื่องดื่ม 120 ราย ดานบริการและบริการซอม 46 ราย

3) แนวโนมของธุรกิจ ธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มยังคงเปนธุรกิจหลักในตลาดมาเลเซีย โดยตลาดมีความ

ตองการสินคาดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีมีเอกลักษณเฉพาะตนมากข้ึน การศึกษาเปนธุรกิจแฟรนไชสท่ีมีความสําคัญมากข้ึน บริการการศึกษาในมาเลเซียหลักยังคงเปน

การศึกษาระบบอังกฤษ อยางไรก็ตาม การศึกษาระบบสหรัฐอเมริกาก็ไดรับความนิยมเพ่ิมมากข้ึน รวมท้ังการศึกษาระบบออสเตรเลียดวย ผลก็คือ ในปจจุบันนักเรียนมาเลเซียเขาศึกษาในโรงเรียนนานาชาติเพ่ิมมากข้ึน สําหรับบริการดานสุขภาพ เสริมความงาน และคาปลีกนับเปนกิจการแฟรนไชสท่ีเติบโตเร็วเชนกันในมาเลเซีย

4) ผูประกอบการในประเทศ กิจการแฟรนไชสของมาเลเซียเองเปนกิจการดานอาหารและเครื่องดื่มเปนหลัก มีหลายกิจการท่ี

เริ่มออกไปตางประเทศ เชน Secret Recipe Cake and Cafe’, Marrybrown Fried Chicken, D’Tandoor และ Nelson โดยเขาไปในตลาดเอเชียและตะวันออกกลาง กิจการดูแลเด็กเล็กของ Smart Reader นับไดวามีการเติบโตเร็วจนมีกวา 300 สาขาท่ัวประเทศ Edaran Otomobil Nasional (EON) นับเปน แฟรนไชสประเภทขายรถยนตท่ีใหญท่ีสุดในประเทศ ปจจุบันมาเลเซียมีแฟรนไชสของผูประกอบการชาวมาเลเซียประมาณ 400 ราย

สหรัฐอเมริกานับเปนประเทศเจาของแฟรนไชสตางชาติรายใหญท่ีสุดในมาเลเซีย ในจํานวนนี้ประกอบดวย KFC, McDonalds, Pizza Hut, Starbucks, Wendy’s, Tony Roma’s, Burger King, Carl’s Jr., Dominos, Krispy Kreme, Papa John’s, Popeye, Subway, Dunkin Donuts เปนตน ในกิจการท่ีไมใชอาหารยังมี Borders, Levis, Foot Solutions, 7-Eleven, Merry Maids, Mail Boxes เปนตน KFC นับเปนแฟรนไชสท่ีมีขนาดใหญท่ีสุดในมาเลเซีย โดยเปนธุรกิจควบรวมท้ังระดับตนน้ําและปลายน้ํา ประเทศเจาของแฟรนไชสอ่ืนๆ ท่ีสําคัญ คือ ออสเตรเลีย อังกฤษ อิตาลี นิวซีแลนด ไอรแลนด คานาดา ฝรั่งเศส ญี่ปุน และสิงคโปร

5) อุปสงคตอแฟรนไชส ผูท่ีประสงคซ้ือสิทธิจากเจาของแฟรนไชสในมาเลเซียมีจํานวนนอย โดยมากคือบรรษัทขนาดใหญ

ในมาเลเซียท่ีตองการซ้ือสิทธิจากแฟรนไชสชั้นนําของโลกมาสะสมไวเพ่ือสรางรายได ผูซ้ือเหลานี้ไดแก Berjaya Group, QSR Brand, Bhd และ Naza Group เชน Berjaya Group ไดรับสิทธิแฟรนไชสจาก Starbucks, Borders, 7-Eleven, Kenny Roger Roaster, Papa John’s Pizza และ Krispy Kreme

Page 33: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 19

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ผูประกอบการรายยอยในมาเลเซียท่ีตองการซ้ือแฟรนไชสจะหันไปจับตลาด Niche โดยมองหาแฟรนไชสท่ีมีเอกลักษณเฉพาะตนในราคาไมแพงในธุรกิจตางๆ ท้ังอาหารและเครื่องดื่ม การศึกษา การดูแลสุขภาพและความงาม รวมถึง บริการคาปลีก

6) การเขาตลาด นักลงทุนชาวมาเลเซียมีความเห็นวาคาแฟรนไชส ( Franchise Fee) สูงเกินไป เปนอุปสรรคสําคัญ

ในการทําธุรกิจแฟรนไชส โดยเฉพาะแฟรนไชสของบริษัทในสหรัฐอเมริกา ผูรับโอนสิทธิแฟรนไชสชาวมาเลเซียเม่ือไดรับโอนสิทธิจะตองไปข้ึนทะเบียนกับนายทะเบียนแฟรน

ไชส (Registra of Franchise; ROF) ในมาเลเซียการทําแฟรนไชสอยูภายใตกฎหมายแฟรนไชสป 1988 (Malaysia Franchise Act 1988) ในมาตรา 54 ของกฎหมายระบุวาชาวตางชาติท่ีตองการขายแฟรนไชสในมาเลเซียหรือใหแกชาวมาเลเซียจะตองยื่นใบคําขออนุญาตจาก ROF

ในดานธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มนั้น ตองพิจารณาถึงขอหามทางศาสนา เชน ชาวฮินดู และผูเลื่อมใสในเจาแมกวนอิมจะไมบริโภคเนื้อวัว ชาวมุสลิมจะไมบริโภคเนื้อสุกร ดังนั้น ปลาและไกจึงเปนอาหารท่ีสามารถขายไดอยางแพรหลาย ชาวมาเลเซียกวารอยละ 60 เปนชาวมุสลิมท่ีตองบริโภคอาหาร Halal ท่ีนิยามโดยกฎหมายอิสลาม ( Islamic Sharich Law) ซ่ึงครอบคลุมตั้งแตกระบวนการผลิต หีบหอ และจัดสงสินคาอาหาร Halal โดยมีองคกร JAKIM เปนผูรับรองความเปนสินคา Halal ในมาเลเซีย

ในสาขาการศึกษา กฎหมายมาเลเซียระบุใหสถานศึกษาเอกชนตองขอใบรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการกอนดําเนินงาน ทุกวิชาท่ีสอนในสถานศึกษาเอกชนจะตองไดรับการรับรองจากหนวยงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับชาติท่ีชื่อ Malaysian Qualification Agency (MQA) มิฉะนั้นโครงการนั้นจะไมไดรับการยอมรับ

2.1.6 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศเมียนมาร 1) การลงทุนในประเทศเมียนมาร

ปจจุบันเศรษฐกิจโดยท่ัวไปของเมียนมารมีแนวโนมท่ีดีข้ึนและเอ้ือตอการลงทุนจากตางประเทศ

มากข้ึนตามลําดับ โดยการปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจของเมียนมารตั้งแตป 2553 ทําใหเมียนมารมีการ

ฟนฟูความสัมพันธกับประเทศตะวันตก ทําใหมีความสนใจลงทุนในประเทศเมียนมารมากข้ึน และนาจะทําให

เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมถึงความสามารถในการบริโภคและกําลังซ้ือของชาวเมียนมารในอนาคต

ดวย อยางไรก็ตาม ปญหาดานความม่ันคงตามแนวชายแดนและโครงสรางการบริหารราชการก็ยังคงเปน

ปญหาสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจอยู

2) การประกอบกิจการแฟรนไชสในเมียนมาร

ประเทศเมียนมารไมไดหามดําเนินกิจการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มจากตางประเทศแตอยางใด แตท่ีผานมาผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มขนาดใหญยังไมไดใหความสนใจในการดําเนินกิจการในเมียนมารมากนัก แมวาจะมีความสนใจในดําเนินธุรกิจจากนักลงทุนภายในทองถ่ินก็ตาม

Page 34: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 20

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ธุรกิจดานอาหารและเครื่องดื่มในเมียนมารท่ีมีการดําเนินการอยูปจจุบันเปนการเปดสาขาหรือแฟรนไชสจากประเทศไทย ไดแก BlackConyon และ COCA SUKI โดยดําเนินการในลักษณะรานอาหารเต็มรูปแบบท่ีไมใชรานอาหารดวน อยางไรก็ตาม ยังมีแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มท่ีมีแผนจะเปดดําเนินการในป 2556 นี้ ไดแก MarryBrown แฟรนไชสรานอาหาร แฮมเบอรเกอร และเครื่องดื่มจากมาเลเซีย เปนการรวมทุนกับนักลงทุนของเมียนมาร และแฟรนไชสรานไอศกรีม SWENSWN’S โดยดําเนินงานผานแฟรนไชสตัวแทนจากประเทศไทย

2.1.7 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศฟลิปปนส 1) สภาพธุรกิจ ธุรกิจแฟรนไชสนับเปนธุรกิจหนึ่งท่ีมีการเติบโตอยางรวดเร็วในฟลิปปนส ปจจัยบวกท่ีทําใหธุรกิจนี้

เติบโตอยางรวดเร็ว การเพ่ิมข้ึนของประชากร การปรับพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน และการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยท่ัวไปการทําธุรกิจแฟรนไชสในฟลิปปนสอยูในรูปเจาของสิทธิแฟรนไชสขายสิทธิใหแกนักลงทุนชาวฟลิปปนส พรอมใหความชวยเหลือในรูปการเงินและการตลาด คาซ้ือสิทธิแตกตางกันไปตามประเภทของธุรกิจ และเง่ือนไขสัญญา คา Royalty Fee ท่ีผูรับสิทธิตองจายใหเจาของสิทธิไดรวมถึงสิทธิการใชเครื่องหมายการคา ชื่อผลิตภัณฑ และระบบ รวมถึงวิธีในการทําแฟรนไชส นอกจากนั้น เจาของแฟรนไชสสามารถมาเปดสาขาในประเทศฟลิปปนสไดโดยตรง

ในป 2010 ธุรกิจแฟรนไชสในฟลิปปนสมีมูลคาถึง 9.95 พันลานดอลลาร สรอ . (US$ billion) หรือคิดเปน 30% ของมูลคาขายของธุรกิจคาปลีกในป 2009 ทําใหเกิดการจางงานกวา 1.02 ลานคน โดยมีรานแฟรนไชสเปดดําเนินการในประเทศกวา 125 ,000 รานจากท้ังหมด 1 ,300 แฟรนไชส เม่ือเทียบกับป 1985 ท่ีมีกิจการแฟรนไชสในฟลิปปนสเปนครั้งแรก ท่ีมีเจาของแฟรนไชสเพียง 50 แฟรนไชส โดย 80 % เปนแฟรนไชสจากตางประเทศ โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา เชน McDonalds และ KFC

2) ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มในฟลิปปนส ธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่มในฟลิปปนสนับเปนธุรกิจบริการท่ีสําคัญ ในป 2010 สามารถ

สรางมูลคาไดถึง 8.2 พันลานดอลลาร สรอ . (US$ billion) (โดยมีจํานวนรานถึง 79 ,400 ราน บริการท่ีเปน แฟรนไชสยังถือเปนสวนนอยกวา 70 % เปนรานอิสระ ในดานทําเลท่ีตั้งสวนใหญ (43 %) เปนรานท่ีตั้งโดดเดี่ยว (Stand-alone Foodservice) อีก 41% เปนรานท่ีตั้งอยูในศูนยการคา ธุรกิจบริการนี้มีความออนไหวตอสภาพเศรษฐกิจคอนขางสูง ในชวงท่ีเศรษฐกิจตกต่ํายอดขายของธุรกิจจะลดลงอยางมีนัยสําคัญ

ตารางที่ 2.3 สวนแบงตลาดของธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่ม จําแนกตามประเภทบริการ 2005 2008 2010 รานอิสระ 65.3 63.6 61.3 รานท่ีมีสาขา 34.7 36.4 38.7 รานอาหารดวน 23.7 24.7 26.3 ภัตตาคาร 28.4 27.3 26.2 รานกาแฟและบาร 26.6 25.0 23.5 รานเล็กขางทาง 18.8 20.3 20.7

Page 35: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 21

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

รานขาย Pizza 4.5 4.4 4.6 รานรับบริการสงและนํากลับบาน 2.6 2.6 3.2

ท่ีมา: Euromonitor International

3) ปจจัยท่ีมีผลตอธุรกิจแฟรนไชสในฟลิปปนส ประชากรฟลิปปนสมีอัตราการขยายตัวอยูท่ีรอยละ 2 ตอป ปจจุบันฟลิปปนสมีประชากรราว 100

ลานคน ขนาดตลาดท่ีใหญยอมสงผลดีตอการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสดานบริการขายอาหารและเครื่องดื่ม โดยปจจัยท่ีมีผลบวกตออุปสงคของธุรกิจ คือ

3.1) วัฒนธรรมการบริโภคของคนฟลิปปนสท่ีชอบรับประทานของวาง 3.2) ประมาณ 35 % ของประชากรมีอายุต่ํากวา 15 ป ท่ีมีรสนิยมการบริโภคแบบตะวันตก ชอบ

ทานอาหารนอกบาน ใหความสนใจเรื่องความสวยงามของบรรจุภัณฑ 3.3) การท่ีประชากรสตรีทํางานนอกบานมากข้ึน โอกาสประกอบอาหารในครัวเรือนนอยลง

ประกอบกับรายไดของครัวเรือนสูงข้ึน ทําใหความตองการบริโภคอาหารนอกบานสูงข้ึน 3.4) ประชากรฟลิปปนสรับวัฒนธรรมการบริโภคแบบตะวันตกอยางแพรหลาย ทําใหอาหาร

นอกบานเปนท่ีนิยม โดยเฉพาะ Hamburgers, Pizza ไสกรอก ไอศกรีม ผลิตภัณฑจากนม เปนตน 3.5) อาหาร Halal เริ่มไดรับความนิยมในการรับประทานนอกบาน โดยเฉพาะอาหารท่ีทําจาก

เนื้อวัว เนื้อแกะ และเนื้อแพะ ปจจุบันประชากรฟลิปปนส 5 % เปนมุสลิม ท่ีมีความตองการรับประทานอาหาร Halal นอกบานมากข้ึน

4) ผูประกอบการในธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่ม Jollibee Food Corp ถือเปนผูประกอบการรายใหญท่ีสุดในธุรกิจนี้ โดยมีสวนแบงตลาดท่ี 42 %

รองลงมาคือ McDonald’s Corp (10%) Yum! Brand Inc (5%) และ Duskin Co Ltd (3%) ในดานจํานวนสาขา Mister Donut เปน Brand ท่ีมีสาขามากท่ีสุดคือ 1,680 สาขา รองลงมาคือ

Chooks to Go (1,050) Dunkin’ Donuts (854) Burger Machine (804) และ 7-Eleven (554) ตารางที่ 2.4 สวนแบงตลาดในธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่มฟลิปปนส

ช่ือผลิตภัณฑ บริษัทท่ีเปนเจาของ สวนแบงตลาด

2007 2010 Jollibee มีผูรับแฟรนไชสหลายราย 14.2 14.3 Jollibee Jollibee Foods Corp 12.2 12.8 McDonald’s Golden Arches Dev.Corp 6.5 6.2 Chowking มีผูรับแฟรนไชสหลายราย 5.1 4.5 McDonald’s มีผูรับแฟรนไชสหลายราย 2.6 3.7 Mang Inasal Mang Inasal Phils Inc 0.5 2.8 KFC Ramcar Inc 2.5 2.6 Mister Donut Ramcar Inc 2.3 2.6

Page 36: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 22

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ท่ีมา: Euromonitor International

2.1.8 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศสิงคโปร 1) สภาพธุรกิจ สิงคโปรเปนประเทศท่ีประชากรมีรายไดสูงเปนอันดับตนๆของโลก ในป 2011 อยูท่ี 41,122

ดอลลาร สรอ . นอกจากนั้นยังเปนประเทศท่ี World Bank ในป 2011 จัดใหเปนประเทศท่ีเปดตลาดใหชาวตางชาติมากท่ีสุด ท้ังยังเปนประเทศท่ีไดชื่อวาใหโอกาสนักลงทุนตางชาติอยางเทาเทียม แมวาสิงคโปรจะเปนตลาดเล็กมีประชากรเพียง 5.2 ลานคน สิงคโปรก็เปนแหลงทําธุรกิจแฟรนไชสของโลก โดยมีผูรับสิทธิ แฟรนไชสถึงกวา 30 ,000 ราย จากรายงานของ Franchising and Licensing Association Singapore ผลประกอบการของธุรกิจแฟรนไชสในสิงคโปรอยูท่ี US$6.1 billion ตอป โดยท่ีธุรกิจแฟรนไชสสวนใหญอยูในภาคอาหารและเครื่องดื่ม อยางไรก็ตามยังมีธุรกิจแฟรนไชสในภาคอ่ืนๆอีก เชน การศึกษา คาปลีก บริการทางพาณิชย และดานดูแลสุขภาพ ประเทศท่ีมีบทบาทหลักในธุรกิจแฟรนไชสของสิงคโปรคือสหรัฐอเมริกา

2) อุปสงคในตลาด ลักษณะสําคัญของผูบริโภคในตลาดสิงคโปรก็คือ ผูบริโภคมีอํานาจซ้ือสูง รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน

ตอเดือนสูงถึง 5 ,571 ดอลลาร สรอ . ในจํานวนประชากร 5.2 ลานคนนี้เปนเด็กท่ีมีอายุต่ํากวา 15 ปอยู 600,000 คน และเปนประชากรชวงวัยทํางาน (15-64 ป) อยูถึง 2.8 ลานคน อายุเฉลี่ยของประชากรอยูท่ี 38 ป และมีอัตราการวางงานต่ําเม่ือเทียบกับประเทศท่ีมีระดับเศรษฐกิจใกลเคียงกัน (รอยละ 2.0)

สภาพสังคมของสิงคโปรเปนสังคมผสมผสานระหวางเอเชียตะวันออก ( East-Asia) และเอเชียใต (South-Asia) นอกจากนั้น การเคยเปนอาณานิคมอังกฤษและการท่ีภาษาราชการคือภาษาอังกฤษ ทําใหคนสิงคโปรไปเพ่ิมความเปนชาติตะวันตกเขาไปในวัฒนธรรมของตัวเอง ผลก็คือ สิงคโปรกลายเปนตลาดท่ียอมรับสินคาท่ีมี Brand Name จากท่ัวทุกมุมโลก กิจการแฟรนไชสจากท้ังโลกลวนแตหลั่งไหลเขามาเปดกิจการในสิงคโปร ไมวาจะเปนจากสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุน ใตหวัน และเกาหลีใต

Spring Singapore และ International Enterprises Singapore (IE Singapore) นับเปน 2 หนวยงานท่ีทําหนาท่ีสนับสนุนกิจการแฟรนไชส โดย Spring Singapore มีหนาท่ีสนับสนุนทางดานการเงิน และ IE Singapore ทําหนาท่ีสนับสนุนชวยเหลือกิจการท่ีตองการรับสิทธิแฟรนไชสจากตางประเทศ โดยกิจการนั้นมีสํานักงานอยูในสิงคโปร ไมวาเจาของกิจการจะเปนชาวสิงคโปรหรือชาวตางชาติ นอกจากนั้น IE Singapore ยังชวยเหลือกิจการท่ีรับสิทธิแฟรนไชสมาจากตางประเทศ และตองการไปขยายกิจการในประเทศท่ีสามดวย

นอกจากนั้น ยังมีภาคเอกชนคือ The Franchise and Licensing Association Singapore (FLA Singapore) ท่ีมีบทบาทชวยเหลือสมาชิกในการพัฒนาธุรกิจและเปนตัวเชื่อมระหวางสมาชิกกับ Spring Singapore และ IE Singapore ปจจุบัน FLA Singapore มีสมาชิกประมาณ 150 ราย ซ่ึงรวมถึงเจาของสิทธิแฟรนไชสท้ังชาวสิงคโปรและชาวตางประเทศ และยังเปนผูจัดงานประจําป Franchise & Licensing Asia (FLAsia) อันเปนงานแสดงสินคาของกิจการแฟรนไชสในเอเชีย

Chowing Fresh ‘N’ Famous Ford Inc 3.1 2.5 Starbucks Rustan Coffee Corp 1.9 2.4

Page 37: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 23

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

3) สภาพธุรกิจแฟรนไชส จากสภาพของตลาดท่ีผูบริโภคมีกําลังซ้ือสูง สังคมมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประชาชนมี

พฤติกรรมการบริโภคสินคา Brand Name และกฎระเบียบท่ีเอ้ืออํานวย ทําใหสิงคโปรเปนตลาดท่ีสําคัญท่ีสุดใน ASEAN สําหรับกิจการแฟรนไชส เจาของแฟรนไชสชั้นนําท่ัวโลกไดมีการโอนสิทธิแฟรนไชสเขามาในตลาดสิงคโปร และพรอมท่ีจะใชสิงคโปรเปนฐานในการขยายกิจการไปยังประเทศท่ีสามใน ASEAN ปจจุบันรายรับของกิจการแฟรนไชสในสิงคโปรอยูท่ีประมาณปละ US$6.1 billion หรอื 18% ของยอดขายในกิจการคาปลีกของประเทศ มีการจางงานกวา 20,000 คน และมีกิจการแฟรนไชสกวา 500 กิจการ

สหรัฐอเมริกาเปนผูนําตลาดในดานเจาของสิทธิแฟรนไชสในสิงคโปร โดยเปนผูนําในทุกสาขากิจการ โดยเฉพาะในกิจการอาหารและเครื่องดื่ม เชน KFC (30 สาขา) Starbuck (60 สาขา) Pizza Hut (12 สาขา) McDonalds (120 สาขา) นอกจากนั้นยังมีแฟรนไชสในกิจการอ่ืนๆ เชน Mathnasium, Snap-On Tools, GNC Live Well, Comfort Keepers, Tully’s Quiznos เปนตน ประเทศเจาของสิทธิแฟรนไชสท่ีมีความสําคัญรองลงมา คือ ออสเตรเลีย ญี่ปุน ใตหวัน และเกาหลีใต

นอกจากนั้น จากการสนับสนุนของรัฐ เจาของสิทธิแฟรนไชสขาวสิงคโปรไดทวีจํานวนเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว ในกวา 250 สาขากิจการ โดยสวนใหญอยูในดานอาหารและเครื่องดื่ม เชน BreadTalk, Ya Kun Kaya Toast และ Sakae Sushi โดยรายชื่อกิจการแฟรนไชสสามารถดูไดจาก www.flasingapore.org

4) การเขาตลาดแฟรนไชสในสิงคโปร เนื่องจากตลาดสิงคโปรเปดเสรีสูตลาดโลก ดังนั้นเจาของแฟรนไชสชาวตางชาติสามารถเปดสาขา

ของตัวเองโดยตรงผานบริษัทแมหรือโอนสิทธิแฟรนไชสใหผูประกอบการชาวสิงคโปรโดยตรง การโอนสิทธิแฟรนไชสสามารถกระทําไดตามกฎหมายสัญญา (Contract Low) ไมมีกฎหมายจําเพาะเจาะจงเก่ียวกับการโอนสิทธิแฟรนไชส ดังนั้นเจาของแฟรนไชสสวนใหญจะเขาตลาดสิงคโปรโดยผานการทําธุรกิจท่ีเรียกวา Master Franchise Model

Master Franchise คือสัญญาแฟรนไชสท่ีเจาของแฟรนไชส (คือ Master Franchisor) โอนสิทธิการบริหารจัดการกิจการแฟรนไชสภายใตขอบเขตพ้ืนท่ีหรือประเทศท่ีตกลงกันแกบุคคลหรือนิติบุคคลท่ีเรียกวาผูรับโอนสิทธิ ( Master Franchisee) โดยผูโอนสิทธิสามารถโอนสิทธินี้ตอใหบุคคลหรือนิติบุคคลอ่ืน (Sub-Franchisee) ไดภายในพ้ืนท่ีหรือประเทศท่ีตกลงกัน โดยทําการแบงผลประโยชนท่ีไดรับระหวางเจาของแฟรนไชสกับผูรับโอนสิทธิแฟรนไชส ในปจจุบันเจาของแฟรนไชสสวนใหญทําธุรกิจโดยใชวิธีการนี้ (ประมาณ 3,200 จาก 7,500 รายท่ัวโลก)

2.1.9 สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในประเทศเวียดนาม 1) สภาพธุรกิจ ธุรกิจแฟรนไชสเริ่มเขามามีบทบาทในเวียดนามในชวงทศวรรษท่ี 1990 โดยเริ่มจากการเขามาของ

ธุรกิจ แฟรนไชสจากสหรัฐอเมริกาในธุรกิจดานขายอาหารจานดวน ( Fast-food Chain) เชน KFC, Pizza Hut, Lotteria และ Jollibee จากการเปดประเทศของเวียดนามท่ีเพ่ิมข้ึนหลังการท่ีเวียดนามเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก ( the World Trade Organization) ในป 2007 ทําใหเวียดนามมีการปรับกฎหมายและระเบียบตางๆ ในดานแฟรนไชส สงผลใหธุรกิจแฟรนไชสในเวียดนามมีการขยายตัวอยางรวดเร็วในชวงหลัง

Page 38: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 24

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ท้ังแฟรนไชสของตางประเทศและแฟรนไชสของธุรกิจในประเทศเอง การเปดเสรีภาคคาปลีกแกนักลงทุนชาวตางประเทศยิ่งสงผลใหเวียดนามเปนประเทศท่ีเหมาะกับการทําธุรกิจนี้มากข้ึน

แมวาตลาดเวียดนามยังคงมีขนาดเล็ก แตการแขงขันกลับมีความรุรแรงข้ึนอันเกิดจากการเขามาของธุรกิจเจาของ Brand ดังจากตางประเทศ นอกจากนั้นแลวนักธุรกิจชาวเวียดนามเองก็มีความสนใจและมีความเขาในในธุรกิจประเภทนี้มากข้ึน อยางไรก็ตาม ธุรกิจนี้ก็ยังจํากัดตัวเฉพาะในเขตเมืองใหญ เชน Hanoi และ Ho Chi Minh ท่ีผูบริโภคมีกําลังซ้ือสินคา Brand Name ได ในป 2010 รายไดตอหัวของประชากรใน Hanoi อยูท่ี 2,500 ดอลลาร สรอ. ตอป และใน Ho Chi Minh อยูท่ี 3,000 ดอลลาร สรอ. ตอป

ในปจจุบันธุรกิจแฟรนไชสในเวียดนามไมไดจํากัดตัวอยูท่ีธุรกิจ Fast Food เทานั้น ยังขยายไปสูธุรกิจอ่ืน เชน คาปลีก การศึกษา การบันเทิง และการดูแลสุขภาพ ทําใหปจจุบันเวียดนามมีระบบนี้อยูประมาณ 96 แฟรนไชส

2) ธุรกิจท่ีมีแนวโนมท่ีดี ในปจจุบันทางการเวียดนามไดเปดตลาดสําหรับธุรกิจแฟรนไชสในหลายดาน อาทิเชน ธุรกิจคา

ปลกี Fast Food รานอาหาร ธุรกิจแฟชั่น รานสะดวกซ้ือ และการศึกษา ปจจุบันมีธุรกิจแฟรนไชสของตางประเทศเปดกิจการในเวียดนามกวา 70 แฟรนไชส เชน Subway, Jollibee, Lotteria, BreadTalk, Carl’s Jr, Pizza Hut, Hard Rock Cafe’, Domino Pizza, Roundtable Pizza, Coffee Bean and Tea Leaf, Popeye’s Chicken, Illy Café’, และ Gloria Jean’s Coffee ธุรกิจแฟรนไชสของสหรัฐอเมริกาถือเปนผูนําตลาดอันเกิดจากชื่อเสียงชอง Brand และความนิยมของผูบริโภคชาวเวียดนาม โดยธุรกิจแฟรนไชสของสหรัฐอเมริกากระจายตัวในหลายธุรกิจ เชน Fast Food รานอาหาร การศึกษา การดูแลสุขภาพ โรงแรม การทําความสะอาด บริการดานความงาม การบันเทิง อาหารเสริมสุขภาพ และรานสะดวกซ้ือ

นักธุรกิจชาวเวียดนามเองก็มีการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชสของตัวเองข้ึนเชนกัน เชน Trung Nguyen Coffee, Pho24, Kinh Do Bakery, AQSilk Shop and Go และ Coffee24Seven และมีหลายรายท่ีเริ่มรุกเขาไปในตลาดตางประเทศ เชน Pho24 และ Trung Nguyen Cafe’ จากจุดแข็งในการผลิตเมล็ดกาแฟของเวียดนามเอง

3) กฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวของ หลังจากการเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก กฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของกับธุรกิจแฟรน

ไชสไดมีการปรับปรุงไปมาก ในอดีตกฎหมายเวียดนามไมไดมีการคุมครองสัญญาแฟรนไชสอยางชัดเจน แตในปจจุบันไดมีกฎหมายใหม ( Decree No.35 และ Circular No.09) ท่ีมีการระบุถึงนิยามและขอกําหนดในการทําสัญญาแฟรนไชส

ตามกฎหมายเจาของแฟรนไชสชาวตางประเทศ ( Franchisor) ไมจําเปนตองมีสํานักงานในเวียดนาม อยางไรก็ตาม เจาของแฟรนไชสชาวตางประเทศตองมีธุรกิจในเวียดนามอยางนอย 1 ป จึงมีสิทธิโอนสิทธิแฟรนไชสได ผูรับโอนสิทธิชาวเวียดนาม (Franchisee) จะตองดําเนินธุรกิจกับเจาของแฟรนไชสชาวตางประเทศในประเทศเวียดนามไมนอยกวา 1 ป จึงมีสิทธิรับโอนสิทธิแฟรนไชสได (Sub-franchising)

เจาของแฟรนไชสชาวตางประเทศตองไปข้ึนทะเบียนการทําธุรกิจแฟรนไชสกับ Ministry of Industry and Trade (MOIT) สวนผูรับโอนสิทธิชาวเวียดนามตองไปข้ึนทะเบียนกับ Department of Industry and Trade ในพ้ืนท่ีนั้นๆ สัญญาแฟรนไชสจะตองเปนภาษาเวียดนาม โดยอาจมีการแปลเปนภาษาอังกฤษก็ได

Page 39: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 25

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4) โอกาสในการทําธุรกิจแฟรนไชส ปจจัยสําคัญท่ีมีผลตอธุรกิจแฟรนไชสของชาวตางประเทศในเวียดนาม มีดังนี้

4.1) รายไดของผูบริโภคชาวเวียดนาม พบวาการพัฒนาเศรษฐกิจแบบตลาดในเวียดนามมีผลให

รายไดประชาชาติตอหัว ( Per Capita GDP) ของชาวเวียดนาม โดยเฉพาะในเขตเมืองใหญ เชน Ho Chi Minh, Hanoi, Da Nang และ Can Tho มีแนวโนมเพ่ิมสูงข้ึน ทําใหอํานาจซ้ือของประชาชนเวียดนามสูงข้ึน

4.2) ประชาชนเวียดนามมีการศึกษาสูงข้ึน เปดตัวสูตลาดโลกมากข้ึน มีพฤติกรรมการบริโภคแบบตะวันตกมากข้ึน ทําใหมีความตองการสินคาบริการมาตรฐานโลก มี Brand Name มากข้ึน เชน KFC มีสาชาถึง 1,000 สาขาในเวียดนาม (2011) อาจกลาวไดวาการขยายตัวของชนชั้นกลางในเวียดนามสงผลดีตอการขยายตัวของธุรกิจ แฟรนไชสในเวียดนาม

4.3) ความเขาใจในธุรกิจแฟรนไชสของนักธุรกิจชาวเวียดนามยังมีไมสมบูรณ ท้ังในเรื่องการทําสัญญาและการแบงปนผลประโยชนของท้ังสองฝาย ทําใหมีความลําบากในการหาผูรวมทุนชาวเวียดนาม

4.4) การคุมครองทรัพยสินทางปญญาในเวียดนามยังไมเขมงวด สงผลใหเจาของธุรกิจแฟรนไชสตองมีมาตรการคุมครองของตนเอง เชน การจด IP ของตนในเวียดนาม การจัดการกับผูละเมิดสิทธิ

4.5) ราคาอสังหาริมทรัพยในเมืองใหญมีแนวโนมเพ่ิมสูงข้ึนอยางรวดเร็ว สงผลตอตนทุนในการเปดราน

2.2 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียน การเปดเสรีธุรกิจแฟนไชส (Franchising Services) เปนสวนหนึ่งของการเปดเสรีการคาบริการ

(Trade in Services Liberalization) ซ่ึงประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม ไดรวมเจรจาเปดเสรีการคาบริการดังกลาวภายใต “แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ” หรอื AEC Blueprint โดยประเทศสมาชิกอาเซียนไดเจรจาความตกลงการคาบริการมาแลวหลายครั้ง และลาสุดสามารถตกลงขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 8 ในป พ.ศ. 2553

ในภาพรวม การเปดเสรีการคาบริการแบงออกเปน 2 สวนสําคัญ ไดแก 1) การผูกพันการเปดตลาด (Commitment to Market Access) เพ่ือสรางความแนนอน

ชัดเจนในเชิงกฎหมายใหแกผูประกอบการตางชาติ ท้ังนี้ ผูอานควรเขาใจถึงขอแตกตางระหวางการผูกพัน

การเปดตลาดและการเปดใหผูประกอบการตางชาติเขามาบริการ โดยประเทศอาจเปดใหผูประกอบการ

ตางชาติเขามาบริการไดโดยไมผูกพันการเปดตลาด แตการท่ีประเทศไมผูกพันการเปดตลาดยอมใหสิทธิ์

ประเทศนั้นในการออกมาตรการในอนาคตเพ่ือกีดกันมิใหผูประกอบการตางชาติเขามาประกอบการใน

ประเทศได ดังนั้นการผูกพันการเปดตลาด จึงเปนการสรางความแนนอนชัดเจนในเชิงกฎหมายใหแก

ผูประกอบการตางชาติวาประเทศท่ีไดผูกพันการเปดตลาดนั้นจะยังคงตอนรับผูประกอบการตางชาติดังกลาว

Page 40: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 26

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ท้ังนี้ ในการเปดเสรีการคาบริการ ประเทศคูสัญญาสามารถกําหนดสาขาหรือสาขายอยท่ีตนจะ

ผูกพันการเปดตลาดได ไมจําเปนตองเปดเสรีในทุกสาขา โดยใหระบุสาขาท่ีตองการจะผูกพันในตารางขอ

ผูกพันเฉพาะ ( Schedule of Specific Commitments) อีกท้ังยังสามารถกําหนดเง่ือนไขการผูกพันใน

ตารางฯ ไดดวย ยกตัวอยางเชน ในขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 8 ในกรอบอาเซียน ประเทศ

ลาวผูกพันการเปดตลาดในธุรกิจแฟรนไชส เฉพาะสาขาสิ่งทอ เครื่องนุมหม และรองเทาเทานั้น และมี

เง่ือนไขกําหนดใหสัดสวนการถือหุนโดยตางชาติไมเกินรอยละ 49 เปนตน

2) การผูกพันการไมเลือกปฏิบัติ (Commitment to Non-discrimination) โดยแบงออกเปน

1) การใหการประติบัติเยี่ยงชาติท่ีไดรับการอนุเคราะหยิ่ง (Most Favored Nation: MFN) อันไดแกการให

สิทธิประโยชนกับผูประกอบการของประเทศคูสัญญาไมดอยไปกวาสิทธิประโยชนท่ีไดใหกับผูประกอบการ

ของประเทศนอกกลุม ยกตัวอยางเชน หากประเทศไทยใหสิทธิประโยชนใดแกผูประกอบการ

แฟรนไชสสัญชาติญี่ปุนซ่ึงมิใชประเทศสมาชิกอาเซียน ก็ยอมตองใหสิทธิประโยชนนั้นแกผูประกอบแฟรนไชส

การสัญชาติอาเซียนดวย และ 2) การใหการประติบัติเยี่ยงชาติ (National Treatment) อันไดแกการใหสิทธิ

ประโยชนกับผูประกอบการของประเทศคูสัญญาไมดอยไปกวาสิทธิประโยชนท่ีไดใหกับผูประกอบการ

ภายในประเทศ ยกตัวอยางเชน หากประเทศไทยใหสิทธิประโยชนใดแกผูประกอบการแฟรนไชสสัญชาติไทย

ก็ยอมตองใหสิทธิประโยชนนั้นแกผูประกอบการแฟรนไชสสัญชาติอาเซียนดวย

ท้ังนี้ ในการเปดเสรีการคาบริการ ประเทศคูสัญญาสามารถเลือกระดับการผูกพันการไมเลือกปฏิบัติได โดยหากไมตองการผูกพัน ใหระบุในตารางฯ วา “Unbound” หากตองการผูกพันโดยไมมีเง่ือนไข ใหระบุในตารางฯ วา “None” และหากตองการผูกพันโดยมีเง่ือนไข ใหระบุเง่ือนไขนั้นในตารางฯ ดวย

นอกจากนี้ การเปดเสรีการคาบริการในแตละสาขาตองพิจารณาตามรูปแบบการใหบริการนั้นๆ

ดวย (Mode of Service) โดยรูปแบบการใหบริการแบงออกเปน 4 รูปแบบ ไดแก รูปแบบที่ 1 การใหบริการขามพรมแดน (Cross-border Supply) ไดแก การท่ีผูใหบริการและ

ผูรับบริการอยูกันคนละประเทศ ยกตัวอยางเชน การประกอบธุรกิจแฟรนไชสผานสื่อระหวางประเทศ อาทิ เว็ปไซต โทรศัพท ระหวางประเทศ โทรสารระหวางประเทศ เปนตน

รูปแบบที่ 2 การเดินทางไปใชบริการตางประเทศ (Consumption Aboard) ไดแก การท่ี

ผูรับบริการเดินทางไปยังประเทศของผูใหบริการเพ่ือรับบริการนั้นๆ ยกตัวอยางเชน ผูใหสัญญาใหใชสิทธิ แฟรนไชส ( Franchisor) จัดตั้งศูนยบริการใหคําแนะนําเก่ียวกับการใหบริการใหแกผูรับสิทธิแฟรนไชส (Franchisee) ในประเทศของตน

รูปแบบที ่3 การจัดตั้งธุรกิจ (Commercial Presences) ไดแก การท่ีผูใหบริการมาจัดตั้งบริษัทใน

ประเทศของผูรับบริการเพ่ือใหบริการนั้น ยกตัวอยางเชน ผูใหสัญญาใหใชสิทธิแฟรนไชสมาจัดตั้งบริษัทในประเทศของผูรับสิทธิแฟรนไชสเพ่ือใหบริการนั้น

Page 41: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 27

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

รูปแบบที่ 4

2.2.1 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศบรูไนในกรอบอาเซียน

การเคลื่อนยายบุคลากรวิชาชีพ (Movement of Natural Person) ไดแก การท่ีผูใหบริการไดสงบุคลากรของตนเขามาใหบริการในประเทศของผูรับบริการนั้น ยกตัวอยางเชน ผูใหสัญญาใหใชสิทธิแฟรนไชสไดสงพนักงานท่ีปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชสมาใหบริการในประเทศของผูรับสิทธิแฟรนไชส

ในการผูกพันการเปดตลาด และการผูกพันการไมเลือกปฏิบัติ ประเทศคูสัญญาสามารถแยกเลือกท่ี

จะผูกพันหรือไมผูกพันในแตละรูปแบบของการใหบริการได ยกตัวอยางเชน ในขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 8 ภายใตกรอบอาเซียน ประเทศกัมพูชาผูกพันการเปดตลาดและการไมเลือกปฏิบัติในธุรกิจแฟรนไชสเฉพาะในรูปแบบที่ 1 2 และ 3 เทานั้น และไมผูกพันการเปดตลาดและการไมเลือกปฏิบัติในรูปแบบท่ี 4 (การเคลื่อนยายบุคลากรวิชาชีพ)

เนื้อหาในสวนตอไป จะเปนการสรุปขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 8 ภายใตกรอบอาเซียน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ประเทศบรูไนไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในทุกรูปแบบ 2.2.2 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศกัมพูชาในกรอบอาเซียน ประเทศกัมพูชาผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไขดังนี้ 1) ผูประกอบการตางชาติ ท่ีไดรับการสงเสริมการลงทุนจากภาครัฐมีหนาท่ีในการจัดใหมีการ

อบรมพนักงานชาวกัมพูชาอยางเพียงพอ รวมท้ังการสนับสนุนใหพนักงานชาวกัมพูชามีตําแหนงท่ีสูงดวย 2) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในสวนของการใหเงินสนับสนุน (Subsidy) แกผูประกอบการ 3) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในสวนของภาษี 4) ผูประกอบการไมสามารถถือครองกรรมสิทธิ์แตสามารถเชาท่ีดินได ประเทศกัมพูชาไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 4 ยกเวนการเขา (Entry) และ

การพักอาศัยชั่วคราว (Temporary Stay) ของประเภทบุคคลดังตอไปนี้ 1) ผูเขามาติดตอธุรกิจ (Business Visitors) โดยวีซาสําหรับผูเขามาติดตอธุรกิจมีอายุ 90 วัน

สําหรับการเขามาในครั้งแรก 30 วัน ซ่ึงสามารถตออายุได 2) ผูเขามาจัดตั้งธุรกิจ (Persons responsible for setting up a commercial establishment)

ซ่ึงไมมีขอจํากัดระยะเวลาการพักอาศัยในประเทศ 3) ผูโอนยายระหวางบริษัทขามชาติ (Intra-corporate Transferees) ไดแก ผูบริหาร ผูจัดการ

และผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ซ่ึงจําเปนตองไดรับใบอนุญาตใหอยูอาศัยและทํางานใหครั้งแรก 2 ป ตอไดปตอป รวมไมเกิน 5 ป

Page 42: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 28

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2.2.3 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของอินโดนีเซียในกรอบอาเซียน ประเทศอินโดนีเซียไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในทุกรูปแบบ 2.2.4 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศลาวในกรอบอาเซียน ประเทศลาวผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสเฉพาะสาขาสิ่งทอ เครื่องนุงหม และรองเทา

(Textile, Clothing และ Footwear) ในรูปแบบที่ 1-3 โดยมีเง่ือนไขดังนี้ 1) การจัดตั้งธุรกิจ (รูปแบบที่ 3) ตองจัดตั้งในรูปแบบการรวมทุน (Joint Venture) เทานั้น โดย

ตางชาติตองถือหุนอยางนอยรอยละ 30 แตไมเกินรอยละ 49 และตองผานการทดสอบความจําเปนทางเศรษฐกิจ (Economic Need Test) กอนท่ีจะจัดตั้งดวย

2) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติตอผูประกอบการตางประเทศในการจัดตั้งธุรกิจ 3) ผูประกอบการสามารถเชาและเชาชวงท่ีดิน รวมท้ังมีกรรมสิทธิ์ในสวนประกอบของท่ีดินและ

สังหาริมทรัพยอ่ืนๆ ได 4) ผูประกอบการตางชาติ ท่ีไดรับการสงเสริมการลงทุนจากภาครัฐตองจายภาษีบนฐานกําไรใน

อัตราท่ีกําหนดในกฎหมายสงเสริมการลงทุน ประเทศลาวไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 4 ท้ังนี้ 1) ชาวตางชาติท่ีทํางานในประเทศลาวตองปฏิบัติตามกฎหมายการสงเสริมและการบริหารจัดการ

การลงทุนจากตางชาติ (Promotion and Management of Foreign Investment) และกฎระเบียบอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับการเขาเมือง

2) บริษัทตางชาติมีสิทธิท่ีจะจางผูเชี่ยวชาญชาวตางชาติหากจําเปน ท้ังนี้ ตองไดรับอนุญาตจากหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของ

3) การอํานวยความสะดวกในการเขา การเดินทาง การอาศัย และการออกจากประเทศลาว สําหรับชาวตางชาติและครอบครัวใหเปนไปตามกฎหมายของประเทศลาวท่ีเก่ียวของ

4) นักลงทุนและผูประกอบการตางชาติมีหนาท่ีในการพัฒนาทักษะฝมือของพนักงานสัญชาติลาวผานการฝกอบรมท้ังในประเทศลาวและในตางประเทศ

5) ผูประกอบการและลูกจางตางชาติตองจายภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ตามอัตราภาษีท่ีกําหนดในกฎหมาย ซ่ึงอาจแตกตางจากอัตราภาษีของประชาชนลาวได

2.2.5 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศมาเลเซียในกรอบอาเซียน ประเทศมาเลเซียผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไข ดังนี้ 1) ในการจัดตั้งธุรกิจ (รูปแบบที่ 3) ตางชาติสามารถถือหุนไดไมเกินรอยละ 51

Page 43: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 29

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2) การเขาซ้ือ (Acquisition) ควบรวม (Merger) และครอบงํา (Take-over) ในกรณีดังตอไปนี้ตองไดรับอนุญาตจากทางการ

3) การเขาซ้ือสิทธิออกเสียง (Voting Right) ในบริษัทสัญชาติมาเลเซียโดยชาวตางชาติคนใดคนหนึ่งเกินกวารอยละ 15 หรือโดยกลุมชาวตางชาติเกินกวารอยละ 30 หรือเกินกวา 5 ลานริงกิต

4) การเสนอท่ีจะเขาซ้ือสินทรัพยในชองทางตางๆ ท่ีจะสงผลใหเกิดการโอนกรรมสิทธิ์หรืออํานาจในการบริหารจัดการใหตางชาติ

5) การกุมอํานาจในการบริหารจัดการในบริษัทสัญชาติมาเลเซียผานความตกลงการรวมทุน (Joint Venture Agreement) ความตกลงการบริหารจัดการ (Management Agreement) ความตกลงชวยเหลือดานเทคนิค (Technical Assistance Agreement) หรือความตกลงอ่ืนๆ ท้ังนี้ โดยท่ัวไปทางการจะอนุญาตการเขาซ้ือ ควบรวม และครอบงําดังกลาว ยกเวนในกรณีท่ีขัดตอผลประโยชนของประเทศมาเลเซีย

6) ภาครัฐอาจไมอนุญาตการซ้ือ การขาย หรือขอตกลงอ่ืนๆ เก่ียวกับท่ีดิน ผลประโยชนจากท่ีดิน

ซ่ึงเปนการเก็งกําไร ไมมีประโยชน หรือขัดตอผลประโยชนของประเทศมาเลเซีย 7) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในกรณีของสิทธิประโยชนท่ีใหตอบริษัทสัญชาติมาเลเซียนในสาขา

บริการท่ีภาครัฐสนับสนุน 8) ไมผูกพันมาตรการสนับสนุนท่ีใหตอชาวมาเลเซียเชื้อสาย “ภูมิบุตรา” บริษัทหรือทรัสตของชาว

“ภูมิบุตรา” ตามเปาประสงคของนโยบายเศรษฐกิจใหม (New Economic Policy) และนโยบายการพัฒนาประเทศ (National Development Policy)

9) บริษัทท่ีภาครัฐถือหุนอาจพิจารณาเปนพิเศษในการเลือกใชบริการจากผูใหบริการซ่ึงภาครัฐถือหุน

ประเทศมาเลเซียไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 4 ยกเวนการเขา (Entry) และ

การพักอาศัยชั่วคราว (Temporary Stay) ของประเภทบุคคลดังตอไปนี้ 1) ผูโอนยายระหวางบริษัทขามชาติ (Intra-corporate Transferees) ไดแก ผูจัดการอาวุโส และ

ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานไมเกิน 2 คนตอบริษัท โดยการจางผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเพ่ิมเติม อาจมีเง่ือนไขเพ่ิมเติมในการทดสอบความจําเปนทางเศรษฐกิจหรือการอบรมเพ่ิมทักษะของพนักงานสัญชาติมาเลเซีย ท้ังนี้ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานตองมีประสบการณทํางานในดานเก่ียวของท่ีบริษัทแมอยางนอย 1 ป

2) บุคคลอ่ืนๆ รวมท้ังผูเขามาติดตอธุรกิจ โดยการเขาและการพักอาศัยชั่วคราวของผูโอนยายระหวางประเทศและบุคคลอ่ืนๆ ยกเวนผูเขามาติดตอธุรกิจจะไมเกิน 5 ป และระยะเวลาการพักอาศัยของผูมาติดตอธุรกิจจะไมเกิน 90 วัน

2.2.6 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศเมียนมารในกรอบอาเซียน ประเทศเมียนมารไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในทุกรูปแบบ 2.2.7 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศฟลิปปนสในกรอบอาเซียน

Page 44: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 30

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศฟลิปปนสผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไข ดังนี้ 1) ในการจัดตั้งธุรกิจ (รูปแบบที่ 3) ตางชาติสามารถถือหุนไดไมเกินรอยละ 51 2) เฉพาะผูมีสัญชาติฟลิปปนสและบริษัทท่ีมีผูถือหุนสัญชาติฟลิปปนสเกินกวารอยละ 60 สามารถ

ถือครองกรรมสิทธิ์ท่ีดินท่ีไมใชท่ีดินสาธารณะและสามารถเชาท่ีดินสาธารณะได อยางไรก็ตาม ชาวตางชาติสามารถเชาท่ีดินท่ีไมใชท่ีดินสาธารณะได

3) หางหุนสวนหรือบริษัทในสาขาท่ีมิใชสาขาอุตสาหกรรมและสถาบันการเงิน ท่ีมีสัดสวนการถือหุนโดยตางชาติเกินกวารอยละ 40 ท่ีตองการจะกูยืมเงินในสกุลเปโซ จะตองมีหนี้สินไมเกินสัดสวนหนี้สินตอสัดสวนผูถือหุนท่ี 50:50 ณ ขณะท่ีทําการกูยืม

ประเทศฟลิปปนสไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 4 ยกเวนเฉพาะการเขามาของ

ผูไมมีถ่ินฐานในประเทศฟลิปปนสภายหลังท่ีสามารถชี้ใหเห็นวาไมมีชาวฟลิปปนสท่ีมีความสามารถและมีความตองการทํางานในตําแหนงท่ีตองการในขณะนั้น

2.2.8 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศสิงคโปรในกรอบอาเซียน ประเทศสิงคโปรผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไขดังนี้ 1) ชาวตางชาติท่ีตองการจดทะเบียนบริษัทตองมีผูจัดการทองถ่ิน (Local Manager) ซ่ึงมีสัญชาติ

สิงคโปร มีถ่ินท่ีอยูภาวรในประเทศสิงคโปร หรือเปนผูถือใบอนุญาตการทํางานในประเทศสิงคโปร (Singapore Employment Pass)

2) กรรมการอยางนอย 1 คนตองมีถ่ินท่ีอยูในประเทศสิงคโปร 3) สาขาตางๆ ของบริษัทท่ีจดทะเบียนในประเทศสิงคโปรตองมีตัวแทน (Agent) อยางนอย 2 คน

ท่ีมีถ่ินท่ีอยูในประเทศสิงคโปร 4) ไมผูกพันการใหเงินสนับสนุน ยกเวนตามท่ีไดผูกพันไปแลวในกรอบองคการการคาโลก ประเทศสิงคโปรไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 4 ยกเวนผูโอนยายระหวางบริษัท

ขามชาติ (Intra-corporate Transferees) ไดแก ผูบริหาร ผูจัดการ และผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ท่ีมีประสบการณทํางานในบริษัทไมนอยกวา 1 ป โดยอนุญาตใหเขามาครั้งแรกไมเกิน 2 ป ตอไดครั้งละ 3 ป รวมไมเกิน 8 ป

2.2.9 การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสของประเทศเวียดนามในกรอบอาเซียน ประเทศเวียดนามผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไขดังนี้ 1) ในการจัดตั้งสาขา (Branch) เพ่ือใหบริการในเวียดนาม ผูจัดการสาขา (Chief of the Branch)

ตองเปนผูมีถ่ินท่ีอยูในเวียดนาม

Page 45: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 31

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2) การเชาท่ีดินตองไดรับอนุญาตโดยหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของ ระยะเวลาการเชาตองสอดคลองกับระยะเวลาของการปฏิบัติงานตามท่ีระบุในใบอนุญาต ซ่ึงหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของมีอํานาจพิจารณาตออายุได

3) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติท่ีเก่ียวของกับการสนับสนุนดานการเงิน อาทิ การสนับสนุนดานการเงินท่ีเก่ียวของกับการวิจัยและพัฒนา การสนับสนุนดานการเงินในสาขาการศึกษาและโสตทัศน และการสนับสนุนดานการเงินเพ่ือสนับสนุนสวัสดิการ การจางงาน และชนกลุมนอย

ประเทศเวียดนามไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 4 ยกเวนบุคลากรในประเภท

ดังตอไปนี้ 1) ผูโอนยายระหวางบริษัทขามชาติ (Intra-corporate Transferees) ไดแก ผูบริหาร ผูจัดการ

และผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ซ่ึงมีประสบการณทํางานในบริษัทอยางนอย 1 ป โดยจะไดรับอนุญาตใหเขามาในครัง้แรก 3 ป สามารถตอระยะเวลาไดตามระยะเวลาการปฏิบัติการของบริษัทนั้น ท้ังนี้ ผูบริหาร อยางนอยรอยละ 20 หรอื 3 คนตองมีสัญชาติเวียดนาม

2) ผูบริหาร ผูจัดการ และผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานอ่ืนๆ จากสาขาในประเทศอ่ืน โดยจะไดรับอนุญาตใหเขามาครั้งแรก 3 ป แตไมเกินระยะเวลาท่ีระบุตามสัญญาจาง

3) ผูขายบริการ (Service Sales Persons) โดยจะไดรับอนุญาตใหพักอาศัยไมเกิน 90 วัน 4) ผูเขามาจัดตั้งธุรกิจ (Persons responsible for setting up a commercial presence) โดย

จะไดรับอนุญาตใหพักอาศัยไมเกิน 90 วัน 5) ผูรับจาง (Contractual Service Suppliers) โดยจะไดรับอนุญาตใหพักอาศัยไมเกิน 90 วัน

Page 46: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

บทที่ 3

กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศสมาชิกอาเซียน

ปจจัยสําคัญประการหนึ่งท่ีนักธุรกิจหรือบริษัทตางชาติซ่ึงประสงคจะประกอบธุรกิจแฟรนไชสใน

ประเทศสมาชิกอาเซียนจะตัดสินใจประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศสมาชิกอาเซียนหรือไมนั้น นอกจากจะพิจารณาถึงปจจัยทางดานเศรษฐกิจ เชน ความคุมคาทางเศรษฐกิจ ผลกําไรตอบแทนท่ีจะไดรับ และกลุมลูกคาท่ีเปนเปาหมายแลว ปจจัยอีกประการหนึ่งท่ีสําคัญซ่ึงมีผลตอการตัดสินใจของผูลงทุนเชนกันก็คือปจจัยทางดานกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายจะเปนบทบัญญัติท่ีกําหนดสิทธิและหนาท่ีตางๆ ของคูสัญญาในการประกอบธุรกิจ กําหนดกลไกตางๆ เพ่ือดูแลและคุมครองการประกอบกิจการ ดังนั้น จึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองพิจารณาวาประเทศท่ีประสงคจะลงทุนนั้นมีกฎหมายวาดวยเรื่องการประกอบธุรกิจแฟรนไชสหรือกฎหมายท่ีเก่ียวของซ่ึงมีบทบัญญัติกําหนดการควบคุมดูแลการประกอบกิจการรวมไปถึงบทบัญญัติท่ีใหความคุมครองการประกอบกิจการแฟรนไชสหรือไม ซ่ึงจากการศึกษาคนควากฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจ แฟรนไชสของประเทศสมาชิกอาเซียนแลวปรากฏวา สามารถแบงประเภทของประเทศสมาชิกอาเซียนออกไดเปน 2 กลุมคือ กลุมประเทศสมาชิกอาเซียนท่ีไมมีการตรากฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจแฟรนไชสไวเปนการเฉพาะ ซ่ึงมีดวยกัน 7 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา ลาวไทย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร และกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนซ่ึงมีกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ ซ่ึงมีดวยกัน 3 ประเทศ ไดแก มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเวียดนาม นอกจากนี้ ดวยเหตุท่ีโดยลักษณะของการประกอบธุรกิจแฟรนไชสจะมีเรื่องของการอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาและเรื่องความลับทางการคาดวย ดังนั้น การพิจารณากฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสนอกจากจะตองพิจารณาวามีกฎหมายเฉพาะในเรื่องดังกลาวแลวหรือไม ยังจําเปนท่ีจะตองพิจารณาถึงกฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของดวยเชนกัน

3.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศบรูไน

3.1.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส สําหรับประเทศบรูไน ไมมีขอมูลวามีกฎหมายเฉพาะเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชสหรือไม ดังนั้น จึง

จะกลาวถึงเรื่องของการประกอบธุรกิจท่ัวไปในประเทศบรูไนซ่ึงสามารถประยุกตใชกับการประกอบธุรกิจ แฟรนไชสได เนื่องจากธุรกิจทุกประเภทตองจดทะเบียนไวกับนายทะเบียน ซ่ึงสามารถจดทะเบียนไดหลายประเภท อันไดแก หางท่ีมีหุนสวนเพียงรายเดียว หางหุนสวน บริษัทเอกชน บริษัทมหาชนสํานักงานสาขาของบริษัทตางชาติ บริษัทรวมทุน ตามท่ีกําหนดไวใน Laws of Brunei revised edition 1984 Chapter 92 Business Names and Chapter 94 Emblems and Names (Prevention of Improper Use)

Page 47: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 33 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

3.1.2 กฎหมายทรพัยสนิทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายเครือ่งหมายการคา กฎหมายท่ีใหความคุมครองเครื่องหมายการคาของประเทศบรูไน ไดแก - Trade Marks Act (Chapter 98) - Chapter 96, Merchandise Marks amended by 7 0f 1956 GNE 29/56 S99/59 - Trade Marks (Importation of Infringing Goods) Regulations, Rg 1 1984 Ed. S46/2000 - Trade Marks Rules, R1 1984 Ed. S27/2000 ระบบการใหความคุมครองเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของประเทศบรูไนนั้นเปน

ระบบจดทะเบียน เม่ือจดทะเบียนแลวจึงจะไดรับความคุมครองตามกฎหมายเหมือนดังเชนประเทศอ่ืนๆ ท่ีเปนภาคีสมาชิก World Trade Organization โดยมีอายุการคุมครองเปนเวลา 10 ป นับจากวันยื่นคําขอและสามารถตออายุไดทุกๆ 10 ป เปนท่ีนาสังเกตอยางยิ่งวา ในประเทศบรูไนนั้นนายทะเบียนมีหนาท่ีตองแจงเตือนใหแกเจาของสิทธิทราบถึงเรื่องการตออายุเครื่องหมายท่ีไดรับจดทะเบียนซ่ึงกําลังจะหมดอายุลงเพ่ือใหเจาของสิทธิมาตออายุไดทันเวลา โดยนายทะเบียนตองกระทําการดังกลาวภายในหกเดือนและตองไมชากวาหนึ่งเดือนกอนวันหมดอายุของเครื่องหมายนั้น ( Article 47 of Trade Marks Rules, R1 1984 Ed. S27/2000) สวนเง่ือนไขมาตรฐานการรับจดทะเบียนเครื่องหมายก็เปนไปตามท่ีมาตรฐานของ World Intellectual Property Organization กลาวคือ จําพวกสินคาจําพวกท่ี 1-34 สําหรับเครื่องหมายการคา จําพวกท่ี 35-42 สําหรับเครื่องหมายบริการ

นอกจากนี้ ตาม Trade Marks Act (Chapter 98) ประเทศบรูไนยังใหความคุมครองเครื่องหมายการคาท่ีมีชื่อเสียงแพรหลาย ( Well-known Trademark) แตภายใตขอจํากัดและขอบเขตท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้ กลาวคือ เจาของเครื่องหมายการคานั้นตองเปนคนชาติ หรือมีถ่ินพํานักถาวร หรือมีสถานประกอบการ อยูในประเทศท่ีเปนภาคีสมาชิกของ Paris Convention หรอื World Trade Organization ไมวาบุคคลนั้นจะดําเนินธุรกิจในประเทศบรูไนหรือไมก็ตาม (Section 54 of Trade Marks Act (Chapter 98)) เชนนี้ เจาของเครื่องหมายการคาในกรณีนี้สามารถบังคับใชสิทธิของตนและปองกันการละเมิดเครื่องหมายการคาของตนไดในประเทศบรูไนตอเครื่องหมายการคาท่ี เหมือนหรือคลายคลึงกับเครื่องหมายการคาของตนท่ีอาจทําใหสาธารณชนสับสนหลงผิดในตัวสินคาได

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ Attorney General’s Chambers The Law Building, Km 1 Jalan Tutong, Bandar Seri Begawan, BA 1910 Tel.: (673) 224 4872 Fax: (673) 222 3100 E-mail: [email protected] [or] [email protected] ในกรณีท่ีมีการนําเขาสินคาละเมิดเขามาในประเทศบรูไน เจาของเครื่องหมายการคาท่ีไดรับจด

ทะเบียนแลวหรือผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิอาจสงหนังสือเปนลายลักษณอักษรไปยังเจาหนาท่ีศุลกากรเพ่ือ

Page 48: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 34 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

แสดงตนและรองขอใหยึดจับสินคาท่ีละเมิดเครื่องหมายการคาภายใตการควบคุมดูแลทางศุลกากร หากเชื่อไดวาการใชเครื่องหมายการคาบนสินคาดังกลาวเหลานั้นจะเปนการละเมิดสิทธิเด็ดขาดในการใช ( Section 82 of Trade Marks Act (Chapter 98)) ท้ังนี้ เจาหนาท่ีศุลกากรจะเปนผูใชดุลยพินิจพิจารณาวาสินคาท่ีนําเขามาและอยูภายใตการควบคุมทางศุลกากรนั้นอาจจะเปนสินคาละเมิดหรือไม โดยเจาหนาท่ีจะดําเนินการตรวจสอบเบื้องตน ซ่ึงเจาหนาท่ีสามารถเรียกใหผูรองขอและบุคคลอ่ืนใดท่ีมีสวนเก่ียวของในสินคาสงขอมูลเพ่ิมเติมภายในเวลา 10 วัน เพ่ือวัตถุประสงคในการตรวจสอบเชนวานั้น ไมวาเจาหนาท่ีจะดําเนินกระบวนการตรวจสอบหรือไมก็ตาม เจาหนาท่ีมีสิทธิท่ีจะใชดุลยพินิจพิจารณาวาสินคาดังกลาวเปนสินคาละเมิดหรือไม และขอสังเกตประการหนึ่งคือ กระบวนการท่ีกลาวมานี้มิอาจบังคับใชไดตอสินคาท่ีนําเขามาเพ่ือวัตถุประสงคเปนการใชเองสวนตัว (Section 83 of Trade Marks Act (Chapter 98)) นอกจากนี้ ตาม Section 91 of Trade Marks Act (Chapter 98) กําหนดวาเจาหนาท่ีควบคุมของศุลกากรยังมีอํานาจเปดเผยขอมูลท่ีไดมาจากการปฏิบัติหนาท่ีซ่ึงเก่ียวของกับสินคาละเมิด ตอบุคคลท่ีเก่ียวของตามหนาท่ีในการสืบสวนสอบสวนและการดําเนินคดีตามความผิดภายใต Section 94 of Trade Marks Act (Chapter 98) หรือภายใต Merchandise Marks Act (Chapter 96).

2) กฎหมายความลับทางการคา ในปจจุบัน ประเทศบรูไนยังไมมีกฎหมายเฉพาะท่ีเก่ียวของกับความลับทางการคาบังคับใช อยางไรก็

ตาม การคุมครองความลับทางการคาจะเปนไปตามท่ีกําหนดไวตามกฎหมายคอมมอนลอว ซ่ึงขอกําหนดและเง่ือนไขในสัญญาจึงเปนท่ีสําคัญสําหรับการกําหนดสิทธิและหนาท่ีของคูสัญญาแตละฝาย

3.2 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศกมัพูชา

3.2.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ในปจจุบันประเทศกัมพูชาไมมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับเรื่องแฟรนไชส มีเพียง The Law on

Commercial Enterprises ท่ีมีบทบัญญัติบางสวนครอบคลุมถึงธุรกิจแฟรนไชส ในลกัษณะของการประกอบธุรกิจท่ัวไปในประเทศกัมพูชา อาทิ การประกอบธุรกิจของธุรกิจตางชาติท่ีสามารถกระทําไดโดยผานรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ อันไดแก สํานักงานผูแทนทางการคา สํานักงานสาขา หรือบริษัทสาขา ท้ังนี้ สํานักงานผูแทนทางการคาและสํานักงานสาขามีสถานะเปนตัวแทนใหแกบริษัทตางชาติท่ีเปนตัวการและไมมีสถานะเปนบุคคลทางกฎหมายแยกตางหากจากตัวการของตนเอง ( Article 271 of the Law on Commercial Enterprises) นอกจากนี้ กฎหมายฉบับไดกําหนดขอบเขตกิจกรรมตางๆ ภายในประเทศกัมพูชาของแตละรูปแบบธุรกิจตางชาติท่ีจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายของประเทศกัมพูชา ขอกฎหมายอีกประการหนึ่งท่ีนาสนใจคือ การทําธุรกิจในประเทศกัมพูชาจะตองมีปายชื่อสถานประกอบการเปนภาษาเขมรซ่ึงตองเปนชื่อภาษาเขมรท่ีเขียนข้ึนจากการเลียนเสียงของชื่อภาษาตางประเทศ และสามารถกํากับชื่อภาษาตางประเทศไดแตตัวอักษรตองมีขนาดเล็กกวาและตําแหนงการจัดวางตองอยูใตชื่อภาษาเขมร การแปลชื่อจากภาษาตางชาติมาเปนภาษาเขมรหรือจากภาษาเขมรไปเปนภาษาตางชาตินั้นเปนการตองหาม (Article 5 of the Law on Commercial Enterprises)

เหมือนดังเชนหลายประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ชาวตางชาติและธุรกิจตางชาติมิอาจเขามาถือครองหรือมีกรรมสิทธิ์ในท่ีดินในประเทศกัมพูชาได ซ่ึงหลักการนี้ไดระบุไวอยางชัดแจงในกฎหมายรัฐธรรมนูญของ

Page 49: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 35 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศเลยทีเดียว ( Article 44 of the Constitution) หากธุรกิจตางชาติประสงคท่ีจะถือครองหรือมีกรรมสิทธิ์เหนือท่ีดินในประเทศกัมพูชาอาจพิจารณาจัดตั้งนิติบุคคลท่ีมีสัญชาติกัมพูชาในการประกอบธุรกิจโดยมีหุนสวนท่ีมีเสียงขางมากเปนชาวกัมพูชา ( 51%) หรือการพิจารณาทําสัญญาเชาท่ีดินระยะยาวจากชาวกัมพูชาเนื่องจากไมมีกฎหมายกําหนดหรือหามอัตราข้ันสูงสุดของอายุสัญญาเชาท่ีดินไวสําหรับท่ีดินของเอกชน และอาจกําหนดใหสามารถโอน ขายหรือเปลี่ยนมือสิทธิการเชาระยะยาวดังกลาวนั้นไดในสัญญาเชา สําหรับท่ีดินของรัฐนั้นสามารถทําการเชาระยะยาวไดไมเกิน 40 ป แตสามารถขยายระยะเวลาเชาตอไปไดภายหลังสิ้นระยะเวลาดังกลาว (แตความไมแนนอนและปจจัยแทรกแซงบางอยางก็สามารถเกิดข้ึนไดเชนกัน เชน เม่ือสัญญาเชาสิ้นอายุลง สิ่งปลูกสรางบนท่ีดินเชาดังกลาวอาจตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูใหเชาในทันที เชนนี้ ขอกําหนดและเง่ือนไขสําหรับประเด็นดังกลาวในสัญญาเชาจึงเปนสาระสําคัญในการพิจารณาเขาทําสัญญาและลงทุน)

3.2.2 กฎหมายทรพัยสนิทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายเครือ่งหมายการคา กฎหมายท่ีใหความคุมครองเครื่องหมายการคาของประเทศกัมพูชา ไดแก - Declaration No. 368 dated 15 December 1997 - Law on Marks, Trade Names and Acts of Unfair Competition dated 7 February 2003 - Prakas on the Procedures for the Registration and Protection of Marks of Goods

which include a Geographical Indication, Ministry of Commerce No. 105 MOC/SM 2009 dated 18 May 2009

ระบบการใหความคุมครองเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของประเทศกัมพูชานั้นเปน

ระบบจดทะเบียน เม่ือจดทะเบียนแลวจึงจะไดรับความคุมครองตามกฎหมายเหมือนดังเชนประเทศอ่ืนๆ ท่ีเปนภาคีสมาชิก World Trade Organization โดยมีอายุการคุมครองเปนเวลา 10 ป และสามารถตออายุไดทุกๆ 10 ป ซ่ึงตองดําเนินการตออายุเครื่องหมายภายในหกเดือนกอนหมดอายุ หรือภายในหกเดือนหลังจากหมดอายุ (ซ่ึงในกรณีหลังนี้จะตองชําระคาปรับสําหรับการตออายุลาชา) ( Article 12 of Law on Marks, Trade Names and Acts of Unfair Competition) ท้ังนี้ การยื่นคําขอจดทะเบียนจะตองยื่นตอกรมทรัพยสินทางปญญา เครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการท่ีจะไดรับจดทะเบียนนั้นจะตองมีลักษณะบงเฉพาะและไมเปนการตองหามตามท่ีกฎหมายกําหนด ซ่ึงหลักเกณฑนี้ก็มีลักษณะคลายคลึงกับหลักเกณฑของประเทศอ่ืนๆ หากผูยื่นคําขอเปนคนตางชาติจะตองดําเนินการยื่นผานตัวแทนซ่ึงมีถ่ินท่ีอยูและประกอบการอยูในประเทศกัมพูชา ขอท่ีนาสังเกตอีกประการหนึ่งภายใตกฎหมายการคุมครองเครื่องหมายการคาของประเทศกัมพูชาคือ การอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาท่ีผูอนุญาตใหใชสิทธิจะตองกําหนดมาตรการการควบคุมคุณภาพของสินคาหรือบริการอยางมีประสิทธิภาพตอผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธินั้นและผูอนุญาตใหใชสิทธิตองดําเนินการบังคับใชมาตรการดังกลาวอยางจริงจัง มิฉะนั้น จะสงผลใหสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิดังกลาวไมสมบูรณ (Article 19 of Law on Marks, Trade Names and Acts of Unfair Competition) แตเปนท่ีนาแปลกท่ีกฎหมายมิไดกําหนดวาเหตุเชนวานั้นจะสงผลตอความสมบูรณของการจดทะเบียนหรือไม

Page 50: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 36 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ Intellectual Property Division Ministry of Commerce 20 A-B Norodom Blvd., Phnom Penh Tel.: 855 23 36 68 75, 16 87 08 09 Fax: 855 23 42 63 96, 23 36 31 40 E-mail: [email protected]

2) กฎหมายความลับทางการคา ในปจจุบัน ประเทศกัมพูชายังไมมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับความลับทางการคาบังคับใชโดยตรง ซ่ึง

อยูในระหวางการพิจารณายกรางกฎหมาย โดยมีสาระสําคัญของการบัญญัติหนาท่ีในการรักษาความลับและบทกําหนดโทษในกรณีท่ีมีการเปดเผยความลับทางการคา ดังนั้น การบังคับในเรื่องนี้จึงข้ึนอยูกับขอกําหนดและเง่ือนไขของสัญญารักษาความลับเปนหลัก ( Non-Disclosure Agreement) ระหวางคูสัญญาท้ังสองฝาย อาทิ ระหวางนายจางกับลูกจาง ระหวางผูวาจางกับผูรับจาง เปนตน หากสัญญาดังกลาวอยูภายใตบังคับของกฎหมายกัมพูชา The Contract Law (1988) ก็จะมีผลบังคับใชตอสัญญาเชนวานั้น นอกจากนี้ ในบางประเด็นท่ีเปนความลับทางการคายังอยูภายใตกฎหมายบางฉบับท่ีเก่ียวของ เชน

- เรื่องงบการเงินของบริษัท The Law on Commercial Enterprises หามการประกาศโฆษณางบ

การเงินโดยปราศจากอํานาจ -The Law on Audit (2000) กําหนดหนาท่ีการรักษาความลับของผูตรวจสอบบัญชี - The Law on Banking and Financial Institutions (1999) หามการเปดเผยขอมูลอันเปน

ความลับทางบัญชีหรือเอกสารการจัดการบางประเภท - The Law on the Bar (1995) กําหนดหนาท่ีการรักษาความลับของลูกความโดยทนายความท่ี

รับผิดชอบในคดี 3.3 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศอินโดนีเซีย

3.3.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ประเทศอินโดนีเซียมีกฎหมายควบคุมการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ คือ กฎกระทรวง

วาดวยแฟรนไชส หมายเลข 42/2007 (The Government Regulation on Franchise No 42/2007) โดยมีกฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจเปนการท่ัวไปท่ีเก่ียวของอีกหลายฉบับ ไดแก มาตรา 5 (2) ของรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1945 ประมวลกฎหมายแพง ( Statue Book of 1847 No 23) กฎหมายวาดวยการจัดตั้งบริษัท (Statue Book of 1847 No 86) และกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจขนาดเล็ก หมายเลข 9/1995 (Law No 9/1995 on Small-scale Business)

สําหรับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสนั้นกฎกระทรวงวาดวยแฟรนไชส หมายเลข 42/2007 ไดใหความหมายคําวา “แฟรนไชส” ไววา แฟรนไชสเปนสิทธิแตเพียงผูเดียวของบุคคลหรือนิติบุคลในการประกอบ

Page 51: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 37 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งซ่ึงมีลักษณะเปนการเฉพาะในขอบเขตของการจําหนายสินคาหรือการใหบริการซ่ึงไดรับการพิสูจนแลววาประสบความสําเร็จโดยสิทธิเชนวานี้บุคคลอ่ืนสามารถนําไปใชไดบนพ้ืนฐานการทําสัญญาแฟรนไชส ดังนั้น แฟรนไชสซอรจึงอาจเปนบุคคลหรือนิติบุคคลซ่ึงเปนผูอนุญาตใหบุคคลอ่ืนหรือแฟรนไชสซีใชสิทธิตามสัญญาแฟรนไชสได ในทางกลับกันแฟรนไชสซีซ่ึงเปนผูไดรับอนุญาตก็อาจเปนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลไดเชนเดียวกัน (มาตรา 1) เง่ือนไขของการพิจารณาวาเปนการประกอบธุรกิจแฟรนไชสหรือไมนั้น มีดวยกัน 4 ประการ (มาตรา 3) ไดแก

- มีลักษณะของการประกอบธุรกิจเปนการเฉพาะ - ไดรับการพิสูจนแลววาสามารถสรางผลกําไรได - มีมาตรฐานในการใหบริการหรือการขายสินคาหรือบริการท่ีเปนลายลักษณอักษร - เปนการงายท่ีจะสอนหรือนําไปใช - มีการสนับสนุนหรือสงเสริมอยางยั่งยืน - มีการจดทะเบียนสิทธิในทรัพยสินทางปญญาเปนท่ีเรียบรอยแลว

สัญญาแฟรนไชสนั้นจะตองมีการทําข้ึนเปนลายลักษณอักษรระหวางแฟรนไชสซอร และแฟรนไชสซี

ภายใตกฎหมายของประเทศอินโดนีเซีย โดยสัญญาดังกลาวจะตองเขียนเปนภาษาอังกฤษและมีการแปลเปนภาษาอินโดนีเซีย (มาตรา 4) และมีรายการอยางนอยดังตอไปนี้

1. ชื่อและท่ีอยูของคูสัญญา 2. ประเภทของสิทธิในทรัพยสินทางปญญา 3. ประเภทของการประกอบธุรกิจ 4. สิทธิและหนาท่ีของคูสัญญา 5. ความชวยเหลือ สิ่งอํานวยความสะดวก การใหคําปรึกษา การฝกอบรบ และกลยุทธทางดาน

การตลาดท่ีแฟรนไชสซอรจะจัดหาใหแกแฟรนไชสซี 6. ขอบเขตพ้ืนท่ีของการประกอบธุรกิจ 7. อายุของสัญญา 8. กระบวนการในการจายคาตอบแทน 9. ความเปนเจาของสิทธิ การเปลี่ยนตัวเจาของสิทธิและสิทธิของทายาท 10. การระงับขอพิพาท 11. กระบวนการในการตออายุสัญญา ไมตออายุสัญญา หรือยกเลิกสัญญา กระบวนการในการยื่นคําขอจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชสนั้น ข้ันตอนแรกเริ่มจากแฟรนไชสซอรยื่นคํา

ขอหนังสือชี้ชวนการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ( the franchise offering prospectus) ตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ( Ministry of Trade) หลังจากนั้นจะมีการออกหนังสือรับรองการจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชส (Franchise Registration Certificate) ใหแกแฟรนไชสซอร เม่ือแฟรนไชสซอรไดรับหนังสือรับรองดังกลาวแลว แฟรนไชสซีจึงจะสามารถยื่นสัญญาแฟรนไชสตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยได โดยแตละข้ันตอนมีรายละเอียดดังตอไปนี้

Page 52: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 38 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

1) แฟรนไชสซอรย่ืนคําขอใบรับรองการจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชสตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณชิย

กอนท่ีแฟรนไชสซอรจะบังคับตามสัญญาแฟรนไชสท่ีไดทําไวกับแฟรนไชสซี แฟรนไชสซอรจะตอง

ยื่นคําขอและหนังสือชี้ชวนการประกอบธุรกิจแฟรนไชสตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยเพ่ือพิจารณา โดยในหนังสือชี้ชวนการประกอบธุรกิจแฟรนไชสจะตองมีรายละเอียดอยางนอยดังนี้

- รายละเอียดของแฟรนไชสซอร - ความชอบดวยกฎหมายของธุรกิจของแฟรนไชสซอร - ประวัติหรือความเปนมาเก่ียวกับธุรกิจของแฟรนไชสซอร - โครงสรางขององคกรของแฟรนไชสซอร - งบการเงินยอนหลัง 2 ป - จํานวนสถานท่ีประกอบการท้ังหมดของแฟรนไชสซอร - รายชื่อของแฟรนไชสซี - สิทธิและหนาท่ีของแฟรนไชสซอรและแฟรนไชสซี (มาตรา 7 (2)) แฟรนไชสซอรจะตองสงหนังสือชี้ชวนไปยังแฟรนไชสซีท่ีสนใจเขาทําสัญญาเปนการลวงหนาอยาง

นอย 2 สัปดาหกอนท่ีสัญญาแฟรนไชสจะใชบังคับ (มาตรา 7 (1)) หากวาหนังสือชี้ชวนเสนอใหทําสัญญาแฟรนไชสทําข้ึนเปนภาษาอ่ืนจะตองมีการแปลเปนภาษาอินโดนีเซียดวย นอกจากนี้ กรณีของแฟรนไชสซอรตางดาวนั้น หนังสือชี้ชวนเสนอใหทําสัญญาแฟรนไชสจะตองมีการรับรองโดยโนตารีพับลิกตามมาตรา 17 เสียกอน

คําขอหนังสือรับรองการจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชสจะตองประกอบดวยเอกสารแนบทายคําขอดังนี้ (1) กรณีแฟรนไชสซอรตางดาว เอกสารแนบทายคําขอไดแก

- สําเนาหนังสือชี้ชวนเสนอใหทําสัญญาแฟรนไชส - สําเนารับรองความชอบดวยกฎหมายของการประกอบธุรกิจแฟรนไชส (2) กรณีของ Re-franchisor ตางดาว เอกสารแนบทายคําขอไดแก

- สําเนาสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิทางเทคนิค - สําเนาหนังสือชี้ชวนเสนอใหทําสัญญาแฟรนไชส - สําเนาหนังสือจดทะเบียนบริษัท - สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนแฟรนไชสในฐานะท่ีเปนแฟรนไชสซี - สําเนาหนังสือรับรองการกอตั้งสมาคมซ่ึงไดรับการรับรองความชอบดวยกฎหมายโดยองคกรท่ี

ไดรับการยอมรับ - สําเนาหนังสือรับรองสิทธิในทรัพยสินทางปญญา - สําเนาบัตรประจําตัวของเจาของหรือผูจัดการบริษัท

Page 53: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 39 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(3) กรณีของแฟรนไชสซอรสัญชาติอินโดนีเซีย เอกสารแนบทายคําขอไดแก

- สําเนาสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิทางเทคนิค - สําเนาหนังสือชี้ชวนเสนอใหทําสัญญาแฟรนไชส - สําเนาหนังสือจดทะเบียนบริษัท - สําเนาหนังสือรับรองการกอตั้งสมาคมซ่ึงไดรับการรับรองความชอบดวยกฎหมายโดยองคกรท่ี

ไดรับการยอมรับ - สําเนาหนังสือรับรองสิทธิในทรัพยสินทางปญญา - สําเนาบัตรประจําตัวของเจาของหรือผูจัดการบริษัท

(4) กรณีของ Re-franchisor สัญชาติอินโดนีเซีย เอกสารแนบทายคําขอไดแก

- สําเนาสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิทางเทคนิค - สําเนาหนังสือชี้ชวนเสนอใหทําสัญญาแฟรนไชส - สําเนาหนังสือจดทะเบียนบริษัท - สําเนาหนังสือสัญญาแฟรนไชส - สําเนาหนังสือรับรองการกอตั้งสมาคมซ่ึงไดรับการรับรองความชอบดวยกฎหมายโดยองคกรท่ี

ไดรับการยอมรับ - สําเนาหนังสือรับรองสิทธิในทรัพยสินทางปญญา - สําเนาบัตรประจําตัวของเจาของหรือผูจัดการบริษัท 2) แฟรนไชสซีย่ืนคําขอใบรับรองการจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชสตอรัฐมนตรีวาการกระทรวง

พาณชิย แฟรนไชสซีจะตองยื่นคําขอใบรับรองการจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชสตอรัฐมนตรี

วาการกระทรวงพาณิชยภายหลังจากท่ีสัญญาแฟรนไชสมีผลใชบังคับแลว โดยสัญญาแฟรนไชสจะตองมีรายการตางๆ ตามท่ีไดกลาวแลวขางตน และสัญญาแฟรนไชสนี้หากทําข้ึนเปนภาษาอ่ืนท่ีมิใชภาษาอินโดนีเซียจะตองมีการทําคําแปลเปนภาษาอินโดนีเชียเชนกัน คูสัญญาในสัญญาแฟรนไชสจะมีสถานะเทาเทียมกันและอยูภายใตบังคับของกฎหมายประเทศอินโดนีเซีย คําขอนี้จะตองยื่นตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยโดยมีเจาของ ผูจัดการ หรือผูท่ีไดรับมอบหมายจากแฟรนไชสซีเปนผูลงนาม และในกรณีท่ีมีการมอบอํานาจใหกระทําการแทนจะตองมีหนังสือมอบอํานาจดวย นอกจากคําขอแลวจะตองยื่นเอกสารแนบเพ่ือประกอบการพิจารณาดวย ไดแก

- สําเนาสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิทางเทคนิค - สําเนาหนังสือชี้ชวนเสนอใหทําสัญญาแฟรนไชส - สําเนาหนังสือสัญญาแฟรนไชส - สําเนาหนังสือจดทะเบียนบริษัท - สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนแฟรนไชสของแฟรนไชสซอร

Page 54: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 40 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

- สําเนาหนังสือรับรองการกอตั้งสมาคมซ่ึงไดรับการรับรองความชอบดวยกฎหมายโดยองคกรท่ีไดรับการยอมรับ

- สําเนาหนังสือรับรองสิทธิในทรัพยสินทางปญญา - สําเนาบัตรประจําตัวของเจาของหรือผูจัดการบริษัท ภายหลังจากท่ีไดรับคําขอกฎหมายกําหนดใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย โดยผูอํานวยการ

สํานักงานการคาภายในประเทศและภูมิภาคจะตองออกหนังสือรับรองการจดทะเบียนแฟรนไชสใหแกผูขอภายใน 3 วันทําการนับแตวันท่ีไดรับคําขอดังกลาว ในกรณีท่ีคําขอนั้นไมสมบูรณหรือเอกสารแนบทายประกอบการพิจารณาท่ีกําหนดใหยื่นไมครบ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยจะสงหนังสือปฏิเสธคําขอใหแกผูขอ (แฟรนไชสซอรหรอืแฟรนไชสซี) ภายใน 3 วันทําการนับแตวันท่ีไดรับคําขอนั้น ผูขอท่ีถูกปฎิเสธสามารถยื่นคําขอไดใหม และการยื่นคําขอนี้ผูขอไมจําตองเสียคาใชจายสําหรับการขอหนังสือรับรองการจดทะเบียน แฟรนไชสแตอยางใด

3.3.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายวาดวยเครื่องหมายการคา กฎหมายท่ีคุมครองเครื่องหมายการคาในประเทศอินโดนีเซีย คือ พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา

อินโดนีเซีย ฉบับท่ี 15 (Indonesian Trademark Act No. 15) ซ่ึงประกาศใชเม่ือวันท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ. 2544 สําหรับระบบการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของประเทศอินโดนีเซีย นั้นใชระบบผูท่ียื่นกอนมีสิทธิดีกวา (First to File System)

สิ่งท่ีไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัตินี้ ไดแก เครื่องหมายการคา เครื่องหมายบริการ และเครื่องหมายรวม (Trademark, Service Mark and Collective Mark)เจาของเครื่องหมายการคาท่ีไดรับการจดทะเบียนยอมมีสิทธิท่ีจะไดรับความคุมครองในเครื่องหมายการคาท่ีจดทะเบียนและมีสิทธิแตเพียงผูเดียวท่ีจะใชเครื่องหมายการคากับสินคาท่ีไดรับการจดทะเบียนนั้นหรือจะอนุญาตใหบุคคลอ่ืนใชสิทธิในเครื่องหมายการคาของตนก็ได รวมท้ังมีสิทธิดําเนินคดีตามกฎหมายแกบุคคลอ่ืนท่ีใชเครื่องหมายการคาโดยไมไดรับอนุญาตเครื่องหมายการคาท่ีจดทะเบียนจะมีอายุ 10 ป นับจากวันท่ียื่นคําขอจดทะเบียน เม่ืออายุของเครื่องหมายการคาสิ้นสุดลง เจาของเครื่องหมายการคาสามารถตออายุความคุมครองไดอีกคราวละ 10 ป โดยสามารถดําเนินการยื่นขอตออายุภายใน 1 ป กอนท่ีเครื่องหมายการคาดังกลาวจะหมดอายุ สําหรับการตออายุลาชาจะไมสามารถกระทําได กรณีท่ีเจาของเครื่องหมายการคาจะโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาใหแกบุคคลอ่ืนสามารถทําไดโดยจะตองมีการบันทึกการโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาตอสํานักงานเครื่องหมายการคา และการโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาเพียงบางสวนไมสามารถกระทําได เอกสารท่ีตองใชประกอบการโอนสิทธิในเครื่องหมายการคามีดังนี้

(1) หนังสือมอบอํานาจลงนามโดยผูรับโอน (2) คําแถลงแสดงการใชเครื่องหมายการคา (Statement of Use of Mark) ลงนามโดยผูรับโอน (3) สําเนาหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาท่ีประสงคจะมีการโอนสิทธิ

Page 55: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 41 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

สัญญาโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาจะตองลงนามโดยผูโอนและผูรับโอน และตองผานการรับรองโดยโนตารีพับลิคและสถานฑูตอินโดนีเซียในประเทศของผูรับโอน

3.4 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศลาว

3.4.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ประเทศลาวก็เปนอีกประเทศหนึ่งท่ีไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรง ท้ังยังไมมีขอกําหนด

ระเบียบกฎเกณฑเฉพาะเจาะจงสําหรับการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชส ซ่ึงเหมือนดังเชนประเทศสิงคโปรและประเทศอ่ืนๆ ท่ีมิไดหมายความวาการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศลาวจะไมมีขอกําหนดกฎเกณฑอ่ืนมาควบคุม กฎหมายท่ีสามารถนํามาปรับใช ไดแก กฎหมายท่ีเก่ียวกับนิติกรรมสัญญาและ กฎหมายทรัพยสินทางปญญา (โดยเฉพาะอยางยิ่ง กฎหมายเครื่องหมายทางการคาและกฎหมายความลับทางการคา) เปนหลัก ซ่ึงเหมือนกับประเทศอ่ืนๆ ท่ีไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรงแตยังมีกฎหมายภายในอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของสามารถบังคับใชไดโดยมิจําตองมีกฎหมายเฉพาะเจาะจงโดยตรง

3.4.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายเครือ่งหมายการคา กฎหมายท่ีใหความคุมครองเครื่องหมายการคาของประเทศลาว ไดแก - Decree of the Prime Minister on Trademark Registration No. 06/PM ซ่ึงมีผลบังคับใช

ตั้งแตวันท่ี 18 มกราคม 2538 -Intellectual Property Laws ซ่ึงมีผลบังคับใชตั้งแตวันท่ี 14 เมษายน 2551เปนไปตามResolution

of the National Assembly of the Lao People’s Democratic Republicon the Approval of the Intellectual Property Law ลงวันท่ี 24 ธันวาคม 2550

ระบบการใหความคุมครองเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของประเทศลาวนั้นเปนระบบจดทะเบียน เม่ือจดทะเบียนแลวจึงจะไดรับความคุมครองตามกฎหมายเหมือนดังเชนประเทศอ่ืนๆ ท่ีเปนภาคีสมาชิก World Trade Organization โดยมีอายุการคุมครองเปนเวลา 10 ป นับจากวันยื่นคําขอและสามารถตออายุไดทุกๆ 10 ป (Article 11 of Decree No. 06/PM) ท้ังนี้ จะตองยื่นคําขอตออายุภายในหกเดือนกอนวันหมดอายุ สิ่งท่ีไดรับความคุมครองภายใตกฎหมายเครื่องหมายการคาของประเทศลาวคือ เครื่องหมายการคา (ซ่ึงรวมถึงเครื่องหมายบริการดวย) และเครื่องหมายรวม ( Articles 2, 4 and 9 of Decree No. 06/PM) อันมีลักษณะบงเฉพาะ ไมเหมือนหรือคลายกับเครื่องหมายของบุคคลอ่ืนท่ีไดจดทะเบียนไวกอนแลว (Section 16 of Intellectual Property Laws) และไมตองหามตามกฎหมาย อาทิ เครื่องหมายท่ีขัดตอศีลธรรมอันดีหรือนโยบายของรัฐ เครื่องหมายท่ีเล็งถึงคุณสมบัติของสินคาหรือบริการ เครื่องหมายท่ีอาจทําใหสาธารณชนสับสนหลงผิดในแหลงกําเนิดของสินคา เปนตน ( Article 12 of Decree No. 06/PM) นอกจากนี้ ตาม Section 16 of Intellectual Property Laws ยังใหความคุมครองเครื่องหมายการคาท่ีมีชื่อเสียง

Page 56: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 42 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

แพรหลาย (Well-known Trademark) โดยไมคํานึงถึงวาเครื่องหมายการคาดังกลาวจะไดจดทะเบียนไวแลวในประเทศลาวหรือไมก็ตาม ท้ังยังไมอนุญาตใหบุคคลอ่ืนใดผูมิเจาของท่ีแทจริงของเครื่องหมายการคาดังกลาว (ไมวาจะเปนคนสัญชาติลาวหรือตางชาติ) ดําเนินการยื่นขอจดทะเบียนหรือใชเครื่องหมายการคาหรือเครื่องหมายท่ีมีลักษณะคลายคลึงกับเครื่องหมายการคานั้น

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ Department of Intellectual Property, Standardization and Metrology Science, Technology and Environment Agency P.O. Box 2279, Vientiane Tel: 856 2121 3470 Fax: 856 2121 3472 E-mail: [email protected] Website: www.stea.la.wipo.net 2) กฎหมายความลับทางการคา ในปจจุบัน ประเทศลาวยังไมมีกฎหมายเฉพาะท่ีเก่ียวของกับความลับทางการคาบังคับใชแยก

ตางหาก แตจะบัญญัติไวรวมกันใน Intellectual Property Laws เนื่องจากความลับทางการคาเปนหนึ่งในทรัพยสินทางปญญา Section 3(18) ของ Intellectual Property Laws ไดกําหนดคํานิยามของ “ความลับทางการคา” ไววาหมายถึง “ขอมูลท่ีมิไดเปนท่ีรูประจักษแจงหรือมิไดใชเปนการท่ัวไป เชน สูตร วิธีการผลิต หรือขอมูลอ่ืนใดท่ีสามารถใชในการดําเนินธุรกิจซ่ึงนํามาซ่ึงผลประโยชนแกผูเปนเจาของเหนือกวาคูแขงทางการคา” และมีขอยกเวนตาม Section 3(18) ของ Intellectual Property Laws ซ่ึงระบุวาขอมูลท่ีประกอบดวยความลับของบุคคล การปกปองการบริหารรัฐกิจ การปกปองรัฐ ความสงบสุขและขอมูลความลับท่ีไมเก่ียวของกับธุรกิจจะไมไดรับความคุมครองภายใตกฎหมายฉบับนี้ สําหรับระยะเวลาในการคุมครองนั้นมีลักษณะเหมือนกับประเทศอ่ืนๆ ท่ีมีบทบัญญัติท่ีเก่ียวของกับการคุมครองความลับทางการคา ซ่ึงก็คือ ความลับทางการคาจะไดรับความคุมครองตลอดไปตราบเทาท่ีความลับทางการคาดังกลาวยังมิไดถูกเปดเผย (Section 52 of Intellectual Property Laws)

นอกเหนือไปจากการคุมครองภายใตกฎหมาย แฟรนไชสซอรควรคํานึงถึงการคุมครองความลับทางการคาตามขอกําหนดและเง่ือนไขในสัญญาสําหรับการกําหนดสิทธิและหนาท่ีของคูสัญญาแตละฝายเปนสําคัญดวย

3.5 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศมาเลเซีย

3.5.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ประเทศมาเลเซียมีการตรากฎหมายเพ่ือควบคุมการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ คือ

พระราชบัญญัติแฟรนไชส ค.ศ. 1998 (Franchise Act 1998) ซ่ึงตอมาไดมีการแกไขเพ่ิมเติมโดย

Page 57: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 43 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

พระราชบัญญัติแฟรนไชส ค.ศ. 2012 (Franchise (Amendment) Act 2012) โดยสาระสําคัญของพระราชบัญญัติแฟรนไชสของประเทศมาเลเซียมีดังนี้

1) ความหมายของแฟรนไชส

Franchise Act 1998 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดย Franchise (Amendment) Act 2012 ไดใหคํานิยามของแฟรนไชสไวในมาตรา 4 ดังนี้

“แฟรนไชส หมายถึง สัญญาหรือขอตกลงไมวาจะแสดงโดยชัดแจงหรือโดยนัยไมวาจะกระทําโดย

วาจาหรือลายลักษณอักษรระหวางบุคคลสองคนหรือมากกวานั้น โดย (1) แฟรนไชสซอรใหสิทธิแกแฟรนไชสซีในการดําเนินธุรกิจภายใตระบบแฟรนไชสภายในระยะเวลา

ท่ีกําหนดโดยแฟรนไชสซอร (2) แฟรนไชสซอรใหแฟรนไชสซีมีสิทธิใชเครื่องหมายหรือเครื่องหมายทางการคาหรือขอมูลท่ีเปน

ความลับหรือทรัพยสินทางปญญาท่ีแฟรนไชสซอรเปนเจาของหรือเก่ียวของกับแฟรนไชสซอร และรวมถึงกรณีท่ีแฟรนไชสซอรมีสิทธิในการใชทรัพยสินทางปญญาของผูอ่ืนโดยอนุญาตใหแฟรนไชสซีใชสิทธิในทรัพยสินทางปญญานั้นได

(3) แฟรนไชสซอรครอบครองสิทธิในการควบคุมการดําเนินธุรกิจของแฟรนไชสซีอยางตอเนื่องตลอดอายุสัญญา และ

(4) เพ่ือเปนการตอบแทนการใหสิทธิ แฟรนไชสซีจะตองจายคาธรรมเนียมการใชสิทธิหรือคาตอบแทนอยางอ่ืนใหแกแฟรนไชสซอร”4

มาตรา 15 แหง Franchise Act 1998 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดย Franchise (Amendment) Act 2012 กําหนดใหแฟรนไชสซอรตองสงสําเนาสัญญาแฟรนไชสและเอกสารเปดเผยขอมูลรวมท้ังเอกสารเปดเผยขอมูลท่ีมีการแกไขซ่ึงนายทะเบียนอนุมัติแลวตามมาตรา 11 ใหแกแฟรนไชสซีลวงหนาอยางนอย 10 วัน กอนท่ีแฟรนไชสจะลงนามในสัญญา หรือหลังจากเอกสารเปดเผยขอมูลไดรับอนุมัติโดยนายทะเบียนตามมาตรา 11 แลวแตกรณี ท้ังนี้ เอกสารดังกลาวจะตองมีรายละเอียดเหมือนกันกับท่ีนํามาจดทะเบียนกับนายทะเบียนตาม

สวน “สัญญาแฟรนไชส” หมายถึง สัญญาหรือขอตกลงท่ีทําข้ึนระหวางแฟรนไชสซอรและแฟรนไชสซีเก่ียวกับการใหสิทธิแฟรนไชสโดยมีการจายคาตอบแทนแตไมรวมถึงสัญญาหรือขอตกลงท่ีทําข้ึนโดยมีจุดประสงคเพ่ือการขายตรงตามพระราชบัญญัติขายตรง ค.ศ. 1993

2) การเปดเผยขอมูล

4Franchise (Amendment) Act 2012 ไดยกเลิกเง่ือนไข 2 ประการ ท่ีกําหนดใน Franchise Act 1998 คือ บทบัญญัติใน (d) แฟรนไชสซอรตองรับผิดชอบในการจัดหาความชวยเหลือในการดําเนินธุรกิจใหแกแฟรนไชสซี รวมถึงการเตรียมการหรือจัดหาวัตถุดิบและบริการ การฝกอบรม การตลาด และท่ีปรึกษาทางดานเทคนิคและท่ีปรึกษาทางธุรกิจ และ ( f) การดําเนินธุรกิจของแฟรนไชสซีแยกตางหากจากแฟรนไชสซอร และความสัมพันธระหวางแฟรนไชสซีกับแฟรนไชสซอรไมใชความสัมพันธของการเปนหุนสวน สัญญาบริการ หรือตัวแทน

Page 58: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 44 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

มาตรา 7 หากวาแฟรนไชสซอรฝาฝนไมปฏิบัติตามบทบัญญัตินี้ถือวากระทําความผิด นอกจากนี้ มาตรา 21 ยังไดกําหนดใหเอกสารเปดเผยขอมูลจะตองประกอบดวยขอกําหนดในเรื่องอัตราคาธรรมเนียม แฟรนไชสหรือคาแหงสิทธิดวย

3) การจดทะเบียน

แฟรนไชสซอรตองจดทะเบียนแฟรนไชสของตนกับนายทะเบียนกอนที่จะทําการเสนอขายแฟรนไชสใหกับบุคคลหนึ่งบุคคลใด เวนแตจะไดรับยกเวนตามท่ีกฎหมายกําหนด ท้ังนี้ นายทะเบียนอาจกําหนดเง่ือนไขในการรับจดทะเบียนได

คํารองขอจดทะเบียนแฟรนไชส ตองเปนไปตามแบบฟอรมซ่ึงประกอบดวย

(1) เอกสารการเปดเผยขอมูลท่ีสมบูรณ (2) ตัวอยางสัญญาแฟรนไชส (3) คูมือการประกอบธุรกิจแฟรนไชส (4) คูมือการฝกอบรมแฟรนไชส (5) สําเนารายงานการตรวจสอบบัญชีครั้งลาสุด รายงานงบการเงิน งบดุลท่ีผูตรวจสอบบัญชีและ

ผูอํานวยการเปนผูแจง (6) เอกสารหรือขอมูลเพ่ิมเติมอ่ืนๆ ตามท่ีนายทะเบียนกําหนด เชน หนังสือรับรองบริษัท บัญชีงบ

ดุลครั้งลาสุด และผลกําไรขาดทุนของบริษัท เอกสารเก่ียวกับการประกอบธุรกิจของบริษัท รายชื่อของกรรมการหรือบุคคลท่ีมีตําแหนงสําคัญในบริษัท เปนตน

เม่ือนายทะเบียนไดรับคํารองขอจดทะเบียนพรอมดวยเอกสารหรือขอมูลท่ีเก่ียวของตามมาตรา 17 แลว นายทะเบียนจะอนุญาตหรืออนุญาตโดยมีเง่ือนไขตามท่ีนายทะเบียนกําหนด หรือไมอนุญาตตามคํารองขอก็ไดโดยทํามีหนังสือแจงผลการพิจารณาแกผูรองขอ ในกรณีท่ีนายทะเบียนไมอนุญาตนั้น นายทะเบียนจะตองใหเหตุผลประกอบดวย ถานายทะเบียนอนุญาตตามคํารองขอ การจดทะเบียนจะมีผลในวันท่ีนายทะเบียนมีหนังสือแจงไปยังผูรองขอ และจะมีผลเรื่อยไป จนกระท่ังนายทะเบียนจะมีคําสั่งเปนหนังสือแจงไปยังผูรองขอหรอืแฟรนไชสซอรวา ยกเลิก ระงับ หาม หรือปฏิเสธการขายแฟรนไชสหรือการจดทะเบียนแฟรนไชสภายใตพระราชบัญญัตินี้

การจดทะเบียนแฟรนไชสมีดวยกัน 3 ประเภท คือ (1) การจดทะเบียนของนายหนาแฟรนไชส (Franchise broker) (2) กรณีแฟรนไชสซอรประสงคจะขายแฟรนไชสใหคนตางดาว (บุคคลซ่ึงมิใชพลเมืองมาเลเซีย) (3) กรณีแฟรนไชสซอรซ่ึงเปนตางดาวประสงคจะขายแฟรนไซสในมาเลเซีย

Page 59: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 45 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4) แบบของสัญญาแฟรนไชส

มาตรา 18 แหง Franchise Act 1998 กําหนดใหสัญญาแฟรนไซสตองทําเปนหนังสือ และอยางนอยตองมีรายละเอียดดังตอไปนี้ มิฉะนั้นจะถือวาสัญญาเปนโมฆะและไมมีผลใชบังคับ

(1) ชื่อและรายละเอียดของผลิตภัณฑและรูปแบบของการประกอบธุรกิจแฟรนไชส (2) สิทธิในขอบเขตพ้ืนท่ีซ่ึงแฟรนไชสซีไดรับอนุญาต (3) คาธรรมเนียมแฟรนไชส คาธรรมเนียมการโฆษณา คาแหงสิทธิ หรือคาตอบแทนอ่ืนใดท่ี

เก่ียวกับขอกําหนดของแฟรนไชสซี (ถามี) (4) หนีข้องแฟรนไชสซอร (5) หนี้ของแฟรนไชสซี (6) สิทธิของแฟรนไชสซีในการใชเครื่องหมายการคาหรือทรัพยสินทางปญญาอ่ืนใดท่ียังมิไดจด

ทะเบียนหรือไดจดทะเบียนแฟรนไชสแลว (7) เง่ือนไขท่ีแฟรนไชสมีหนาท่ีภายใตการประกอบธุรกิจแฟรนไชส (8) ขอกําหนดในเรื่อง cooling of period กลาวคือ เง่ือนไขท่ีกําหนดโดยคูสัญญาท้ังสองฝายในการ

ใหสิทธิแกแฟรนไชสซีในการบอกเลิกสัญญา โดยจะตองแจงลวงหนาไมนอยกวา 7 วันทําการ และหากมีคาเสียหายอันเกิดจากการเลิกสัญญา แฟรนไชสซอรอาจหักลบกับคาธรรมเนียมแรกเขาได (ถามี) และหากเหลือตองคืนใหแกแฟรนไชสซี

(9) รายละเอียดเก่ียวกับเครื่องหมายการคาหรือทรัพยสินทางปญญาอ่ืนใดท่ีแฟรนไชสซอรเปนเจาของหรือเก่ียวเนื่องกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

(10) กรณีท่ีเปนสัญญาเก่ียวกับมาสเตอรแฟรนไชสจะตองระบุสิทธิท่ีมาสเตอรแฟรนไชสไดรับจากแฟรนไชสดวย

(11) ชนิดและรายละเอียดของความชวยเหลือท่ีแฟรนไชสซอรกําหนด (12) ระยะเวลาของสัญญาแฟรนไชส ขอกําหนดเก่ียวกับการตออายุสัญญา และผลของการเลิก

สัญญา

5) สิทธิหนาท่ีของคูสัญญา

สัญญาแฟรนไชสกอใหเกิดความสัมพันธระหวางแฟรนไชสซอรและแฟรนไชสซี ซ่ึงท้ังสองฝายตางก็มีสิทธิและหนาท่ีระหวางกัน เชน แฟรนไชสซอรตองใหความชวยเหลือแกแฟรนไชสซีในการประกอบธุรกิจ กรณีท่ีแฟรนไชสซีผิดสัญญา แฟรนไชสซอรตองมีหนังสือบอกกลาวการผิด สัญญาไปยังแฟรนไชสซีเพ่ือใหแฟรนไชสซีแกไขความผิดพลาดนั้นภายในระยะเวลาท่ีกําหนด หามมิใหแฟรนไชสซอรเลิกสัญญากอนครบเวลาท่ีกําหนดไวในสัญญาเวนแตจะมีเหตุจําเปน แฟรนไชสซีจะตองรับรองเปนหนังสือวาแฟรนไชสซีและลูกจางจะไมประกอบธุรกิจซ่ึงคลายกับธุรกิจของแฟรนไชสซอรตลอดอายุสัญญาแฟรนไชสและภายใน 2 ป หลังจากสัญญาสิ้นสุดหรือเลิกสัญญา และแฟรนไชสซีตองจายคาธรรมเนียมแฟรนไชสหรือจายคาตอบแทนอ่ืนใดตามท่ีกําหนดในสัญญา เปนตน

Page 60: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 46 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

6) คณะกรรมการท่ีปรึกษาแฟรนไชส

Franchise Act 1998 กําหนดใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา Franchise Advisory Board มีหนาท่ีใหคําปรึกษาแกรัฐมนตรีและนายทะเบียนในเรื่องเก่ียวกับแฟรนไชสและการบังคับใชแฟรนไชส โดยองคประกอบของคณะกรรมการมาจากการแตงตั้งจากบุคคลท่ีมีความรูและประสบการณในสาขาท่ีเก่ียวกับแฟรนไชส จํานวน 15 คน

7) บทกาํหนดโทษ

Franchise Act 1998 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดย Franchise (Amendment) Act 2012 มีบทกําหนดโทษสําหรับผูท่ีฝาฝนบทบัญญัติหรือกระทําความผิดตามท่ีกฎหมายกําหนดโดยแยกเปนสองกรณี กรณีท่ีผูท่ีกระทําความผิดเปนนิติบุคคล หากเปนการกระทําความผิดเปนครั้งแรกจะมีโทษปรับไมนอยกวา 10,000 ริงกิต แตไมเกิน 50,000 ริงกิต หากเปนการกระทําความผิดครั้งท่ีสองหรือครั้งถัดไปจะมีโทษปรับไมนอยกวา 20,000 ริงกิต แตไมเกิน 100,000 ริงกิต สวนกรณีท่ีผูกระทําความผิดเปนบุคคลธรรมดาไมใชนิติบุคคล หากเปนการกระทําความผิดเปนครั้งแรกจะมีโทษปรับไมนอยกวา 5,000 ริงกิต แตไมเกิน 25,000 ริงกิต หรือจําคุกไมเกิน 6 เดือน หากเปนการกระทําความผิดครั้งท่ีสองหรือครั้งถัดไปจะมีโทษปรับไมนอยกวา 10,000 ริงกิต แตไมเกิน 50,000 ริงกิต หรือจําคุกไมเกิน 1 ป นอกจากนี้ยังมีบทลงโทษในกรณีอ่ืนอีก

อยางไรก็ดี กรณีท่ีมีการกระทําความผิดเกิดข้ึนแตกอนท่ีจะมีการนําคดีข้ึนสูศาล นายทะเบียนโดยความเห็นชอบของพนักงานอัยการอาจมีการประนีประนอมยอมความตามท่ีกําหนดในพระราชบัญญัตินี้ โดยมีหนังสือแจงไปยังผูท่ีตองสงสัยวากระทําความผิดใหจายเงินคาปรับใหแกนายทะเบียนเปนจํานวนไมเกิน 50 เปอรเซ็นต ของจํานวนคาปรับสูงสุดของการกระทําความผิดภายในเวลาท่ีกําหนด โดยเงินดังกลาวจะถูกสงเขา Federal Consolidated Fund โดยจะไมมีการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด แตหากไมมีการจายเงินภายในกําหนดเวลานายทะเบียนอาจอนุญาตใหมีการดําเนินคดีสําหรับความผิดนั้นได

3.5.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับธุรกิจแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชสในประเทศมาเลเซีย มีดังนี้

1) กฎหมายวาดวยเครื่องหมายการคา

พระราชบัญญัติ เครื่องหมายการคา พ.ศ . 2519 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราช บัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. 2537 โดยมีผลใชบังคับเม่ือวันท่ี 1 ธันวาคม 2540 เครื่องหมายการคาท่ีจะไดรับการคุมครองตามกฎหมายของประเทศมาเลยเซียจะตองเปนเครื่องหมายการคาท่ีไดรับการจดทะเบียนภายในประเทศมาเลเซีย สําหรับการคุมครองเครื่องหมายการคานั้น ประเทศมาเลเซียใชหลักการผูใชกอนมีสิทธิดีกวา (First to Use Principle) กลาวคือ ผูใดใชเครื่องหมายการคานั้นกอนยอมมีสิทธิดีกวาบุคคลอ่ืนและมีสิทธิท่ีจะยื่นเพิกถอนเครื่องหมายการคาของบุคคลอ่ืน นอกจากนี้ เจาของเครื่องหมายการคาท่ีไดรับการจดทะเบียนยอมมีสิทธิแตเพียงผูเดียวท่ีจะใชเครื่องหมายการคากับสินคาท่ีไดรับการจดทะเบียนนั้นในประเทศมาเลเซีย ซ่ึงอายุของเครื่องหมายการคาจดทะเบียนจะมีอายุ 10 ปนับแตวันท่ียื่นคําขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา และสามารถตออายุไดอีกคราวละ 10 ป กรณีท่ียื่นตออายุลาชาสามารถกระทําไดโดยตองเสียคาปรับการตออายุลาชา

Page 61: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 47 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ในสวนของการอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคานั้นสามารถทําไดโดยจะตองบันทึกการอนุญาตใหใชสิทธิดังกลาวตอสํานักเครื่องหมายการคา ท้ังนี้ การใชโดยผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิถือเปนการใชของเจาของเครื่องหมายการคาจดทะเบียนดวย

การกระทําท่ีถือวาเปนการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคา ไดแก การใชเครื่องหมายท่ีเหมือนหรือคลายกับเครื่องหมายการคาจดทะเบียนโดยไมไดรับความยินยอมจากเจาของเครื่องหมายการคานั้น โดยเปนการใชในลักษณะท่ีเปนเครื่องหมายการคา หรือเปนการใชกับสินคา หรือสื่อสิ่งพิมพหรือโฆษณา ท่ีสามารถสื่อถึงหรือทําใหเขาใจไดวาสินคาดังกลาวเปนของเจาของเครื่องหมายการคาจดทะเบียนนั้น หรือเปนการใชกับสถานท่ีหรือใกลกับสถานท่ีท่ีมีการใหบริการ หรือใชกับสื่อสิ่งพิมพหรือโฆษณา ท่ีสามารถสื่อถึงหรือทําใหเขาใจไดวาบริการดังกลาวเปนของเจาของเครื่องหมายบริการจดทะเบียนนั้น

กรณีท่ีมีการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคา เจาของเครื่องหมายการคาจดทะเบียนสามารถใชมาตรการเยียวยาทางแพงและทางอาญาได โดยในการดําเนินคดีแพงกับผูกระทําละเมิดเจาของเครื่องหมายการคาจะตองกระทําโดยยื่นคําฟองตอศาลสูง (High Court) ภายในระยะเวลา 6 ปนับแตวันท่ีทราบถึงการละเมิดนั้น ซ่ึงศาลอาจมีคําสั่งใหผูละเมิดระงับการกระทําท่ีถือเปนการละเมิด หรือมีคําสั่งใหผูละเมิดสงมอบ ทําลาย หรือแกไขดัดแปลงสินคาละเมิด หรือมีคําสั่งใหผูละเมิดชดใชคาเสียหายใหแกเจาของเครื่องหมายการคา

นอกจากการเยียวยาในทางแพง เจาของเครื่องหมายการคาสามารถดําเนินคดีอาญากับผูละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคา ซ่ึงมีท้ังโทษปรับและจําคุกหรือท้ังปรับท้ังจํา ข้ึนอยูกับประเภทของความผิด โดยผานทางกองบงัคับใชสทิธิ (Enforcement Division) กระทรวงการคาและอุตสาหกรรม (Ministry of Trade and Industry) ซ่ึงมีอํานาจหนาท่ีในการดําเนินการปองปรามการละเมิด ยึดสินคาละเมิด ตลอดจนถึงการดําเนินคดีกับผูกระทําละเมิด ท้ังนี้ การดําเนินคดีโดยผานทางกองบังคับใชสิทธิจะมีความรวดเร็ว และเสียคาใชจายคอนขางนอยสําหรับโทษของละเมิดเครื่องหมายการคาโดยท่ัวไปคือ ปรับไมเกิน 100,000 เหรียญมาเลเซีย หรือจําคุกไมเกิน 3 ป ในกรณีของบุคคลธรรมดา และปรับไมเกิน 250,000 เหรียญมาเลเซีย ในกรณีของนิติบุคคล โทษปรับดังกลาวเหลานี้อาจเพ่ิมเปนสองเทาไดหากมีการละเมิดหรือฝาฝนเพ่ิมข้ึน

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ หนวยงานท่ีรับผิดชอบดูแลการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาในประเทศมาเลเซียคือ กรมทรัพยสิน

ทางปญญา กระทรวงการคาภายในและกิจการผูบริโภค (Intellectual Property Division, Ministry of Domestic Trade & Consumer Affairs)

Intellectual Property Division Ministry of Domestic Trade and Consumer Affairs 32nd Floor, Menara Dayabumi Jalan Sultan Hishamuddin 50623 Kuala Lumpur Tel.: (603) 22.74.21.00, 22.74.35.81 Fax: (603) 22.74.13.32, 22.74.52.60 E-mail: [email protected]

Page 62: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 48 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2) กฎหมายวาดวยความลับทางการคา

กฎหมายท่ีใหความคุมครอง ไดแก กฎหมายคอมมอนลอว ( Common Law) และพระราชบัญญัติแฟรนไชส พ.ศ. 2531 (Franchise Act) ความลับทางการคานั้นยอมไดรับความคุมครองโดยไมจําเปนตองมีการจดทะเบียน และจะไดรับความคุมครองตราบท่ียังไมสูญเสียความเปนความลับ

ความลับทางการคา ไดแก ขอมูลท่ีมีลักษณะเปนความลับอยางเห็นไดชัด ขอมูลท่ีเปนความลับและเปดเผยตอผูรับขอมูลภายใตพันธกรณีวาตองเก็บไวเปนความลับ กรณีท่ีมีการละเมิดเกิดข้ึนไมวาจะเปนการนําความลับทางการคาไปเปดเผยอันเปนละเมิดหนาท่ีในการเก็บรักษาความลับ หรือการนําความลับทางการคาไปใชประโยชนหรือใชเพ่ือประโยชนสวนตัวโดยไมไดรับอนุญาตอันเปนการใชความลับโดยผิดกฎหมาย เจาของความลับทางการคายอมมีสิทธิท่ีจะเรียกคาชดเชยทางแพง กลาวคือ คาชดเชยตอการละเมิดสัญญาหรือไดรับการเยียวยาทางศาล โดยเจาของความลับทางการคามีสิทธิท่ีจะเรียกรองคาเสียหายและเรียกใหผูเปดเผยหรือนําความลับทางการคานั้นไปใชประโยชนชําระราคาได สําหรับมาตรการในทางอาญานั้นไมมีกฎหมายกําหนดไว ผูถูกละเมิดสามารถดําเนินคดีทางแพงไดเทานั้น

สิ่งท่ีสําคัญอยางยิ่งของความลับทางการคา คือ การรักษาใหความลับทางการคานั้นยังคงเปนความลับอยู โดยวิธีการรักษาสิทธิของเจาของความลับทางการคาสามารถทําไดโดยการทําขอตกลงความลับทางการคา (Confidentiality Agreements) การจํากัดจํานวนผูท่ีจะเขาถึงขอมูลไดเฉพาะผูท่ีจําเปน หรือการควบคุมการกระจายขอมูลและการใชขอมูลท่ีเปนความลับของผูรับขอมูล ลูกจางของผูรับขอมูลหรือบุคคลภายนอก แมเจาของความลับทางการคาจะสามารถโอนสิทธิในความลับทางการคาใหแกบุคคลอ่ืนหรืออนุญาตใหบุคคลอ่ืนใชสิทธิไดภายใตกฎหมาย Common Law แตไมสามารถจดทะเบียนได

กรณีของความลับทางการคาท่ีเก่ียวกับพระราชบัญญัติแฟรนไชสนั้น พระราชบัญญัติแฟรนไชสฯ ไดกําหนดวาในกรณีท่ีผูไดรับอนุญาตสัญญาเฟรนไชนไดใหหลักประกันเปนลายลักษณอักษร ( Written Guarantee) แกผูใหอนุญาตวาตนเองและลูกจางของตนจะไมเปดเผยความลับทางการคาตอบุคคลใดในระหวางท่ีสัญญาเฟรนไชนมีผลบังคับอยูหรือภายใน 2 ปหลังจากสัญญาสิ้นสุดลง หากมีการฝาฝนหลักประกันดังกลาวจะตองไดรับโทษปรับเปนจํานวนเงิน 50,000ริงกิตสําหรับการกระทําความผิดครั้งแรก สําหรับการกระทําความผิดครั้งท่ีสอง จะไดรับโทษปรับไมนอยกวา 10,000 ริงกิต หรือจําคุกเปนระยะเวลาไมเกิน 5 ป หรือท้ังจําท้ังปรับ

3.6 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา 3.6.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส สาธารณรัฐแหงสหภาพพมาก็เปนอีกประเทศหนึ่งในประเทศสมาชิกอาเซียนท่ีไมมีการตรากฎหมาย

วาดวยการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะเชนเดียวกันกับอีกหลายประเทศในภูมิภาคอาเซียน ดังนั้น ในเรื่องของสัญญาแฟรนไชสจึงตองบังคับตามกฎหมายวาดวยสัญญาของประเทศพมา ค.ศ. 1872 (Myanmar Contract Act 1872) ซ่ึงเปนกฎหมายกลางวาดวยเรื่องสัญญาโดยท่ัวไป โดยบทบัญญัติท่ีเก่ียวของกับสัญญาแฟรนไชส มีดังนี้

Page 63: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 49 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

- มาตรา 2 (h) ท่ีกําหนดวา สัญญาเปนความตกลงท่ีอยูภายใตบังคับของกฎหมาย - มาตรา 2 (a) และ (b) ท่ีกําหนดวา ความตกลง ไดแก คําเสนอและคําสนองรับคําเสนอนั้น - มาตรา 11 ท่ีกําหนดเก่ียวกับความสามารถของบุคคลซ่ึงเปนคูสัญญาในการเขาทําสัญญา - มาตรา 14 ท่ีกําหนดเก่ียวกับเจตนจํานงอิสระของคูสัญญาในการเขาทําสัญญา - มาตรา 22 มาตรา 23 และมาตรา 24 ท่ีกําหนดเก่ียวกับคาตอบแทนตามกฎหมายท่ีจะตองกําหนด

ไวในสัญญาหรือขอตกลง นอกจากบทบัญญัติเก่ียวกับกฎหมายวาดวยสัญญาดังกลาวขางตนแลว กฎหมายวาดวยทรัพยสินทาง

ปญญาก็เปนกฎหมายท่ีมีความสําคัญตอการประกอบธุรกิจแฟรนไชส เชนกัน โดยบทบัญญัติเก่ียวกับกฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของไดแก การอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคา ( trademark licensing) การอนุญาตใหใชสิ่งประดิษฐ (invention licensing) และการอนุญาตใหใชลิขสิทธิ์ (copyright licensing)

3.6.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายวาดวยเครื่องหมายการคา ประเทศพมาไมมีกฎหมายท่ีใหความคุมครองในเรื่องเครื่องหมายการคาโดยตรง ดังนั้น ระบบการให

ความคุมครองเครื่องหมายการคาจึงเปนไปตามหลักการท่ีวา ผูใชกอนยอมมีสิทธิดีกวา ซ่ึงเปน หลักการตามกฎหมายจารีตประเพณีของประเทศพมา ตราบใดท่ีเครื่องหมายการคานั้นมีการใชจริงในทองตลาดเพ่ือเปนการชี้หรือแสดง ใหผูซ้ือสินคาเห็นวาสินคาภายใตเครื่องหมายการคาดังกลาวผลิตมาจากบริษัทใดบริษัทหนึ่งโดยเฉพาะ เครื่องหมายการคาดังกลาวก็จะเปนเอกสิทธิของบุคคลหรือบริษัทซ่ึงเปนเจาของสินคานั้น ๆ โดยบุคคลอ่ืนไมมีสิทธิท่ีจะลอกเลียนเครื่องหมายการคานั้นหรือสวนหนึ่งสวนใดของเครื่องหมายการคานั้น

สิ่งท่ีไดรับความคุมครองไดแก เครื่องหมายการคา และเครื่องหมายบริการ โดยมาตรา 478 แหงประมวลกฎหมายอาญา กําหนดวา “เครื่องหมายการคา ” หมายถึง “เครื่องหมายท่ีใชแสดงใหเห็นวาสินคาภายใตเครื่องหมายดังกลาวเปนสินคาท่ีผลิตโดยบุคคลใดโดยเฉพาะ ” และ มาตรา 479 กําหนดวา “เครื่องหมายท่ีใชแสดงใหเห็นวาสังหาริมทรัพยใดเปนของบุคคลใดโดยเฉพาะเรียกเครื่องหมายนั้นวา เครื่องหมายทรัพย (Property Mark)” เจาของเครื่องหมายการคาท่ีไดรับการจดทะเบียนยอมมีสิทธิแตเพียงผูเดียวท่ีจะใชเครื่องหมายการคากับสินคาท่ีไดรับการจดทะเบียนนั้นในประเทศพมา หากมีการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคา เจาของเครื่องหมายการคายอมสามารถฟองผูกระทําละเมิดสิทธินั้นไดท้ังทางแพงและทางอาญา โดยการใชสิทธิทางแพง คือการขอใหศาลมีคําสั่งหามมิใหผูกระทําการละเมิดใชเครื่องหมายท่ีละเมิดนั้นและสามารถฟองเรียกคาเสียหายท่ีเกิดจากการใชเครื่องหมายการคาท่ีละเมิดไดดวย สําหรับการใชสิทธิฟองคดีอาญา เจาของเครื่องหมายการคาสามารถยื่นคํารองขอตอกรมศุลกากรใหดําเนินการยึดสินคาหรือสินคาปลอมแปลงภายใตเครื่องหมายการคาท่ีละเมิดนั้น

อายุความคุมครองของเครื่องหมายการคาในประเทศพมานั้น ไมมีกฎหมายกําหนดไวชัดเจน โดยในทางปฏิบัติบริษัทตัวแทนในประเทศพมาจะแนะนําใหผูขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคายื่นคําแถลงแสดงความเปนเจาของ (Declaration of Ownership) เครื่องหมายการคาของตนพรอมท้ังลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพทองถ่ินทุกๆ 2 ป ท้ังนี้ ไมมีขอกําหนดเรื่องระยะเวลาในการประกาศโฆษณา และการประกาศ

Page 64: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 50 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

โฆษณาไมจําเปนตองใชเอกสารใดๆ ประกอบ นอกจากรางคําประกาศโฆษณาท่ีตองการจะลงในหนังสือพิมพทองถ่ิน

แมวาประเทศพมาจะยังไมมีกฎหมายเฉพาะท่ีใหความคุมครองเก่ียวกับเครื่องหมายการคา แตการยื่นคําขอและจดทะเบียนเพ่ือคุมครองเครื่องหมายการคามีบทบัญญัติปรากฏอยูในมาตรา 1 8 (f) แหงพระราชบัญญัติการจดทะเบียน ค.ศ. 1909 (Registration Act 1909) และใน Direction (13) ของ the Inspector General of Registration สรุปไดวา การจดทะเบียนเครื่องหมายการคานั้นสามารถดําเนินการโดยยื่นเอกสารคําแถลงแสดงความเปนเจาของเครื่องหมายการคา (Declaration of Ownership) และเม่ือไดรับการจดทะเบียนแลวก็จะมีการลงประกาศในหนังสือพิมพทองถ่ินซ่ึงเรียกกันวา “Cautionary Notice” ท้ังนี้ เพ่ือเปนการแสดงสิทธิในเครื่องหมายการคาของเจาของเครื่องหมายการคาใหสาธารณชนรับทราบโดยท่ัวกัน

การโอนสิทธิ ในเครื่องหมายการคา สามารถทําได โดยตองบันทึกการโอนสิทธิดังกลาวตอสํานักเครื่องหมายการคา และตองเปนการโอนสิทธิพรอมกิจการท่ีเก่ียวของกับเครื่องหมายการคานั้น ในสวนของ การอนุญาตใหใชสิทธิ ดวยเหตุท่ีไมมีกฎหมายวาดวยเครื่องหมายการคาเปนการเฉพาะ ดังนั้น จึงไมมีขอหามในเรื่องการอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาตราบเทาท่ีการอนุญาตใหใชสิทธิดังกลาวไมเปนการขัดตอพระราชบัญญัติการทําสัญญาของพมา (Myanmar Contract Act 1872) และเนื่องจากไมมีกฎหมายเครื่องหมายการคาจึงไมมีบทบัญญัติเปนการเฉพาะในเรื่องวิธีการจดทะเบียนการอนุญาตใหใชสิทธิหรือผลของการจดทะเบียนหรือไมจดทะเบียนการอนุญาตใหใชสิทธิ แตในทางปฏิบัติควรใหมีการติดตอนายทะเบียนเพ่ือขออนุมัติอยางไมเปนทางการกอน

ดวยเหตุท่ีประเทศพมาไมมีสํานักงานทรัพยสินทางปญญา ดังนั้นการบังคับใชสิทธิของเจาของเครื่องหมายการคาจดทะเบียนตอผูกระทําละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคาจึงสามารถดําเนินการผานศาลได และยังสามารถแจงขอมูลเปนลายลักษณโดยการทํารายงานขอมูลเบื้องตน (The First Information Report) เพ่ือใหตํารวจดําเนินการสืบสวนสอบสวนการกระทําผิดเพ่ือนําไปสูการดําเนินการตามกฎหมายตอไป นอกจากนี้ ตามพระราชบัญญัติศุลกากรทางทะเลของพมา (The Myanmar Sea Customs Act) ยงัมีบทบัญญัติวาดวยการหามการนําเขาสินคาซ่ึงมีการปลอมแปลงเครื่องหมายการคาภายใตประมวลกฎหมายอาญาท้ังทางบกหรือทางทะเล ดังนั้น กรมศุลกากรจึงเปนหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการริบสินคาท่ีมีการปลอมแปลงเครื่องหมายการคา ในทางปฏิบัติจะเปนการดีกวาหากมีคําสั่งศาลมาแสดงตอเจาหนาท่ีกรมศุลกากรวาสินคาท่ีจะริบเปนสินคาท่ีมีการปลอมแปลงเครื่องหมายการคา

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ The Office of the Registration of Deeds and Assurances Ministry of Science and Technology No. (6) Kaba Aye Pagoda Road, Yangon Tel.: (951) 65 01 91 / 66 57 01 Fax: (951) 66 76 39 / 66 60 19 E-mail: [email protected]

Page 65: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 51 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2) กฎหมายวาดวยความลับทางการคา ประเทศพมาไมมีบทบัญญัติกฎหมายท่ีใหคุมครองความลับทางการคาเปนการเฉพาะ อยางไรก็ตาม

กฎหมายท่ีมีบทบัญญัติเก่ียวของกับเรื่องดังกลาวอยูบาง คือ กฎหมายวาดวยยาปราบศัตรูพืช ( The Pesticide Law) ซ่ึงมีผลใชบังคับตั้งแตเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2533 ซ่ึงกําหนดวา คณะกรรมการจดทะเบียนยาปราบศัตรูพืชจะถือวาขอมูลเก่ียวกับผลิตภัณฑยาปราบศัตรูพืชหรือสวนผสมสําคัญของยาปราบศัตรูพืช ท้ังจากตางประเทศและในประเทศ ท่ีจดแจงไวถือเปนขอมูลท่ีเปนความลับของเจาของ

นอกจากนี้ยังมีพระราชบัญญัติวาดวยสัญญาแหงประเทศเมียนมาร ( The Myanmar Contract Act) ซ่ึงไมมีบทบัญญัติหามคูสัญญาทําขอตกลงท่ีจะไมเปดเผยขอมูลท่ีจดแจงตอหนวยราชการ และไมมีบทบัญญัติหามคูสัญญาระบุเง่ือนไขในสัญญาท่ีจะไมเปดเผยขอมูลความลับทางการคา การท่ีไมมีกฎหมาย วาดวยการคุมครองความลับทางการคาเปนการเฉพาะ สงผลใหไมมีบทบัญญัติท่ีใหคําจํากัดความหรือนิยามของคําวาความลับทางการคาไว ในขณะเดียวกัน ความลับทางการคายอมท่ีจะไดรับความคุมครองตราบท่ีขอมูลนั้นยังเปนความลับทางการคาอยู ในกรณีท่ีมีการละเมิดสัญญาเก่ียวกับความลับทางการคา เจาของความลับทางการคาท่ีไดรับความคุมครองนี้อาจนําคดีข้ึนสูศาลเพ่ือเรียกรองคาเสียหายได แตอยางไรก็ดี ยังไมมีการกําหนดหนวยงานราชการผูรับผิดชอบเปนการเฉพาะ และไมมีกรณีตัวอยางท่ีใชเปนแนวทางในการดําเนินคดี

3.7 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศฟลิปปนส

3.7.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ประเทศฟลิปปนสเปนอีกประเทศหนึ่งท่ีไมมีกฎหมายวาดวยเรื่องการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปน

การเฉพาะเชนเดียวกันกับประเทศไทยและอีกหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต การพิจารณากฎหมายท่ีใชบังคับในเรื่องดังกลาวจึงตองพิจารณาจากกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของ เชน กฎหมายเก่ียวกับทรัพยสินทางปญญา สําหรับ หนวยงานของรัฐท่ีกํากับดูแลการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศฟลิปปนส คือ สํานักงานพัฒนาวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง ( Bureau of Micro, Small and Medium Enterprise Development (BMSMED)) ซ่ึงเปนหนวยงานหนึ่งในกระทรวงวาดวยการคาและอุตสาหกรรม (Department of Trade and Industry (DTI)) นอกจากนี้ ยังมีอีกองคกรเอกชนท่ีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเชนกัน ไดแก Philippines Franchise Association (PFA) Association of Filipino Franchisers, Inc. และ Filipino Internaitonal Franchise Association (FIFA)

1) รูปแบบและข้ันตอนในการย่ืนคําขอประกอบธุรกิจแฟรนไชส

(1) ผูท่ีสนใจประกอบธุรกิจยื่นคําขอแสดงเจตจํานงตอบริษัทท่ีขายแฟรนไชสโดยในคําขอจะตอง

ประกอบดวยขอมูลดังตอไปนี้ - ชื่อของผูท่ีสนใจท่ีจะประกอบธุรกิจแฟรนไชส - ความสนใจอยางชัดแจงที่จะประกอบธุรกิจแฟรนไชส - สถานท่ีหรือทําเลท่ีประสงคจะประกอบธุรกิจ โดยระบุท่ีอยูและแผนท่ีของสถานประกอบการ

Page 66: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 52 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(2) แฟรนไชสซอรจะตอง - ดําเนินการประเมินสถานท่ีท่ีประสงคจะประกอบธุรกิจตามท่ีระบุไวในหนังสือแสดงเจตจํานง - กําหนดรูปแบบการประกอบธุรกิจท่ีมีความเหมาะสมท่ีสุด - ประสานงานกับผูยื่นคําขอรวมท้ังสงแบบฟอรม ( the Franchise Qualification Form) และ

เอกสารท่ีเก่ียวของเพ่ือใหผูยื่นคําขอกรอกขอมูลใหครบถวน (3) ผูยื่นคําขอจะตอง - กรอกแบบฟอรมท่ีไดรับจากแฟรนไชสซอร - สงกลับแบบฟอรท่ีกรอกขอมูลครบถวนแลวใหแกแฟรนไชสซอร (4) แฟรนไชสซอรจะตอง - ตรวจสอบขอมูลในแบบฟอรม และ - จัดใหมีการประชุมระหวางแฟรนไชสซอรและผูยื่นคําขอเพ่ือท่ีจะเจรจาและดําเนินการตอไป 2) ขอความท่ีจําเปนตองระบุไวในสัญญาแฟรนไชส ไดแก รายละเอียดดังตอไปนี้ (1) นโยบายการดําเนินกิจการและเง่ือนไขหรือขอจํากัดของแฟรนไชส (2) ลักษณะและขอบเขตของขอผูกพันหรือหนาท่ีของแฟรนไชสซีท่ีจะตองซ้ือวัตถุดิบจากแหลงผลิต

วัตถุดิบท่ีแฟรนไชสซอรอนุมัติ (3) สิทธิในการตอหรือขยายอายุสัญญาแฟรนไชสนอกเหนือไปจากขอสัญญาโดยปกติท่ัวไป (4) สิทธิในการขายหรือโอนสิทธิความเปนเจาของแฟรนไชสตอไปใหบุคคลอ่ืน (5) คํานิยามท่ีชัดเจนเก่ียวกับคาแฟรนไชส คานายหนา คาธรรมเนียมการใชสิทธิ และการอนุญาตให

ใชสิทธิในการประกอบธุรกิจแฟรนไชส (6) ขอบเขตของพ้ืนท่ีท่ีไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจและกฎหมายของรัฐท่ีใชบังคับแกกรณี (7) หลักเกณฑและเง่ือนไขในการเลิกหรือสิ้นสุดสัญญา (8) สิทธิของแฟรนไชสซอรท่ีจะโอนสิทธิในสวนท่ีมิไดมีการจายคาสิทธิแรกเขา ( initial franchise

fee) ใหแกสถาบันการเงินเพ่ือเปนหลักประกัน 3) หลักเกณฑและเง่ือนไขท่ีสําคัญในสัญญาแฟรนไชส สัญญาแฟรนไชสเปนสัญญาท่ีกําหนดสิทธิและหนาท่ีของคูสัญญา คือ แฟรนไชสซอรและแฟรนไชสซี

โดยจะมีการระบุอายุของสัญญา วันเริ่มตนและวันสิ้นสุดของสัญญา การตออายุสัญญาและการสิ้นสุดหรือบอกเลิกสัญญาไวดวย

(1) ขอกําหนดในสัญญา สัญญาแฟรนไชสจะมีขอสัญญาท่ีอธิบายรายละเอียดเก่ียวกับความสัมพันธระหวางแฟรนไชสซีท่ีเขา

ผูกพันตามขอกําหนดในสัญญากับแฟรนไชสซอร เม่ือสัญญามีผลใชบังคับคูสัญญาทีสิทธิและหนาท่ีระหวางกันในอันท่ีจะตองปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญาจนกวาสัญญาจะสิ้นสุดลง

Page 67: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 53 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(2) การตออายุสัญญา ระยะเวลาสําหรับการตออายุสัญญาท่ีกําหนดไวในสัญญานั้นเปนการเปดโอกาสใหแกแฟรนไชสซอร

ในการท่ีจะทบทวนวาประสงคท่ีจะตอสัญญาหรือไม หากการประกอบธุรกิจของแฟรนไชสซีเปนไปไดดวยดียอมถือเปนขอพิจารณาท่ีดียิ่งประการหนึ่งท่ีแฟรนไชสซอรจะตออายุสัญญา อยางไรก็ดี การตออายุสัญญาแฟรนไชสนั้นไมมีสิ่งใดท่ีจะรับประกันไดวาขอกําหนดในสัญญาแฟรนไชสจะเหมือนกับท่ีกําหนดไวในสัญญาฉบับเดิม นอกจากนี้ แฟรนไชสซอรอาจมีการเรียกเก็บคาธรรมเนียมการตออายุสัญญาจากแฟรนไชสซีดวย

(3) การสิ้นสุดสัญญา สัญญาแฟรนไชสจะยังคงใชบังคับเรื่อยไปจนกวาจะถึงวันสิ้นสุดตามท่ีระบุไวในสัญญา ในบางกรณี

การละเมิดขอตกลงท่ีกําหนดไวในสัญญาอาจเปนเหตุแหงการสิ้นสุดไดหากฝายท่ีละเมิดไมดําเนินการแกไขเยียวยาความเสียหายภายในระยะเวลาท่ีกําหนด

(4) คาธรรมเนียม ในสัญญาจะตองมีการระบุเรื่องคาธรรมเนียมตางๆ ท่ีแฟรนไชสซีตองชําระแกแฟรนไชสซอรรวมท้ัง

วันครบกําหนดชําระไวดวย คาธรรมเนียมเหลานี้ ไดแก คาธรรมเนียมเริ่มตนหรือคาสิทธิแรกเขา เงินรายงวดหรือคาธรรมเนียมการจัดการท่ีเรียกวา คารอยัลตี้ และคาสวนแบงการตลาด สําหรับคาธรรมเนียมเริ่มตนหรือคาสิทธิแรกเขานั้นเม่ือมีการเรียกเก็บแลวจะไมมีการคืนใหแกแฟรนไชสซีเนื่องจากเปนคาธรรมเนียมการจัดการธุรกิจท่ีแฟรนไชสซอรยินยอมใหแฟรนไชสซีไดใชชื่อหรือเครื่องหมายการคาของแฟรนไชสซอร รวมไปถึงการถายทอดความรูหรือเทคนิคในการประกอบธุรกิจให สวนเงินรายงวดหรือคาธรรมเนียมการจัดการท่ีเรียกวา คารอยัลตี้ นั้น เปนคาสิทธิตอเนื่องบนพ้ืนฐานของรายไดท่ีแฟรนไชสซีไดรับจากการดําเนินธุรกิจ โดยท่ัวไปจะคิดเปนเปอรเซ็นตจากยอดสุทธิท่ีแฟรนไชสซีไดรับ โดยอาจมีการจายเปนรายสัปดาห รายสองสัปดาห หรือรายเดือน สวนคาสวนแบงการตลาดก็อาศัยการคํานวณเปอรเซ็นตจากยอดขายของแฟรนไชสซีเชนกัน

(5) ขอบเขตพ้ืนท่ี ขอบเขตพ้ืนท่ีในกรณีนี้หมายถึงขอบเขตพ้ืนท่ีในการประกอบธุรกิจแฟรนไชสท่ีแฟรนไชสซีสามารถ

ดําเนินธุรกิจได ในทางกลับกันก็หมายถึงเขตพ้ืนท่ีท่ีจะไดรับการประกันวาจะไมมีคูแขงท่ีประกอบธุรกิจเดียวกันนี้ท่ีไดรับแฟรนไชสจากแฟรนไชสซอรเดียวกันมาคาขายแขงกัน

(6) การจัดซ้ือสินคาหรือวัตถุดิบ สินคาหรือวัตถุดิบท่ีใชในระบบธุรกิจแฟรนไชสนั้นจะตองมีคุณภาพคงท่ีและมีมาตรฐานเดียวกันซ่ึง

เปนสิ่งสําคัญของการประกอบธุรกิจประเภทนี้ ดังนั้น สัญญาแฟรนไชสจึงมีขอกําหนดใหแฟรนไชสซีจะตองซ้ือสินคาหรือวัตถุดิบจากแหลงผลิตหรือบริษัทท่ีแฟรนไชสซอรเชื่อถือและใหการรับรอง รายละเอียดและรายชื่อของแหลงผลิตหรือบริษัทท่ีไดรับการรับรองจะถูกกําหนดไวในคูมือการปฏิบัติงานท่ีแฟรนไชสซอรจัดทําข้ึนและมอบใหแกแฟรนไชสซี

Page 68: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 54 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

3.7.2 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายวาดวยเครื่องหมายการคา การจดทะเบียนเครื่องหมายการคาในประเทศฟลิปปนสจะไดรับความคุมครองตามท่ีกําหนดใน

ประมวลกฎหมายทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property Code R.A. 8293) มีผลบังคับตั้งแตวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2541 เครื่องหมายการคาจะไดรับความคุมครองในประเทศฟลิปปนสก็ตอเม่ือมีการจดทะเบียนในประเทศฟลิปปนสแลวเทานั้น โดยผูประสงคจะจดทะเบียนเครื่องหมายการคาสามารถยื่นขอจดทะเบียนไดท่ีสํานักงานทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property Office) ประเทศฟลิปปนสก็เชนเดียวกันกับประเทศอ่ืนท่ีการจดทะเบียนและการใหความคุมครองเครื่องหมายการคาจะหลักการท่ีวา ยื่นกอนมีสิทธิดีกวา (First to file system) และมีระบบการเพิกถอนการจดทะเบียนโดยอาศัยสิทธิการใชเครื่องหมายมากอน โดยเครื่องหมายท่ีจะไดรับความคุมครองตามประมวลกฎหมายนี้ ไดแก เครื่องหมายการคา (Trademark) เครื่องหมายบริการ (Service Mark) และเครื่องหมายรวม (Collective Mark)

เจาของเครื่องหมายการคาหรือเครื่องหมายบริการท่ีไดรับการจดทะเบียนยอมมีสิทธิแตเพียงผูเดียวท่ีจะใชเครื่องหมายการคากับสินคา หรือเครื่องหมายบริการกับบริการท่ีไดรับการจดทะเบียนนั้นในประเทศฟลิปปนสและมีสิทธิหามบุคคลอ่ืนใชเครื่องหมายการคาหรือบริการท่ีมีลักษณะเหมือนหรือคลายกันจนอาจทําใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดโดยไมไดรับอนุญาต โดยกฏหมายกําหนดใหตองมีการแสดงสัญลักษณใหเห็น

วาเปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียน อาทิ คําวา “Reg. Phil. Pat. Off.” “TM” หรือสัญลักษณ สินคาท่ีผลิตภายใตสัญญาอนุญาตก็จําเปนจะตองมีสัญลักษณดังกลาวเชนเดียวกัน เครื่องหมายการคาจดทะเบียนมีอายุความคุมครอง 10 ป นับแตวันจดทะเบียน และเจาของเครื่องหมายการคาสามารถขอตออายุไดทุก 10 ป เม่ือยื่นขอตออายุทะเบียนเครื่องหมายการคากฎหมายบังคับวาตองพิสูจนการใชเครื่องหมายการคา โดยตองนําสงฉลากสินคาท่ีใชจริงอยางนอย 5 ใบ

การโอนสิทธิในเครื่องหมายการคากฎหมายตองบันทึกการโอนตอสํานักงานทรัพยสินทางปญญา

(Intellectual Property Office) โดยการโอนตองโอนพรอมกูดวิลลทางธุรกิจ สวนการอนุญาตใหใชสิทธิอาจจดทะเบียนสัญญาอนุญาตตอสํานักงานขอมูล ขาวสารและการถายทอดเทคโนโลยี (Documentation, Information and Technology Transfer Bureau) และบันทึกการสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาตอสํานักงานเครื่องหมายการคา (Bureau of Trademark) แตอยางไรก็ตาม กฎหมายมิไดกําหนดบังคับใหตองจดทะเบียน ดังนั้น จึงข้ึนอยูกับเจตนารมณของคูสัญญา การจดทะเบียนสัญญาอนุญาตนั้นอาจจําเปนตองทําเม่ือคูสัญญาตองการการยกเวนจากบทบัญญัติของประมวลกฎหมายทรัพยสินทางปญญา หรือหากตองการสิทธิประโยชนเรื่องอัตราภาษีตามสนธิสัญญาระหวางประเทศเรื่องอัตราคาภาษี

ในกรณีท่ีมีการละเมิดเครื่องหมายการคาจดทะเบียน เจาของเครื่องหมายการคาสามารถดําเนินคดีแพงตอผูกระทําละเมิดสิทธิ โดยการขอคุมครองชั่วคราวซ่ึงสามารถยื่นคําขอไดพรอมหรือหลังการยื่นคําฟองคดีตอศาลเพ่ือเรียกรองเรียกคาเสียหายจากผูกระทําละเมิด ในสวนของการดําเนินคดีอาญา เจาของเครื่องหมายการคาสามารถดําเนินคดีอาญาตอผูละเมิดโดยยื่นคําฟองตอสํานักงานอัยการ ซ่ึงสํานักงานอัยการจะเปนผูตรวจสอบข้ันตน โดยหากพบวามีการกระทําความผิด อัยการจะยื่นคําฟองตอศาล (Regional Trial Court) ซ่ึงโทษในกรณีการละเมิดเครื่องหมายการคา คือ ปรับ 50,000 ถึง 200,000 เหรียญเปโซ หรือจําคุก 2 ถึง 5 ป

Page 69: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 55 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ Bureau of Trademark Intellectual Property Office IPO Building 351 Sen. Gil Puyat Avenue Makati City 3117 Tel.: 63 2 890 49 42 Fax: 63 2 890 48 62 E-mail: [email protected] Website: http://ipophil.gov.ph

2) กฎหมายวาดวยความลับทางการคา กฎหมายท่ีคุมครองเรื่องเครื่องหมายการคาและความลับทางการคาเปนกฎหมายฉบับเดียวกัน คือ

ประมวลกฎหมายทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property Code) ความลับทางการคาจะไดรับความคุมครองโดยเจาของความลับทางการคาไมจําตองจดทะเบียนหรือบันทึกขอมูลความลับทางการคาแตอยางใด และจะไดรับความคุมครองตราบเทาท่ีขอมูลนั้นยังถูกเก็บไวเปนความลับ ความลับทางการคาจะไดรับความคุมครองเม่ือความลับดังกลาวไมเปนท่ีรูจักกันโดยท่ัวไป กลาวคือไมเปดเผยตอบุคคลหนึ่ง บุคคลใด ผูซ่ึงไมมีหนาท่ีรักษาความลับอันมีคุณคาทางเศรษฐกิจ เปนความลับท่ีมีคุณคาทางการคาหรือทางเศรษฐกิจ และมีการใชมาตรการในการเก็บรักษาความลับท่ีเหมาะสม โดยท่ัวไปแลว ความลับทางการคาจะถูกกําหนดเง่ือนไขไวในขอกําหนดของสัญญา

เจาของความลับทางการคามีสิทธิท่ีจะเก็บขอมูลอันเปนความลับของตนไวไมใหถูกเปดเผยภายใตการดูแลของตน หรือหามผูอ่ืนใชขอมูลโดยไมไดรับอนุญาต ท้ังนี้ เจาของความลับตองใชมาตรการในการเก็บรักษาความลับอยางเหมาะสม นอกจากนี้ อาจมีการกําหนดสิทธิอ่ืนๆ ของเจาของความลับทางการคาไวในขอสัญญา สิทธิในความลับทางการคาอาจโอนได ถึงแมจะไมมีระบบจดทะเบียน และอาจบันทึกการ โอนสิทธิในความลับทางการคาตอสํานักงานทรัพยสินทางปญญา นอกจากเจาของความลับทางการคาจะสามารถโอนสิทธิในความลับทางการคาแลวยังสามารถอนุญาตใหบุคคลอ่ืนใชสิทธิในความลับทางการคาของตนไดดวย แมในปจจุบันจะยังไมมีระบบหรือวิธีการจดทะเบียนขอมูลความลับทางการคา แตก็มิไดมีขอหามมิใหทําสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิในความลับทางการคา

การกระทําท่ีถือเปนการละเมิดความลับทางการคา ไดแกกรณีดังนี้

- บุคคลธรรมดาหรือพนักงานบริษัทเปดเผยขอมูลของบุคคลอ่ืนอันไดมาทาง เอกสารหรือการติดตอสื่อสารทางจดหมาย

- ผูจัดการ ลูกจางหรือขาราชการเปดเผยขอมูลของสํานักงานหรือองคกรท่ีตนไดมาโดยหนาท่ีโดยมิชอบ

Page 70: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 56 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

- บุคคลผูซ่ึงมีหนาท่ี ลูกจาง หรือคนงานโรงงานอุตสาหกรรม เปดเผยขอมูลทางอุตสาหกรรมท่ีไดเรียนรูจากโรงงาน อันกอใหเกิดความเสียหายตอเจาของ

- การกระทําการตามท่ีระบุไวในขอกําหนดในสัญญาวาเปนการกระทําละเมิด กรณีท่ีมีการละเมิดความลับทางการคา เจาของความลับทางการคาซ่ึงเปนผูเสียหายสามารถ

ดําเนินคดีตอผูทําละเมิดไดท้ังทางแพงและทางอาญา โดยเจาหนาท่ีฝายตุลาการมีอํานาจสั่งใหผูทําละเมิดจายคาเสียหายแกเจาของสิทธิในความลับทางการคา ในกรณีท่ีลูกจางขององคกรการผลิตหรือองคกรอุตสาหกรรมใดท่ีไดเปดเผยความลับทางอุตสาหกรรมขององคกรนั้นอาจตองโทษจําคุกและปรับ

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ Bureau of Legal Affairs Intellectual Property Office IPO Building, 351 Sen. Gil Puyat Avenue Makati City, Philippines Tel: 63 2 752 5450

3.8 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศสิงคโปร

3.8.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ประเทศสิงคโปรเปนอีกประเทศหนึ่งในอาเซียนท่ีไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรง ท้ังยังไมมี

ขอกําหนด ระเบียบกฎเกณฑเฉพาะเจาะจงสําหรับการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชสในประเทศสิงคโปร แตมิไดหมายความวาการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศสิงคโปรจะไมมีขอกําหนดกฎเกณฑอ่ืนมาควบคุม แฟรนไชสซอรท่ีประสงคจะดําเนินธุรกิจในประเทศสิงคโปรจะตอง ระมัดระวังในการทําสัญญาแฟรนไชสในประเด็นเรื่องการแขงขันทางการคา (กลาวคือ สัญญาแฟรนไชสตองไมกอใหเกิดการจํากัดหรือบิดเบือนการแขงขันทางการคา) ขอกําหนดอันไมเปนธรรม (อาทิ การจํากัดความรับผิดหรือขอยกเวนความรับผิดในกรณีบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการละเวนการปฏิบัติหนาท่ี) กฎหมายทรัพยสินทางปญญา (โดยเฉพาะอยางยิ่ง กฎหมายเครื่องหมายทางการคาและกฎหมายความลับทางการคา) และกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของของประเทศสิงคโปร ซ่ึงเหมือนกับประเทศอ่ืนๆ ท่ีไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรงแตยังมีกฎหมายภายในอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของสามารถบังคับใชไดโดยมิจําตองมีกฎหมายเฉพาะเจาะจงโดยตรง สําหรับประเด็นเรื่องกฎหมายท่ีใชบังคับกับสัญญาแฟรนไชสนั้น ศาลของประเทศสิงคโปรเปดชองใหอิสระแกคูสัญญาท้ังสองฝาย (แฟรนไชสซอรและแฟรนไชสซี) ในการเจรจาตกลงท่ีจะกําหนดวาจะใชกฎหมายของประเทศใดบังคับแกสัญญาของตน

1) รูปแบบธุรกิจท่ีสามารถจัดตั้งเพ่ือประกอบธุรกิจแฟรนไชส

แฟรนไชสซอรสามารถเลือกท่ีจะจัดตั้งธุรกิจของตนในรูปแบบตางๆ ในประเทศสิงคโปรได ดังนี้

ก. หางท่ีมีหุนสวนเพียงรายเดียว (Sole Proprietorship)

Page 71: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 57 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ข. หางหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิด (Partnership) ค. หางหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด (Limited Liability Partnership) ง. บริษัทจํากัด (Company)

ชาวตางชาติท่ีมิไดมีถ่ินท่ีอยูถาวรในประเทศสิงคโปรแตประสงคท่ีจะประกอบธุรกิจแฟรนไชสใน

ประเทศสิงคโปรจะตองยื่นขอใบอนุญาตการจางงาน ( Employment Pass) ตามขอกําหนดการเขาเมืองของประเทศสิงคโปรกอนอันดับแรก เม่ือไดรับอนุมัติแลวจึงจะสามารถนําไปจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจตอ Accounting & Corporate Regulatory Authority หรอื ACRA4

5 ได

3.8.2. กฎหมายภายในท่ีเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายภายในสําคัญท่ีอาจเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชส สามารถกลาวโดยสังเขปไดดังนี้

- Business Registration Act, Chapter 32 - Companies Act, Chapter 50 - Limited Liability Partnership Act, Chapter 163A - Trade Marks Act, Chapter 332 - Labour/Employment Law - Real Estate Law - Competition Act, Chapter 50B

3.8.3 กฎหมายภายในท่ีสงผลกระทบตอธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายนิติกรรมสัญญา

ในกรณีท่ีคูสัญญาตกลงใหกฎหมายประเทศสิงคโปรบังคับใชกับสัญญา หากมีขอพิพาทเกิดข้ึน

ระหวางคูสัญญาท้ังสองฝายศาลจะพิจารณาประเด็นแหงคดีตามกฎหมายของประเทศสิงคโปร ประเทศสิงคโปรเปนประเทศท่ีใชกฎหมายระบบ Common Law ซ่ึงแนวคําพิพากษาของศาลสิงคโปรจะมีผลตอการพิจารณาคดีในคดีถัดมา หลักสําคัญประการหนึ่งตามแนวคําพิพากษาของศาลสิงคโปรคือ หาก แฟรนไชสซอรผิดสัญญาในการจัดเตรียมรายละเอียดสําคัญท่ีจําเปนตอการดําเนินธุรกิจแฟรนไชสนั้น แฟรนไชสซีมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เชน คดี The Best Source Restaurant v. Wan Chai Capital Holdings Pte Ltd.6

5 ACRA เปนหนวยงานของรัฐบาลท่ีดําเนินการเก่ียวกับการจัดตั้งองคกรธุรกิจประเภทตางๆ ของประเทศสิงคโปร เปรียบเสมือนกับกรมพัฒนาธุรกิจ กระทรวงพาณิชยของประเทศไทย 6 Best Source Restaurant v. Wan Chai Capital Holdings Pte Ltd. [2009] SGHC 266.

แฟรนไชสซอรผิดสัญญาไมจัดเตรียมสูตรปรุงอาหารสําหรับรายการอาหารหลายประเภทท่ีมีอยูในรายการอาหารของราน ศาลตัดสินวา รายละเอียดตางๆ ของระบบธุรกิจแฟรนไชสประเภทนั้นและวิธีการดําเนินธุรกิจท่ีสมบูรณ

Page 72: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 58 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

เปนสิ่งสําคัญท่ีเปนวัตถุประสงครวมกันของคูสัญญาท้ังสองฝายในการเขาทําความตกลงสัญญาแฟรนไชส เชนนี้ การบอกเลิกสัญญาจึงชอบดวยกฎหมายและแฟรนไชสซอรยังตองชดใชเยียวยาความเสียหายใหแกแฟรนไชสซี

นอกจากนี้ ตาม Contracts (Rights of Third Parties) Act (Cap 53B) ไดกําหนดใหสิทธิแกบุคคลภายนอกในการบังคับสัญญาไดโดยตรง หากเขาองคประกอบของพระราชบัญญัติฉบับนี้ ซ่ึงสงผลใหบุคคลภายนอกท่ีมิใชคูสัญญาสามารถเขามามีสิทธิในสัญญาได ในทางปฏิบัติของสัญญาธุรกิจท่ีกําหนดใหใชกฎหมายสิงคโปรเปนกฎหมายใชบังคับแหงสัญญามักจะมีขอกําหนดเพ่ิมเติมวาใหยกเวนการบังคับใชของพระราชบัญญัติฉบับนี้ เนื่องจากการเขามามีสิทธิตามสัญญาของบุคคลภายนอกอาจกอใหเกิดความเสียหายเพ่ิมเติมแกคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งหรือท้ังสองฝายของสัญญาแฟรนไชส

2) กฎหมายแขงขันทางการคา

Competition Act (Cap 50B) มีเนื้อหาท่ีเครงครัดและ สงผลตอการกระทําตางๆ อันเปนการตอตานการแขงขันทางการคา การปกปองการแขงขันทางการคาท่ีมิชอบดวยกฎหมาย การจํากัดหรือการบิดเบือนการแขงขันทางการคา พระราชบัญญัติฉบับนี้หามการกระทําท่ีมิชอบดวยกฎหมายหลักๆ อยูสามประการ ไดแก

ก. ขอตกลง การตัดสินใจ และการปฏิบัติท่ีเปนการตอตานการแขงขันทางการคา (มาตรา 34) อัน

กอใหเกิดการปกปอง การจํากัด หรือการบิดเบือนการแขงขันทางการคาภายในประเทศสิงคโปร หากการกระทําดังกลาวมีลักษณะประการใดประการหนึ่ง ดังตอไปนี้

(1) การกระทําดังกลาวเปนการกําหนดไมวาทางตรงหรือทางออมซ่ึงราคาขายหรือราคาซ้ือ หรือเง่ือนไขทางการคาอ่ืนใด

(2) จํากัดหรือควบคุมการผลิต ตลาด การพัฒนาทางเทคนิค หรือการลงทุน (3) เขามามีสวนแบงในตลาด หรือแหลงวัตถุดิบ (4) กําหนดเง่ือนไขท่ีไมเหมือนกันสําหรับธุรกรรมท่ีมีลักษณะอยางเดียวกันกับคูสัญญาทางการคา

อ่ืนๆ ซ่ึงทําใหคูสัญญาอ่ืนเหลานั้นไดรับผลกระทบในการแขงขันในตลาด หรือ (5) เขาทําสัญญาท่ีเก่ียวของกับการยอมรับขอผูกพันเพ่ิมเติมของคูสัญญารายอ่ืนๆ ซ่ึงโดยลักษณะ

หรือตามประโยชนทางการคานั้นมิไดเก่ียวของกับสาระสําคัญของสัญญาดังกลาวแตประการใด

ข. การใชอํานาจเหนือตลาดโดยมิชอบ (มาตรา 47) อันมีลักษณะประการใดประการหนึ่ง ดังตอไปนี้ (1) การกระทําท่ีมีลักษณะขจัดคูแขงขันทางการคารายอ่ืน (2) การจํากัดการผลิต ตลาด หรือการพัฒนาทางเทคนิค ซ่ึงกระทบตอผูบริโภค (3) กําหนดเง่ือนไขท่ีไมเหมือนกันสําหรับธุรกรรมท่ีมีลักษณะอยางเดียวกันกับคูสัญญาทางการคา

อ่ืนๆ ซ่ึงทําใหคูสัญญาอ่ืนเหลานั้นไดรับผลกระทบในการแขงขันในตลาด หรือ (4) เขาทําสัญญาท่ีเก่ียวของกับการยอมรับขอผูกพันเพ่ิมเติมของคูสัญญารายอ่ืนๆ ซ่ึงโดยลักษณะ

หรือตามประโยชนทางการคานั้นมิไดเก่ียวของกับสาระสําคัญของสัญญาดังกลาวแตประการใด

Page 73: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 59 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ท้ังนี้ ถึงแมวามาตรา 34 และ 47 จะมีผลบังคับใชตั้งแตวันท่ี 1 มกราคม 2549 แตมีผลบังคับยอนหลัง

ค. การควบและรวมกิจการซ่ึงสงผลใหมีการลดการแขงขันทางการคาอยางมาก (มาตรา 54)

3) กฎหมายเครื่องหมายการคา กฎหมายท่ีใหความคุมครองเครื่องหมายการคาของประเทศสิงคโปร ไดแก - Trade Marks Act (Chapter 332) - Trade Marks (International Registration) Rules - Trade Marks (Border Enforcement Measures) Rules - Trade Marks Rules (Chapter 332, Section 108) - Application of Section 75 of Trade Marks Act to Commonwealth Countries - Trade Marks (Application of Section 75 to Foreign States) Notification

ระบบการใหความคุมครองเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของประเทศสิงคโปรนั้นเปน

ระบบจดทะเบียน เม่ือจดทะเบียนแลวจึงจะไดรับความคุมครองตามกฎหมายเหมือนดังเชนประเทศอ่ืนๆ ท่ีเปนภาคีสมาชิก World Trade Organization โดยมีอายุการคุมครองเปนเวลา 10 ป นับจากวันยื่นคําขอและสามารถตออายุไดทุกๆ 10 ป การยื่นคําขอจดทะเบียนจะตองยื่นตอสํานักทรัพยสินทางปญญา เครื่องหมาย (เครื่องหมายการคา เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรวม และเครื่องหมายรับรอง) ท่ีจะไดรับจดทะเบียนนั้นจะตองมีลักษณะบงเฉพาะและไมเปนการตองหามตามท่ีกฎหมายกําหนด ซ่ึงหลักเกณฑนี้ก็มีลักษณะคลายคลึงกับหลักเกณฑของประเทศอ่ืนๆ อาทิ ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดี ไมเปนรูปรางรูปทรงของวัตถุตองหาม ไมประกอบดวยเครื่องหมายหรือสิ่งบงชี้ท่ีกลายเปนสิ่งสามัญในภาษาปจจุบัน เปนตน ในกรณีท่ีมีการกระทําละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคา เจาของสิทธิหรือผูทรงสิทธิสามารถดําเนินคดีไดท้ังทางแพงและทางอาญา

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ Intellectual Property Office of Singapore (IPOS) 51 Bras Basah Road #04-01 Plaza by the Park, Singapore 189554 Tel: (65) 63.30.27.20 Fax: (65) 63.39.02.52 Website: http://www.ipos.gov.sg 4) กฎหมายความลับทางการคา

ความลับทางการคาเปนขอมูลอันมีมูลคาทางการคาท่ีสําคัญในการดําเนินธุรกิจและมิไดแพรหลาย

เปนท่ีรูจัดของสาธารณชน ในประเทศสิงคโปร ความลับทางการคาไดรับความคุมครองภายใตระบบกฎหมายคอมมอนลอว ซ่ึงไมมีระบบการจดทะเบียนและไมมีกําหนดระยะเวลาในการใหความคุมครอง หากมีการ

Page 74: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 60 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

กระทําละเมิดตอขอมูลอันเปนความลับทางการคา คูความท่ีไดรับความเสียหายสามารถฟองรองเปนคดีตอศาลได อยางไรก็ตามไมใชทุกขอมูลท่ีจะถูกพิจารณาวาเปนความลับทางการคา แนวทางของศาลสิงคโปรในการพิจารณาวาขอมูลใดเปนความลับทางการคาคือ (ก) ตองเปนขอมูลท่ีเปนความลับของธุรกิจหรือบริษัท (ข) หากมีการเปดเผยขอมูลดังกลาวจะเปนการทําผิดขอสัญญาในเรื่องของความลับ และ/หรอื (ค) มีการใชขอมูลนั้นในลักษณะท่ีไมเหมาะสมอันกอใหเกิดความเสียหายทางการเงินแกธุรกิจหรือบริษัท

ในคดี Swiss Butchery Pte Ltd v Huber Ernst7 วางหลักไววา การท่ีจะคุมครองธุรกิจจากการเปดเผยขอมูลอันเปนความลับโดยลูกจางเกา นายจางควรระบุขอสัญญาท่ีเก่ียวของไวในสัญญาจางแรงงานดวย นอกจากนี้ ศาลสิงคโปรในคดี Tang Siew Choy and others v Certact Pte Ltd8

7 Swiss Butchery Pte Ltd v Huber Ernst [2010] SGHC (April 27, 2010) 8 Tang Siew Choy and others v Certact Pte Ltd [1993] SGCA 35, [1993] 1 SLR 835

ตัดสินวารายชื่อลูกคาไดรับความคุมครองในฐานะเปนความลับทางการคา

5) หนวยงานท่ีเกี่ยวของกับธุรกิจแฟรนไชส

Franchising and Licensing Authority หรอื FLA เปนหนวยงานดานแฟรนไชสของประเทศ

สิงคโปรแตมิไดเปนหนวยงานราชการ โดยมีวัตถุประสงคจัดตั้งเพ่ือจัดการดูแลและพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสของประเทศ บริษัทตางๆ สามารถเลือกท่ีจะเขาเปนสมาชิกของ FLA ได

หากบริษัทใดประสงคที่จะเขาเปนสมาชิก บริษัทนั้น จะตองปฏิบั ติตามกฎจริยธรรมขององคกร (Code of Ethics) โดยมีคณะกรรมการบริหารของ FLA คอยกํากับดูแล เนื้อหาของกฎจริยธรรมประกอบดวยบทบัญญัติท่ีเก่ียวของกับการทําการตลาดในเชิงหลอกลวง ขอบังคับการลงทุน การเปดเผยขอมูล คําแนะนําทางกฎหมาย สัญญาตางๆ ท่ีเก่ียวของกับแฟรนไชสซี ขอจํากัดการใชเครื่องหมายการคาของบุคคลอ่ืน การเลือกแฟรนไชสซีอยางเหมาะสม การฝกอบรม แนวทางการประกอบธุรกิจ ความสามารถในการเขาถึงของแฟรนไชสซอร การโอนธุรกิจแฟรนไชส มาตรฐานการประพฤติปฏิบัติ หนังสือแจงการผิดสัญญาและระยะเวลาการเยียวยาความเสียหาย การบอกเลิกสัญญาและการระงับขอพิพาท ท้ังนี้ หลักสําคัญประการหนึ่งของกฎจริยธรรมคือเอกสารการเปดเผยขอมูลท่ีควรจะประกอบดวยรายละเอียดของการดําเนินการปจจุบัน การลงทุน บันทึกการปฏิบัติตามสัญญา และขอมูลอ่ืนๆ ท่ีจําเปนตอการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของแฟรนไชสซี เชน บัญชีงบดุล และรายละเอียดกําไรขาดทุน เปนตน

6) วิธีพิจารณาการระงับขอพิพาท

โดยปกติแลวการระงับขอพิพาทท่ีเก่ียวของกับแฟรนไชสในประเทศสิงคโปรสามารถยื่นไดตอศาล

แพง ท้ังนี้ การพิจารณาวาจะยื่นคดีตอศาลใดจะดูจากจํานวนทุนทรัพยท่ีพิพาท หากจํานวนทุนทรัพยท่ีพิพาทไมเกินกวา 60,000 เหรียญสิงคโปร จะตองยื่นตอศาลแขวง (Magistrate Courts) จํานวนทุนทรัพยท่ีพิพาทระหวาง 60,000-250,000 เหรียญสิงคโปร จะตองยื่นตอศาลจังหวัด (District Courts) และจํานวนทุนทรัพยท่ีพิพาทเกินกวา 250,000 เหรียญสิงคโปร จะตองยื่นตอศาลสูง (High Court)

Page 75: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 61 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

3.9 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศไทย ปจจุบันประเทศไทยยังไมมีกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ อยางไรก็ดี

รัฐมีความพยายามท่ีจะควบคุมการประกอบธุรกิจดังกลาวโดยการยกรางกฎหมายในเรื่องนี้เปนการเฉพาะข้ึน โดยกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ไดดําเนินการยกรางพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจแฟรนไชส พ.ศ. .... เพ่ือจัดระเบียบการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในประเทศไทย รวมท้ังเพ่ือพัฒนา สงเสริม และสนับสนุนการประกอบธุรกิจประเภทนี้ อีกท้ังเพ่ือสรางความเปนธรรมแกผูใหสิทธิในการประกอบธุรกิจหรือแฟรนไชสซอรและผูรับสิทธิในการประกอบธุรกิจหรือแฟรนไชสซีในการประกอบธุรกิจแฟรนไชส เม่ือปจจุบันยังไมมีกฎหมายเฉพาะในเรื่องนี้ สัญญาแฟรนไชสซ่ึงถือเปนสัญญาประเภทหนึ่งจึงตองอยูภายใตบังคับแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเชนเดียวกันกับสัญญาประเภทอ่ืนๆ นอกจากนี้ยังเก่ียวของกับกฎหมายอ่ืนอีกหลายฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติวาดวยขอสัญญาท่ีไมเปนธรรม พ.ศ. 2550กฎหมายเก่ียวกับทรัพยสินทางปญญา พระราชบัญญัติความลับทางการคา พ.ศ. 2545พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติการแขงขันทางการคา พ.ศ. 2542 และกฎหมายเฉพาะท่ีเก่ียวกับธุรกิจนั้นโดยตรง เปนตน

3.9.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

1) ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยท่ีนํามาใชบังคับกับสัญญาแฟรนไชส ไดแก หมวดวาดวยนิติกรรม

และสัญญา โดยนํามาใชบังคับในสวนท่ีเก่ียวกับการเกิดสัญญา การแสดงเจตนาของคูสัญญา การตีความสัญญา ผลของสัญญา การบอกเลิกสัญญา และการผิดสัญญา

2) พระราชบัญญัติวาดวยขอสัญญาท่ีไมเปนธรรม พ.ศ. 2540 หากพิจารณาฐานะของคูสัญญาในสัญญาแฟรนไชสแลว จะเห็นไดวา คูสัญญาสอง ฝายจะมีฐานะไม

เทาเทียมกันเนื่องจากแฟรนไชสซีจะมีอํานาจในการเจรจาตอรองนอยกวาแฟรนไชสซอร นอกจากนี้สัญญาแฟรนไชสยังถือเปนสัญญามาตรฐานและสัญญาสําเร็จรูปประเภทหนึ่งเพราะเปนสัญญาท่ีแฟรนไชสซอรซ่ึงเปนคูสัญญาฝายท่ีมีอํานาจทางเศรษฐกิจเหนือกวาเปนผูกําหนดเนื้อหาสาระของสัญญาหรือขอสัญญาท่ีเปนสาระสําคัญไวเปนการลวงหนา โดยท่ีแฟรนไชสซีซ่ึงเปนผูท่ีจะเขามาทําสัญญาสามารถแสดงเจตนาเขาทําสัญญาโดยไมตองมีการเจรจาตอรอง ซ่ึงหากวาขอสัญญาดังกลาวแฟรนไชสซอรไดเปรียบแฟรนไชสซีเกินสมควร ขอสัญญาดังกลาวถือเปนขอสัญญาท่ีไมเปนธรรม ในกรณีเชนนี้กฎหมายกําหนดใหสัญญามีผลใชบังคับไดเพียงเทาท่ีเปนธรรมและพอสมควรแกกรณีเทานั้น

3) กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา สัญญาแฟรนไชสนั้นมีความเก่ียวของกับการอนุญาตใหใชสิทธิในทรัพยสินทางปญญา โดยเฉพาะ

อยางยิ่งการใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาหรือบริการ และสิทธิบัตร เนื่องจากหากแฟรนไชสซอรประสงคท่ีจะใหแฟรนไชสซีสามารถใชเครื่องการการคาหรือบริการ หรือสิทธิบัตรของตนก็จะตองมีการจดทะเบียนสัญญา

Page 76: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 62 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

อนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาหรือบริการ หรือสิทธิบัตรกับทางราชการดวย สวนท่ีแตกตางกันระหวางสัญญาแฟรนไชสและสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิในทรัพยสินทางปญญา คือ แฟรนไชสซีจะตองจายคาตอบแทนในการใชสิทธิและเขารวมประกอบธุรกิจ สวนสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิในทรัพยสินทางปญญานั้นผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิอาจไมจําตองจายคาตอบแทนก็ไดข้ึนอยูกับการตกลงกันของคูสัญญา

4) พระราชบัญญัติความลับทางการคา พ.ศ. 2545

การประกอบธุรกิจแฟรนไชสเก่ียวของกับความลับทางการคาในแงท่ีวา ขอมูลและรายละเอียดตางๆ ในการประกอบธุรกิจ เชน สูตรอาหารหรือเครื่องดื่ม คูมือการปฏิบัติงาน และรายชื่อลูกคา อาจถือไดวาเปนความลับทางการคาของแฟรนไชสซอรท่ีจําเปนจะตองไดรับความคุมครอง โดยแฟรนไชสซีจะตองไมเปดเผยขอมูลความลับหรือนําขอมูลซ่ึงเปนความลับนั้นไปใชในลักษณะท่ีเปนการแขงขันกับแฟรนไชสซอร ในกรณีท่ีมีการละเมิดสิทธิของแฟรนไชสซอรในเรื่องดังกลาว แฟรนไชสซอรยอมสามารถท่ีจะฟองรองเรียกคาสินไหมทดแทนและขอใหศาลมีคําสั่งระงับการกระทําเชนวานั้นได

5) พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522

ธุรกิจประเภทนี้ท้ังแฟรนไชสขายสินคาและแฟรนไชสใหบริการยอมตองมีลูกคาหรือ ผูบริโภคเปนกลุมเปาหมายสําคัญ ในแงนี้ลูกคาหรือผูบริโภคจะไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัตคุิมครองผูบริโภคฯ ไมวาจะเปนเรื่องของการโฆษณาสินคาท่ีอาจเกินจริง การปดฉลากสินคา หรือการกําหนดใหธุรกิจใดเปนธุรกิจท่ีควบคุมสัญญา เปนตน

6) พระราชบัญญัติการแขงขันทางการคา พ.ศ. 2542

การประกอบธุรกิจแฟรนไชสยอมตกอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติการแขงขันทางการคาฯ เชนกัน โดยท้ังแฟรนไชสซอรและแฟรนไชสซีจะถูกควบคุมมิใหมีการใชวิธีการท่ีกฎหมายวาดวยการแขงขันทางการคาถือวาเปนการผูกขาด หรือการกระทําท่ีเปนการใชอํานาจเหนือตลาด เวนแตมีความจําเปนและมีเหตุผลสมควรโดยจะตองขออนุญาตตอคณะกรรมการการแขงขันทางการคาเสียกอน

7) กฎหมายเฉพาะท่ีเกี่ยวกับธุรกิจนั้นโดยตรง

การขายสินคาและการใหบริการในธุรกิจแฟรนไชสนอกจากจะตองพิจารณากฎหมายท่ีเก่ียวของดังกลาวขางตนแลว ยังจําเปนตองพิจารณาถึงกฎหมายเฉพาะท่ีเก่ียวกับธุรกิจนั้นโดยตรง เชน พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติเครื่องสําอาง พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2535 เปนตน

3.9.2 ขอจํากัดของการประกอบธุรกิจแฟรนไชสภายใตกฎหมายไทย

1) ขอจํากัดในสัญญาแฟรนไชส ขอจํากัดในสัญญาแฟรนไชส มีดวยกันหลายประการดังนี้

Page 77: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 63 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(1) การขาดบทบัญญัติในเรื่องการเปดเผยขอมูลกอนการตัดสินใจเขาทําสัญญา จากการท่ีแฟรนไชสซอรมีอํานาจตอรองสูงกวาแฟรนไชสซีประกอบกับเปนฝายท่ีเปนผูรางสัญญา

และขอกําหนดตางๆ ในสัญญาแฟรนไชสข้ึน ดังนั้น แฟรนไชสซอรจึงอาจปดบังขอมูลบางประการไมใหแฟรนไชสซีทราบ ซ่ึงขอมูลหรือขอเท็จจริงบางอยางอาจสําคัญถึงขนาดวาถาแฟรนไชสซีทราบแลวอาจตัดสินใจไมทําเขาทําสัญญาดวย ในเรื่องนี้ประเทศไทยไมมีกฎหมายกําหนดบังคับใหแฟรนไชสซอรตองเปดเผยขอมูลในการดําเนินธุรกิจของตนแตอยางใด ดังนั้น เม่ือมีปญหาเกิดข้ึนจึงจําเปนตองนําบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบังคับในกรณีดังกลาว เชน บทบัญญัติเก่ียวกับความสําคัญผิดในบุคคลหรือทรัพยสินตามมาตรา 157 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หรือกลฉอฉลตามมาตรา 159 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เปนตน

(2) ขอสัญญาท่ีไมเปนธรรมในสัญญาแฟรนไชส และขอสัญญาท่ีอาจกําหนดภาระหนาท่ีแกแฟรน

ไชสซีเกินสมควร

มูลเหตุในการเกิดขอสัญญาไมเปนธรรมในสัญญาแฟรนไชส และขอสัญญาท่ีอาจกําหนดภาระหนาท่ีแกแฟรนไชสซีเกินสมควรอาจเกิดจากอํานาจตอรองในการเจรจาของคูสัญญาท่ีแฟรนไชสซอรมักจะเปนฝายท่ีมีอํานาจเหนือกวาแฟรนไชสซี หรือการขาดความรูความเขาใจในการทําธุรกิจแฟรนไชส ขอสัญญาในลักษณะนี้มีดวยกันหลายประการ เชน การหามทําธุรกิจแขงขัน การผูกขาดการติดตอ ขอตกลงพวงขาย การจํากัดพ้ืนท่ีและกลุมลูกคา รวมไปถึงการกําหนดราคาขายสินคาดวย

2) ขอจํากัดตามกฎหมายท่ีเกี่ยวของ

เม่ือประเทศไทยไมมีกฎหมายท่ีใชบังคับกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ ดังนั้น การแกไขปญหาขอกฎหมายท่ีเกิดข้ึนจึงทําไดโดยนํากฎหมายท่ีมีอยูปจจุบันท่ีเก่ียวของกับประเด็นปญหามาใชบังคับแกกรณี อยางไรก็ดี กฎหมายท่ีนํามาปรับใชก็ไมสามารถแกไขปญหาในธุรกิจแฟรนไชสไดทุกกรณีเนื่องจากกฎหมายดังกลาวยอมมีขอจํากัดในตัวของกฎหมายนั้นเอง นอกจากนี้ยังขาดหนวยงานท่ีทําหนาท่ีควบคุมและลงโทษตอการปฏิบัติท่ีไมเปนธรรมในธุรกิจแฟรนไชสอีกดวย

3.9.3 แนวทางในการแกไขปญหา

การมีกฎหมายท่ีใชในการควบคุมดูแลการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะโดยมีบทบัญญัติในเรื่องของการเปดเผยขอมูลท่ีจําเปนกอนทําสัญญา การจดทะเบียนแฟรนไชส การกําหนดหลักเกณฑในการทําขอตกลงพวงขาย รวมท้ังจัดตั้งหนวยงานเพ่ือทําหนาท่ีควบคุมดูแลและมีบทกําหนดโทษท่ีชัดเจนกรณีท่ีมีการทําสัญญาหรือการปฏิบัติท่ีไมเปนธรรมในทางธุรกิจจะสามารถแกไขปญหาในเรื่องนี้ได ดังเชนท่ีหนวยงานของรัฐพยายามท่ีจะผลักดันใหมีกฎหมายดังกลาวโดยการยกรางพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจแฟรนไชส พ.ศ. ....

Page 78: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 64 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

3.10 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสของประเทศเวียดนาม

3.10.1 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

ประเทศเวียดนามไมมีกฎหมายชัดเจนท่ีเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชสจนกระท่ังป 2549 โดยกอนหนานี้ การทําธุรกิจแฟรนไชสในเวียดนามดําเนินการผานการทําขอตกลงเก่ียวกับการอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาและการถายทอดเทคโนโลยี ( Trademark Licensing and Technology Transfer) นับตั้งแตป 2549 ประเทศเวียดนามไดมีกฎหมายท่ีเก่ียวของโดยตรงบังคับใช อันไดแก

- Decree No. 35/2006/ND-CP of the Government dated 31 March 2006 Detailing

the Provisions of the Commercial Law on Commercial Franchising - Circular No. 09/2006/TT-BTM of the Ministry of Trade (ปจจุบันคือ Ministry of

Industry and Trade) dated 25 May 2006 Providing Guidelines on the Registration of Franchising Activities โดยจะกําหนดข้ันตอนการจดทะเบียนและแบบฟอรมมาตรฐาน ซ่ึงเปนการรองรับบทบัญญัติและเง่ือนไขท่ีไดกําหนดไวใน Decree No. 35/2006/ND-CP

โดยมีเง่ือนไขบังคับเบื้องตนสําหรับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสท่ีสําคัญ มีดังนี้ ก. ธุรกิจของแฟรนไชสซีท่ีจะรับการใหแฟรนไชสจะตองเปนธุรกิจท่ีเปดดําเนินการมาแลวในประเทศ

เวียดนามไมนอยกวา 1 ป (Article 5 of Decree No. 35/2006/ND-CP) ข. ธุรกิจของแฟรนไชสซีจะตองไดรับอนุญาตตามทะเบียนพาณิชยใหดําเนินธุรกิจในประเทศ

เวียดนามไดโดยชอบดวยกฎหมาย (Article 6 of Decree No. 35/2006/ND-CP) ค. การจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไซส กลาวคือ ธุรกิจแฟรนไชสจากตางประเทศจะตองดําเนินการจด

ทะเบียน ณ กระทรวงอุตสาหกรรมและการคา ( Ministry of Industry and Trade) (Article 17 of Decree No. 35/2006/ND-CP) ซ่ึงเอกสารตางๆ ท่ีเก่ียวของสําหรับการจดทะเบียนเชนวานั้น ไดแก คําขอจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไซส คํารับรองธุรกิจแฟรนไชส คํารับรองสถานะทางกฎหมายของแฟรนไชสซอร คํารับรองเก่ียวกับสิทธิในทรัพยสินอุตสาหกรรมท่ีมีในประเทศเวียดนามหรือในตางประเทศในกรณีของการอนุญาตใหใชสิทธิ นอกจากนี้ ในกรณีท่ีเอกสารใดเปนภาษาตางประเทศจะตองแปลเปนภาษาเวียดนามและรับรองโดยโนตารีพับพลิคของเวียดนาม หรือรับรองโดยสถานกงสุลของเวียดนามท่ีอยูตางประเทศ ( Article 19 of Decree No. 35/2006/ND-CP)

ง. หนาท่ีในการเปดเผยและแจงขอมูลของแฟรนไชสซอรแกแฟรนไชสซี ( Article 8 of Decree No. 35/2006/ND-CP) กลาวคือ

- แฟรนไชสซอรจะตองจัดสงสําเนาสัญญาแฟรนไชสและคํารับรองธุรกิจแฟรนไชส (แบบฟอรมของ

คํารับรองตองเปนไปตามท่ีกระทรวงอุตสาหกรรมและการคากําหนด) ใหแกแฟรนไชสซีอยางนอย 15 วันทําการกอนท่ีจะมีการตกลงลงนามในสัญญา เวนเสียแตคูสัญญาจะไดตกลงกันไวเปนอยางอ่ืน ท้ังนี้ ขอมูลท่ีเปดเผยในข้ันตอนนี้ ไดแก คาธรรมเนียมเริ่มตน ขอผูกพันทางการเงินและการลงทุนตางๆ ท่ีแฟรนไชสซีจะตอง

Page 79: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 65 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ชําระ เง่ือนไขท่ีแฟรนไชสซีตองซ้ืออุปกรณและวัตถุดิบจากแฟรนไชสซอร การฝกอบรมบุคลากรและการเลือกสถานท่ี สิทธิของแฟรนไชสซีในการใชเครื่องหมายการคาและทรัพยสินทางปญญาอ่ืน

- แฟรนไชสซอรจะตองแจงใหบรรดาแฟรนไชสซีท้ังหมดทราบถึงการเปลี่ยนแปลงท่ีสําคัญใดๆ ของระบบแฟรนไชสซ่ึงอาจกระทบตอการดําเนินธุรกิจตามรูปแบบของแฟรนไชสท่ีกําหนดไวแลว

- ในกรณีท่ีแฟรนไชสซอรนั้นเปนแฟรนไชสซอรลําดับรองท่ีไดรับสิทธิมาอีกทอดหนึ่ง แฟรนไชสซอร

ลําดับรองนั้นตองแจงใหแฟรนไชสซีทราบถึงรายละเอียดของสิทธิท่ีไดรับมา เนื้อหาของสัญญาแฟรนไชสท่ีตกลงกันระหวางแฟรนไชสซอรลําดับแรกและแฟรนไชสซอรลําดับรอง และเง่ือนไขในการดําเนินการกับสัญญาแฟรนไชสลําดับรองในกรณีท่ีมีการบอกเลิกหรือสิ้นสุดลงของสัญญาแฟรนไชสลําดับแรก

จ. หนาท่ีของแฟรนไชสซอรในการแจงตอหนวยงานรับจดทะเบียนแฟรนไชสใหทราบถึงการ

เปลี่ยนแปลงเง่ือนไขตางๆ ของการดําเนินธุรกิจแฟรนไชส (Article 21 of Decree No. 35/2006/ND-CP) นอกจากนี้ Article 10 of Decree No. 35/2006/ND-CP ยังไดกลาวถึงสิทธิในทรัพยสิน

อุตสาหกรรม (หรือทรัพยสินทางปญญา) จะตองเปนไปตามกฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของของประเทศเวียดนาม ซ่ึงการวิจัยนี้จะศึกษาเฉพาะสิทธิในเครื่องหมายการคาและความลับทางการคา อันเปนประเด็นท่ีเก่ียวของโดยตรงกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

3.10.2 กฎหมายทรพัยสนิทางปญญาท่ีเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

1) กฎหมายเครือ่งหมายการคา กฎหมายท่ีใหความคุมครองสิทธิในเครื่องหมาย (การคาหรือบริการ) ของประเทศเวียดนามไดแก - ประมวลกฎหมายแพง - Decree No. 63/CP dated 24 October 1996 - Decree No. 06/2001/ND-CP dated 1 February 2001 ระบบการใหความคุมครองเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของประเทศเวียดนามนั้นเปน

ระบบจดทะเบียน เม่ือจดทะเบียนแลวจึงจะไดรับความคุมครองตามกฎหมายเหมือนดังเชนประเทศอ่ืนๆ ท่ีเปนภาคีสมาชิก World Trade Organization โดยมีอายุการคุมครองเปนเวลา 10 ป และสามารถตออายุไดทุกๆ 10 ป ท้ังนี้ การยื่นคําขอจดทะเบียนจะตองยื่นตอ National Office for Industrial Property ของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และหลักเกณฑการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาก็คลายคลึงกับประเทศอ่ืนเชนกัน กลาวคือ

(ก) ตองเปนเครื่องหมายท่ีมีลักษณะบงเฉพาะ (ข) ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีเหมือนหรือคลายกับของบุคคลอ่ืนท่ีไดรับความคุมครองแลวในประเทศ

เวียดนาม

Page 80: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 66 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(ค) ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีเหมือนหรือคลายจนกอใหเกิดความสับสนหลงผิดกับเครื่องหมายของบุคคลอ่ืนท่ีไดรับความคุมครองแลวในประเทศเวียดนาม (รวมถึงเครื่องหมายท่ีมีชื่อเสียงแพรหลายอยางกวางขวาง)

(ง) ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีเหมือนหรือคลายจนกอใหเกิดความสับสนหลงผิดกับชื่อทางการคาหรือสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรของบุคคลท่ีไดรับความคุมครองแลว

(จ) ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีเหมือนหรือคลายจนกอใหเกิดความสับสนหลงผิดกับแบบผลิตภัณฑของบุคคลอ่ืนท้ังท่ีไดรับความคุมครองแลวหรืออยูในระหวางการพิจารณา

(ฉ) ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีเหมือนหรือคลายจนกอใหเกิดความสับสนหลงผิดกับรูปรอยประดิษฐหรือภาพของบุคคลอ่ืนท่ีไดรับความคุมครองแลว

(ช) ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีมีลักษณะเปนรูปรางทางเลขาคณิตธรรมดาหรือตัวเลข (ซ) ตองไมเปนเครื่องหมายท่ีเปนการลวงผูบริโภคใหสับสนหลงผิดในตัวสินคา (ฌ) อ่ืนๆ ตามประกาศ นอกจากนี้ การทําแฟรนไชสสวนใหญจะเปนการอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคาจากเจาของ

เครื่องหมายการคา ซ่ึงในกรณีเชนวานี้ จะตองมีการยื่นขอจดบันทึกการอนุญาตใหใชสิทธิไวตอ National Office for Industrial Property ดวย โดยจะตองยื่นคําขอตามแบบฟอรมท่ีประกาศกําหนด หนังสือมอบอํานาจท่ีรับรองโดยโนตารีพับบลิค และสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิในเครื่องหมายการคา

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ National Office of Industrial Property (NOIP) P.O. Box 432, Hanoi 384-386 Nguyen Trai Street, Thanh Xuan District, Hanoi Tel.: 84 4 558 82 17, 858 30 69, 858 37 93 Fax: 84 4 858 40 02, 858 34 25, 858 84 49 E-mail: [email protected] 2) กฎหมายความลับทางการคา เหตุท่ีตองกลาวถึงความลับทางการคานั้น เนื่องจากวาธุรกิจแฟรนไชสหลายประเภทประกอบดวย

ความลับทางการคาท่ีไมเปดเผยตอคูคาและบุคคลภายนอกถึงรายละเอียด แตคูคาสามารถใชสิทธิในความลับทางการคานั้นไดก็ตอเม่ือไดรับอนุญาตใหใชสิทธิโดยเจาของสิทธิดังกลาว

กฎหมายท่ีใหความคุมครองเก่ียวกับความลับทางการคาของประเทศเวียดนามไดแก ประมวลกฎหมายแพง และ Decree No. 54/2000 on Protection of Industrial Property Rights with respect to Trade Secrets, Geographical Instruction and Trade Names and Protection of Rights to Fight against Unfair Competition relating to Industrial Property การใหความคุมครองความลับทางการคานี้แตกตางจากการใหความคุมครองเครื่องหมายการคา กลาวคือ มิไดอยูภายใตระบบจดทะเบียน และจะไมมีการบันทึกขอมูลความลับทางการคา เนื่องดวยลักษณะของความลับทางการคามิอาจเปดเผยได เชนนี้ เจาของความลับทางการคาจะตองมีมาตรการรักษาความลับทางการคาของตนเอง ( Article 6 of Decree No.

Page 81: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 67 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

54/2000) ในกรณีท่ีมีการละเมิดสิทธิของเจาของความลับทางการคา เจาของความลับทางการคาสามารถฟองรองคดีละเมิดตอผูกระทําละเมิดไดและรวมถึงสิทธิในการทําลายความลับดังกลาวดวย ( Article 8(1) of Decree No. 54/2000) เง่ือนไขท่ีถือวาการกระทําใดเปนการกระทําละเมิดความลับทางการคา อาทิ การกระทําท่ีเปนการเขาถึงขอมูลท่ีเปนความลับของเจาของความลับทางการคาท่ีมีมาตรการปองกันไวแลว หรือการเปดเผยหรือการใชขอมูลท่ีเปนความลับทางการคาโดยปราศจากความยินยอมของเจาของความลับทางการคา เปนตน (Article 18 of Decree No. 54/2000)

สวนเรื่องอายุความคุมครองความลับทางการคานั้นไมมีขอจํากัดอายุการคุมครองแตอยางใด โดยจะไดรับความคุมครองตราบเทาท่ียังความเปนความลับทางการคาอยู (Article 8(2) of Decree No. 54/2000)

Page 82: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

บทที่ 4

แนวทางการพัฒนาธรุกจิแฟรนไชสของไทยในการเขาสูตลาดอาเซยีน

4.1 ปญหา และอุปสรรคการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสในตลาดอาเซียน ธุรกิจแฟรนไชส นั้นเปนวิธีการหนึ่งในการขยายตลาดและชองทางการจัดจําหนายของธุรกิจ โดย

ผาน ผูซ้ือสิทธิ /ผูรับสิทธิ /ผูประกอบการอิสระท่ีเรียกวา แฟรนไชสซี (Franchisee) ซ่ึง เปดโอกาส ใหผูประกอบการ มีโอกาสประสบความสําเร็จ ในการทําธุรกิจไดมากข้ึน ท้ังนี้โดยอาศัยปจจัยดานความสามารถในการประกอบการธุรกิจ การบริหารงานของเจาของสิทธิแฟรนไชส ( Franchisor) ประกอบกับการยอมรับชื่อเสียงของผลิตภัณฑ ของตราสินคา หรือเครื่องหมายการคา ( Brand) ของผลิตภัณฑท่ีนําเขาสูตลาด อยางไรก็ตามแมการทําธุรกิจแฟรนไชสจะสามารถเปดโอกาสใหผูประกอบการ ใหมีโอกาสประสบความสําเร็จในการทําธุรกิจไดมากข้ึน แต การทําธุรกิจแฟรนไชส ใหประสบความสําเร็จไดนั้นก็ ยังตองคํานึงถึงกลุมเปาหมายและการแขงขันในแตละพ้ืนท่ี รวมท้ังปญหาและอุปสรรคในการประกอบการอยางรอบดานประกอบดวย เนื่องจากแตละพ้ืนท่ี นั้นมี ปญหา อุปสรรค รวมท้ัง กลุมเปาหมาย และสภาพการแขงขันท่ีแตกตางกัน ท้ังนี้เพ่ือเปนการรับประกันความสําเร็จในการดําเนินการธุรกิจแฟรนไชส เพราะแฟรนไชสแตละตราสินคา/บริการนั้นไมไดมีความเหมาะสมกับผูซ้ือสิทธิ หรือผูรับสิทธิ (Franchisee) ทุกราย หรืออาจไมไดเหมาะสมกับพ้ืนท่ีทุกพ้ืนท่ี หรือตลาดทุกตลาด โดยเฉพาะการขยายตลาดธุรกิจแฟรนไชสในประชาคมอาเซียน ซ่ึงนอกจากผูประกอบการจะตองเผชิญกับ กลุมเปาหมายท่ีแตกตางกัน แลว ยังตองเผชิญกับการแขงขันกับธุรกิจแฟรนไชสทองถ่ิน แฟรนไชสระหวางประเทศตางๆ และสภาพความหลากหลายของตลาดในอาเซียนท่ีมีความแตกตางกันอยางมาก ท้ังในดานขนาดเศรษฐกิจ รายไดของประชากร พฤติกรรมผูบริโภค รวมท้ังกฎระเบียบในการดําเนินการขยายธุรกิจแฟรนไชสเขาสูตลาดแตละตลาดดวย จากการศึกษา สภาพธุรกิจแฟรนไชสไทยและธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียน ท่ีผานมา สามารถสรุป สภาพแวดลอม ปญหา และอุปสรรคการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสในตลาดอาเซียน โดยเปรียบเทียบดังแสดงในตารางท่ี 4.1 4.2 และ 4.3 โดยสรุปดังนี้

4.1.1 สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค 1) ขนาดของเศรษฐกิจ/ตลาด ขนาดเศรษฐกิจเปนปจจัยหนึ่งท่ีสําคัญของการดําเนินธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม ใน

ประเทศท่ีมีขนาดเศรษฐกิจใหญกวายอมมีโอกาสของการประกอบการแฟรนไชสมากกวาประเทศท่ีมีขนาดเศรษฐกิจท่ีเล็กกวา เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบ ขนาดเศรษฐกิจ จากมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product) ของประเทศท่ีมีขนาดเศรษฐกิจใหญท่ีสุด กับประเทศท่ีมีขนาดเศรษฐกิจท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดในอาเซียน (ตารางท่ี 4.1) พบวา มีขนาดเศรษฐกิจแตกตางกันสงูมากถึง 94 เทา โดยประเทศท่ีมีขนาดเศรษฐกิจใหญท่ีสุดคืออินโดนีเซีย มี มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศสูงถึง 377 พันลานดอลลาร สรอ. ขณะท่ีประเทศ สปป.ลาวท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด มีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ เพียง 4 พันลานดอลลาร สรอ.เทานั้น

Page 83: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 69 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2) รายไดตอหัวของประชากร รายไดตอหัวของประชากรในภูมิภาคอาเซียน มีความแตกตางมากกวา 79 เทา (ตารางท่ี 4.1) โดย

ประเทศสิงคโปรมีรายไดตอหัวของประชากรสูงสุดคือ 33 ,613 ดอลลาร สรอ . ในขณะท่ีประเทศเมียนมารประชากรมีรายไดตอหัวเพียง 423 ดอลลาร สรอ . เทานั้น และหากพิจารณาถึงรายไดตอหัวของประชากร ท่ีคํานวณโดยวิธี Purchasing Power Parity (PPP)9

เม่ือพิจารณาจํานวนประชากรของแตละประเทศในอาเซียน ซ่ึงสะทอนถึงขนาดของตลาดในการทําธุรกิจ (ตารางท่ี 4.2) พบวา ขนาดตลาดในอาเซียนแตละตลาด (ประเทศ) นั้นมีความแตกตางกันมากถึงกวา 596 เทา โดยท่ีประเทศอินโดนีเซียซ่ึงเปนประเทศท่ีมีจํานวนประชากรมากท่ีสุดนั้นมีจํานวนประชากรมากถึง 242,326,000 คน ในขณะท่ีประเทศบรูไนท่ีเปนประเทศท่ีมีจํานวนประชากรนอยท่ีสุดนั้นมีประชากรเพียง 406,000 คนเทานั้น แตหากพิจารณาจากกลุมเปาหมายสําหรับธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม ท่ีมักเปนกลุมผูบริโภคท่ียอมรับการบริโภคท่ีมีความแตกตางจากวัฒนธรรมการบริโภคแบบดั้งเดิม หรือตองการบริโภคสินคาในรูปแบบท่ีมีความเปนสากลมากข้ึนนั้น มักเปนกลุมท่ีทํางานหรืออาศัยอยูในเมืองใหญ มีรายไดคอนขางสูงเม่ือเปรียบเทียบกับกลุมประชากรท้ังหมดของประเทศ ดังนั้นประเทศท่ีมีจํานวนประชากรเมืองมากยอมมีโอกาสสําหรับการประกอบกิจการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มมากกวาประเทศท่ีมีจํานวนประชากรเมืองนอยกวา โดยเม่ือเปรียบเทียบ ประเทศในอาเซียน ท่ีมีจํานวนประชากร และ /หรือสัดสวนของจํานวนประชากรเมือ งสูง ดังตารางท่ี 4.2 พบวา ประเทศท่ีมีจํานวนประชากรเมือง มากท่ีสุด ไดแก ประเทศสิงคโปร บรูไน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ไทย และเวียดนาม ตามลําดับ ซ่ึงเม่ือพิจารณาในประเด็นดานประชากรเมือง ซ่ึงเปนกลุมเปาหมายของแฟรนไชสในกิจการอาหารและเครื่องดื่มก็จะพบวาประเทศท่ีนาสนใจท่ีมีจํานวนประชากร และ/หรือสัดสวนของจํานวนประชากรเมือ งท่ีสูงท่ีเหมาะสมกับการขยายธุรกิจของแฟรนไชส ไดแก ประเทศ สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และ เวียดนาม ในขณะท่ี

พบวา ประเทศในอาเซียนมีรายไดตอหัวของประชากร ท่ีคํานวณโดยวิธี PPP ซ่ึงแสดงถึง อํานาจในการซ้ือสินคา โดยเปรียบเทียบ แตกตางกันมากกวา 29 เทา โดยประเทศสิงคโปรมีความสามารถในการซ้ือสินคาตอหัวประชากรสูงสุดคิดเปน 51 ,870 ดอลลาร สรอ . ขณะท่ีประเทศเมียนมารนั้น มีความสามารถในการซ้ือสินคาเพียงคนละ 1 ,749 ดอลลาร สรอ . ดังนั้น เม่ือพิจารณาเฉพาะประเด็นดานขนาดของเศรษฐกิจ ซ่ึงสะทอนถึงโอกาส ความคุมคา และความสามารถในการเติบโตสําหรับการประกอบกิจการแฟรน ไชส จะพบ ปญหาและอุปสรรคในการเขาทําตลาดในธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม ในอาเซียนท่ีมีเศรษฐกิจขนาดเล็ก ท่ีประชากรมีรายไดเฉลี่ยตอหัวต่ํา ท่ีผูประกอบการแฟรนไชส (Franchisor) อาจไมสามารถตั้งราคาสินคาและคาธรรมเนียมแฟรนไชส (Franchise Fee/Loyalty Fee) ไดสูงมากเทากับประเทศท่ีมีเศรษฐกิจขนาดใหญและประชากรมีรายไดตอหัวสูง มากกวาได ซ่ึงจะสงผลทําใหผูประกอบการ ของไทยไมสามารถใชรูปแบบกลยุทธทางการตลาด การตั้งราคาสินคา หรือการบริหารจัดการท่ีเหมือนกันทุกประเทศได และจําเปนตองมีการวิจัยและวิเคราะหสภาพตลาดของแตละประเทศอยางละเอียด ซ่ึงอาจเปนปญหาและอุปสรรคในการขยายตลาดสําหรับผูประกอบการได

3) จํานวนประชากร/กลุมเปาหมาย/จํานวนประชากรเมือง

9 ทฤษฎีความเสมอภาคของอํานาจซื้อ (Purchasing Power Parity : PPP) มีพ้ืนฐานมาจากความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนและราคาสินคาจากแนวคิดกฎราคาเดียว ( Law of One Price) โดยแนวคิดกวางๆของทฤษฎีน้ี คือ ระดับราคาสินคาชุดเดียวกันของแตละประเทศเมื่อคิดในรูปเงินสกุลเดียวกันแลวจะตองมีคาเทากัน

Page 84: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 70 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศท่ีมีท้ังจํานวนประชากร และสัดสวนของ จํานวนประชากรเมือ งท่ีต่ําท่ีอาจเปนอุปสรรคในการทําตลาดของแฟรนไชส ไดแก ประเทศกัมพูชา และ สปป.ลาว

4) ความแตกตางดานวัฒนธรรมและรสนิยมในการบริโภคอาหาร กลุมประเทศอาเซียน นั้นมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและศาสนา และมีความแตกตางดานวิถี

ชีวิต รสนิยม และวัฒนธรรมในการบริโภค สูง โดยเฉพาะปจจัยดานศาสนาท่ีมีขอกําหนดในการบริโภค การพิจารณาดําเนินธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มจึงตองมีการคํานึงการปรับปรุงสินคาและบริการใหสอดคลองหรือเปนท่ียอมรับกับแนวทางการบริโภคของแตละประเทศดวย เชน การขออนุญาตใชเครื่องหมายฮาลาล (Halal) กับสินคาอาหารและเครื่องดื่มท่ีดําเนินธุรกิจแฟรนไชสกับประเทศมุสลิม เปนตน ท้ังนี้ ปญหาหลักท่ีพบจากสินคาฮาลาล ( Halal) ไดแก มาตรฐานการตรวจสอบและรับรองฮาลาลแตละประเทศแตกตางกัน ผูประกอบการแฟรนไชสไทยยังขาดทักษะและความเขาใจธุรกิจฮาลาล และขาดหนวยงานกลางในการเขาไปประสานหนวยงานท่ีเก่ียวของ 9

10 โดยประเทศท่ีการธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีเครื่องหมายฮาลาลมีความจําเปนอยางยิ่งตอการประกอบกิจการสูง ไดแก ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน สําหรับประเทศ อาเซียนอ่ืนๆ นั้น ความสําคัญของเครื่องหมายฮาลาลอาจมีนอยกวา หรืออาจมีความจําเปนตองมีการใชเครื่องหมายฮาลาลเฉพาะในบางพ้ืนท่ีท่ีเปนชุมชนมุสลิมของแตละประเทศเทานั้น

5) คูแขงในตลาดและผูประกอบการแฟรนไชสท่ีมีอยูเดิม ตลาดแฟรนไชสในอาเซียนสวนใหญมีการแขงขันสูง เนื่องจากมี คูแขงในตลาดผูประกอบการแฟรน

ไชสในตลาดอาเซียน โดยเฉพาะตลาดมาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และไทย มีจํานวนมาก คูแขงขันท่ีสําคัญในการประกอบการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในกลุมประเทศอาเซียน ท่ีสําคัญ ไดแก แฟรนไชสจากประเทศสหรัฐอเมริกาซ่ึงเปนเจาของตราสินคา ( Brand) แฟรนไชสท่ีมีชื่อเสียง และมีการขายสิทธิไปไดเกือบทุกประเทศในอาเซียนแลว เชน A&W, Baskin-Robbins, Domino’s Pizza, Haagen Dazs, KFC, McDonalds, Pizza Hut, Starbucks, Subway, SWENSEN’S และ TCBY เปนตน ขณะท่ีผูประกอบการแฟรนไชสภายใน กลุมอาเซียน เองนั้น ก็มีการพัฒนาข้ึนมาเปนลําดับ ท้ังท่ีเปนผูประกอบการ แฟรนไชส ทองถ่ิน ภายในประเทศ ( Local Franchise) และผูประกอบการแฟรนไชสระดับนานาชาติ (International Franchise) โดยธุรกิจแฟรนไชสภายในกลุมอาเซียนท่ีมีศักยภาพและเปนคูแขงสําคัญสําหรับการขยายธุรกิจแฟรนไชสจากประเทศไทย ในอาเซียนโดยเปรียบเทียบท่ีสําคัญ ไดแก แฟรนไชสจากประเทศสิงคโปร มาเลเซีย และฟลิปปนส ซ่ึง แฟรนไชสจากประเทศเหลานี้ มีการพัฒนาแฟรนไชส ทองถ่ินภายในประเทศไปสูธุรกิจแฟรนไชสระดับนานาชาติ และมีการขยายกิจการไปยังประเทศอ่ืนๆ ในอาเซียนไดเปนจํานวนมาก เชน BreadTalk, Crystal Jade My Bread, Fish&Co, Killiney Kopitiam, Roti Mum, Seoul Garden, Thai Village Restaurant ของสงิคโปร Bread Story, Chicken King, Daily Fresh, Marrybrown, Rotiboy, Secret Recipe ประเทศมาเลเซีย Jollibee, Figaro, Ice Monster, Potato Corner ประเทศฟลิปปนส ในขณะท่ีแฟรนไชสจากประเทศเวียดนามก็เริ่มมีการพัฒนาแฟรนไชส ทองถ่ินไปสูระดับการดําเนินธุรกิจ ระหวางประเทศแลวหลายราย เชน Trung Nguyen Coffee, Pho24, Kinh Do Bakery เปนตน

10 สํานักสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย. “ธุรกิจอาหารฮาลาล” หนา 5. [online]. สืบคนวันท่ี 18 กุมภาพันธ 2556 จากwww.dbd.go.th/mainsite/fileadmin/contents/research/development/franchise.doc

Page 85: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 71 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4.1.2 การเปดเสรีของธุรกิจแฟรนไชส การเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชส (Franchising Services) เปนสวนหนึ่งของการเปดเสรีการคาบริการ

(Trade in Services Liberalization) ซ่ึงกลุมประเทศอาเซียนไดรวมเจรจาเปดเสรีการคาบริการดังกลาว โดยแบงออกเปน 2 สวนสําคัญ ไดแก (1) การผูกพันการเปดตลาด (Commitment to Market Access) เปนการสรางความชัดเจนในเชิงกฎหมายใหแกผูประกอบการตางชาติวาประเทศท่ีไดผูกพันการเปดตลาดนั้นจะตอนรับผูประกอบการตางชาติ โดยประเทศคูสัญญาสามารถกําหนดสาขาสินคาและเง่ือนไขการผูกพันการเปดตลาดได และ (2) การผูกพันการไมเลือกปฏิบัติ (Commitment to Non-discrimination) แบงเปน การใหการปฏิบัติเยี่ยงชาติท่ีไดรับการอนุเคราะหยิ่ง (Most Favored Nation: MFN) และ การใหการปฏิบัติเยี่ยงชาติ (National Treatment) ประเทศท่ีมีการผูกพันการเปดตลาด หรือผูกพันการไมเลือกปฏิบัติ ยอมเปดโอกาสในการประกอบกิจการมากกวา แมวาประเทศท่ีไมมีการตกลงผูกพันการเปดตลาดก็ไมไดหมายความวาจะมีการกีดกันทางการคา เพียงแตการท่ีประเทศไมผูกพันการเปดตลาดยอมใหมีสิทธิในการออกมาตรการกีดกันการประกอบการของผูประกอบการในอนาคตได

เม่ือเปรียบเทียบการเปดเสรีทางดานธุรกิจแฟรนไชสอาหารของอาเซียน พบวา ประเทศท่ีมีการผูกพันการเปดเสรีแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม ประกอบดวย กัมพูชา มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และเวียดนาม ซ่ึงท้ังหมดจะเปดเสรีเฉพาะในรูปแบบท่ี 1-3 คือ การใหบริการขามพรมแดน (Cross-border Supply) การเดินทางไปใชบริการตางประเทศ (Consumption Aboard) และการจัดตั้งธุรกิจ (Commercial Presences) เทานั้น โดยแตละประเทศท่ีเปดเสรีธุรกิจดังกลาวยังไดกําหนดเง่ือนไขของการเปดเสรีธุรกิจซ่ึงมีความแตกตางกัน ในขณะท่ีไมมีการเปดเสรีรูปแบบท่ี 4 คือ การเคลื่อนยายบุคลากรวิชาชีพ (Movement of Natural Person) แตก็มีขอกําหนดหรือขอยกเวนเพ่ืออํานวยความสะดวกแกผูประกอบการตางชาติดวย

สําหรับประเทศท่ีไมมีการผูกพันการเปดเสรีแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม ซ่ึงประเทศเหลานี้ยงัสงวนสทิธใินการ การออกมาตรการกีดกันการประกอบการของผูประกอบการ จากตางประเทศ ในอนาคต ซ่ึงอาจเปนอุปสรรคของผูประกอบการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มของ ได ไดแก บรูไน อินโดนีเซีย สปป.ลาว (ผูกพันการเปดเสรีแฟรนไชสเฉพาะสาขาสิ่งทอ เครื่องนุงหม และรองเทา) เมียนมาร และไทย

4.1.3 กฎหมายท่ีเกี่ยวกับการประกอบการแฟรนไชส ประเทศในอาเซียนสวนใหญยังไมมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับการประกอบการแฟรนไชส มีเพียง 3

ประเทศเทานั้นท่ีมีกฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ ไดแก - ประเทศอินโดนีเซีย คือ กฎกระทรวงวาดวยแฟรนไชส หมายเลข 42/2007 The

Government Regulation on Franchise No 42/2007) - ประเทศมาเลเซีย คือ Franchise Act 1998 และ Franchise (Amendment) Act 2012) - และประเทศเวียดนาม คือ Decree No. 35/2006/ND-CP of the Government dated 31

March 2006 Detailing the Provisions of the Commercial Law on Commercial Franchising และ Circular No. 09/2006/TT-BTM of the Ministry of Trade (ปจจุบันคือ

Page 86: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 72 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

Ministry of Industry and Trade) dated 25 May 2006 Providing Guidelines on the Registration of Franchising Activities เทานั้น

ซ่ึงกฎหมาย เก่ียวกับ การประกอบธุรกิจแฟรนไชส นั้นจะกําหนดข้ันตอนการจดทะเบียนและ

แบบฟอรมมาตรฐานซ่ึงเปนการรองรับบทบัญญัติและเง่ือนไขท่ีไดกําหนดไว คอนขางคลายคลึงกัน หากแตจะมีการกําหนดเง่ือนไขรายละเอียดปลีกยอยท่ีแตกตางกันโดยสรุปดังแสดงในตารางท่ี 4.3 โดยประเทศท่ีมีกฎหมายเฉพาะสําหรับการประกอบการแฟรนไชสนี้จะมี ความชัดเจนในการประกอบการแฟรนไชสของผูประกอบการตางชาติมากกวา

สําหรับประเทศท่ีไมมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับการประกอบการแฟรนไชสนั้น แตละประเทศจะใชกฎหมายอ่ืนท่ีมีความเก่ียวของกันแทน ซ่ึงมีรายละเอียดท่ีแตกตางกันในแตละประเทศ และมักมีกฎหมายท่ีเก่ียวของเปนจํานวนมาก เชน ประเทศสิงคโปร มีกฎหมายท่ีเก่ียวของ ไดแก Business Registration Act, Chapter 32, Companies Act, Chapter 50, Limited Liability Partnership Act, Chapter 163A, Trade Marks Act, Chapter 332, Labour/Employment Law, Real Estate Law และ Competition Act, Chapter 50B เปนตน

ท้ังนี้ประเทศท่ียังไมมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับการประกอบการแฟรนไชส ซ่ึงเปนกลุมประเทศสวนใหญในอาเซียนนั้น อาจเปนปญหาและอุปสรรคสําหรับผูประกอบการแฟรนไชสของไทยในการเขาไปดําเนินกิจการในประเทศนั้นๆ เนื่องจากการขาดความชัดเจนในขอกฎหมาย รวมท้ังการท่ี มีขอกฎหมายท่ีเก่ียวของเปนจํานวนมาก สามารถสรางความไดเปรียบและเสียเปรียบในการประกอบกิจการแฟรนไชสได ผูประกอบการแฟรนไชสไทยจําเปนตองศึกษาขอมูลขอกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการทําธุรกิจของประเทศนั้นๆ ใหชัดเจนและรอบดานมากท่ีสุดกอนเขาไปดําเนินการ ซ่ึงถือเปนตนทุนและความเสี่ยงเพ่ิมเติมในการประกอบกิจการได

Page 87: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 73 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ตารางท่ี 4.1 ขนาดเศรษฐกิจและจํานวนประชากรของกลุมประเทศอาเซียน

ประเทศ Gross domestic product in constant prices (2010) Population size

(2011) (Thousands)

(Billion 2005 US dollars)

(2005 US dollars per capita)

(2005 PPP dollars per capita)

Brunei Darussalam 10 25,051 ... 406 Cambodia 9 615 1,968 14,305 Indonesia 377 1,573 3,880 242,326 Lao PDR 4 706 2,308 6,288 Malaysia 172 6,050 13,214 28,859 Myanmar 20 423 1,749 48,337 Philippines 131 1,406 3,560 94,852 Singapore 171 33,613 51,870 5,188 Thailand 210 3,039 7,673 69,519 Viet Nam 74 845 2,845 88,792 ท่ีมา: The United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP).

“Statistical Yearbook for Asia and the Pacific 2012”. [online]. สืบคนวันท่ี 14 กุมภาพันธ 2556 จาก http://www.unescap.org/stat/data/syb2012/index.asp

ตารางท่ี 4.2 จํานวนประชากรในเมืองของกลุมประเทศอาเซียน

ประเทศ จํานวนประชากรในเมือง

% ของประชากรท้ังหมด(2011)

% change (2005-2010)

พันคน (2010)

Brunei Darussalam 76.0 2.5 ... Cambodia 20.4 3.0 1,509 Indonesia 44.6 1.7 28,145 Lao PDR 34.3 5.6 766 Malaysia 72.9 3.0 3,657 Myanmar 34.3 2.9 6,417 Philippines 49.1 2.1 14,871 Singapore 100.0 2.5 5,086 Thailand 34.3 1.7 9,306 Viet Nam 31.0 3.3 11,595 ท่ีมา: The United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP).

“Statistical Yearbook for Asia and the Pacific 2012”. [online]. สืบคนวันท่ี 14 กุมภาพันธ 2556 จาก http://www.unescap.org/stat/data/syb2012/index.asp

Page 88: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ตารางท่ี 4.3 สภาพธรุกจิแฟรนไชสไทยและธรุกจิแฟรนไชสในอาเซียนโดยเปรียบเทียบ

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา บรไูน • บรไูนเปนประเทศท่ีมปีระชากรนอยมาก

เพียง 4 แสนกวาคน

• ชาวบรูไนมีรายไดสูง มากกวา 25 ,000 US$ ตอหัวตอป

• บรไูนยงัเปนประเทศมสุลมิ แฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มควรตองไดรับเครื่องหมายฮาลาลรับรอง

• ชาวบรูไนมีรสนิยมท่ีคอนขางทันสมัยและอิงสไตลตะวันตก

• เริ่มมีแฟรนไชสตางประเทศเขามาดําเนินกิจการมากข้ึน ท่ีสําคัญจากประเทศสหรัฐ สิงคโปร และมาเลเซีย

• บรไูนไมผกูพันการเปดเสรธุีรกิจแฟรนไชส • ไมมีขอมูลวามีกฎหมายเฉพาะสําหรับแฟรนไชส

• การควบคุมธุรกิจแฟรนไชส ใชกฎเกณฑขอกําหนด และกฎหมายการประกอบธุรกิจท่ัวไป มาประยุกตใชแทน

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• มีกฎหมายเก่ียวของหลายฉบับ

• ใชระบบจดทะเบียนเครื่องหมายการคา

• มีอายุการคุมครอง 10 ป ตออายุไดทุก 10 ป

กฎหมายความลบัทางการคา

• ไมมีกฎหมายเฉพาะดานความลับทางการคา

• การคุมครองความลับทางการคาเปนไปตามกฎหมายคอมมอนลอว

กัมพูชา • กัมพูชาเปนประเทศท่ีมีรายไดนอยเพียง 615 US$ ตอหัวตอป

• มีความแตกตางของรายไดระหวางเมืองและชนบทมาก

• มีรสนิยมเปดรับรูปแบบการบริโภคใหมๆ

• ปจจุบัน เริ่มมีแฟรนไชสตางประเทศเขามาดําเนินกิจการมากข้ึน ท่ีสําคัญจากประเทศ สหรัฐอเมริกา ไทย มาเลเซีย และเวียดนาม

• ผกูพันการเปดเสรใีนรปูแบบท่ี 1-3 โดยกําหนดเง่ือนไขให 1) ผูประกอบการตางชาติมีหนาท่ีในการจัดใหมี

การอบรมพนักงานชาวกัมพูชาอยางเพียงพอ และสนับสนุนใหชาวกัมพูชามีตําแหนงท่ีสูงดวย

2) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในสวนของการใหเงินสนับสนุน (Subsidy) แกผูประกอบการ

3) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในสวนของภาษี 4) ผูประกอบการไมสามารถถือครองกรรมสิทธ์ิ

แตสามารถเชาท่ีดินได

• ไมมีกฎหมายเฉพาะสําหรับแฟรนไชส

• แตใช กฎหมาย The Law on Commercial Enterprises ท่ีมีบทบัญญัติบางสวนครอบคลุมถึงธุรกิจแฟรนไชส ในลกัษณะของการประกอบธุรกิจท่ัวไป

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• มีกฎหมายเก่ียวของหลายฉบับ

• ใชระบบจดทะเบียนเครื่องหมายการคา มีอายุการคุมครอง 10 ป ตออายุไดทุก 10 ป

กฎหมายความลบัทางการคา

• ไมมีกฎหมายเฉพาะดานความลับทางการคา การบังคับในเรื่องน้ีข้ึนอยูกับขอกําหนดและเง่ือนไขของสัญญาระหวางคูสัญญาท้ังสองฝาย

อินโดนีเซีย • อินโดนีเซียเปนประเทศท่ีมีเศรษฐกิจ • ไมผูกพันการเปดเสรธุีรกิจแฟรนไชส • มีการควบคุมโดยกฎกระทรวงวาดวย กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

Page 89: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 75 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา ขนาดใหญ มีจํานวนประชากรมากกวา 28 ลานคน

• ประชากรจะมีรายไดระดับปานกลางเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซยีน ประมาณ 1,600 US$ ตอหัวตอป

• อินโดนีเซียเปนเปนประเทศมุสลิม แฟรนไชสอาหารควรตองไดรับมาตรฐานฮาลาลรับรอง

• ชาวอินโดนีเซียนิยมใชเวลาพักผอนโดยการทานอาหารนอกบาน

• มีการแขงขันในธุรกิจอาหารของอินโดนีเซียถือวาคอนขางรุนแรง มีแฟรนไชสทองถ่ินและแฟรนไชสตางประเทศจํานวนมาก

แฟรนไชส หมายเลข 42/2007 ( The Government Regulation on Franchise No 42/2007)

• มีการกําหนดเง่ือนไข และวิธีการประกอบธุรกิจ ท่ีสําคัญ คือ วิธีการจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชส รายละเอียดของสัญญา ช่ือ รูปแบบ คาธรรมเนียม เง่ือนไขการประกอบธุรกิจ โดยสญัญาจะตองเขียนเปนภาษาอังกฤษและมีการแปลเปนภาษาอินโดนีเซยี

• พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคาอินโดนีเซีย ฉบับท่ี 15 (Indonesian Trademark Act No. 15)

• การขอใชเครื่องหมายการคาใชระบบผูท่ียื่นกอนมีสิทธิดีกวา

• มีอายุการคุมครอง 10 ป ตออายุไดทุก 10 ป

กฎหมายความลบัทางการคา

• ไมมีขอมูลกฎหมายเฉพาะดานความลับทางการคาท่ีชัดเจน

สปป.ลาว • สปป.ลาวเปนประเทศกลุมรายไดนอยของอาเซียน ประชากรมีรายไดเพียง 706 US$ ตอหัวตอป

• มีจํานวนประชากรเมืองเพียง 7.7 แสนคน

• มีรสนิยมการบริโภคอาหารคอนขางคลายคลึงกับไทย จากอิทธิพลของสื่อโทรทัศนไทย

• แฟรนไชสจากไทยมีโอกาสเขาสูตลาดได แตความนาสนใจจํากัดเฉพาะในเมืองใหญและเมืองทองเท่ียว

• ผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสเฉพาะสาขาสิ่งทอ เครื่องนุงหม และรองเทา

• ไมมีผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่ม

• ไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรง ท้ังยังไมมีขอกําหนด ระเบียบกฎเกณฑเฉพาะเจาะจงสําหรับการจัดตั้งธุรกิจ แฟรนไชส

• การควบคุมจะนํากฎหมายอ่ืนมาปรับใช ไดแก กฎหมายท่ีเก่ียวกับนิติกรรมสัญญาและ กฎหมายทรัพยสินทางปญญา เปนตน

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• Decree of the Prime Minister on Trademark Registration No. 06/PM

• Intellectual Property Laws

• การคุมครองเครื่องหมายการคาใชระบบจดทะเบียน

• มีอายุการคุมครอง 10 ป ตออายุไดทุก 10 ป

กฎหมายความลบัทางการคา

Page 90: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 76 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา

• เริ่มมีแฟรนไชสเขาลงทุนบางแลวแลวแตยังถือวามีนอยมาก

• ไมมีกฎหมายเฉพาะดานความลับทางการคา แตมีการบัญญัติไวใน Intellectual Property Laws

มาเลเซีย • มาเลเซียมีรายไดตอหัวประชากรสูง มากกวา 6,000 US$ ตอหัวตอป

• มปีระชากรเมอืงหนาแนน

• มีการขยายตัวของธุรกิจแฟรนไชสสูง จากกําลังซื้อของผูบริโภค

• มีความพรอมของภาคเอกชน และการสงเสริมจากภาครัฐ

• ตลาดมาเลเซียมีธุรกิจแฟรนไชสประกอบการอยูมากท้ังธุรกิจแฟรนไชสทองถ่ินและจากตางประเทศ

• ธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติมาเลเซียมีศักยภาพสูงสามารถพัฒนาธุรกิจจนขยายสาขาไปยังตางประเทศได

• ผูประกอบการแฟรนไชสอาหารควรไดรับการรับรองฮาลาลดวย เน่ืองจากชาวมาเลเซียสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม

• ผกูพันการเปดเสรใีนรปูแบบท่ี 1-3 โดยกําหนดเง่ือนไขดังน้ี 1) การจัดตั้งธุรกิจใหตางชาติสามารถถือหุนไดไม

เกินรอยละ 51 2) การเขาซื้อ ควบรวม และครอบงํากิจการใน

บางกรณี ตองไดรับอนุญาตจากทางการ 3) ภาครัฐอาจไมอนุญาตการซื้อ การขาย หรือ

ขอตกลงอ่ืนๆ เก่ียวกับท่ีดิน ผลประโยชนจากท่ีดิน ซึ่งเปนการเก็งกําไร ไมมีประโยชน หรือขัดตอผลประโยชนของมาเลเซีย

4) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในกรณีของสิทธิประโยชนท่ีใหตอบริษัทสัญชาติมาเลเซียในสาขาบริการท่ีภาครัฐสนับสนุน

5) ไมผูกพันมาตรการสนับสนุนท่ีใหตอชาวมาเลเซียเช้ือสาย “ภูมิบุตรา ” บริษัทหรือทรัสตของชาว “ภูมิบุตรา ” ตามเปาประสงคของนโยบายเศรษฐกิจใหม และนโยบายการพัฒนาประเทศ

6) บริษัทท่ีภาครัฐถือหุนอาจพิจารณาเปนพิเศษในการเลือกใชบริการจากผูใหบริการซึ่งภาครัฐถือหุน

• มาเลเซียไมผูกพันการเปดเสรีในรูปแบบท่ี 4

• มกีฎหมายแฟรนไชส ไดแก o พระราชบัญญัติแฟรนไชส ค.ศ.

1998 (Franchise Act 1998) o พระราชบัญญัติแฟรนไชส ค.ศ.

2012 (Franchise (Amendment) Act 2012)

• มีการจัดตั้งคณะกรรมการ Franchise Advisory Board เพ่ือใหคําปรึกษาแกรฐัมนตรแีละนายทะเบียนในเรือ่งเก่ียวกับแฟรนไชสและการบังคบัใช แฟรนไชส

• มีกําหนดรายละเอียดและเง่ือนไขการจดทะเบียนแฟรนไชสอยางชัดเจน เชน o สัญญาแฟรนไซส ซึ่งตอง

ประกอบดวยช่ือ รปูแบบของการประกอบธุรกิจแฟรนไชส สทิธิในขอบเขตพ้ืนท่ีซึ่งแฟรนไชสซีไดรับอนุญาต และคาธรรมเนียม หรือคาตอบแทนอ่ืนๆ

o มีการสิทธิหนาท่ีของคูสัญญาอยางชัดเจน เชน ขอกําหนดหามมิใหแฟรนไชสซอรเลิกสัญญากอนครบเวลา

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. 2519 และ พ.ศ. 2537

• การใหการคุมครองโดยระบบผูใชกอนมีสิทธิดีกวา

• เครื่องหมายการคาจดทะเบียนจะมีอายุ 10 ป ตออายุไดคราวละ 10 ป

กฎหมายความลบัทางการคา

• กฎหมายท่ีใหความคุมครองสําหรับความลับทางการคา ไดแก o กฎหมายคอมมอนลอว

(Common Law) o พระราชบัญญัติแฟรนไชส พ .ศ.

2531 (Franchise Act)

• ความลับทางการคาน้ันไดรับความคุมครองโดยไมจําเปนตองมีการจดทะเบียน และจะไดรับความคุมครองตราบท่ียังไมสูญเสียความเปนความลับ

Page 91: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 77 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา ยกเวนการเขา และการพักอาศัยช่ัวคราว ของผูโอนยายระหวางบริษัทขามชาติ ไดแก ผูจัดการอาวุโส และผูเช่ียวชาญเฉพาะดานไมเกิน 2 คนตอบรษิทั และ/หรือบุคคลอ่ืนๆ รวมท้ังผูเขามาติดตอธุรกิจ

ท่ีกําหนด หามมิใหแฟรนไชสแฟรนไชสซีประกอบธุรกิจซึ่งคลายกับธุรกิจของแฟรนไชสซอรตลอดอายุสัญญา และภายใน 2 ป หลังจากสัญญาสิ้นสุดหรือเลิกสัญญา

o มีบทกําหนดโทษสําหรับผูท่ีฝาฝนบทบัญญัติหรือกระทําความผิดตามท่ีท้ังทางแพงและอาญา เปนตน

เมียนมาร • ประชาชนเมียนมารมีรายไดนอยเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซยีน โดยมีรายไดเพียง 423 US$ ตอหัวตอป

• มีรสนิยมการบริโภคคลายคลึงกับไทย จากอิทธิพลของสื่อโทรทัศนไทย

• ปจจุบันเริ่มมีแฟรนไชสเขาประกอบการ สวนใหญมาจากไทย และมาเลเซีย แตยังถือวามีนอยมาก

• ไมผูกพันการเปดเสรี • ไมมีกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ

• การควบคุมธุรกิจมีการประยุกตใชกฎหมายอ่ืนในการบังคับ เชน

กฎหมายวาดวยสัญญา ค.ศ. 1872 (Myanmar Contract Act 1872) กฎหมายวาดวยทรัพยสินทางปญญา เปนตน

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• ไมมีกฎหมายท่ีใหความคุมครองเครื่องหมายการคาโดยตรง

• การใหความคุมครองเครื่องหมายการคาเปนไปตามหลักการท่ีวา ผูใชกอนมีสิทธิดีกวา ซึ่งเปนหลักการตามกฎหมายจารีตประเพณี

• ไมมีฎหมายระบุอายุความคุมครองเครื่องหมายการคาอยางชัดเจน

กฎหมายความลบัทางการคา

• ไมมีกฎหมายท่ีใหคุมครองความลับทางการคาเปนการเฉพาะ

ฟลิปปนส • ประชาชนฟลิปปนสมีรายไดประมาณ 1,400 US$ ตอหัวตอป

• มีประชากรเมืองประมาณ 15 ลานคน มีศาสนาคริสตเปนศาสนาประจําชาติ ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

• ผกูพันการเปดเสรใีนรปูแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไขดังน้ี 1) การจัดตั้งธุรกิจใหตางชาติสามารถถือหุนไดไม

เกินรอยละ 51 2) เฉพาะผูมีสัญชาติฟลิปปนสและบริษัทท่ีมีผูถือ

• ไมมกีฎหมายการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ

• การควบคุมจะพิจารณาจากกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของ เชน กฎหมายเก่ียวกับทรัพยสินทางปญญา เปนตน

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• กฎหมายท่ีคุมครองเครื่องหมายการคาและความลับทางการคาเปนกฎหมายฉบับเดยีวกันคอืประมวลกฎหมายทรัพยสินทางปญญา

Page 92: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 78 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา

• นิยมรบัประทานอาหารนอกบาน

• ตลาดแฟรนไชสในฟลิปนสมีการแขงขันสูง มีแฟรนไชสประกอบการอยูมากท้ังจากในและนอกประเทศ

• แฟรนไชสทองถ่ินฟลิปปนสมีความเขมแข็งสูง แฟรนไชสบางรายสามารถพัฒนาธุรกิจสูตลาดตางประเทศได

หุนสัญชาติฟลิปปนสเกินกวารอยละ 60 ถือครองกรรมสิทธ์ิท่ีดินท่ีไมใชท่ีดินสาธารณะและสามารถเชาท่ีดินสาธารณะได

3) หางหุนสวนหรือบริษัทในสาขาท่ีมิใชสาขาอุตสาหกรรมและสถาบันการเงิน ท่ีมีสัดสวนการถือหุนโดยตางชาติเกินกวารอยละ 40 ท่ีตองการจะกูยืมเงินในสกุลเปโซ จะตองมีหน้ีสินไมเกินสัดสวนหน้ีสินตอสัดสวนผูถือหุนท่ี 50:50 ณ ขณะท่ีทําการกูยืม

• ฟลิปปนสไมผูกพันการเปดเสรีในรูปแบบท่ี 4 ยกเวนเฉพาะการเขามาของผูไมมีถ่ินฐานในประเทศฟลิปปนสภายหลังท่ีช้ีใหเห็นไดวาไมมีชาวฟลิปปนสท่ีมีความ สามารถและ/หรือตองการทํางานในตําแหนงน้ัน

• หนวยงานของรัฐท่ีกํากับดูแลการประกอบธุรกิจแฟรนไชส คือ สํานักงานพัฒนาวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง (Bureau of Micro, Small and Medium Enterprise Development (BMSMED))

(Intellectual Property Code R.A. 8293)

• ใชระบบการจดทะเบียน การคุมครองเครื่องหมายการคาใชหลักการยื่นกอนมีสิทธิดีกวา

• และมรีะบบการเพิกถอนการจดทะเบียนโดยอาศัยสิทธิการใชเครื่องหมายมากอน

• เครื่องหมายการคาจดทะเบียนมีอายุความคุมครอง 10 ป ตออายุไดทุก 10 ป

กฎหมายความลบัทางการคา

• การคุมครองความลับทางการคา ผูประกอบการไมจําตองจดทะเบียนหรือบันทึกขอมูลความลับทางการคาแตอยางใด

• กรณีท่ีมีการละเมิดความลับทางการคา ผูเสียหายสามารถดําเนินคดีตอผูทําละเมิดไดท้ังทางแพงและทางอาญา

สิงคโปร • สิงคโปรมีรายไดตอหัวของประชากรสูง มากกวา 33,600 US$ ตอหัวตอป

• มีจํานวนประชากรเมืองมากกวา 5 ลานคน

• มีความหลากหลายในการนับถือศาสนา

• ผกูพันการเปดเสรใีนรปูแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไขดังน้ี 1) ชาวตางชาติท่ีตองการจดทะเบียนบริษัทตองมี

ผูจัดการทองถ่ินสัญชาติสิงคโปร มีถ่ินท่ีอยูภาวรในสิงคโปร หรือเปนผูถือใบอนุญาตการ

• ไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรง ท้ังยังไมมีขอกําหนด ระเบียบกฎเกณฑเฉพาะเจาะจงสําหรับการจัดตั้งธุรกิจ แฟรนไชส

• แตผูประกอบการแฟรนไชสท่ีประสงค

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• กฎหมายท่ีใหความคุมครองเครื่องหมายการคามีหลายฉบับ

• ใชระบบจดทะเบียนเครื่องหมายการคา มีอายุการคุมครอง 10 ป ตอ

Page 93: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 79 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา

• ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

• ไลฟสไตลทางตะวันตกมีอิทธิพลมากในสังคมสิงคโปร

• ตลาดแฟรนไชสในสิงคโปรมีการแขงขันสงูท้ังจากแฟรนไชสในและนอกประเทศ และแฟรนไชสสิงคโปรมีความเขมแข็งสูงและมีความสามารถพัฒนาสูตลาดตางประเทศไดดวย

ทํางานในสิงคโปร 2) กรรมการอยางนอย 1 คนตองมีถ่ินท่ีอยูใน

สิงคโปร 3) สาขาตางๆ ของบริษัทท่ีจดทะเบียนในสิงคโปร

ตองมีตัวแทนอยางนอย 2 คนท่ีมีถ่ินท่ีอยูในสิงคโปร

4) ไมผูกพันการใหเงินสนับสนุน ยกเวนตามท่ีไดผกูพันไปแลวในกรอบองคการการคาโลก

• สิงคโปรไมผูกพันการเปดเสรีในรูปแบบท่ี 4 ยกเวนผูโอนยายระหวางบริษัทขามชาติ ไดแก ผูบริหาร ผูจัดการ และผูเช่ียวชาญเฉพาะดาน

จะดําเนินธุรกิจในประเทศสิงคโปรจะตอง ระมัดระวังในการทําสัญญา แฟรนไชสในประเดน็การแขงขันทางการคา เชน สัญญาแฟรนไชส ตองไมกอใหเกิดการจํากัดหรือบิดเบือนการแขงขันทางการคา ขอกําหนดอันไมเปนธรรม รวมท้ัง กฎหมายทรัพยสินทางปญญา และกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของดวย

• กฎหมายท่ีใชบังคับกับสัญญาแฟรนไชสน้ัน ศาลของประเทศสิงคโปรเปดชองใหอิสระแกคูสัญญาท้ังสองฝาย (แฟรนไชสซอรและแฟรนไชสซ)ี ในการเจรจาตกลงท่ีจะกําหนดวาจะใชกฎหมายของประเทศใดบังคับแกสัญญาของตน

อายุไดทุก 10 ป กฎหมายความลบัทางการคา

• ความลับทางการคาจะไดรับความคุมครองภายใตกฎหมายคอมมอนลอว

• ไมมีระบบการจดทะเบียนและไมมีกําหนดระยะเวลาในการใหความคุมครอง

• หากมีการกระทําละเมิดตอขอมูลอันเปนความลับทางการคา คูความท่ีไดรับความเสียหายสามารถฟองรองเปนคดีตอศาลได

ไทย • มีรายไดปานกลางคอนขางสูงเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซียน มีรายไดตอหัวประชากรราว 3,039 US$ ตอป

• มีประชากรเมืองมากกวา 9 ลานคน

• ไมมีปญหาหรือขอจํากัดในการเลือกบริโภคอาหาร มีรสนิยมคอนขางหลากหลาย

• แฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มก็ไดรับความนิยมคอนขางมาก

• ตลาดแฟรนไชสมีการแขงขันสูง มีจํานวนธุรกิจแฟรนไชสจํานวนมากท้ังท่ี

• ไมผูกพันการเปดเสรีธรกิจแฟรนไชส • ไมมีกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ

• สัญญาแฟรนไชสอยูภายใตบังคับแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเชนเดียวกันกับสัญญาประเภทอ่ืนๆ และกฎหมายอ่ืนอีกหลายฉบับ เชน o พรบ.วาดวยขอสัญญาท่ีไมเปนธรรม

พ.ศ. 2550 o กฎหมายเก่ียวกับทรัพยสินทาง

ปญญา o พรบ.ความลับทางการคา พ.ศ.

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• พรบ.เครื่องหมายการคา พ.ศ. 2534 แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2543

• เครื่องหมายการคาท่ีจดทะเบียนแลวจะมีอายุความคุมครอง 10 ป นับแตวันยื่นจดทะเบียน และสามารถตออายุไดทุกๆ 10 ป

• เครื่องหมายการคาท่ีไดจดทะเบียนแลวยอมโอนหรือรับมรดกกันได

กฎหมายความลบัทางการคา

• กฎหมายเก่ียวกับความลับทางการคา

Page 94: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 80 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา เปนแฟรนไชสทองถ่ินและตางประเทศ และแฟรนไชสทองถ่ินบางรายมีศักยภาพสูงสามารถพัฒนาสูตลาดตางประเทศไดดวย

2545 o พรบ.คุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 o พรบ.การแขงขันทางการคา พ.ศ.

2542 o และกฎหมายเฉพาะท่ีเก่ียวกับธุรกิจ

นั้นโดยตรง เปนตน

ไดแก พรบ.ความลับทางการคา พ.ศ.2545

• ขอมูลและรายละเอียดตางๆ ในการประกอบธุรกิจ ถือไดวาเปนความลับทางการคาท่ีจําเปนจะตองไดรับความคุมครอง

• กรณีท่ีมีการละเมิดสิทธิผูเสียหายสามารถฟองรองเรียกคาสินไหมทดแทนและขอใหศาลมีคําสั่งระงับการกระทําท่ีเปนการละเมินสิทธิน้ันได

เวียดนาม

• ประชาชนเวียดนามมีรายไดปานกลางคอนขางต่ําเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซียน มีรายไดประมาณ 845 US$ ตอหัวตอป

• มีประชากรเมืองประมาณ 11.6 ลานคน

• ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

• พฤติกรรมการบริโภคอาหารสไตลตะวันตกไดรับความนิยมเพ่ิมข้ึนมาก โดยเฉพาะอาหารฟาสฟูดท่ีเขามาในรปูแบบธุรกิจแฟรนไชส

• เริ่มมีธุรกิจแฟรนไชสตางประเทศเขามาดําเนินกิจการมากข้ึน และเริ่มมีการพัฒนาฟรนไชสภายในประเทศของตนเองเพ่ิมข้ึน และแฟรนไชสทองถ่ินบางรายมีความสามารถพัฒนาสูตลาด

• ผกูพันการเปดเสรธุีรกิจแฟรนไชสในรปูแบบท่ี 1-3 โดยมีเง่ือนไข ดังน้ี 1) การจัดตั้งสาขาเพ่ือใหบริการในเวียดนาม

ผูจัดการสาขา ตองเปนผูมีถ่ินท่ีอยูในเวียดนาม

2) การเชาท่ีดินตองไดรับอนุญาตโดยหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของ และระยะเวลาการเชาตองสอดคลองกับระยะเวลาของการปฏิบัติงานตามท่ีระบุในใบอนุญาต

3) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติท่ีเก่ียวของกับการสนับสนุนดานการเงิน อาทิ การสนับสนุนดานการเงินท่ีเก่ียวของกับการวิจัยและพัฒนา การสนับสนุนดานการเงินในสาขาการศึกษาและโสตทัศน และการสนับสนุนดานการเงินเพ่ือสนับสนุนสวัสดิการ การจางงาน และชนกลุม

• มีกฎหมายควบคุมแฟรนไชส ไดแก o Decree No. 35/2006/ND-CP of

the Government dated 31 March 2006 Detailing the Provisions of the Commercial Law on Commercial Franchising

o Circular No. 09/2006/TT-BTM of the Ministry of Trade (ปจจุบันคือ Ministry of Industry and Trade) dated 25 May 2006 Providing Guidelines on the Registration of Franchising Activities

• มีการกําหนดรายละเอียดและเง่ือนไข

กฎหมายเคร่ืองหมายการคา

• ประมวลกฎหมายแพง

• Decree No. 63/CP dated 24 October 1996, Decree No. 06/2001/ND-CP dated 1 February 2001

• การคุมครองเครื่องหมายทางการคาใชระบบจดทะเบียนเครื่องหมายการคา

• การคุมครองเครื่องหมายการคาใชระบบจดทะเบียนมีอายุการคุมครอง 10 ป ตออายุไดทุก 10 ป

• กรณีธุรกิจแฟรนไชสตองมีการยื่นขอจดบันทึกการอนุญาตใหใชสิทธิไวตอ National Office for Industrial Property ดวย

Page 95: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 81 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประเทศ ตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีธรุกจิแฟรนไชส กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส

กฎหมายแฟรนไชส กฎหมายทรัพยสนิทางปญญา ตางประเทศไดดวย นอย

• เวียดนามไมผูกพันการเปดเสรีในรูปแบบท่ี 4 ยกเวน (1) ผูโอนยายระหวางบริษัทขามชาติ ไดแก ผูบริหาร ผูจัดการ และผูเช่ียวชาญเฉพาะดาน (2) ผูบริหาร ผูจัดการ และผูเช่ียวชาญเฉพาะดานอ่ืนๆ (3) ผูขายบริการ (4) ผูเขามาจัดตั้งธุรกิจ (5) ผูรับจาง

การจดทะเบียนแฟรนไชสหลายประการ ท่ีสําคัญ เชน o สัญญาแฟรนไชสจะตองเปนภาษา

เวียดนาม โดยอาจมีการแปลเปนภาษาอังกฤษก็ได

o สัญญาแฟรนไชสจะตองมีรายละเอียดไดแก คาธรรมเนียมเริ่มตน ขอผูกพันทางการเงินและสิทธิของแฟรนไชสซี เปนตน

o กําหนดใหแฟรนไชสซีชาวเวียดนามตองดําเนินธุรกิจกับแฟรนไชสซอรตางประเทศในเวียดนามไมนอยกวา 1 ป จึงมีสิทธิรับโอนสิทธิแฟรนไชสได

o แฟรนไชสซอรตางประเทศ ไมจําเปนตองมีสํานักงานในเวียดนาม แตตองมีธุรกิจในเวียดนามอยางนอย 1 ป จึงมีสิทธิโอนสิทธิ แฟรนไชสได เปนตน

กฎหมายความลบัทางการคา

• ประมวลกฎหมายแพง

• Decree No. 54/2000 on Protection of Industrial Property Rights with respect to Trade Secrets, Geographical Instruction and Trade Names and Protection of Rights to Fight against Unfair Competition relating to Industrial Property

• การใหความคุมครองความลับทางการคาไมไดอยูภายใตระบบจดทะเบียน และจะไมมีการบันทึกขอมูลความลับทางการคา

• กรณีท่ีมีการละเมิดสิทธิของเจาของความลับทางการคา เจาของความลับทางการคาสามารถฟองรองคดีละเมิดตอผูกระทําละเมิดได

Page 96: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4.2 ปญหา และอุปสรรคของการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสไทยในประเทศสมาชิกอาเซียน จากการศึกษา สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภค การเปดเสรีทางการคา และ

กฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียนในบทท่ีผานมา และจากการรวบรวมความคิดเห็นของผู ประกอบการแฟรนไชส ไทยท่ีทําการ ประกอบธุรกิจแฟรนไชส และมีการขยายธุรกิจไปตางประเทศพบวาปญหาและอุปสรรคในการขยายตลาดไปยังอาเซียนหลายประการดวยกันท้ังท่ีเกิดจากปจจัยภายใน ของผูประกอบการ และหนวยงานภาครัฐของ ประเทศไทยเอง และปญหาจากขอจํากัดตางๆ ของตลาดอาเซียน ซ่ึงสามารถสรุปความสําคัญของปญหาตามลําดับ ไดดังนี้

4.2.1 ปญหาและอุปสรรคของผูประกอบการ

1) ผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชส สวนใหญ ขาดความรูความเขาใจในกฎหมาย เก่ียวกับ ธุรกิจ

แฟรนไชส ข้ันตอนการติดตอ และการขออนุญาตการจัดตั้งการประกอบธุรกิจแฟรนไชสในแตละประเทศ ทําใหการขยายธุรกิจไปตางประเทศเปนไปไดยาก

2) ผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชส สวนใหญขาดความรูความเขาใจใน เรื่องกฎหมายท่ีเก่ียวเนื่องกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ตางๆ เชน การจดทะเบียบเครื่องหมายการคา และความลับทางการคา ของแตละประเทศ ในแตละประเทศ ซ่ึงในแตละประเทศนั้นจะมีเง่ือนไข ขอจํากัด การคุมครอง และกฎหมายท่ีเก่ียวของท่ีแตกตางกัน

3) ผูประกอบการไมไดรับขอมูลเก่ียวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชสจากภาครัฐเพียงพอ ขาดการประชาสัมพันธ/ใหความรูเก่ียวกับธุรกิจแฟรนไชสแกสาธารณะในวงกวาง (บางสวนไมรูวาหนวยงานภาครัฐมีการใหความรู มีใหการสนับสนุน หรือหนวยงานใดเปนผูรับผิดชอบ)

4) ผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชส สวนใหญขาดความรูความเขาใจในการทําสัญญาธุรกิจระหวางประเทศ (โดยเฉพาะจากขอจํากัดดานภาษาตางประเทศ) สงผลใหผูประกอบการตองวาจางผูเชี่ยวชาญในการทําสัญญา ทําใหผูประกอบการมีตนทุนสูงในการขยายธุรกิจไปยังตางประเทศ

5) ผูประกอบการ แฟรนไชสทางดานอาหารสวนใหญยัง ขาดความรูความเขาใจ เก่ียวกับมาตรฐานสินคา อาหาร รวมถึง มาตรฐานฮาลาล ของตลาดแตละตลาด ซ่ึงแตละตลาดตางมีการกําหนดมาตรฐานเก่ียวกับ สินคาอาหารท่ีแตกตางกัน ทําให การเขาสูธุรกิจแฟรนไชสทางดานอาหารในระดับนานาชาติของผูประกอบการไทยเปนไปไดยาก

6) ผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชสไมมีการรวมกลุมกันอยางเขมแข็ง ทําใหการชวยเหลือ หรือแบงปนความรูระหวางธุรกิจคอนขางจํากัด ทําใหผูท่ีตองการขยายธุรกิจไปยังตางประเทศขาดการถายทอดประสบการณทางธุรกิจ หรือการแบงปนองคความรูความเขาใจในการดําเนินธุรกิจเขาสูตลาดตางประเทศอยางครบถวน

7) ธุรกิจแฟรนไชส ไทยสวนใหญยังขาดศักยภาพ หรือ ความพรอม (โดยเฉพาะดานภาษา ) สําหรับการกาวสูตลาดภายนอก สงผลใหการสงเริมการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสไปสูตลาดสากลนั้นอาจไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร

4.2.2 ปญหาและอุปสรรคของการสงเสริมธุรกิจแฟรนไชสไทย

Page 97: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 83 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

1) ภาครัฐ ขาดการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับธุรกิจแฟรนไชสอยางเปนมาตรฐาน บูรณาการ เชน จํานวนธุรกิจ หมวดหมูธุรกิจ เพ่ือเปนฐานขอมูลของผูประกอบการ ในการตัดสินใจขยายฐานธุรกิจไปยังตางประเทศ

2) การสงเสริมการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสสูสากล การจัดการจับคูธุรกิจ ( business matching) สําหรับผูประกอบการไทยและตางประเทศยังไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร รวมท้ังการจัดงานดังกลาวยังไมสามารถดําเนินการไดตรง ตรงกลุมเปาหมายมากนัก มีเพียงผูประกอบการบางสวนซ่ึงมีจํานวนไมมากนัก ท่ีสามารถประสบความสําเร็จในการติดตอธุรกิจ

3) มาตรการ และนโยบายในการสนับสนุนการดําเนินงาน ของภาครัฐยัง ขาดการดําเนิน การอยางบูรณาการ และ บาง มาตรการหรือนโยบายมีการทับซอนกันอยู เชน นโยบายครัวไทยสูครัวโลก การสนับสนุนแฟรนไชสไทย สูสากล บางสวนยังไมมีการปรับปรุงขอบกพรอง สงผลใหการสงเสริมการพัฒนา แฟรนไชสไปสูสากลยังไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร

4) ภาครัฐยัง ประสบปญหาใน การติดตามประเมินผลการดําเนินการ ในการสงเสริมการพัฒนา แฟรนไชสไปสูสากลท่ีผานมาอยางตอเนื่องเพ่ือใชเปนขอมูลสําหรับการปรับปรุงการดําเนินงานในคราวตอไป

5) ผูประกอบการบางสวนเห็นวา ขอคิดเห็นจากผูประกอบการบางสวน ตอภาครัฐ/หนวยงานท่ีเก่ียวของยังไมไดถุกนําไปปรับปรุง/แกไข หรือมีการดําเนินการอยาง ลาชา ซ่ึงอาจสงผลตอความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการชาวไทยได

6) ผูประกอบการยังประสบปญหาการเขาถึง ขอมูล ฐานขอมูล การศึกษา วิจัย ในเชิงลึก ของหนวยงานสําหรับการขยายธุรกิจไทยไปยังตลาดอาเซียนแตละประเทศ ท้ังดานข้ันตอน ขอจํากัด รวมถึงสาขาอุตสาหกรรมท่ีแตละประเทศอนุญาต สงเสริม หรือกีดกัน

4.2.3 ปญหาและอุปสรรคของการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสของไทยในประเทศสมาชิกอาเซียน

ตางๆ 4.2.3.1 ประเทศบรไูน 1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - บรูไนเปนประเทศ ท่ีมีเศรษฐกิจ ขนาดเล็ก แมวาประชากรจะมี รายไดสูง มาก ถึง 38,000

ดอลลาร สรอ . ตอคนตอปก็ตาม แตเนื่องจากบรูไนมีจํานวนประชากรนอยมากเพียงประมาณ 427,000 คน ทําใหโอกาสสําหรับการประกอบการ แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในบรูไนมีไมมากนัก

- ประชากรสวนใหญของบรูไนนับถือศาสนาอิสลาม ทําใหการประกอบกิจการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในบรูไนจะตองไดรับการรับรองมาตรฐานฮาลาล ซ่ึงยังเปนจุดออนของผูประกอบการแฟรนไชสไทย เนื่องจาก ผูประกอบการแฟรนไชสไทยยังขาดทักษะและความเขาใจธุรกิจฮาลาล และขาดหนวยงานกลางในการเขาไปประสานหนวยงานท่ีเก่ียวของ10

11

11 สํานักสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย. “ธุรกิจอาหารฮาลาล” หนา 5. [online]. สืบคนวันท่ี 18 กุมภาพันธ 2556 จาก www.dbd.go.th/mainsite/fileadmin/contents/research/development/franchise.doc

Page 98: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 84 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

- การแขงขันในกิจการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มมีคอนขางสูงเม่ือเปรียบเทียบกับขนาดเศรษฐกิจ โดยเฉพาะกับผูประกอบการดานอาหารและเครื่องดื่มรายใหญภายในประเทศคือ Royal Brunei Catering Sdn (RBC) ซ่ึงนอกจากจะมีธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มของตนเองแลว ยังได ซ้ือสิทธิแฟรนไชส ชั้นนําจากตางประเทศ อาทิ McDonalds และ Fish&co อีกดวย นอกจากนี้ ยังมีแฟรนไชสของประเทศในอาเซียนขยายโอกาสเขามาทําตลาดในบรูไนมากข้ึนดวย ท้ังจากประเทศสิงคโปรและมาเลเซีย ซ่ึงเปนเจาของกิจการแฟรนไชสชั้นนําในอาเซียน เชน Pastamania (สิงคโปร) และ Secret Recipe (มาเลเซีย) เปนตน

- ผลการสํารวจธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในบรูไน 14 ราย พบวา ประกอบดวยธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC จํานวน 8 ราย และธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC จํานวน 6 ราย โดยเปน ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มสัญชาติสหรัฐอเมริกา มากท่ีสุด 6 ราย รองลงมาคือ มาเลเซีย 5 ราย สิงคโปร 2 ราย และฟลิปปนส 1 ราย11

12 2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - ประเทศบรูไนไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในทุกรูปแบบ ทําใหการดําเนินธุรกิจของ

ผูประกอบการแฟรนไชสจากตางประเทศรวมท้ังผูประกอบการไทย ยังขาดความแนนอนชัดเจนในเชิงกฎหมาย โดยบรูไนอาจสามารถออกมาตรการกีดกันการประกอบการของผูประกอบการตางชาติในอนาคตได

3) กฏหมายเกี่ยวกับการประกอบการธุรกิจแฟรนไชส - ประเทศบรูไน ไมมีขอมูลวามีกฎหมายเฉพาะเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชสหรือไม ซ่ึงการขาด

ความชัดเจนในประเด็นดังกลาวอาจเปนอุปสรรคท่ีสําคัญ ผูประกอบการแฟรนไชสไทยท่ีตองการดําเนินธุรกิจในบรูไนจําเปนตองทําการศึกษาพิจารณาประกอบกับความเปนไปไดในการเขาไปประกอบการเพ่ิมเติมดวย

4.2.3.2 ประเทศกมัพูชา 1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - โอกาสในการประกอบกิจการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในกัมพูชามีคอนขางจํากัด

เนื่องจากกัมพูชาเปนประเทศยากจน ประชากรสวนใหญ มีรายไดต่ํา - การประกอบกิจการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มนี้มีความเปนไปไดเฉพาะในเมืองหลวง เมือง

ใหญ หรือเมืองทองเท่ียวท่ีประชากรมีรายไดสูง มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง และมีนักทองเท่ียวชาวตางชาติจํานวนมาก ไดแก พนมเปญ เสียมราฐ และสีหนุวิลล เปนตน เทานั้น

- การแขงขันในธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในกัมพูชาคอนขางรุนแรงและมีความเสี่ยงสูง เนื่องจากโอกาสในการดําเนินกระจุกตัวอยูเฉพาะในเมืองใหญไมก่ีเมืองเทานั้น ขณะท่ีมีผูประกอบการตองการเขามาทําตลาดในกัมพูชาเปนจํานวนมาก ท้ังจากผูประกอบการแฟรนไชสทองถ่ินรายใหญ ไดแก กลุม Lucky Market Group และผูประกอบการแฟรนไชสตางชาติ

12 สรุปจากขอมูลจากการสํารวจธุรกิจแฟรนไชสในอาเซียนจากภาคผนวก ก และ ข

Page 99: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 85 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ท้ังจากประเทศในกลุมอาเซียนและนอกกลุมอาเซียน อาทิ มาเลเซีย ( Secret Recipe) ไทย (BlackCanyon Coffee และ The Pizza Compant) และเวียดนาม ( Pho24) รวมท้ังแฟรนไชสขนาดใหญจากสหรัฐอเมริกา เชน KFC, DairyQueen, Tutti Frutti, SWENSEN’S, Spinelli Coff และจากประเทศอ่ืนๆ เชน เกาหลีใต ( BBQ Chicken) อังกฤษ (Costa Coffee) หรือจากแคนาดา (Sarpino’s Pizzeria) เปนตน

- ผลการสํารวจ ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในกัมพูชา 17 ราย พบวา ธุรกิจ แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในกัมพูชา ประกอบดวย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มทองถ่ิน 1 ราย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC จํานวน 5 ราย และธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC จํานวน 11 ราย โดยเปน แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มสัญชาติสหรัฐอเมริกา จํานวนมากท่ีสุด 7 ราย รองลงมาคือ ไทย 2 ราย และธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติอ่ืนๆ สัญชาติละ 1 ราย ตามลําดับ12

13 2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - กัมพูชามีการผูกพันการเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 โดยยกเวนการเปดเสรี

ธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบที่ 4 การเคลื่อนยายบุคลากรวิชาชีพ (Movement of Natural Person) ทําใหการไดสงบุคลากรเขาทํางานในกัมพูชาจะตองขออนุญาตการเขา (Entry) และการพักอาศัยชั่วคราว (Temporary Stay) ของบุคลากรประเภทตางๆ โดยมีอายุวีซาตั้งแต 90 วันถึง 2 ป (สามารถตออายุได) ยกเวนผูเขามาจัดตั้งธุรกิจท่ีไมมีขอจํากัดระยะเวลาการพักอาศัยในประเทศ ซ่ึงอาจเปนปญหาในการประกอบการบาง

- เง่ือนไขผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสซ่ึงอาจเปนปญหาและอุปสรรคสําหรับผูประกอบการไทยบาง ไดแก (1) ผูประกอบการตางชาติ ท่ีไดรับการสงเสริมการลงทุนจากภาครัฐมีหนาท่ีในการจัดใหมีการอบรมพนักงานชาวกัมพูชาอยางเพียงพอ รวมท้ังการสนับสนุนใหพนักงานชาวกัมพูชามีตําแหนงท่ีสูงดวย (2) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในสวนของการใหเงินสนับสนุน (Subsidy) แกผูประกอบการ (3) ไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในสวนของภาษี และ (3) ผูประกอบการไมสามารถถือครองกรรมสิทธิ์แตสามารถเชาท่ีดินได

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - กัมพูชา ไมมีกฎหมายวาดวยเรื่องการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ มีเพียง The Law

on Commercial Enterprises ท่ีมีบทบัญญัติบางสวนครอบคลุมถึงธุรกิจแฟรนไชส ในลกัษณะของการประกอบธุรกิจทั่วไป เทานั้น อาจขาดความชัดเจนของขอกฎหมายในธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มเปนการเฉพาะ ซ่ึงผูประกอบการไทยตองพิจารณาในสวนท่ีเปนอุปสรรคสําหรับการประกอบการ

- กฎหมายทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวของกับการประกอบการแฟรนไชส เชน กฎหมายเครื่องหมายการคา กัมพูชาใชระบบจดทะเบียน สามารถตออายุความคุมครองไดเหมือนประเทศอ่ืนๆ แตประเด็นความลับทางการคานั้น ไมมีกฎหมายบังคับใชเชนเดียวกับการ

13 จากภาคผนวก ก และ ข

Page 100: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 86 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ประกอบการแฟรนไชส ผูประกอบการตองมีการพิจารณาอยางรอบคอบ และตองกําหนดไวในเง่ือนไขของสัญญาแฟรนไชสท่ีจะจัดทําข้ึนดวย

1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - มีผูประกอบการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มท้ังท่ีเปนแฟรนไชสจากตางประเทศ

(International Franchise) และแฟรนไชสภายในประเทศ ( Local Franchise) ดําเนินกิจการอยูแลวเปนจํานวนมาก ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจท่ีชะลอตัวตั้งแตป 2008 ทําใหตลาดของธุรกิจบริการขายอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซียคอนขางอ่ิมตัว และมีการเติบโตท่ีชะลอลงเม่ือเทียบกับในอดีต

- ประชากรสวนใหญของอินโดนีเซียนับถือศาสนาอิสลาม ทําใหการประกอบกิจการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซียจะตองไดรับการรับรองมาตรฐานฮาลาล ซ่ึงยังเปนจุดออนของผูประกอบการแฟรนไชสไทย เนื่องจากผูประกอบการแฟรนไชสไทยยังขาดทักษะและความเขาใจธุรกิจฮาลาล และขาดหนวยงานกลางในการเขาไปประสานหนวยงานท่ีเก่ียวของ13

14 - ธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซียมีการแขงขันอยางรุนแรง โดยเฉพาะจาก

ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มทองถ่ิน ท้ังท่ีมีการดําเนินธุรกิจแบบแฟรนไชส ( Local Franchise) และท่ีไมไดดําเนินธุรกิจแบบแฟรนไชส รวมท้ังยังมีธุรกิจแฟรนไชสอาหารจากตางประเทศดําเนิการอยูเปนจํานวนมากอีกดวย โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา สําหรับแฟรนไชสภายในกลุมอาเซียนท่ีมีการเขามาแขงขันในตลาดอินโดนีเซียมากท่ีสุดไดแก แฟรนไชสจากสิงคโปรและมาเลเซีย

- ผลการสํารวจ ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซีย จํานวน 250 ราย พบวา ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในอินโดนีเซีย ประกอบดวย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มทองถ่ินมากถึง 187 ราย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC จํานวน 28 ราย และธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC จํานวน 35 ราย โดยพบวา ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม “ตางชาติ ” ท่ีประกอบธุรกิจในอินโดนีเซีย เปนธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติสหรัฐอเมริกา มากท่ีสุด 28 ราย รองลงมาคือ สิงคโปร 11 ราย มาเลเซีย 9 ราย ไทย 4 ราย ฟลิปปนส 3 ราย เกาหลีใต 2 ราย สําหรับธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติอ่ืนๆ มีจํานวนสัญชาติละ 1 ราย ตามลําดับ14

15 2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - อินโดนีเซียไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในทุกรูปแบบ ทําใหการดําเนินธุรกิจของ

ผูประกอบการแฟรนไชสจากตางประเทศรวมท้ังผูประกอบการไทย ยังขาดความแนนอนชัดเจนในเชิงกฎหมาย โดยอินโดนีเซียอาจสามารถออกมาตรการกีดกันการประกอบการของผูประกอบการตางชาติในอนาคตได

14 สํานักสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย. “ธุรกิจอาหารฮาลาล” หนา 5. [online]. สืบคนวันท่ี 18 กุมภาพันธ 2556 จาก www.dbd.go.th/mainsite/fileadmin/contents/research/development/franchise.doc 15 จากภาคผนวก ก และ ข

Page 101: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 87 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - มีการ ควบคุมการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ผานทาง กฎกระทรวงวาดวยแฟรนไชส หมายเลข

42/2007 (The Government Regulation on Franchise No 42/2007) และมีกฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจเปนการท่ัวไปท่ีเก่ียวของอีกหลายฉบับ ซ่ึงสรางความชัดเจนดานกฎหมายสําหรับผูประกอบการแฟรนไชสตางชาติได อยางไรก็ตาม จากการศึกษายังไมพบขอมูลเก่ียวกับกฎหมายเฉพาะดานความลับทางการคาอยางชัดเจน ซ่ึงเปนขอพึงระวังสําหรับผูประกอบการดวย

4.2.3.4 ประเทศ สปป.ลาว

1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - อุปสรรคท่ีสําคัญสําหรับการลงทุนประกอบกิจการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มใน สปป.

ลาว ไดแก กําลังซ้ือของประชากรและขนาดเศรษฐกิจ ซ่ึงรายไดเฉลี่ยของประชากรของ สปป.ลาว มีเพียงประมาณ 706 US dollars ตอปเทานั้น นอกจากนี้ จํานวนประชากรของ สปป.ลาว ท้ังประเทศยังมีประมาณ 6.8 ลานคนเทานั้น ทําใหโอกาสในการลงทุนประกอบการ แฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มใน สปป.ลาว มีความเปนไปไดนอย

- อยางไรก็ตามกิจการแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มยังคงมีโอกาสสําหรับการประกอบการตามเขตเมืองใหญและเมืองทองเท่ียว ซ่ึงมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงกวาภาคสวนเศรษฐกิจอ่ืนของประเทศ

- ผลสํารวจธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มใน สปป.ลาว จํานวน 6 ราย พบวา ประกอบดวย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC จํานวน 4 ราย และธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC จํานวน 2 ราย โดยธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประกอบธุรกิจใน สปป.ลาว ประกอบดวย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มสัญชาติไทย 4 ราย และสหรัฐอเมริกา 2 ราย

2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - สปป.ลาว ผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสเฉพาะสาขาสิ่งทอ เครื่องนุงหม และรองเทา

เทานั้น ไมรวมธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่ม ทําใหการดําเนินธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มของผูประกอบการแฟรนไชสจากตางประเทศรวมท้ังผูประกอบการไทย อาจขาดความแนนอนชัดเจนในเชิงกฎหมาย โดย สปป.ลาว อาจสามารถออกมาตรการกีดกันการประกอบการของผูประกอบการตางชาติในอนาคตได

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - สปป.ลาว ไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรง ท้ังยังไมมีขอกําหนดระเบียบกฎเกณฑ

เฉพาะเจาะจงสําหรับการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชส การรักษาความลับทางการคา แตยังมีกฎหมายภายในอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ งท่ีสามารถบังคับใชไดโดยมิจําตองมีกฎหมายเฉพาะเจาะจงโดยตรง ไดแก กฎหมายนิติกรรมสัญญา และกฎหมายทรัพยสินทางปญญา เปนตน การประกอบการ

Page 102: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 88 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

แฟรนไชสของผูประกอบการไทยใน สปป.ลาว อาจพบกับอุปสรรคไดบางจากความไมชัดเจนของขอกฎหมายดังกลาว

4.2.3.5 ประเทศมาเลเซีย 1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - สภาวะตลาดมีการแขงขันสูง ผูประกอบการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มของมาเลเซียเองมี

ความเขมแข็งสูง ท้ังมีความสามารถในการเติบโตภายในประเทศและการขยายตลาดมาไปตางประเทศอีกดวย เชน Secret Recipe Cake and Cafe’, Marrybrown Fried Chicken, D’Tandoor และ Nelson

- รัฐบาลมาเลเซียยังมีนโยบายสนับสนุนใหธุรกิจแฟรนไชสเปนตัวผลักดันใหเกิดมีผูประกอบการใหมในตลาด โดยมีโครงการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชส ทําใหมีแฟรนไชสใหมๆ และมีความเขมแข็งสูง

- มีผูประกอบการแฟรนไชสจากตางประเทศเขาสูตลาดมาเลเซียจํานวนมาก ท้ังจากแฟรนไชสท่ีมีชื่อเสียงจากสหรัฐอเมริกา เชน KFC, McDonalds, Pizza Hut, Starbucks, Wendy’s, Tony Roma’s, Burger King, Carl’s Jr., Dominos, Krispy Kreme, Papa John’s, Popeye, Subway, Dunkin Donuts และแฟรนไชส จากประเทศ อ่ืนๆ เชน ออสเตรเลีย อังกฤษ และสงิคโปร เปนตน ทําใหโอกาสของการประกอบการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มของไทยในมาเลเซียจะตองเผชิญกับการแขงขันท่ีรุนแรงสูง

- อุปสงคตอแฟรนไชสและการเขาตลาดมีไมมากนัก ผูท่ีประสงคซ้ือสิทธิจากเจาของแฟรนไชสในมาเลเซียมีจํานวนนอย โดยมากคือบรรษัทขนาดใหญในมาเลเซียท่ีตองการซ้ือสิทธิจากแฟรนไชสชั้นนําของโลกมาสะสมไวเพ่ือสรางรายได ประกอบกับนักลงทุนชาวมาเลเซียมีความเห็นวาคาแฟรนไชส (Franchise Fee) สูงเกินไป เปนอุปสรรคสําคัญในการทําธุรกิจแฟรนไชส ทําใหโอกาสสําหรับผูประกอบการแฟรนไชสไทยในการขายสิทธิแฟรนไชสใหกับผูประกอบการมาเลเซียมีอยูไมมากนัก โดยผูประกอบการแฟรนไชสไทยอาจจะตองมีการพิจารณาราคาและคาธรรมเนียมแฟรนไชสอยางรอบคอบดวย

- พฤติกรรมผูบริโภค ประชากรสวนใหญของมาเลเซียนับถือศาสนาอิสลาม ทําใหประเด็นการรับรองมาตรฐานฮาลาล ซ่ึงครอบคลุมตั้งแตกระบวนการผลิต หีบหอ และจัดสงสินคา มีความจําเปนสําหรับการประกอบการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในมาเลเซีย นอกจากนี้ในมาเลเซียยังมีชาวฮินดู และผูเลื่อมในในเจาแมกวนอิมซ่ึงจะไมบริโภคเนื้อวัวอีกดวย

- ผลการสํารวจ ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในมาเลเซีย จํานวน 99 ราย พบวา ประกอบดวย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มทองถ่ิน 53 ราย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC จํานวน 14 ราย และธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC จํานวน 32 ราย โดยพบวา ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม “ตางชาติ” ท่ีประกอบธุรกิจในมาเลเซียเปนธุรกิจ แฟรนไชสสัญชาติสหรัฐอเมริกา มากท่ีสุด 24 ราย รองลงมาคือ สิงคโปร 7 ราย ไทย และ

Page 103: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 89 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ฟลิปปนส 3 ราย ออสเตรเลีย 2 ราย สําหรับธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติอ่ืนๆ มีจํานวนสัญชาติละ 1 ราย ตามลําดับ15

16 2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - มาเลเซียผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 โดยมาเลเซียไมผูกพันการเปดเสรี

ธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบที่ 4 ไดแก การใหบริการขามพรมแดน (Cross-border Supply) การเดินทางไปใชบริการตางประเทศ (Consumption Aboard) และ การจัดตั้งธุรกิจ (Commercial Presences) โดยมีเง่ือนไขซ่ึงอาจเปนปญหาและอุปสรรคของผูประกอบการ แฟรนไชสไทยบาง ดังนี้ (1) การจัดตั้งธุรกิจ กําหนดใหชาวตางชาติสามารถถือหุนไดไมเกิน รอยละ 51 (2) การเขาซ้ือ (Acquisition) ควบรวม (Merger) และครอบงํา (Take-over) ในบางกรณีตองไดรับอนุญาตจากทางการ (3) มาเลเซียอาจไมอนุญาตการซ้ือ การขาย หรือขอตกลงอ่ืนๆ เก่ียวกับท่ีดิน ผลประโยชนจากท่ีดิน ซ่ึงเปนการเก็งกําไร ไมมีประโยชน หรือขัดตอผลประโยชนของประเทศมาเลเซีย (4) มาเลเซียไมผูกพันการเลือกปฏิบัติในกรณีของสิทธิประโยชนท่ีใหตอบริษัทสัญชาติมาเลเซียนในสาขาบริการท่ีภาครัฐสนับสนุน (5) ไมผูกพันมาตรการสนับสนุนท่ีใหตอชาวมาเลเซียเชื้อสาย “ภูมิบุตรา” บริษัทหรือทรัสตของชาว “ภมิูบุตรา” ตามเปาประสงคของนโยบายเศรษฐกิจใหม (New Economic Policy) และนโยบายการพัฒนาประเทศ (National Development Policy) และ (6) บริษัทท่ีภาครัฐถือหุนอาจพิจารณาเปนพิเศษในการเลือกใชบริการจากผูใหบริการซ่ึงภาครัฐถือหุน

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - มาเลเซียมีกฎหมาย ควบคุมการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ คือ Franchise Act

1998 ตอมาไดมีการแกไขเพ่ิมเติมโดย Franchise (Amendment) Act 2012 ซ่ึงมีสาระสําคัญครอบคลุมรายละเอียดเก่ียวกับการประกอบกิจการแฟรนไชสของมาเลเซีย การกําหนดสิทธิหนาท่ีของคูสัญญา และบทกําหนดโทษสําหรับผูท่ีฝาฝนบทบัญญัติหรือกระทําความผิดตามท่ีท้ังทางแพงและอาญา อยางครอบคลุมและชัดเจน (ตารางท่ี 4.1) ซ่ึงนาชวยลดปญหาและอุปสรรคในการดําเนินกิจการไดอยางมาก

4.2.3.6 ประเทศเมียนมาร 1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - แมวาสภาพเศรษฐกิจของเมียนมารมีแนวโนมท่ีดีข้ึนและเอ้ือตอการลงทุนจากตางประเทศมาก

ข้ึนตามลําดับ แตปญหาดานความม่ันคงตามแนวชายแดนและโครงสรางการบริหารราชการก็ยังคงเปนปญหาสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ และ การลงทุนในประเทศเมียนมารอยูคอนขางมาก

- ประชากรยังคงมีรายไดคอนขางต่ํา ประกอบกับรัฐบาลเมียนมารคอนขางจํากัดการรับรูขาวสารของประชาชน โดยเพ่ิงเปดประเทศสูการรับรูขอมูลจากภายนอกไดไมนานนัก ทําใหพฤติกรรมการบริโภคของชาวเมียนมารยังเปนรูปแบบเดิมๆ การเขาประกอบการแฟรนไชสอาหารและ

16 จากภาคผนวก ก และ ข

Page 104: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 90 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

เครื่องดื่มจึงอาจยังมีความเสี่ยงสูง รวมท้ังตองมีคาใชจายดานการประชาสัมพันธและการตลาดสูงเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของชาวพมา

- การแขงขันในกิจการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มของเมียนมารยังมีนอย โดยจํานวนผูประกอบการหรือผูลงทุนยังมีไมมาก ท้ังนี้ อาจมีเหตุผลจากขนาดเศรษฐกิจและรายไดของประชากรเมียนมารท่ียังไมเปนที่นาสนใจของนักลงทุน ประกอบกับความแนนอนของนโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเก่ียวเนื่องดวย จาก ผลการสํารวจธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในเมียนมาร พบ ผูประกอบการ 4 ราย ประกอบดวย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC จํานวน 3 ราย และธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC จํานวน 1 ราย โดยแบงเปนธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติไทย 2 ราย มาเลเซีย 1 ราย และสหรัฐอเมริกา 1 ราย ตามลําดับ16

17 2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - เมียนมารไมผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในทุกรูปแบบ ทําใหการดําเนินธุรกิจของ

ผูประกอบการแฟรนไชสจากตางประเทศรวมท้ังผูประกอบการไทย ยังขาดความแนนอนชัดเจนในเชิงกฎหมาย โดยเมียนมารอาจสามารถออกมาตรการกีดกันการประกอบการของผูประกอบการตางชาติในอนาคตได

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - ไมมีการตรากฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ ในเรื่องของสัญญา

แฟรนไชสจึงตองบังคับตามกฎหมายวาดวยสัญญาของประเทศพมา ค.ศ. 1872 (Myanmar Contract Act 1872) ซ่ึงเปนกฎหมายกลางวาดวยเรื่องสัญญาโดยท่ัวไป ไมมีกฎหมายคุมครองเก่ียวกับเครื่องหมายการคาและความลับทางการคาอยางชัดเจน ซ่ึงอาจเปนอุปสรรคสําคัญสําหรับผูประกอบการแฟรนไชสได

4.2.3.7 ประเทศฟลิปปนส 1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - การประกอบการธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในฟลิปปนส มีปจจัยบวกหลายประการ

อาทิ ขนาดของจํานวนประชากร รายไดประชากรท่ีไมต่ําเกินไปนัก โดยเฉพาะรายไดประชากรในเขตเมือง การขยายตัวของเศรษฐกิจ รวมท้ังพฤติกรรมการบริโภคของชาวฟลิปปนสท่ีนิยมรับประทานอาหารนอกบานและมีรสนิยมการบริโภคแบบชาวตะวันตก แตธุรกิจบริการนี้มีความออนไหวตอสภาพเศรษฐกิจคอนขางสูง ในชวงท่ีเศรษฐกิจตกต่ํายอดขายของธุรกิจจะลดลงอยางมีนัยสําคัญ ซ่ึงอาจเปนปญหาสําหรับผูประกอบการแฟรนไชสท่ีมีเงินลงทุนไมมากนักได

- ประเทศฟลิปปนสมีผูประกอบการดานอาหารและเครื่องดื่ม ซ่ึงเปนผูประกอบการในประเทศท่ีมีความเขมแข็งอยางยิ่ง ไดแก Jollibee Food Corp ซ่ึงเปนผูประกอบการรายใหญท่ีสุด ท่ีมีสวนแบงตลาดรอยละ 42 มากกวาแฟรนไชสชื่อดังจากตางประเทศ เชน McDonald’s Corp มีสวนแบงตลาดรอยละ 10 Yum! Brand Inc รอยละ 5 และ Duskin Co Ltd รอยละ 3 ซ่ึง

17 จากภาคผนวก ก และ ข

Page 105: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 91 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

สะทอนใหเห็นความเขมขนของการแขงขันในธุรกิจนี้ไดเปนอยางดี โดยแฟรนไชสตางประเทศ ท่ีมีความพยายามในการเขาสูตลาดคอนขางมาก

- สภาพตลาดมีการแขงขันสูง มี จํานวนผูแขงขันในตลาดแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในฟลิปปนสจํานวนมาก จากขอมูลป 2010 ฟลิปปนสมีจํานวนรานแฟรนไชสท่ีเปดดําเนินการมากกวา 125,000 รานคา โดยมาจาก 1,300 แฟรนไชส

- ผลการสํารวจธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในฟลิปปนส 116 ราย พบวาธุรกิจ แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มทองถ่ินมีจํานวนมากท่ีสุด 77 ราย คิดเปนรอยละ 66 ของธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท้ีงหมด รองลงมา คือ ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC จํานวน 29 ราย และธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC จํานวน 10 ราย โดยพบวา ธุรกิจ แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มตางชาติท่ีประกอบธุรกิจในฟลิปปนส เปนธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติสหรัฐอเมริกา มากท่ีสุด 23 ราย รองลงมาคือ สิงคโปร 7 ราย เกาหลีใต 2 ราย สําหรับธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติอ่ืนๆ มีจํานวนสัญชาติละ 1 ราย ตามลําดับ17

18 2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - ฟลิปปนสมีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 ไดแก การใหบริการขาม

พรมแดน (Cross-border Supply) การเดินทางไปใชบริการตางประเทศ (Consumption Aboard) และ การจัดตั้งธุรกิจ (Commercial Presences) โดยมีเง่ือนไขซ่ึงอาจเปนปญหาและอุปสรรคของผูประกอบการแฟรนไชสไทยบาง ดังนี้ (1) การจัดตั้งธุรกิจ ชาวตางชาติสามารถถือหุนไดไมเกินรอยละ 51 (2) มีการกําหนดใหเฉพาะผูมีสัญชาติฟลิปปนสและบริษัทท่ีมีผูถือหุนสัญชาติฟลิปปนสเกินกวารอยละ 60 สามารถถือครองกรรมสิทธิ์ท่ีดิน ท่ีไมใชท่ีดินสาธารณะและสามารถเชาท่ีดินสาธารณะได อยางไรก็ตาม ชาวตางชาติสามารถเชาท่ีดินท่ีไมใชท่ีดินสาธารณะได และ (3) ขอกําหนดการกูยืมเงินของหางหุนสวนหรือบริษัทในสาขาท่ีมิใชสาขาอุตสาหกรรมและสถาบันการเงิน ท่ีมีสัดสวนการถือหุนโดยตางชาติเกินกวารอยละ 40 ท่ีตองการจะกูยืมเงินในสกุลเปโซ จะตองมีหนี้สินไมเกินสัดสวนหนี้สินตอสัดสวนผูถือหุนท่ี 50:50 ณ ขณะท่ีทําการกูยืม

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - ฟลิปปนส ไมมีกฎหมายวาดวยเรื่องการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ การพิจารณา

กฎหมายท่ีใชบังคับในเรื่องดังกลาวจึงตองพิจารณาจากกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ ผูประกอบการแฟรนไชสท่ีตองการทําธุรกิจในฟลิปปนสตองพิจารณารายละเอียดและขอสัญญาท่ีจะจัดทําข้ึนเปนพิเศษใหครอบคลุมเง่ือนไขตางๆ ท่ีไมมีกฎหมายใหความคุมครองอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม ฟลิปปนสมีขอกฎหมายเก่ียวกับทรัพยสินทางปญญา โดยเฉพาะในประเด็นเครื่องหมายการคาและความลับทางการคาเปนหลักอยางชัดเจน ไดแก ประมวลกฎหมายทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property Code R.A. 8293)

18 จากภาคผนวก ก และ ข

Page 106: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 92 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4.2.3.8 ประเทศสิงคโปร 1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - สิงคโปรเปนประเทศท่ีมีความเหมาะสมตอการประกอบธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่ม

มากท่ีสุดประเทศหนึ่งในอาเซียน เนื่องจากประชากรชาวสิงคโปรมีกําลังซ้ือสูง โดยมีรายไดตอหัวของประชากรสูงท่ีสุดในกลุมประเทศอาเซียน รวมถึงมีกฎระเบียบท่ีเอ้ืออํานวยตอการลงทุนของชาวตางชาติ เปด โอกาสสําหรับนักลงทุนตางชาติอยางเทาเทียม ทําใหสิงคโปรเปนตลาด แฟรนไชสท่ีสําคัญท่ีสุดในอาเซียน

- เจาของแฟรนไชสชั้นนําท่ัวโลกไดมีการโอนสิทธิแฟรนไชสเขามาในตลาดสิงคโปร และพรอมท่ีจะใชสิงคโปรเปนฐานในการขยายกิจการไปยังประเทศที่สามใน อาเซียน โดยมี สหรัฐอเมริกาเปนผูนําตลาดในดานเจาของสิทธิแฟรนไชส โดยเฉพาะในกิจการอาหารและเครื่องดื่ม เชน KFC (30 สาขา) Starbuck (60 สาขา) Pizza Hut (12 สาขา) McDonalds (120 สาขา) นอกจากนั้นยังมีแฟรนไชสในกิจการอ่ืนๆ เชน Mathnasium, Snap-On Tools, GNC Live Well, Comfort Keepers, Tully’s Quiznos เปนตน และประเทศเจาของสิทธิแฟรนไชสท่ีมีความสําคัญรองลงมา คือ ออสเตรเลีย ญี่ปุน ใตหวัน และเกาหลีใต ในขณะท่ีเจาของสิทธิแฟรนไชสขาวสิงคโปร ก็ไดทวีจํานวนเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว จากการสนับสนุนของรัฐบาลสิงคโปร เชน BreadTalk, Ya Kun Kaya Toast และ Sakae Sushi เปนตน

- อุปสรรคสําคัญท่ีผูประกอบกิจการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในสิงคโปรตองเผชิญ คือ การแขงขันของธุรกิจแฟรนไชสในสิงคโปรท่ีมีคอนขางรุนแรง จากการดําเนินกิจการแฟรนไชสของผูประกอบการภายในประเทศ ซ่ึงมีความใกลชิดตลาดและมีการสนับสนุนจากภาครัฐเปนอยางดี และกิจการแฟรนไชสจากสหรัฐอเมริกาซ่ึงเปนเจาของตราสินคา ( Brand) ท่ีมีชื่อเสียงและเปนท่ียอมรับของผูบริโภคท่ัวโลก

- ผลการสํารวจธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในสิงคโปร จํานวน 70 ราย พบวา ประกอบดวย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC มากท่ีสุด จํานวน 34 ราย รองลงมาคือ ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มทองถ่ิน จํานวน 30 ราย สําหรับธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC มีจํานวนเพียง 6 ราย คิดเปนรอยละ 9 ของธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในสิงคโปรท้ังหมด โดยธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มตางชาติท่ีประกอบธุรกิจในสิงคโปร พบวาเปนธุรกิจแฟรนไชส สัญชาติสหรัฐอเมริกา มากท่ีสุด 24 ราย รองลงมาคือ ไทย และออสเตรเลีย 3 ราย เทากัน มาเลเซีย 2 ราย สําหรับธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติอ่ืนๆ มีจํานวนสัญชาติละ 1 ราย ตามลําดับ18

19 2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - สิงคโปรมีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 ไดแก การใหบริการขาม

พรมแดน (Cross-border Supply) การเดินทางไปใชบริการตางประเทศ (Consumption Aboard) และ การจัดตั้งธุรกิจ (Commercial Presences) โดยมีเง่ือนไขซ่ึงอาจเปนปญหาและอุปสรรคของผูประกอบการแฟรนไชสไทยบาง ดังนี้ (1) มีการกําหนดใหชาวตางชาติท่ี

19 จากภาคผนวก ก และ ข

Page 107: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 93 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ตองการจดทะเบียนบริษัทตองมีผูจัดการทองถ่ิน (Local Manager) ซ่ึงมีสัญชาติสิงคโปร มีถ่ินท่ีอยูภาวรในประเทศสิงคโปร หรือเปนผูถือใบอนุญาตการทํางานในประเทศสิงคโปร (Singapore Employment Pass) (2) ตองมีกรรมการอยางนอย 1 คนตองมีถ่ินท่ีอยูในประเทศสิงคโปร (3) สาขาตางๆ ของบริษัทท่ีจดทะเบียนในประเทศสิงคโปรตองมีตัวแทน (Agent) อยางนอย 2 คนท่ีมีถ่ินท่ีอยูในประเทศสิงคโปร และ (4) ไมผูกพันการใหเงินสนับสนุน ยกเวนตามท่ีไดผูกพันไปแลวในกรอบองคการการคาโลก

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - สิงคโปรไมมีกฎหมายแฟรนไชสบังคับใชโดยตรง และ ไมมีขอกําหนด ระเบียบกฎเกณฑ

เฉพาะเจาะจงสําหรับการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชสในประเทศสิงคโปร ดวย อยางไรก็ตามเจาของแฟรนไชสท่ีประสงคจะดําเนินธุรกิจในสิงคโปรจะตองระมัดระวังในการทําสัญญาแฟรนไชสเนื่องจากมีกฎหมายท่ีเก่ียวของหลายฉบับ โดยเฉพาะในประเด็นการแขงขันทางการคา เชนสัญญาแฟรนไชสตองไมกอใหเกิดการจํากัดหรือบิดเบือนการแขงขันทางการคา ขอกําหนดอันไมเปนธรรม และกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของของประเทศสิงคโปร

4.2.3.9 ประเทศเวียดนาม

1) สภาวะตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค - ขนาดเศรษฐกิจของเวียดนามยังถือวาไมใหญมากเม่ือเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซียน แมวา

เวียดนามจะมีจํานวนประชากรคอนขางมากเกือบ 89 ลานคน แตชาวเวียดนามยังมีรายไดไมสูงมากนัก มีรายไดเฉลี่ยตอหัวตอปประมาณ 845 us dollars ตอหัวตอปเทานั้น ซ่ึงเปนอุปสรรคสําคัญของการเขาทําตลาดแฟรนไชสในเวียดนาม

- โอกาสของการประกอบกิจการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่ม จํากัดตัวเฉพาะในเขตเมืองใหญ ท่ีมีประชากรหนาแนน และมีปจจัยทางเศรษฐกิจดีกวา เชน Hanoi และ Ho Chi Minh ซ่ึงมีการขยายตัวของธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตามผูประกอบการตองเผชิญกับการแขงขันสูง ท้ังจากแฟรนไชสชื่อดังจากตางประเทศ และแฟรนไชสภายในประเทศเวียดนามเอง

- ธุรกิจแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในเวียดนามมีการแขงขันท่ีรุนแรง จากการเขามาของธุรกิจแฟรนไชสชื่อดังจากตางประเทศ เชน Subway, Jollibee, Lotteria, BreadTalk, Carl’s Jr, Pizza Hut, Hard Rock Cafe’, Domino Pizza, Roundtable Pizza, Coffee Bean and Tea Leaf, Popeye’s Chicken, Illy Café’, และ Gloria Jean’s Coffee เปนตน นอกจากนี้ นักธุรกิจชาวเวียดนาม ยังมีการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชสของตัวเอง จากความไดเปรียบดานวัตถุดิบ เชน เมล็ดกาแฟ และจากความโดดเดนของอาหารประจําชาติ เชน Trung Nguyen Coffee, Pho24, Kinh Do Bakery, AQSilk Shop and Go และ Coffee24Seven และมีหลายรายท่ีสามารถรุกเขาไปดําเนินกิจการในตลาดตางประเทศ ไดดวย เชน Pho24 และ Trung Nguyen Cafe’ เปนตน

- ผลการสํารวจธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มในเวียดนาม 32 ราย พบวา ธุรกิจแฟรน

ไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC มีจํานวนมากท่ีสุด

จํานวน 21 ราย ธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC มี

Page 108: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 94 ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

จํานวน 7 ราย สําหรับธุรกิจแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มทองถ่ินมี 4 ราย โดยธุรกิจแฟ

รนไชสดานอาหารและเครื่องดื่ม “ตางชาติ” ท่ีประกอบธุรกิจในเวียดนาม พบวา เปนธุรกิจ

แฟรนไชสสัญชาติสหรัฐอเมริกา มากท่ีสุด จํานวน 15 ราย รองลงมาคือ สิงคโปร 5 ราย เกาหลี

ใต และออสเตรเลีย 2 ราย สําหรับธุรกิจแฟรนไชสสัญชาติไทย และสัญชาติอ่ืนๆ มีจํานวน

สัญชาติละ 1 ราย ตามลําดับ19

20

2) การเปดเสรีในธุรกิจแฟรนไชส - เวียดนามมีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสในรูปแบบท่ี 1-3 ไดแก การใหบริการขาม

พรมแดน (Cross-border Supply) การเดินทางไปใชบริการตางประเทศ (Consumption Aboard) และ การจัดตั้งธุรกิจ (Commercial Presences) โดยมีเง่ือนไขซ่ึงอาจเปนปญหาและอุปสรรคของผูประกอบการแฟรนไชสไทยบาง ดังนี้ (1) การจัดตั้งสาขา (Branch) เพ่ือใหบริการในเวียดนาม ผูจัดการสาขา (Chief of the Branch) ตองเปนผูมีถ่ินท่ีอยูในเวียดนาม (2) การเชาท่ีดินตองไดรับอนุญาตโดยหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของ ระยะเวลาการเชาตองสอดคลองกับระยะเวลาของการปฏิบัติงานตามท่ีระบุในใบอนุญาต ซ่ึงหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของมีอํานาจพิจารณาตออายุได (3) เวียดนามไมผูกพันการเลือกปฏิบัติท่ีเก่ียวของกับการสนับสนุนดานการเงิน อาทิ การสนับสนุนดานการเงินท่ีเก่ียวของกับการวิจัยและพัฒนา การสนับสนุนดานการเงินในสาขาการศึกษาและโสตทัศน และการสนับสนุนดานการเงินเพ่ือสนับสนุนสวัสดิการ การจางงาน และชนกลุมนอย

3) กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ - เวียดนาม มีกฎหมายควบคุมธุริจแฟรนไชสคือ Decree No.35 และ Circular No.09 ท่ีมีการ

ระบุถึงนิยามและขอกําหนดในการทําสัญญาแฟรนไชส โดยมีเง่ือนไข หรือระเบียบปฏิบัติท่ีอาจเปนปญหาและอุปสรรคสําหรับผูท่ีจะเขาไปลงทุนประกอบการธุรกิจแฟรนไชสในเวียดนามท่ีสําคัญ คือ (1) เจาของแฟรนไชสชาวตางประเทศตองมีธุรกิจในเวียดนามอยางนอย 1 ป จงึมีสิทธิโอนสิทธิแฟรนไชสได ผูรับโอนสิทธิชาวเวียดนาม ( Franchisee) จะตองดําเนินธุรกิจกับเจาของแฟรนไชสชาวตางประเทศในประเทศเวียดนามไมนอยกวา 1 ป จึงมีสิทธิรับโอนสิทธิแฟรนไชสได (Sub-franchising) และ (2) สัญญาแฟรนไชสจะตองเปนภาษาเวียดนาม โดยอาจมีการแปลเปนภาษาอังกฤษก็ได เปนตน

20 จากภาคผนวก ก และ ข

Page 109: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ตารางท่ี 4.4 สรุปประเด็นปญหาและอุปสรรคสําหรับการประกอบการแฟรนไชสอาหารและเครื่องดื่มในประเทศอาเซียนตางๆ

ประเทศ

สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน การเปดเสรีธุรกิจ

แฟรนไชส

กฎหมายหรือกฎระเบียบท่ี

เก่ียวของ ขนาดเศรษฐกิจและตลาด

ความแตกตางดานวัฒนธรรม และการบรโิภค การแขงขัน

รายไดประชากร ประชากรเมือง ศาสนา การบรโิภค

บรูไน

มีรายไดตอหัวประชากรสงูมากเปนอันดบัสองของอาเซียน โดยมีรายไดมากกวา 25,000 US$ ตอหัวตอป

ประชากรสวนใหญอาศัยอยูในเมือง แตบรไูนเปนประเทศท่ีมีประชากรนอยมาก เพียง 4 แสนกวาคนเทาน้ัน

เปนประเทศมุสลิม การประกอบการ แฟรนไชสอาหารควรตองไดรับเครื่องหมายฮาลาลรับรอง

ชาวบรูไนมีขอจํากัดจากทางดานวัฒนธรรมและมีกฎระเบียบรวมถึงขอหามท่ีเครงครัด ขณะเดียวกันมีรสนิยมท่ีคอนขางทันสมัยและอิงสไตลตะวันตก

เริ่มมีแฟรนไชสตางประเทศเขามาดําเนินกิจการมากข้ึน ท่ีสําคัญจาก สหรัฐอเมริกา สิงคโปร และมาเลเซีย

ไมมีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส

ไมมีขอมูลวามีกฎหมายเฉพาะเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชสหรือไม

กมัพูชา

เปนประเทศกลุมรายไดนอยของอาเซียน มีรายไดเพียง 615 US$ ตอหัวตอป

มจีาํนวนประชากรเมืองประมาณ 1.5 ลานคน มีจํานวนนอยเปนอันดบัสามของอาเซยีน

ศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

มีรสนิยมคอนขางคลายคลึงกับไทย จากประเพณแีละวัฒนธรรม และพรมแดนท่ีอยูติดกัน ท้ังยังนิยม เลยีนแบบการบริโภคสินคาผานสื่อโทรทัศนของไทย

เริ่มมีแฟรนไชสตางประเทศเขามาดําเนินกิจการมากข้ึน ท่ีสําคัญจาก สหรัฐอเมริกา ไทย มาเลเซีย และเวียดนาม

มีการผูกพันเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส แบบมีเง่ือนไข

ไมมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับเรื่องแฟรนไชส

อินโดนีเซีย

ประชากรมีรายไดในระดับปานกลางเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซียน โดยมีรายไดประมาณ 1,600 US$ ตอหัวตอ

มจีาํนวนประชากรมากกวา 28 ลานคน มากท่ีสุดของอาเซียน

เปนประเทศมุสลิม การประกอบการ แฟรนไชสอาหารควรตองไดรับเครื่องหมาย ฮาลาลรับรอง

ผูบริโภคท่ีมีรายไดปานกลางข้ึนไปนิยมบริโภคสินคานําเขาจากตางประเทศ และนิยมใชเวลาพักผอนรวมกับเพ่ือน และ

มีแฟรนไชสดําเนินกิจการแลวเปนจํานวนมาก ท้ังท่ีเปนแฟรนไชสในประเทศ และนอกประเทศ

ไมมีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส

มีการควบคุมการประกอบธุรกิจแฟรนไชสผานทางกฎกระทรวงวาดวยแฟรนไชส และมีกฎหมายเก่ียวกับการ

Page 110: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ประเทศ

สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน การเปดเสรีธุรกิจ

แฟรนไชส

กฎหมายหรือกฎระเบียบท่ี

เก่ียวของ ขนาดเศรษฐกิจและตลาด

ความแตกตางดานวัฒนธรรม และการบรโิภค การแขงขัน

รายไดประชากร ประชากรเมือง ศาสนา การบรโิภค ป ครอบครัวโดยการ

รับประทานอาหารนอกบาน

ประกอบธุรกิจเปนการท่ัวไปท่ีเก่ียวของอีกหลายฉบับดวย

สปป.ลาว

เปนประเทศกลุมรายไดนอยของอาเซียน มีรายไดเพียง 706 US$ ตอหัวตอป

มีประชากรเมืองเพียง 7.7 แสนคน นอยท่ีสุดเปนอันดับสองของอาเซยีน

ศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

มีรสนิยมคอนขางคลายคลึงกับไทย จากประเพณแีละวัฒนธรรม และพรมแดนท่ีอยูติดกัน ท้ังยังนิยม เลยีนแบบการบริโภคสินคาผานสื่อโทรทัศน ของไทย

เริ่มมีแฟรนไชสเขาประกอบการแตยงัถือวามีนอย สวนใหญมาจากประเทศไทย

ผกูพันการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไชสเฉพาะสาขาสิ่งทอ เครื่องนุงหม และรองเทา แบบมีเง่ือนไข แตไมมีการผกูพันการเปดเสรแีฟรนไชสสาขาอาหารและเครื่องดื่ม

ไมมีกฎหมาย แฟรนไชสบงัคบัใชโดยตรง ท้ังยังไมมีขอกําหนด ระเบียบกฎเกณฑเฉพาะเจาะจงสําหรับการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชส

มาเลเซีย

มีรายไดตอหัวประชากรสงูมากเปนอันดบัสามของอาเซียน โดยมีรายไดมากกวา 6,000 US$ ตอหัวตอป

มีประชากรเมืองประมาณ 3.7 ลานคน

เปนประเทศมุสลิม การประกอบการ แฟรนไชสอาหารควรตองไดรับเครื่องหมาย ฮาลาลรับรอง

กลุมผูบริโภคท่ีมีรายไดสูงมักม ีรสนิยมอิงสไตลตะวันตก ผูบริโภคมาเลเซียนิยมบริโภคอาหารสด ขณะท่ีอาหารแปรรปูและอาหารบรรจุถุงมีแนวโนมไดรับความนิยมมากข้ึนจากความเรงรีบในชีวิตประจําวัน

มแีฟรนไชสประกอบการอยูมากท้ังในและนอกประเทศ และยังเปนประเทศผูสงออกกิจการ แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มดวย

มีการผูกพันเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส แบบมีเง่ือนไข

มีการตรากฎหมายเฉพาะสําหรับธุรกิจ แฟรนไชส ซึ่งมีการกําหนดเง่ือนไขธุรกิจ การทําสัญญา และรายละเอียดอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของไวอยางชัดเจน

Page 111: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ประเทศ

สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน การเปดเสรีธุรกิจ

แฟรนไชส

กฎหมายหรือกฎระเบียบท่ี

เก่ียวของ ขนาดเศรษฐกิจและตลาด

ความแตกตางดานวัฒนธรรม และการบรโิภค การแขงขัน

รายไดประชากร ประชากรเมือง ศาสนา การบรโิภค

เมยีนมาร

เปนประเทศกลุมรายไดนอยของอาเซียน มีรายไดเพียง 423 US$ ตอหัวตอป

มีประชากรเมืองประมาณ 6.4 ลานคน

ศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

มีรสนิยมคอนขางคลายคลึงกับไทย จากประเพณแีละวัฒนธรรม และพรมแดนท่ีอยูติดกัน ท้ังยังนิยม เลยีนแบบการบริโภคสินคาผานสื่อโทรทัศนของไทย

เริ่มมีแฟรนไชสเขาประกอบการสวนใหญจากไทย และมาเลเซีย แตยังถือวามีนอยมาก

ไมมีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส

ไมมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับเรื่องแฟรนไชส และยังไมมีขอบัญญัติทางกฎหมายท่ีชัดเจนเก่ียวกับธุรกิจแฟรนไชส

ฟลิปปนส

ประชากรมีรายไดในระดับปานกลางเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซียน โดยมีรายไดประมาณ 1,400 US$ ตอหัวตอป

มีประชากรเมืองประมาณ 15 ลานคน มากเปนอันดับท่ีสองของอาเซยีน

ศาสนาคริสตเปนศาสนาประจําชาติ ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

มีรสนิยมคอนขางหลากหลาย โดยท่ัวไปเนนความเรยีบงาย สะดวกและเหมาะสมกับระดับรายได และสวนใหญนิยมรบัประทานอาหารนอกบาน

มแีฟรนไชสประกอบการอยูมากท้ังในและนอกประเทศ และยังเปนประเทศผูสงออกกิจการ แฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มดวย

มีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส แบบมีเง่ือนไข

ไมมีกฎหมายวาดวยเรือ่งการประกอบธุรกิจแฟรนไชสเปนการเฉพาะ การพิจารณากฎหมายท่ีใชบังคับในเรื่องดังกลาวตองพิจารณาจากกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของ

สงิคโปร

มีรายไดตอหัวของประชากรสูงท่ีสุดของอาเซียน มากกวา 33,600 US$ ตอหัวตอป

ประชากรท้ังหมดของประเทศอาศัยอยูในเมือง มีจํานวนประชากรเมืองมากกวา 5 ลานคน

มีความหลากหลายดานการนับถือศาสนา มีผูนับถือศาสนาอิสลามประมาณรอยละ 15 แตไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

วัฒนธรรม ไลฟสไตลทางตะวันตกมีอิทธิพลมากในสังคมสิงคโปร แตชาวสิงคโปรใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพ และ

มแีฟรนไชสประกอบการอยูมากท้ังในและนอกประเทศ และยังเปนประเทศผูสงออกกิจการ แฟรนไชสดานอาหาร

มีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส แบบมีเง่ือนไข

ไมมีกฎหมายเฉพาะสําหรับการทําธุรกิจแฟรนไชส แตใชกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของมาบังคับใช ท่ีสําคัญ ไดแก กฎหมายนิติกรรม

Page 112: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ประเทศ

สภาวะตลาดภายในประเทศ และพฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน การเปดเสรีธุรกิจ

แฟรนไชส

กฎหมายหรือกฎระเบียบท่ี

เก่ียวของ ขนาดเศรษฐกิจและตลาด

ความแตกตางดานวัฒนธรรม และการบรโิภค การแขงขัน

รายไดประชากร ประชากรเมือง ศาสนา การบรโิภค นิยมทานอาหารเสริมเพ่ือบํารุงรางกาย

และเครื่องดื่มดวย สัญญา และกฎหมายแขงขันทางการคา เปนตน

เวียดนาม

ประชากรมีรายไดในระดบัปานกลางคอนขางต่ําเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในอาเซียน โดยมีรายไดประมาณ 845 US$ ตอหัวตอป

มีประชากรเมืองประมาณ 11.6 ลานคน มากเปนอันดบัท่ีสามของอาเซยีน

ศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ ไมมีปญหาในการเลือกบริโภคอาหาร

อาหารสไตลตะวันตกไดรับความนิยมเพ่ิมข้ึนมาก โดยเฉพาะอาหารฟาสฟูดท่ีเขามาในรปูแบบธุรกิจแฟรนไชส

เริ่มมีแฟรนไชสตางประเทศเขามาดําเนินกิจการมากข้ึน และมกีารพัฒนาแฟรนไชสภายในประเทศของตนเอง

มีการผูกพันการเปดเสรีธุรกิจ แฟรนไชส แบบมีเง่ือนไข

มีกฎหมายเฉพาะสําหรับควบคุมการทําธุรกิจแฟรนไชส

Page 113: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 99

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4.3 แนวทางการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสของไทยในการเขาสูตลาดอาเซียน

การเปดเสรีการคาและการลงทุนระหวางประเทศ สรางโอกาสและความทาทาย ๆใหผูประกอบการ

ธุรกิจแฟรนไชส โอกาสทางธุรกิจเพ่ิมข้ึน เนื่องจากตลาดเปดกวางมากข้ึน อุปสรรคทางการคาและการลงทุนระหวางประเทศลดลง ผูประกอบการท่ีเข็มแข็งสามารถขยายตลาดการคาการลงทุนไปตางประเทศไดสะดวกข้ึน ขณะเดียวกันก็มีความทาทาย ใหมๆ มากข้ึน เนื่องจากตลาดในประเทศมีการแขงขันมากข้ึน เนื่องจากผูประกอบการรายใหมๆจากตางประเทศสามารถเขามาลงทุนจัดตั้งธุรกิจในประเทศไทยไดสะดวกมากข้ึน สงผลใหผูบริโภคทางเลือกมากข้ึน

ผูประกอบการธุรกิจท่ีจะสามารถยืนหยัดไดจึงตองมีความสามารถในการแขงขันในระดับท่ีดีพอ ตองมีขาวสาร ขอมูล ความรู มีทักษะดานการบริหารจัดการธุรกิจ มีวิสัยทัศน ท่ีกวางไกล รวมท้ังตองมีความพรอมดานเงินทุนและมีเครือขายเพ่ือรองรับโอกาสและความทาทายเกิดข้ึน

ธุรกิจแฟรนไซสถือเปนหนึ่งสาขาธุรกิจท่ีมีการเติบโตอยางรวดเร็ว จากการสํารวจและวิเคราะหตามโครงการพัฒนากลยุทธธุรกิจการตลาดธุรกิจแฟรนไซสสูสากล พบสัญญาณการปรับ ตัวเชิง โคร งสราง ของธุรกิจแฟรนไซส โดย ดานอุปสงคของผูตองการซ้ือธุรกิจแฟรนไซสพบวามีผูสนใจลงทุนธุรกิจ แฟรน ไซสมากข้ึน เนื่องจากคนรุนใหมตองการเปนผูประกอบการ เพราะสถาบันการศึกษาและรัฐบาลมีนโยบายกระตุนสรางผูประกอบการใหม สถาบันการเงินใหการสนับสนุน สินเชื่อ ประกอบกับมีกระแสการรวมตัวเพ่ีอกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 อยางไรก็ตามนักลงทุนท่ีตองการซ้ือสิทธิ์แฟรนไซสมีการศึกษาวิเคราะหโอกาสท่ีจะประสบความสําเร็จดานการลงทุน รอบคอบ มากข้ึน ดานอุปทานพบวาธุรกิจแฟรนไซสมีการพัฒนามาตรฐานมากข้ึนและมีธุรกิจแฟรนไซสจากตางประเทศเขาสูตลาดมากข้ึน จากการศึกษาวิเคราะหการเปดเสรีธุรกิจแฟรนไซสตามกรอบการเปดเสรีการคาบริการ การ ศึกษาวิเคราะหกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจแฟรนไซสของประเทศสมาชิกอาเซียน การสรุป ประสบการณจากการจัดกิจกรรมการขยายตลาดธุรกิจแฟรนไซสไทยสูประเทศสมาชิกอาเซียน

คณะท่ีปรึกษาขอเสนอแนวทางการพัฒนาธุรกิจของไทยในการเขาสูตลาดอาเซียน ดังตอไปนี้

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรบัหนวยงานภาครฐั

1. ดานกฎหมาย ประเทศไทยเคยมีการยกรางพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจแฟรนไซส พ.ศ... ..แตการดําเนินการเพ่ือบังคับใชยังไมแลวเสร็จ จากการศึกษาวิเคราะหธุรกิจแฟรนไซสของประเทศอาเซียน พบวาประเทศมาเลเซียประสบความสําเร็จอยางสูงในการพัฒนาธุรกิจแฟรนไซส เหตุผลหนึ่งเพราะมีกฎหมายธุรกิจแฟรนไซสเปนการเฉพาะ กรณีสิงคโปรแมจะไมมีกฎหมายธุรกิจแฟรนไซสเปนการเฉพาะแตสิงคโปรเปนประเทศท่ีการบังคับใชกฎหมายอ่ืนๆ เขมงวดจึงเอ้ือใหธุรกิจแฟรนไซสเติบโตไดอยางมีศักยภาพ กรณีประเทศไทยการมีกฎหมายธุรกิจแเฟรนไซสเปนการเฉพาะจะสนับสนุนและสรางความเชื่อม่ันใหผูซ้ือและผูขายธุรกิจแฟรนไซสท้ังจากในประเทศและตางประเทศ ท้ังนี้กฎหมายธุรกิจแฟรนไซสตองมีการกําหนดนิยาม กําหนดบทบาทและหนาท่ี รูปแบบความสัมพันธรวมท้ังสิทธิ์ของผูซ้ือและผูขายธุรกิจแฟรนไซส

Page 114: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 100

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ใหชัดเจน กําหนดรูปแบบบการใหสิทธิ์ รวมท้ังควรกําหนดหนวยงานภาครัฐท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบเปนเจาภาพหลักในการพัฒนาธุรกิจแฟรนไซสใหชัดเจน นอกจากการมีกฎหมายธุรกิจแฟรนไซสเปนการเฉพาะมีความจําเปนตอการพัฒนาธุรกิจแฟรนไซสเนื่องจาก ธุรกิจแฟรนไซสมีความเก่ียว ของกับกฎหมายอ่ืนคอนขางมากโดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายคุมครองทรัพยสินทางปญญาท้ังชื่อทางการคา เครื่องหมายการคา และความลับทางการคา เพ่ือเปนการสนับสนุนการขยายธุรกิจแฟรนไซสูตางประเทศ ประเทศไทยควรสนับสนุนใหประเทศสมาชิกอาเซียนเปนสมาชิกภาคีพิธีสารมาดริค (Madrid Protocol) เพ่ือเอ้ือตอการคุมครองทรัพยสินทางปญญาในภูมิภาคนี้ นอกจากนั้นภาครัฐควรจัดทําสัญญาแฟรนไซสมาตรฐานท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพ่ิอใหผูประกอบการใชสําหรับเปนแนวทางในการประกอบธุรกิจ

2. การพัฒนาศักยภาพผูประกอบธุรกิจแฟรนไซสอยางตอเนื่อง องคประกอบสําคัญท่ีสุดท่ีจะสามารถผลักดันใหธุรกิจแฟรนไซสประสบความสําเร็จ คือ ผูประกอบการตองมีความรูและทักษะการบริหารจัดการธุรกิจและตองไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง ท้ังความรูดานจัดการองคกร การเงิน กฎหมาย การตลาดท้ังประเทศและตางประเทศ การประชาสัมพันธ การสรางวิสัยทัศนธุรกิจ ความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม การพัฒนาศักยภาพผูประกอบการสามารถดําเนินการไดในรูปแบบของการจัดฝกอบรมสัมมนา การใหบริการขาวสารขอมูลและความรูท่ีถูกตองและทันสมัยผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดกิจกรรมศึกษาดูงาน ในประเทศและตางประเทศ เพ่ือเปดมุมมองและวิสัยทัศนดาน การคาระหวางประเทศ การแลกเปลี่ยนมุ มมองและประสบการณระหวางผูประกอบการดวยกันเอง ท้ังนี้การจัดฝกอบรมและสัมมนาตองมีการศึกษาประเมินความตองการของผูประกอบการ โดยอาจตองจัด ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการใหเปนการเฉพาะกลุม เชน การตลาดสําหรับธุรกิจแฟรนไซสอาหาร ในการพัฒนาศักยภาพผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชสสูตางประเทศ ทักษะท่ีควรเนนพัฒนาใหมากข้ึนควรเปนหลักสูตรเฉพาะดาน เชน ภาษาอังกฤษสําหรับการเจรจาธุรกิจ ทักษะการเจรจาธุรกิจ การจัดทําเอกสารประชาสัมพันธและแนะนําธุรกิจเพ่ือการขยายตลาดตางประเทศ ความรูความเขาใจเก่ียวกับพ้ืนฐานเศรษฐกิจ กฎหมายและวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน ท้ังนี้ในการพัฒนาศักยภาพผูประกอบการหนวยงานภาครัฐควรสนับสนุนงบประมาณสวนหนึ่งและผูประกอบจายเงินสบทบสวนหนึ่ง ทางเลือกท่ีนาสนใจประการหนึ่งคือการจัดตั้งศูนยบมเพาะธุรกิจแฟรนไซสภายใตความรวมมือของหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของกับการสนับสนุนและสงเสริมธุรกิจแฟรนไชสท้ังหมด เพ่ือใหการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสดําเนินไปอยางเปนระบบและมีความตอเนื่อง โดยอาจคัดเลือกผูประกอบการเปนโครงการบมเพาะนํารองเพ่ือใชเปนกรณีศึกษาการพัฒนาธุรกิจแฟรนไซส

3.การพัฒนามาตรฐานธุรกิจแฟรนไซสไทยอยางตอเนื่อง แมวาตราสินคาไทยจะไดรับการยอมรับและเปนท่ีนิยมอยางกวางขวางในภูมิภาคอาเซียน แตภายใต

การเปดเสรีการคาและการลงทุนท้ังภายใตกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและกรอบคูเจรจาอ่ืนๆ ท่ีอาเซียน

กําลังดําเนินการเจรจา การแขงขันจะมีแนวโนมรุนแรงข้ึน การยกระดับมาตรฐานธุรกิจมีความจําเปนอยางยิ่งตอการเติบโตอยางยั่งยืนของธุรกิจเฟรนไซสไทย การยกระดับมาตรฐานควรมีแผนการพัฒนาระยะกลางและระยะยาวที่ชัดเจนรวมท้ังมีการพัฒนาอยางเปนข้ันตอน มีการประเมินและติดตามผล มีการสรางระบบตัวชี้วัดและจัดเกณฑมาตรฐาน มีการสรางระบบบมเพาะธุรกิจแฟรนไซสอยางเปนข้ันตอน มีระบบการวิเคราะห

Page 115: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 101

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ศักยภาพธุรกิจ มีการใหคําปรึกษาในการพัฒนาอยางเปนระบบและตอเนื่อง รวมท้ังมีการสรางแรงจูงใจเพ่ือกระตุนใหผูประกอบการเรงพัฒนามาตรฐานธุรกิจของตนเอง

ท้ังนีควรจัดทําแผนการพัฒนามาตรฐานธุรกิจแฟรนไชสแหงชาติโดยกําหนดบทบาทและหนาท่ีของหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสไทยใหมีความสอดประสานกันเพ่ือใหการจัดสรรงบประมาณการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด หนวยงานท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาธุรกิจแฟรนไชสประกอบดวยหนวยงานในสังกัดกระทรวงพาณิชย กระทรวงอุตสาหกรรม สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดและขนาดยอมควรประสานการดําเนินงานกันอยางใกลชิด

4. การพัฒนาศักยภาพผูสนใจลงทุนธุรกิจแฟรนไซส การเติบโตอยางมีศักยภาพของธุรกิจแฟรนไชสตองการนักลงทุนท่ีมีความรู ความเขาใจระบบธุรกิจ แฟรนไชส หนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของโดยเฉพาะอยางยิ่งกรมพัฒนาธุรกิจการคานอกจากการดําเนินการพัฒนาศักยภาพผูประกอบการธุรกิจแฟรนชสแลว ควรพัฒนาศักยภาพของนักลงทุนท่ีสนใจลงทุนธุรกิจแฟรนไชสเพ่ือใหมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับธุรกิจแฟรนไชสท้ังดาน การบริหารจัดการ การตลาด และกฎหมายท่ีเก่ียวของกับธุรกิจแฟรนไชสฺ เพ่ือเพ่ิมโอกาสความสําเร็จในการลงทุนธุรกิจแฟรนไชส โดยรวมมือกับสถาบันการศึกษาจัดกิจกรรมใหความรูนักศึกษาจบใหม

5.การพัฒนาระบบฐานขอมูลธุรกิจแฟรนไชส ฐานขอมูลท่ีทันสมัยและถูกตองเปนพ้ืนฐานสําคัญสําหรับการวางแผนเตรียมการเพ่ือพัฒนาธุรกิจ แฟรนไชสใหมีความเขมแข็งสามารถแขงขันไดท้ังตลาดในประเทศและตางประเทศ กรมพัฒนาธุรการคาควรพัฒนาระบบฐานขอมูลธุรกิจแฟรนไชสโดยใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย มีระบบการสํารวจขอมูลเพ่ือใหไดขอมูลท่ีเปนปจจุบัน มีการวิเคราะหเพ่ือใหเห็นแนวโนมการเปลี่ยนเพ่ือใหสามารถวางแผนบริหารจัดการรองรับการเปลี่ยนแปลงไดทันทวงทีและมีประสิทธิภาพ

6.การพัฒนาระบบสินเช่ือสําหรับธุรกิจแฟรนไชส ธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินของรัฐควรใหความสําคัญกับการขยายสินเชื่อสําหรับธุรกิจแฟรนไชสมากข้ึนท้ังสินเชื่อเพ่ือการลงทุนพัฒนธุรกิจแฟรนไชสของผูประกอบการใหมีมาตรฐานสูงข้ึนเพ่ือยกระดับศักยภาพการประกอบการและสินเชื่อสําหรับการลงทุนของนักลงทุนรายใหมท่ีสนใจลงทุนซ้ือแฟรนไซส

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับผูประกอบการธุรกิจแฟรนไซส

การรวมตวัสรางเครือขายธุรกิจแฟรนไชสระดับประเทศและระดับภูมิภาค ประเทศไทยมีความไดเปรียบในดานตําแหนงท่ีตั้งท่ีสามารถเชื่อมโยงกับประเทศส มาชิกอาเซียนไดและมีความพรอมดานธุรกิจแฟรนไซสระดับหนึ่ง ดังนั้น เพ่ือสรางความเปนผูนําดานธุรกิจแฟรนไซส ระดับภูมิภาค ผูประกอบการควรรวมตัวสรางเครือขายเพ่ือสรางเขมแข็งในการประกอบธุรกิจใหมีความเปนเอกภาพมากยิ่งข้ึน ควรจัดกิจกรรมถายทอดความรูและประสบการณระหวางกันเพ่ือใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูท้ังกรณีประสบความสําเร็จและประสบความลมเหลว ผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชสควรใหความสําคัญกับจริยธรรมขององคกร( Code of Ethics) มีการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจของผูประกอบการดวยกันเองควรกฎจริธรรมท่ีเก่ียวของกับการเปดเผยขอมูล

Page 116: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 102

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

การทําการตลาดท่ีมีพ้ืนฐานจากความจริง ไมหลอกหลวงนักลงทุนท่ีสนใจชื้อแฟรนไชส กําหนดแนวทางการดําเนินธุรกิจ มาตรฐานการดําเนินงาน การกํากับดูแลกันเองของผูประกอบการจะเปนพ้ืนฐานท่ีสัญญาใหธุรกิจ แฟรนไชสไทยเติบโตอยางเขมแข็ง นอกจากการรวมระดับประเทศแลวการสรางเครือขายระดับภูมิภาคมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับการขยายตลาดสูภูมิภาค เม่ือเครือขายผูประกอบการธุรกิจแฟรนไชสรวมตัวระดับประเทศไดแลวควรขยายเครือขายออกสูระดับภูมิภาคโดยประสานงานผานสมาคมแฟรนไชสใแตละประเทศโดยอาจใชฐานความสัมพันธท่ีผูประกอบการแฟรนไชสไทยมีอยูแลวในตางประเทศ การประสานความรวมมือระหวางประเทศควรตั้งอยูบนพ้ืนฐานของการขยายโอกาสทางตลาดรวมกันกลาวคือ เปดโอกาสใหแฟรนไชสตางประเทศเขาสูตลาดไทยและแสวงหาโอกาสใหแฟรนไชสไทยเขาสูตลาดตางประเทศ ภาครัฐควรสนับสนุ นใหภาคเอกชนรวมตัวระดับภูมิภาคเโดยสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมท้ังดานการตลาด การถายทอดความรูและประสบการณในระดับภูมิภาค รวมทั้งอาจสนับสนุนงบประมาณในการจางท่ีปรึกษาเพ่ือใหคําแนะนําในการดําเนินกิจกรรมของผูประกอบการ

Page 117: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

บรรรณานกุรม ภาษาไทย ธาราทิพย นิงสานนท , แมแบบกฎหมายของ UNIDROIT ในการเปดเผยขอมูลสําหรับการใหแฟรนไชส

ระหวางประเทศ , วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร , 2548.

ธุรกิจแฟรนไชสกับการจดทะเบียนสัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคา/บริการ ตอนท่ี 2. . [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.ipthailand.go.th/new_template/index2.php?option=com_content&do_pdf=1&id=324

รางพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจแฟรนไชส พ.ศ ..... . [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.dbd.go.th/mainsite/fileadmin/contents/development/files/pdf/Law2.pdf

วลีรัตน เงินชัย, มาตรการทางกฎหมายในการคุมครองการเปดเผยขอมูลแฟรนไชส , วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2550.

วิไลทิพย วัฒนวิชัยกุล , ขอสัญญาไมเปนธรรมในสัญญาแฟรนไชสระหวางประเทศ ศึกษากฎหมายสหรัฐอเมริกาและไทย , วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร , 2550.

อุรารักษ ยอสินธุ, วิเคราะหรางพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจแฟรนไชส พ.ศ. .... , วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2551.

ภาษาตางประเทศ Astreem Consulting Pte. Ltd., Franchising on the Right Side of the Law, 14 June 2011. Business Franchise Guide - Explanations, Laws, cases, rulings, new developments,

Regulation, Indonesia, Regulations—The Provisions on and Procedure for the Implementation of Franchised Business Registration [online]. from: http://lawasiamoot.org/pdf/problem/Indonesian-Franchise-Regulations2012.pdf

BNG Legal, Guide to Business in Cambodia, February 2010. BNG Legal, Intellectual Property in Cambodia, March 2013. Constance Leong, The Legal Environment of Franchising in Singapore and a Comparative

Overview of Franchise Laws in Some Other Countries – Part 1: Existing Singapore Laws. [online]. from: http://www.lawgazette.com.sg/2011-02/12/htm

David Llewelyn, Matthew Shaw and Dian Chen, Protecting Business Secrets in Singapore, Bloomberg Law Reports, Asia Pacific Law Vol.3 No.5, September 2010.

Department of Intellectual Property, Ministry of Commerce, Thailand, [online]. from: http://www.ipthailand.go.th/ipthailand

Diep Hoai Nam and Duong Minh, Legal Aspects of Franchising in Vietnam, The Vietnam Economic Times, June 2006.

Page 118: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 104

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

Doing Business in Indonesia 2012 Commercial Guide for US Company by U.S. & Foreign Commercial Service and U.S. Department of State, 2012 [online]. from: http://export.gov/indonesia/static/2012%20CCG%20Indonesia_Latest_eg_id_050874.pdf

Emil M. Skodon, IPR Toolkit for Brunei Darussalam, U.S. Embassy Bandar Seri Begawan, 2006.

Franchise Act 1998. Incorporating all amendments up to 1 January 2006. [online]. from: http://www.agc.gov.my/Akta/Vol.%2012/Act%20590.pdf

Franchise (Amendment) Act 2012. [online]. from: http://iplawmalaysia.com/legislation/franchise-amendment-act-2012-181.html

Franchising in the Philippines . [online]. from: http://philippines.smetoolkit.org/philippine/en/content/en/6305/Franchising-in-the-Philippines

Investing in a Franchise, Philippine Franchise Association . [online]. From: www.pfa.org.ph Intellectual Property and its Enforcement in Myanmar. [online]. From:

http://www.slideshare.net/ipmyanmar/intellectual-property-and-its-enforcement-compatibility-mode

Jin Nee Wong, Getting the Deal through Franchise in 30 Jurisdictions worldwide 2012 Contributing editor: Philip F Zeidman. [online]. from:

http://www.franchise.org/uploadedFiles/F2012%20Malaysia.pdf Law and Commerce: the Malaysian Perspectives (Chapter 23 Franchise Law in Malaysia).

[online]. from: http://irep.iium.edu.my/16237/1/C23_-_Franchise_law_in_Malaysia.pdf

Law on Commercial Enterprise, . [online]. from: http://www.wipo.int/wipolex/en/details.jsp?id=5969

Le Anh, Franchising in Vietnam, The U.S. Commercial Service, February 2011. LEGISLATION AND REGULATIONS RELEVANT TO FRANCHISING: Malaysia. [online]. from:

http://www.unidroit.org/english/guides/2007franchising/country/malaysia.htm Max Ng Chee Weng and Maan Kaur Bajaj, Franchise in 33 Jurisdictions Worldwide –

Singapore, 2009. National Seminar on Trademark and the Franchising Sector on 13th and 14the December

2010 organized by WIPO. [online]. from: http://www.slideshare.net/ipmyanmar/the-current-trademark-administration-in-myanmar-and-franchising-sector

National Strategies Aimed at Strengthening the Competitiveness of Small and Medium Enterprises through IP presented by Witt Yee Hlaing, Ministry of Science and Technology . [online]. from: http://smemyanmar.net/uploads/myanmar-report/03-national-strategies.pdf

Phillip F Zeidman, Franchise in 30 Jurisdiction Worldwide 2012, Indonesia pp. 83 - 89

Page 119: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 105

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

Russin & Vecchi, Vietnam: Legal Framework for Franchising in Vietnam, 15 December 2011. Starting a Business : Franchising, Bureau of Micro, Small and Medium Enterprise

Development, Department of Trade and Industry. 2009 [online]. from: www.dti.gov.ph Stephen Giles, Franchising in the Asia-Pacific Region. [online]. from:

www.images.thewebconsole.com/.../files/4e962b211e479.pdf The Government Regulation on Franchise No 42/2007 [online]. from:

http://buletinbisnis.wordpress.com/2008/03/25/the-government-regulation-on- Franchise-no-42/2007

The Legal Environment of Franchising in Singapore and a Comparative Overview of Franchise Laws in Some Other Countries - Part 2: Franchise-specific Laws in Some Other Countries. [online]. from: http://www.lawgazette.com.sg/2011-03/42.htm

The Role of Trademarks in Myanmar: A Glance at the Trademark Registration System of Myanmar [online]. from: http://www.lawgazette.com.sg/2012-01/305.htm

Thomas J. Treutler, Franchising Law in Vietnam, March 2010. U.S. Commercial Service, Department of Commerce, United States of America, Doing

Business in Cambodia, Country Commercial Guide for U.S. Companies, 2010. U.S. Commercial Service, Department of Commerce, USA, Doing Business in Laos: 2012

Country Commercial Guide for U.S. Companies.

Page 120: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 106

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

แหลงขอมูลออนไลน http://www.ipos.gov.sg/AboutIP/TypesofIPWhatisIntellectualProperty/Whatisatradesecretcon

fidentialinformation.aspx http://www.wipo.int/wipolex/en/results.jsp?countries=SG&cat_id=4 http://moj.gov.vn/vbpq/en/Pages/vbpq.aspx?loaivb=Law http://www.wipo.int/wipolex/en/profile.jsp?code=BN http://www.agc.gov.bn http://www.wipo.int/wipolex/en/profile.jsp?code=LA http://www.training-jpo.go.jp/en/uploads/japanese/Ms.%20Souligna%20Sisonmuck_en(lao).ppt

Page 121: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ภาคผนวก

Page 122: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ภาคผนวก ก รายช่ือแฟรนไชสระหวางประเทศดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประกอบการใน AEC

(แยกตามประเทศเจาของสิทธิแฟรนไชส)

1. แฟรนไชสท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูใน AEC

ช่ือแฟรนไชส ประเทศเจาของสิทธ ิ

(Franchisor) ประเทศรบัชวงสิทธิ

(Franchisee)

BlackCanyon Coffee ไทย กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร สิงคโปร

Blue Elephant ไทย อินโดนีเซีย

COCA SUKI ไทย อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร สิงคโปร

ThaiExpress ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร เวียดนาม The Pizza Company ไทย กัมพูชา ลาว มาเลเซีย เวียดนาม True Coffee ไทย ลาว Kebab Turki Baba Rafi อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส Ayam Penyet AP มาเลเซีย บรูไน Bangi Kopitiam มาเลเซีย อินโดนีเซีย Chicken King มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย Daily Fresh มาเลเซีย อินโดนีเซีย Marrybrown มาเลเซีย อินโดนีเซีย เมียนมาร (2556) Nelson’s มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย OLDTOWN WHITE COFFEE มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร

Secret Recipe มาเลเซีย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย

SugarBun มาเลเซีย บรูไน Chowking Foods ฟลิปปนส อินโดนีเซีย Figaro ฟลิปปนส มาเลเซีย Ice Monster ฟลิปปนส มาเลเซีย ไทย Jollibee ฟลิปปนส บรูไน เวียดนาม Mocha Blends ฟลิปปนส อินโดนีเซีย Potato Corner ฟลิปปนส อินโดนีเซีย มาเลเซีย 4 Fingers Crispy Chicken สิงคโปร ฟลิปปนส Berrylite สิงคโปร มาเลเซีย BreadTalk สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ไทย เวียดนาม Brotzeit International สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม Crystal Jade My Bread สิงคโปร อินโดนีเซีย

Page 123: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 109

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ประเทศเจาของสิทธ ิ

(Franchisor) ประเทศรบัชวงสิทธิ

(Franchisee)

Fish&Co สิงคโปร บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส

Killiney Kopitiam สิงคโปร อินโดนีเซีย มาเลเซีย PastaMania สิงคโปร บรูไน RE&S สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม Roti Mum สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส Seoul Garden สิงคโปร อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส เวียดนาม Thai Village Restaurant สิงคโปร อินโดนีเซีย เวียดนาม Tung Lok สิงคโปร อินโดนีเซีย Waraku สิงคโปร อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย Wee Nam Kee สิงคโปร ฟลิปปนส Ya Kun Kaya Toast สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส Pho24 เวียดนาม กัมพูชา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส Trung nguyen cafe’ เวียดนาม สิงคโปร 2. แฟรนไชสท่ีประเทศเจาของสิทธิอยูภายนอก AEC

ช่ือแฟรนไชส ประเทศเจาของสิทธ ิ

(Franchisor) ประเทศรบัชวงสิทธิ

(Franchisee) BBQ CHICKEN เกาหลีใต กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร LOTTERIA เกาหลีใต อินโดนีเซีย เวียดนาม Tous Les Jours เกาหลีใต ฟลิปปนส เวียดนาม Sarpino's Pizzeria แคนาดา กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ไทย

เวียดนาม Pepper Lunch ญี่ปุน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร

ไทย เวียดนาม New Zealand Natural นิวซีแลนด อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร

ไทย Delifrance ฝรั่งเศส มาเลเซีย สิงคโปร ไทย Marche International สวิสเซอรแลนด อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร A&W สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร

ไทย Baskin-Robbins สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ไทย

เวียดนาม Bud’s Ice Cream สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สิงคโปร ไทย Carl's Jr. สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร

Page 124: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 110

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ประเทศเจาของสิทธ ิ

(Franchisor) ประเทศรบัชวงสิทธิ

(Franchisee) ไทย เวียดนาม

Cinnabon สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย ฟลิปปนส ไทย Coffee Bean & Tea Leaf สหรัฐอเมริกา กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส

สิงคโปร เวียดนาม DairyQueen สหรัฐอเมริกา บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย

ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย Domino’s Pizza สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร

ไทย เวียดนาม Haagen Dazs สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร

ไทย Hartz Chicken Buffet สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย Illy Cafe’ สหรัฐอเมริกา กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส

สิงคโปร ไทย เวียดนาม Kenny Roger`s Roasters สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร KFC สหรัฐอเมริกา บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส

สิงคโปร ไทย เวียดนาม McDonalds สหรัฐอเมริกา บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

เมียนมาร ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

Mrs. Fields สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ไทย Pho Hoa สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร Pizza Hut สหรัฐอเมริกา บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส

สิงคโปร ไทย เวียดนาม Popeye’s สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ไทย

เวียดนาม Quiznos สหรัฐอเมริกา ฟลิปปนส สิงคโปร Round Table Pizza สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย เวียดนาม Spinelli Coffee สหรัฐอเมริกา กัมพูชา อินโดนีเซีย สิงคโปร Starbucks สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร

ไทย เวียดนาม Subway สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม SWENSEN’S สหรัฐอเมริกา บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย

เมียนมาร (2013) ฟลิปปนสสิงคโปร ไทย เวียดนาม

TCBY สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย Tutti Frutti สหรัฐอเมริกา บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย

Page 125: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 111

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ประเทศเจาของสิทธ ิ

(Franchisor) ประเทศรบัชวงสิทธิ

(Franchisee) ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม

Yogen Fruz สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ไทย เวียดนาม

Chocolate Graphics ออสเตรเลีย มาเลเซีย สิงคโปร เวียดนาม Gloria Jean`s Coffees ออสเตรเลีย กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส

สิงคโปร เวียดนาม Costa Coffee อังกฤษ กัมพูชา ท่ีมา: 1. Indonesian Franchise and Business Opportunity Information Center 2. Malaysian Franchise Association 3. Philippines Franchise Association 4. Franchising and Licensing Association (Singapore) 5. Website www.vietnamfranmart.com (Franchise and Business Opportunity) 6. Website /www.thaifranchisecenter.com/ 7. Website ของบรษิทั franchisor

Page 126: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 112

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ภาคผนวก ข รายช่ือแฟรนไชสดานอาหารและเครื่องดื่มท่ีประกอบการใน AEC

(แยกตามประเทศท่ีเขาไปประกอบการ) 1. บรไูน

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิJollibee อาหารและเครื่องดื่ม ฟลิปปนส Ayam Penyet AP อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Chicken King อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Nelson’s อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Secret Recipe อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย SugarBun เบเกอรี่/อาหารวาง มาเลเซีย DailyQueen อาหารดวน/ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา KFC อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา McDonalds อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Pizza Hut อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา SWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Tutti Frutti Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Fish&Co อาหาร สิงคโปร PastaMania อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร 2. กัมพูชา

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิBBQ CHICKEN อาหารและเครื่องดื่ม เกาหลีใต Pho24 อาหารและเครื่องดื่ม เวียดนาม Sarpino's Pizzeria อาหาร แคนาดา BlackCanyon Coffee อาหารและเครื่องดื่ม ไทย The Pizza Company อาหารและเครื่องดื่ม ไทย Lucky Burger อาหารดวน กัมพูชา Secret Recipe อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Coffee Bean & Tea Leaf เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา DailyQueen อาหารดวน/ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Illy Cafe’ เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา KFC อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Spinelli Coffee เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา SWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Tutti Frutti Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Fish&Co อาหาร สิงคโปร Gloria Jean’s Coffees เครื่องดื่ม ออสเตรเลีย Costa Coffee เครื่องดื่ม อังกฤษ

Page 127: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 113

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

3.รายชื่อแฟรนไชสในอินโดนีเซีย

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Abra Kebab อาหาร (Kebab) Ajib Burger อาหาร (แฮมเบอรเกอร) Aladine Kebab อาหาร (Kebab) Anya Kebab อาหาร (Kebab) Asia Martabak Jepang อาหารและเครื่องดื่ม Asta Food – Gorengan ala Fried Chicken อาหารและเครื่องดื่ม Ayam & Bebek Kremes Kriuuuk อาหารและเครื่องดื่ม Ayam Bakar Pondok As-Salam อาหารและเครื่องดื่ม Ayam Goreng Sabana Fried Chicken อาหาร (ไกทอด) Bakmi Alim – Mie Herbal อาหารเสน (Noodle) Bakmi Gila อาหารและเครื่องดื่ม Bakmi Golek อาหารเสน (Noodle) Bakmi Jawa อาหารเสน (Noodle) Bakmi Langgara อาหารเสน (Noodle) Bakmi Margonda อาหารเสน (Noodle) Bakmi Raos Mie อาหารเสน (Noodle) Bakmi Tebet อาหารเสน (Noodle) Bakso Atom อาหารและเครื่องดื่ม Bakso Iga Sapi Surabaya อาหารและเครื่องดื่ม Bakso Keju – Bakso Isi Kreatif อาหารและเครื่องดื่ม Bakso Kota Cak Man Malang อาหารและเครื่องดื่ม Bakso Malang Kota Cak Eko อาหารและเครื่องดื่ม Bebek Kremes Wong Jogja อาหารและเครื่องดื่ม Bejo Donut – Donat Polandia อาหารวาง (โดนัท) Berkatea เครื่องดื่ม Betani – Mie Bandung อาหารดวน Bobby Steak อาหารและเครื่องดื่ม Bola Ubi Madoo – Ubi Madu Cilembu อาหาร Brooaster Chicken อาหารดวน Brownies Martabak เบเกอรี่ Brownies Martabak Valentino’s เบเกอรี่ Bu Tari – Pecel Ponorogo อาหารและเครื่องดื่ม Buana Bakery เบเกอรี่ Bubble Ice Shop เครื่องดื่ม Bubur’Qu – Bubur Cepat Saji อาหาร

Page 128: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 114

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Burger & Crepes Umiku – Sistem Syariah อาหารดวน (เบอรเกอรและเครป) BurgerQu อาหารดวน Burstea เครื่องดื่ม Cak Tri – Ayam & Bebek Goreng Sambel Bledeg อาหาร (ไกทอด) Cal Donat อาหารวาง (โดนัท) Campina Ice Cream ไอศกรมี Cetroo Coffee Latte เครื่องดื่ม Chicken and Shake อาหารและเครื่องดื่ม Chicken Chicks อาหาร Chicken Story อาหาร Cita Rasa Pelangi (Mie Ayam & Bakso) อาหารเสน (Noodle) Coffee Break Cafe อาหารและเครื่องดื่ม Coffee Shake Blended เครื่องดื่ม Coffee Toffee เครื่องดื่ม Cokelat Kocok “The Real Choco Shake” เครื่องดื่ม Corner Kebab อาหารและเครื่องดื่ม Country Donut โดนัท Crispy Fried Chicken อาหาร (ไกทอด) D’brusli Crepes อาหารดวน d’Cup CornEr อาหาร D’Goda Coffee เครื่องดื่ม Daily Bread เบเกอรี่ Daim Donuts อาหารวาง (โดนัท) Delavie Franchise อาหาร deParis Crepes & Ice Tea อาหารและเครื่องดื่ม Dobbi Chicken – Ayam Goreng อาหาร Dokar – Donat Bakar อาหาร Donat Kentang P-DO อาหารวาง (โดนัท) Double Dipps Donuts & Coffee อาหารวาง (โดนทัและกาแฟ) Edam Burger อาหารดวน Es Codot เครื่องดื่ม Es Goyang – Es Krim เครื่องดื่มและไอศกรีม Es Goyang Cello เครื่องดื่มและไอศกรีม Es Jamu Cak Bejo เครื่องดื่มเพ่ือสุขภาพ Es Teh Cap Poci เครื่องดื่ม Es Walikota – Es Buah Prasmanan เครื่องดื่ม Escargot d’Djava – Sate and Siput อาหาร

Page 129: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 115

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Good Tea – Teh Hijau & Melati เครื่องดื่ม Grek – Chocolate & Coffee เครื่องดื่ม Happy Froyo – Frozen Yoghurt เครื่องดื่ม Hoka Hoka Bento อาหารญี่ปุน HopHop Bubble Drink เครื่องดื่ม Ice Cendol Idol เครื่องดื่ม Ichel Food – Bakso Ichel อาหารเสน (Noodle) Iga Bakar Jogja อาหาร Jasuke Cup Corn – Jagung Manis ของวาง Java Donuts – Donat Bakar อาหารวาง (โดนทัและกาแฟ) JCO Donuts อาหารวาง (โดนทัและกาแฟ) Jesslyn K Cakes อาหารและเบเกอรี่ Jolali – Soto Ayam Kampoeng Suroboyo อาหาร Justmine Pisang Ijo อาหาร Kaisar Fruits Juice – Jus Buah เครื่องดื่ม Kampoeng Doeloe – Taman Lesehan อาหารและเครื่องดื่ม Kebab Turki Baba Rafi อาหาร Kedai Pancake Bakar อาหารและเครื่องดื่ม Kedai Pizza อาหาร (พิซซา) Klenger Burger อาหารดวน Kriux Fried Chicken อาหาร Kroket Mamih อาหาร L3 Cireng Isi อาหาร Loyal Crepes อาหาร/อาหารวาง Lucky Crepes อาหาร/อาหารวาง Lup Lup Bubble Drink เครื่องดื่ม Mabasa – Makaroni Banyak Rasa อาหาร Mac Kriuuk Mac Kreezzz อาหาร MagFood Amazy อาหารและเครื่องดื่ม Mammamia Spaghetti Bakar อาหาร Martabak Alim อาหาร Martabak House อาหาร Martabak Ufo อาหาร Mbok Berek อาหาร Mi Hotplet อาหาร Mie Ayam Grobakan อาหาร Mie Lekker – Bakmi Ayam อาหาร

Page 130: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 116

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Mie Tarik Laiker อาหาร Mie Yamie อาหาร Misterblek Blended Coffee เครื่องดื่ม MixTea – Rasa Teh Yang Beda เครื่องดื่ม Momochi (Premium Mochi Ice Cream) ไอศกรมี Mr Piss อาหาร Mr Tacoz อาหาร Muakhi – Martabak Bandung อาหาร My Baagaa – Burger Jepang อาหารดวน My Bakso อาหาร My Bento อาหารดวน My Crepes อาหารวาง Nasi Goreng (Nasgor) Borobudur อาหาร Nasi Goreng 69 อาหาร Nasi Uduk Gondangdia อาหารและเครื่องดื่ม Nelsons Burger อาหารดวน On The Spot Coffee เครื่องดื่ม Orange Crepes อาหารวาง Orchi Fried Chicken อาหาร Papa Xous อาหารและเครื่องดื่ม Pasco (Passion of Chocolate) เครื่องดื่ม Pempek Jawara อาหาร Pempek Patrol อาหาร Picazzo Burger อาหาร Pisa Franchise อาหาร Pizza Rakyat อาหาร Pota Potatoes – Kentang Bumbu Renyah อาหาร Puto Pao อาหารและของวาง Quick Tea – Bisnis Teh เครื่องดื่ม Radja Burger อาหาร Revo Indonesia – Tea, Ice, Coffee เครื่องดื่ม RooBeans Float Shake อาหารและเครื่องดื่ม Roti Buana อาหาร Roti Jala Jvla อาหาร Roti Maryam Aba Abi อาหาร Royal Pohong อาหาร Rumah Biskuit บิสกิต

Page 131: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 117

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Salsa Chicken and Burger อาหารดวน Sate Kenanga อาหาร Sausan Kebab อาหารและเครื่องดื่ม Semerbak Coffee Blend เครื่องดื่ม Solo Chicken Barokah อาหาร Solo Rasa Angkringan อาหารและเครื่องดื่ม Stara Pizza อาหารและเครื่องดื่ม Starblend Coffee เครื่องดื่ม Steak O อาหาร StreetBucks Coffee เครื่องดื่ม Suga Fried Chicken and Kebab อาหาร Super Bubble – Fresh & Healthy Drink เครื่องดื่ม Super Tela อาหาร SuperSub – Submarine Sandwich อาหาร Surabi Cimoet Bandung อาหารและเครื่องดื่ม Sweet Burger อาหาร Ta Bnana Pisang Goreng อาหาร Tahu Bulat Bumbu – TaBoeBoe อาหาร Tahu Crispy อาหาร Tahu Kreess อาหาร Tahu Petis Yudhistira อาหารและเครื่องดื่ม Takeshi Bento อาหาร Takoyaki – Oishii Tako อาหารญี่ปุน Tastea – Ice Tea / Es Teh เครื่องดื่ม Teh Gopek เครื่องดื่ม Teh Poci, Tong Tji & Tea Booth เครื่องดื่ม Teh Sofia เครื่องดื่ม Tela Krezz อาหาร Tela Tela – Fried Cassava อาหาร Tela-Tela 77 อาหารดวน/อาหารวาง Tofuku – Tahu Krispi อาหาร Toper Bubble Drink เครื่องดื่ม Toper Crepes อาหาร Torabika Station – Kopi & Burger อาหาร Umbi Stick อาหาร Waroeng Bebek Kraton อาหาร Waroeng Kebab อาหาร

Page 132: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 118

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Waroeng Starduck – Bebek Peking อาหารและเครื่องดื่ม Yogen Crepes อาหาร Yoshiku Bento อาหาร Yusugi – Martabak Manis & Telor อาหาร เจาของสิทธิ : แฟรนไชสจากตางประเทศ

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิภายในกลุม AEC Pho24 อาหารและเครื่องดื่ม เวียดนาม BlackCanyon Coffee อาหารและเครื่องดื่ม ไทย Blue Elephant อาหารและเครื่องดื่ม ไทย COCA SUKI อาหาร ไทย ThaiExpress อาหารและเครื่องดื่ม ไทย Chowking Foods อาหารและเครื่องดื่ม ฟลิปปนส Mocha Blends อาหารและเครื่องดื่ม ฟลิปปนส Potato Corner อาหารวาง ฟลิปปนส Bangi Kopitiam อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Bread Story เบเกอรี่ มาเลเซีย Chicken King อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Daily Fresh อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Marrybrown อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย Nelson’s อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย OLDTOWN WHITE COFFEE เครื่องดื่ม มาเลเซีย Rotiboy อาหาร มาเลเซีย Secret Recipe อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย BreadTalk เบเกอรี่ สิงคโปร BreadTalk เบเกอรี่ สิงคโปร Crystal Jade My Bread เบเกอรี่ สิงคโปร Fish&Co อาหาร สิงคโปร Killiney Kopitiam อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Roti Mum อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Seoul Garden อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Thai Village Restaurant อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Tung Lok อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Waraku อาหาร สิงคโปร Ya Kun Kaya Toast อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร ภายนอกกลุม AEC

Page 133: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 119

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิLick Me Baked Donuts & Cookies

เครื่องดื่มและอาหารวาง เกาหลีใต

LOTTERIA อาหารดวน เกาหลีใต Sarpino's Pizzeria อาหาร แคนาดา Pepper Lunch อาหารและเครื่องดื่ม ญี่ปุน New Zealand Natural ไอศกรมี นิวซีแลนด Marche International อาหารและเครื่องดื่ม สวิสเซอรแลนด A&W อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Arby’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Auntie Anne’s เบเกอรี่ สหรัฐอเมริกา Baskin-Robbins ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Burger King อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Carl's Jr. อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Coffee Bean and Tea Leaf เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา DailyQueen อาหารดวน/ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Domino’s Pizza อาหาร สหรัฐอเมริกา Dunkin’ Donuts อาหารวาง (โดนทัและกาแฟ) สหรัฐอเมริกา Haagen Dazs ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Hard Rock Cafe’ อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Hartz Chicken Buffet อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Illy Cafe’ เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา KFC อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Krispy Kreme อาหารวางและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา McDonalds อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Mrs. Fields เบเกอรี่ สหรัฐอเมริกา Pizza Hut อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Popeye’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Round Table Pizza อาหาร/Pizza สหรัฐอเมริกา Spinelli Coffee เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Starbucks เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Starbucks เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา SWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Tutti Frutti Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Wendy’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Yogen Fruz Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Gloria Jean’s Coffees เครื่องดื่ม ออสเตรเลีย

Page 134: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 120

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

4. ลาว ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิ

BlackCanyon Coffee อาหารและเครื่องดื่ม ไทย COCA SUKI อาหาร ไทย The Pizza Company อาหารและเครื่องดื่ม ไทย True Coffee เครื่องดื่ม ไทย KFC อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา SWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา 5. มาเลเซีย เจาของสิทธิ : แฟรนไชสของมาเลเซีย

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ 1901 food for friendship อาหารและเครื่องดื่ม Ani Sup Utara อาหารและเครื่องดื่ม Asam Pedas อาหารและเครื่องดื่ม Ayam Penyet AP อาหารและเครื่องดื่ม Baguz Bytes & Baguz อาหารและเครื่องดื่ม Bahulu Warisan อาหารและเครื่องดื่ม Bangi Kopitiam อาหารและเครื่องดื่ม Chelos อาหารและเครื่องดื่ม Chicken King อาหารและเครื่องดื่ม Coffee Classic อาหารและเครื่องดื่ม D`Tandoor อาหารและเครื่องดื่ม Daily Fresh อาหารวาง/ไอศกรมี Dave`s Deli อาหารและเครื่องดื่ม Deli G อาหารและเครื่องดื่ม Dunya Kebab อาหารและเครื่องดื่ม E&W Food Service & Pita Hut อาหารและเครื่องดื่ม Fish Shop อาหารและเครื่องดื่ม Hoca Coffee เครื่องดื่ม Hot & Roll อาหาร ICILY ไอศกรมี Juice Fusion เครื่องดื่ม Kings Confectionary เบเกอรี่ Kyros Kebab อาหาร Laksa Shack อาหารและเครื่องดื่ม Legend`s Claypot Briyani House อาหาร Little Taiwan `Malaysian Origin` อาหารและเครื่องดื่ม

Page 135: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 121

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Malaysia Exotic Meals อาหารและเครื่องดื่ม Mama Chops Papa Grills อาหารและเครื่องดื่ม Marrybrown อาหารและเครื่องดื่ม MEATWORKS อาหารและเครื่องดื่ม Nelson`s อาหารวาง/ไอศกรมี/เครื่องดื่ม New Restaurant Ipoh Chicken Rice อาหาร Noosa Bakery เบเกอรี่ OLDTOWN WHITE COFFEE อาหารและเครื่องดื่ม Only Mee อาหารและเครื่องดื่ม OTAI อาหารและเครื่องดื่ม Pappa Rich Kopitiam อาหารและเครื่องดื่ม Sakura Kristal Cafe and Restaurant อาหารและเครื่องดื่ม Sate King อาหารและเครื่องดื่ม SCR & SCR Express อาหารและเครื่องดื่ม Secret Recipe อาหารและเครื่องดื่ม Serai Satay Bar อาหารและเครื่องดื่ม Shokudo อาหารและเครื่องดื่ม Strudels เบเกอรี่/อาหาร SuChan Deli อาหารและเครื่องดื่ม SugarBun อาหารและเครื่องดื่ม Sun Flower Homemade Cakes เบเกอรี่ Syazanaz Palace อาหารและเครื่องดื่ม SYED BISTRO อาหารและเครื่องดื่ม Ta Chi Nyonya House อาหารและเครื่องดื่ม Tako Tao อาหาร The Soya Shop อาหาร Yau Yat Seng อาหารและเครื่องดื่ม เจาของสิทธิ : แฟรนไชสจากตางประเทศ

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิภายในกลุม AEC BlackCanyon Coffee อาหารและเครื่องดื่ม ไทย COCA SUKI อาหาร ไทย ThaiExpress อาหารและเครื่องดื่ม ไทย Figaro อาหารและเครื่องดื่ม ฟลิปปนส Ice Monster ขนมหวาน ฟลิปปนส Potato Corner อาหารวาง ฟลิปปนส

Page 136: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 122

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิBerrylite เครื่องดื่ม/ไอศกรมี สิงคโปร Brotzeit International อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Fish&Co อาหาร สิงคโปร Killiney Kopitiam อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร RE&S อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Seoul Garden อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Waraku อาหาร สิงคโปร Kebab Turki Baba Rafi อาหารและเครื่องดื่ม อินโดนีเซีย ภายนอกกลุม AEC BBQ CHICKEN อาหารและเครื่องดื่ม เกาหลีใต Sarpino's Pizzeria อาหาร แคนาดา Pepper Lunch อาหารและเครื่องดื่ม ญี่ปุน New Zealand Natural ไอศกรมี นิวซีแลนด Delifrance เบเกอรี่ ฝรั่งเศส Marche International อาหารและเครื่องดื่ม สวิสเซอรแลนด A&W อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Baskin-Robbins ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Bud’s Ice Cream ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Carl's Jr. อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Cinnabon อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Coffee Bean & Tea Leaf เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา DailyQueen อาหารดวน/ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Domino’s Pizza อาหาร สหรัฐอเมริกา Haagen Dazs ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Hard Rock Cafe’ อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Hartz Chicken Buffet อาหาร สหรัฐอเมริกา Illy Cafe’ เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Kenny Roger`s Roasters อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา KFC อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา McDonalds อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Pho Hoa อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Pizza Hut อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Popeye’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Starbucks เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Subway อาหาร สหรัฐอเมริกา SWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา TCBY Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา

Page 137: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 123

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิTutti Frutti Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Yogen Fruz Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Chocolate Graphics ขนมหวาน ออสเตรเลีย Gloria Jean`s Coffees อาหารและเครื่องดื่ม ออสเตรเลีย 6. เมียนมาร

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิBlackCanyon Coffee อาหารและเครื่องดื่ม ไทย COCA SUKI อาหาร ไทย Marrybrown (near future) อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย SWENSEN’S (2013) ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา 7. รายช่ือแฟรสไชสในฟลิปปนส เจาของสิทธิ : แฟรนไชสของฟลิปปนส

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ 3M Pizza Pie อาหาร Aboy อาหารและเครื่องดื่ม AMAZING CONES อาหารดวน Andok’s Food Corp. อาหาร ANTZ THE BREAD FACTORY อาหาร Arce Dairy ไอศกรมี Aristocrat Restaurant (Roxas Food Ventures, Inc.) อาหาร Bibingkinitan อาหารดวน Bigg's Diner อาหาร Boy Chinoy อาหารและเครื่องดื่ม Bread & Butter ( J.G. Macciri & Co., Inc. ) อาหารวาง Brothers Burger อาหาร Cabalen อาหาร Cafe Via Mare & Oyster Bar อาหารและเครื่องดื่ม California Berry Yogurt โยเกิรต/ไอศกรมี Candy Corner ขนมหวาน CB Grill อาหารและเครื่องดื่ม Chic-Boy อาหาร Chicko Country Chicken อาหาร Chinky’s อาหารดวน Chowking Foods อาหารและเครื่องดื่ม Delongtes อาหารและเครื่องดื่ม

Page 138: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 124

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Dencio's Bar & Grill อาหาร Dimsum Republic อาหาร Figaro อาหารและเครื่องดื่ม Fiorgelato (Milkin Corp.) อาหาร Fruit Magic อาหารและเครื่องดื่ม Fruitas เครื่องดื่ม Gerry’s Grill อาหารและเครื่องดื่ม Goldilocks Bakeshop อาหาร Goodah!!! อาหาร Greenwich Pizza Corporation อาหาร Hap Chan Tea House อาหาร Happy Haus Donuts โดนัท Hero Sausages (Hero Deli Food Inc.) อาหารดวน HONG KONG STYLE NOODLES & DIMSUM อาหาร Hotshots Flame - Grilled Burgers (Ultimate Burgers, Inc.)

อาหาร

Hungry Juan (San Miguel Foods Inc.) อาหาร Ice Monster ขนมหวาน Ineng's Special BBQ อาหาร JOLLIANT RAPSA PINOY อาหาร Jollibee อาหารดวน Julies Bakeshop เบเกอรี่ KERRIMO เครื่องดื่ม/อาหารวาง KUYA’S SPECIAL LUMPIANG SARIWA EMPEñO – REYES FOODS CO. LTD.

อาหาร

LUGAW QUEEN อาหาร Magic Melt อาหารวาง/เบเกอรี่ Magnolia Chicken Station อาหาร Mang Inasal อาหาร Max's Restaurant อาหาร MEXICALI อาหาร Minute Burger อาหารดวน Mocha Blends อาหารและเครื่องดื่ม

Page 139: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 125

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ Padi's Point อาหารและเครื่องดื่ม Pancake House อาหารและเครื่องดื่ม Pansit Malabon Express อาหาร Pier One Bar & Grill อาหาร Pinoy Ice Scramble ไอศกรมี Pixie's Sinugba อาหาร Pizza Pedrico's อาหาร Potato Corner อาหารดวน Potdog Yummy Yes Delights อาหารดวน Red Ninja Dimsum (siomai, siopao) อาหารและเครื่องดื่ม Red Ribbon Bakeshop เบเกอรี่ Ribbon Fries อาหาร Sam's Everything On Stick อาหาร Sari-Sari Breadstore อาหาร Shakey’s Pizza อาหาร Slice n Dice Steakhouse อาหาร Smokey's อาหารดวน Teriyaki Boy อาหาร The Coffee Beanery เครื่องดื่ม The Coffee Experience (TCE Franchise Corp.) เครื่องดื่ม Waffle Time อาหารวาง Yellow Cab Pizza Company อาหาร

Page 140: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 126

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

เจาของสิทธิ : แฟรนไชสจากตางประเทศ ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิ

ภายในกลุม AEC Pho24 อาหารและเครื่องดื่ม เวียดนาม Secret Recipe อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย 4 Fingers Crispy Chicken อาหารดวน สิงคโปร BreadTalk เบเกอรี่ สิงคโปร Fish&Co อาหาร สิงคโปร Roti Mum อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Seoul Garden อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Wee Nam Kee อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Ya Kun Kaya Toast อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Kebab Turki Baba Rafi อาหารและเครื่องดื่ม อินโดนีเซีย ภายนอกกลุม AEC Caffe Bene อาหารและเครื่องดื่ม เกาหลีใต Tous Les Jours อาหารและเครื่องดื่ม เกาหลีใต Pepper Lunch อาหารและเครื่องดื่ม ญี่ปุน New Zealand Natural ไอศกรมี นิวซีแลนด A&W อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Carl's Jr. อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Cinnabon อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Coffee Bean & Tea Leaf เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา DailyQueen อาหารดวน/ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Domino’s Pizza อาหาร สหรัฐอเมริกา Haagen Dazs ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Hard Rock Cafe’ อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Illy Cafe’ เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Kenny Roger`s Roasters อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา KFC อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Krispy Kreme อาหารวางและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา McDonald’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Mister Donut โดนัท สหรัฐอเมริกา Mrs. Fields เบเกอรี่ สหรัฐอเมริกา Pho Hoa อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Pizza Hut อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Quiznos อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Starbucks เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Subway อาหาร สหรัฐอเมริกา

Page 141: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 127

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิSWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Tutti Frutti Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Wendy’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Gloria Jean’s Coffees เครื่องดื่ม ออสเตรเลีย Oliver's Super Sandwiches อาหารและเครื่องดื่ม ฮองกง 8. สิงคโปร เจาของสิทธิ : แฟรนไชสของสิงคโปร

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ

4 Fingers Crispy Chicken อาหารดวน Berrylite Frozen Yogurt BreadTalk เบเกอรี่ Brotzeit International อาหารและเครื่องดื่ม Crystal Jade My Bread เบเกอรี่ Dian Xiao Er อาหาร Fish&Co อาหาร Gelateria Italia ไอศกรมี Han's อาหารและเครื่องดื่ม Killiney Kopitiam อาหารและเครื่องดื่ม Lerk Thai อาหารและเครื่องดื่ม Little Bali อาหารและเครื่องดื่ม Long Beach Seafood Restaurant อาหารและเครื่องดื่ม Nanyang Old Coffee เครื่องดื่ม Pasta Fresca Da Salvatore อาหาร PastaMania อาหาร Prima Deli เบเกอรี่ Ramen Ten อาหาร RE&S อาหาร Roti Mum อาหารและเครื่องดื่ม Sakae Sushi อาหาร Seoul Garden อาหารและเครื่องดื่ม Snackz it! อาหาร/อาหารวาง Thai Village Restaurant อาหารและเครื่องดื่ม Tung Lok อาหารและเครื่องดื่ม VeganBurg อาหาร Waraku อาหาร

Page 142: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 128

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ

Wee Nam Kee อาหารและเครื่องดื่ม Ya Kun Kaya Toast อาหารและเครื่องดื่ม Yogurt Place Frozen yogurt เจาของสิทธิ : แฟรนไชสจากตางประเทศ

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิ

ภายในกลุม AEC Trung nguyen cafe’ เครื่องดื่ม เวียดนาม BlackCanyon Coffee อาหารและเครื่องดื่ม ไทย COCA SUKI อาหาร ไทย ThaiExpress อาหารและเครื่องดื่ม ไทย OLDTOWN WHITE COFFEE เครื่องดื่ม มาเลเซีย Secret Recipe อาหารและเครื่องดื่ม มาเลเซีย ภายนอกกลุม AEC BBQ CHICKEN อาหารและเครื่องดื่ม เกาหลีใต Sarpino's Pizzeria อาหาร แคนาดา O'Briens Irish Sandwich Bar อาหาร ไอรแลนด Pepper Lunch อาหารและเครื่องดื่ม ญี่ปุน New Zealand Natural ไอศกรีมและอาหารวาง นิวซีแลนด Delifrance อาหารและเครื่องดื่ม ฝรั่งเศส Marche International อาหารและเครื่องดื่ม สวิสเซอรแลนด A&W อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Baskin-Robbins ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Bud’s Ice Cream ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Carl's Jr. อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Coffee Bean & Tea Leaf เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา DailyQueen อาหารดวน/ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Domino’s Pizza อาหาร สหรัฐอเมริกา Haagen Dazs ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Hard Rock Cafe’ อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Illy Cafe’ เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Kenny Roger`s Roasters อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา KFC อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Marble Slab Creamery ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา McDonalds อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา

Page 143: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 129

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิ

Pho Hoa อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Pizza Hut อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Popeye’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Quiznos อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Spinelli Coffee อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Starbucks เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Subway อาหาร สหรัฐอเมริกา SWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Tutti Frutti Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Yogen Fruz Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Andersen's Ice-cream ไอศกรมี ออสเตรเลีย Chocolate Graphics ขนมหวาน ออสเตรเลีย Gloria Jean`s Coffees อาหารและเครื่องดื่ม ออสเตรเลีย 9. เวียดนาม

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิ

ภายในกลุม AEC Kinh Do Bakery เบเกอรี่ เวียดนาม Pho24 อาหาร เวียดนาม Trung nguyen cafe’ เครื่องดื่ม เวียดนาม Wrap & Roll อาหาร เวียดนาม ThaiExpress อาหารและเครื่องดื่ม ไทย Jollibee อาหารและเครื่องดื่ม ฟลิปปนส BreadTalk เบเกอรี่ สิงคโปร Brotzeit International อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร RE&S อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Seoul Garden อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร Thai Village Restaurant อาหารและเครื่องดื่ม สิงคโปร ภายนอกกลุม AEC LOTTERIA อาหารดวน เกาหลีใต Tous Les Jours เบเกอรี่ เกาหลีใต Sarpino's Pizzeria อาหาร แคนาดา Pepper Lunch อาหารและเครื่องดื่ม ญี่ปุน Baskin-Robbins ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Carl's Jr. อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Coffee Bean & Tea Leaf เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา

Page 144: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 130

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ช่ือแฟรนไชส ลักษณะของกิจการ ประเทศเจาของสิทธ ิ

Domino’s Pizza อาหาร สหรัฐอเมริกา Illy Cafe’ เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา KFC อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา McDonalds อาหารและเครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Pizza Hut อาหาร/delivery สหรัฐอเมริกา Popeye’s อาหารดวน สหรัฐอเมริกา Round Table Pizza อาหาร/Pizza สหรัฐอเมริกา Starbucks เครื่องดื่ม สหรัฐอเมริกา Subway อาหาร สหรัฐอเมริกา SWENSEN’S ไอศกรมี สหรัฐอเมริกา Tutti Frutti Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Yogen Fruz Frozen Yogurt สหรัฐอเมริกา Chocolate Graphics ขนมหวาน ออสเตรเลีย Gloria Jean’s Coffees เครื่องดื่ม ออสเตรเลีย ท่ีมา: 1. Indonesian Franchise and Business Opportunity Information Center 2. Malaysian Franchise Association 3. Philippines Franchise Association 4. Franchising and Licensing Association (Singapore) 5. Website www.vietnamfranmart.com (Franchise and Business Opportunity) 6. Website www.thaifranchisecenter.com/ 7. Website ของบรษิทั franchisor

Page 145: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

ภาคผนวก ค.

ตัวอยางสัญญา

FRANCHISE AGREEMENT This Agreement is made and entered into by and between [ABC], an Illinois

corporation (“FRANCHISOR”), with its principal office at _________________, and [XYZ] (“FRANCHISEE”) with its principal office at _________________.

1. BUSINESS BACKGROUND AND PRELIMINARY AGREEMENTS FRANCHISOR and its affiliated company, [DEF] (“DEF”), have developed a full

service store offering for retail sale bulk gourmet coffees, teas, beverages, coffee and tea makers and related supplies, accessories and gifts. These stores are known as ABC COFFEES STORES (hereinafter referred to as a “ABC STORE(S)”). Most ABC STORES carry beverages for immediate consumption on the premises, including coffee, espresso, cappuccino and tea. In addition, some ABC STORES carry pastries, cookies and baked goods and have seating areas. FRANCHISOR and DEF have also developed a kiosk concept and a cart concept, both offering beverages and certain other products offered by ABC STORES (hereinafter referred to as a “ABC KIOSK(S)” and a “ABC CART(S)”). (Unless otherwise specified, all references to ABC STORES herein include ABC KIOSKS and ABC CARTS.) Products authorized by FRANCHISOR for sale by ABC STORES are referred to herein as the “PRODUCTS.” All such ABC STORES are operated with uniform formats, signs, equipment, layout, systems, methods, procedures and designs which utilize a unique architectural design, offer uniform products, and utilize certain trademarks, service marks, trade dress and other commercial symbols, including “XXXXX” “XXXXX” and “XXXXX.” (Such trademarks, service marks and other commercial symbols are hereinafter referred to as the “Names and Marks.”) ABC STORES operate at locations that feature a distinctive format and method of doing business, including color scheme, signs, equipment, layouts, systems, methods, procedures, designs and marketing and advertising standards and formats (the “XXXX System”), any element of which FRANCHISOR can modify from time-to-time and with which FRANCHISEE will promptly comply.

FRANCHISOR grants to qualified persons franchises to own and operate ABC

STORES, ABC KIOSKS and ABC CARTS offering the PRODUCTS authorized and approved by FRANCHISOR and utilizing the XXXX System and the Names and Marks. FRANCHISEE has applied for a franchise to own and operate an ABC STORE, an ABC KIOSK or an ABC CART at

Page 146: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 132

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

the premises identified in Paragraph A of Section 2 below and such application has been approved by FRANCHISOR in reliance upon all of the representations made therein.

FRANCHISEE acknowledges receiving and reading this Agreement and any addenda

hereto and FRANCHISOR’s Uniform Franchise Offering Circular (with all exhibits) and has been given an opportunity to clarify any provision FRANCHISEE did not understand. FRANCHISEE further acknowledges that he understands and accepts the terms, conditions and covenants contained in this Agreement as being reasonably necessary to maintain FRANCHISOR’s high standards of quality and service and the uniformity of those standards at all ABC STORES and thereby to protect and preserve the goodwill of the Names and Marks.

2. GRANT AND RENEWAL OF FRANCHISE A. GRANT OF FRANCHISE Subject to the provisions of this Agreement, FRANCHISOR hereby grants to

FRANCHISEE a franchise (the “FRANCHISE”) to operate a [ ] ABC STORE or [ ] ABC KIOSK or [ ] ABC CART (check one) (the “STORE”) and to use the Names and Marks and the XXXX System during the Term (as defined below) at the following location: ……………….. (the “Location”). FRANCHISEE may not relocate the STORE for any purpose, including, without limitation, a temporary relocation for the purpose of remodeling, without prior written consent of FRANCHISOR. FRANCHISEE also may not sell any PRODUCTS at other locations or through other channels of distribution without prior written consent of FRANCHISOR, including, without limitation, utilizing any computer media or electronic media (e.g., World Wide Web, Internet, electronic mail, bulletin boards, FTP, newsgroup and the like). Any attempt to do so shall be a material breach hereof.

FRANCHISEE acknowledges and agrees that FRANCHISOR’s approval of the

Location does not constitute an assurance, representation or warranty of any kind, express or implied, as to the suitability of the Location for an ABC STORE. FRANCHISOR’s approval of the Location indicates only that FRANCHISOR believes the Location complies with acceptable minimum criteria established by FRANCHISOR solely for its purposes as of the time of the evaluation. FRANCHISEE further acknowledges and agrees that its acceptance of a franchise for the operation of an ABC STORE at the Location is based on its own independent investigation of the suitability of the site. It shall be the sole responsibility of FRANCHISEE to undertake site selection and otherwise secure premises for the STORE.

Page 147: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 133

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

B.NON-EXCLUSIVITY The FRANCHISE is a “spot” franchise only and is awarded for a single location

only. FRANCHISEE does not have and has not paid for, any “exclusive territory” or any “exclusive,” “protected” or “reserved” territorial or other rights, and no such rights are granted or will be inferred. FRANCHISOR (on behalf of itself and its affiliates) retains all rights with respect to ABC STORES, the Names and Marks, the sale of PRODUCTS and any other products and services, anywhere in the world, including, without limitation: (a) the right to operate or grant others the right to operate gourmet coffee stores and/or other coffee beverage facilities under the Names and Marks or any other trademark at such locations as it deems appropriate regardless of the proximity to the STORE and on such terms and conditions as FRANCHISOR and its affiliates deem appropriate; (b) the right to roast, develop, wholesale, market, distribute and sell PRODUCTS through any channel of distribution (including, without limitation, mail order, the Internet, and wholesale) under or in association with the Names and Marks or any other trademark; and (c) the right to roast, develop, wholesale, market, distribute or sell any other product or service or own or operate any other business under the Names and Marks or any other trademark.

C. RIGHT OF FIRST OPPORTUNITY If, during the term of this Agreement, FRANCHISEE is in compliance with this

Agreement and FRANCHISOR decides to establish and/or grant a franchisee the right to establish an ABC STORE in the shopping mall in which the STORE is located, FRANCHISOR will give FRANCHISEE the opportunity to be considered for such ABC STORE. In those circumstances, FRANCHISOR will provide FRANCHISEE with notification of its intent, and may require FRANCHISEE to submit to FRANCHISOR, within thirty (30) days after FRANCHISOR’s notification, any information and material that FRANCHISOR then typically considers in selecting franchisees and granting franchises in order to determine whether FRANCHISEE’s application should be accepted. FRANCHISEE acknowledges the foregoing right of opportunity is only available if the STORE is located in a shopping mall and that FRANCHISOR’s obligation to consider FRANCHISEE for additional ABC STORES apply only with respect to ABC STORES to be located in the same shopping mall as the STORE. In the event FRANCHISOR accepts FRANCHISEE’s application, FRANCHISEE must acquire an additional franchise for the operation of the ABC STORE by executing FRANCHISOR’s then current form of franchise agreement and paying FRANCHISOR the then current initial franchise fee.

Page 148: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 134

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

D. TERM Subject to earlier termination pursuant to Section 13, the term of this Agreement

shall begin on the effective date of this Agreement as provided in Section 25 and end on the ten (10) year anniversary of such effective date or the expiration of the initial term of the lease or sublease for the STORE, whichever shall first occur (the “Term”).

E. RENEWAL OF FRANCHISE If upon expiration of the initial term of the FRANCHISE: (1) FRANCHISEE has fully

and continuously complied with this Agreement and all other agreements with FRANCHISOR (and/or any affiliate of FRANCHISOR), in each case without any defaults, cured or uncured, during the Term; and (2) FRANCHISEE maintains possession of the premises of the STORE and, prior to any renewal term beginning, refurbishes, remodels, expands and otherwise brings the STORE and its operation into full compliance with all then-applicable standards (including then-applicable design standards, including equipment) applicable to franchises awarded for new ABC STORES and in compliance with any lease or sublease requirements applicable to the STORE premises, then FRANCHISEE shall have the right to renew the FRANCHISE for a single additional term for a period of ten (10) years or the remaining term of the lease or sublease, whichever is less; provided, however, that in no event shall FRANCHISOR be obligated to negotiate or obtain any renewal, extension or otherwise of any lease or sublease, or solicit or accept any proposal from the landlord (or other person/entity controlling the premises) for a renewal, extension or otherwise of any lease or sublease, even if on the same terms and conditions as have previously been applicable to the premises.

Such renewal shall be with payment of a non-refundable (unless renewal is

denied) renewal franchise fee equal to fifty percent (50%) of FRANCHISOR’s then-current initial franchise fee for a first ABC STORE franchise. FRANCHISEE (and its owners) must also execute a general release in a form approved by FRANCHISOR releasing any and all claims, liabilities and/or obligations against FRANCHISOR and its affiliates, officers, directors, employees, agents, successors and assigns.

In connection with any renewal, FRANCHISEE must meet FRANCHISOR’s then-

current qualification and training requirements. FRANCHISOR may require FRANCHISEE and/or any of its personnel to attend and successfully complete any retraining program(s), and at such times and location(s), as FRANCHISOR then specifies. There will be no charge for any retraining program(s), but FRANCHISEE will be responsible for all compensation, travel, meals, lodging and other expenses of its personnel.

Page 149: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 135

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

F. MANNER OF RENEWAL Renewal of the FRANCHISE shall be effected by the execution by FRANCHISOR and

FRANCHISEE of FRANCHISOR’s then-current form of franchise agreement (which may provide for higher royalty fees and advertising contributions and other significant provisions of which may vary, but without any further term, successor franchise or right of renewal), general releases and all other agreements and legal instruments and documents then customarily used by FRANCHISOR in the grant of franchises for the ownership and operation of an ABC STORE. FRANCHISEE agrees to notify FRANCHISOR not more than nine (9) months nor less than six (6) months prior to expiration of the Term in writing of FRANCHISEE’s election to renew the FRANCHISE and pay the renewal fee at the same time. If FRANCHISOR refuses to renew the FRANCHISE, FRANCHISOR shall state the reasons for its refusal. Failure or refusal by FRANCHISEE to execute such agreements, instruments and documents necessary to renew the FRANCHISE within sixty (60) days after delivery thereof to FRANCHISEE shall be deemed an election by FRANCHISEE not to renew the FRANCHISE.

3. DEVELOPMENT AND OPENING OF STORE A. LEASE OR SUBLEASE OF PREMISES OF STORE FRANCHISEE will contemporaneously with the execution of this Agreement or such

later date specified by FRANCHISOR, lease or sublease the Location in the form and manner prescribed by FRANCHISOR and deliver a copy of such lease or sublease to FRANCHISOR at least 15 days prior to the execution thereof. FRANCHISOR has the right to review and approve any lease or sublease for the premises of the STORE. FRANCHISEE agrees not to execute any lease or sublease which has not been approved in writing by FRANCHISOR. FRANCHISEE shall neither create nor purport to create any obligations on behalf of FRANCHISOR, not grant or purport to grant to the landlord thereunder any rights against FRANCHISOR, nor agree to any other term, condition, or covenant which is inconsistent with any provision of this Agreement. The lease obtained by FRANCHISEE shall be collaterally assigned to FRANCHISOR pursuant to the terms of FRANCHISOR’s standard collateral assignment of lease form, to secure the performance by FRANCHISEE of its obligations hereunder. The lease or sublease for the premises of the STORE shall contain substantially the following provisions:

(1) “Anything contained in this lease to the contrary notwithstanding, Lessor agrees

that, without its consent, this lease and the right, title and interest of the Lessee

Page 150: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 136

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

hereunder, may be assigned by the Lessee to ……………….. or its designee; provided that said corporation shall execute such documents evidencing its agreement to thereafter keep and perform, or cause to be kept and performed, all of the obligations of the Lessee arising under this lease from and after the time of such assignment.”

(2) “Lessee hereby agrees that Lessor may, upon the written request of

…………………………., disclose to said corporation all reports, information or data in Lessor’s possession with respect to sales made in, upon or from the leased premises.”

(3) “Lessor shall give written notice to ………………………….. concurrently with the

giving of such notice to Lessee of any default or non-renewal by Lessee under the lease and the said corporation shall have, after the expiration of the period during which the Lessee may cure such default, an additional fifteen (15) days to cure, at its sole option, any such default.”

(4) “ABC or its designee will have an option, without cost or expense to ABC or its

designee, to assume the lease upon termination or expiration of the Franchise Agreement for any reason.”

The lease may not contain any non-competition covenant which purports to

restrict FRANCHISOR, its affiliates or any of FRANCHISOR’s franchisees or licensees from operating an ABC STORE or any other retail establishment.

B. DEVELOPMENT OF THE STORE Following the effective date and prior to any construction or renovation of the

STORE, FRANCHISOR shall provide FRANCHISEE with copies of FRANCHISOR’s standard specifications for the design and layout of a typical ABC STORE and required leasehold improvements. FRANCHISEE shall, in all respects, comply with all such specifications and criteria unless FRANCHISOR shall, in writing, agree to modifications thereof. FRANCHISEE shall employ licensed architects, engineers and general contractors, at its sole cost and expense, to prepare such architectural, engineering and construction drawings and site plans (collectively referred to as the “Constructions Documents”), and/or to modify the standard Construction Documents which may be provided by FRANCHISOR; and to obtain all permits required to construct, remodel, renovate, and/or equip the STORE. All such Construction Documents, and all modifications and revisions thereto, shall be submitted to FRANCHISOR for its prior review and approval before FRANCHISEE’s commencement of construction pursuant thereto. FRANCHISOR may, from time to time, provide a list of recommended architects and/or general contractors.

Page 151: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 137

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

When completed, the STORE shall in all respects strictly comply with

FRANCHISOR’s specifications therefor, as modified or revised if applicable with FRANCHISOR’s prior written consent. FRANCHISEE must submit to FRANCHISOR one (1) set of “Project Record Drawings” within sixty (60) days of the STORE opening. “Project Record Drawings” are hereby defined as the set of Construction Documents that are marked to show the changes made in the field, with particular attention paid to the information on concealed elements (e.g. underground utilities) that cannot be readily identified at a later time. Such drawings should be clearly marked as “Project Record Drawings.”

C. FIXTURES, EQUIPMENT, STOREFRONT, SUPPLIES AND SIGNS FRANCHISEE agrees to use in the operation of the STORE those fixtures, items of

equipment, supplies and signs that FRANCHISOR has approved for an ABC STORE as meeting its specifications and standards for appearance, function, design, quality and performance. FRANCHISEE further agrees to place or display at the premises of the STORE (interior and exterior) only such signs, emblems, lettering, logos and display materials that are from time to time approved in writing by FRANCHISOR. If FRANCHISEE proposes to purchase, lease or otherwise use any fixture, equipment, supply or sign which is not then approved by FRANCHISOR, FRANCHISEE shall first notify FRANCHISOR in writing and shall submit to FRANCHISOR sufficient specifications, photographs, drawings and/or other information or samples for a determination by FRANCHISOR of whether such fixture, equipment, supply or sign complies with its specifications and standards, which determination shall be made and communicated in writing to FRANCHISEE within a reasonable time.

D. STORE OPENING FRANCHISEE agrees to use its best efforts to merchandise the STORE as soon as

possible after obtaining possession of the STORE premises and to open the STORE for business and commence the conduct of its business by the period required by FRANCHISEE’s lease or sublease or, if sooner, within five (5) days after notice from FRANCHISOR that it is in suitable condition therefor. FRANCHISOR may, as it may so deem appropriate, supply an employee who will for a period up to seven (7) days assist FRANCHISEE in the opening of the STORE.

Page 152: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 138

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

E. TERMINATION UPON FAILURE OF FRANCHISEE TO OPEN THE STORE If FRANCHISEE fails to lease or sublease the STORE premises as required by

Paragraph A of this Section 3, or fails to proceed with the merchandising of the STORE as required by or fails to open the STORE by the date required in Paragraph E of this Section 3, FRANCHISOR, at its sole option, shall have the right to terminate this Agreement effective upon giving written notice to FRANCHISEE.

F. GRAND OPENING PROGRAM FRANCHISEE agrees to spend between ……………… and ……………. to conduct grand

opening advertising and promotions, such advertising and promotions (which must be approved in advance in writing by FRANCHISOR) to occur within the four (4) month period following the opening of the STORE for business.

4. TRAINING AND OPERATING ASSISTANCE A. TRAINING Prior to the opening of the STORE, FRANCHISOR shall furnish and FRANCHISEE (or

the Managing Owner (as defined in Section 6.L) if FRANCHISEE is a business entity) shall attend and complete to FRANCHISOR’s satisfaction a training program on the operation of an ABC STORE, furnished at such time and place as FRANCHISOR may designate. Such training will be given by FRANCHISOR without charge; provided that FRANCHISEE shall be solely responsible for the compensation of the trainees as well as such trainees’ travel, lodging and personal expenses. Such training will consist of and four (4) to five (5) weeks of in store training, three (3) days of classroom training, and such additional days as FRANCHISOR may elect of training. If FRANCHISEE (or the Managing Owner) fails to complete training to FRANCHISOR’s satisfaction, FRANCHISOR may require such person to undergo further training by FRANCHISOR at a time scheduled by FRANCHISOR, until FRANCHISOR is satisfied that FRANCHISEE (or the Managing Owner) has satisfactorily completed the training course. In such event, FRANCHISEE shall advance or reimburse, at FRANCHISOR’s option, all direct and indirect costs and expenses that FRANCHISOR may incur for the wages, lodging, subsistence and travel of FRANCHISOR’s personnel for the duration of the extended training and shall pay FRANCHISOR the then-current standard training fee charged by FRANCHISOR.

Page 153: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 139

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

B. HIRING AND TRAINING OF EMPLOYEES BY FRANCHISEE FRANCHISEE shall hire all employees of the STORE, be exclusively responsible for

the terms of their employment and compensation and implement a training program for employees of the STORE in compliance with FRANCHISOR’s standards. FRANCHISEE agrees to maintain at all times a staff of trained employees sufficient to operate the STORE in compliance with FRANCHISOR’s standards. FRANCHISEE agrees that all management personnel hired by FRANCHISEE may be required to sign an agreement containing non-competition and confidential information covenants substantially similar to those contained in Paragraph E of Section 14 and in Section 7 herein.

C. OPERATING ASSISTANCE FRANCHISOR will advise FRANCHISEE from time to time of operating problems of

the STORE disclosed by reports submitted to or inspections made by FRANCHISOR. Further, FRANCHISOR will furnish to FRANCHISEE such assistance in connection with the operation of the STORE as is from time to time deemed appropriate by FRANCHISOR. Operating assistance may consist of advice and guidance with respect to:

(1) methods and operating procedures utilized by an ABC STORE or the STORE; (2) additional products and services authorized for an ABC STORE; (3) purchasing of PRODUCTS and supplies; (4) formulating and implementing advertising, merchandising and promotional

programs; and (5) the establishment of administrative, bookkeeping, accounting, inventory

control, sales training and general operating procedures for the proper operation of an ABC STORE.

FRANCHISEE understands and agrees that all advice and guidance provided by

FRANCHISOR is only supportive of the operation of the STORE and that the overall success of the STORE is primarily dependent upon FRANCHISEE’s business abilities and efforts. FRANCHISOR will not charge FRANCHISEE for such operating assistance unless such operating assistance is made necessary by FRANCHISEE’s failure to comply with this Agreement or if FRANCHISEE requests operating assistance in excess of what is normally provided by FRANCHISOR. Any such charges will be reasonable and payable upon FRANCHISEE’s receipt of an invoice for the same.

Page 154: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 140

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

5. OPERATING MANUAL FRANCHISOR will loan to FRANCHISEE during the term of the FRANCHISE one copy

of an operating manual, which consists of one or more manuals (hereinafter referred to as the “OPERATING MANUAL”), for an ABC STORE containing mandatory and suggested specifications, standards and operating procedures prescribed from time to time by FRANCHISOR for an ABC STORE and information relative to other obligations of FRANCHISEE hereunder. FRANCHISOR shall have the right to add to and otherwise modify the OPERATING MANUAL from time to time to reflect changes in the type or quantity of authorized PRODUCTS, standards of service or product quality, the operation of an ABC STORE or to meet competition. Any such addition or modification takes precedence over all prior communications and in the event of a dispute, the master OPERATING MANUAL maintained at FRANCHISOR’s office shall control. The provisions of the OPERATING MANUAL as modified from time to time by FRANCHISOR and communicated to FRANCHISEE constitute provisions of this Agreement and as such are binding upon FRANCHISEE. The OPERATING MANUAL contains proprietary information of FRANCHISOR and FRANCHISEE agrees to keep the OPERATING MANUAL and information contained therein confidential at all times during and after the term of the FRANCHISE.

6. STORE IMAGE AND OPERATING STANDARD A. CONDITION AND APPEARANCE OF STORE FRANCHISEE agrees to maintain the condition and appearance of the STORE

consistent with the image of an ABC STORE as an attractive, clean, convenient and efficiently operated specialty shop offering high quality PRODUCTS and efficient and courteous service, and pleasant ambiance. FRANCHISEE agrees to effect such maintenance of the STORE as is reasonably required from time to time to maintain such condition, appearance and efficient operation, including, without limitation, replacement of worn out or obsolete fixtures, equipment and signs, repair of the interior and exterior of the STORE and periodic cleaning and decorating or as is required by FRANCHISEE’s lease or sublease. FRANCHISEE shall also replace and/or add additional fixtures and equipment which FRANCHISOR at a later day may require to be installed in all the ABC STORES. If at any time in FRANCHISOR’s reasonable judgment the general state of repair, appearance or cleanliness of the premises of the STORE or its fixtures, equipment or signs does not meet FRANCHISOR’s standards therefor, FRANCHISOR shall so notify FRANCHISEE, specifying the action to be taken by FRANCHISEE to correct such deficiency. If FRANCHISEE fails or refuses to initiate within fifteen (15) days after receipt of such notice or such lesser period required by the lease or sublease, and thereafter continue a bona fide program to undertake and

Page 155: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 141

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

complete any such required maintenance, FRANCHISOR shall have the right (in addition to its rights under Section 13), but shall not be obligated, to enter upon the premises of the STORE and effect such repairs, painting and replacement of fixtures, equipment or signs on behalf of FRANCHISEE and FRANCHISEE shall pay the entire costs therefor to FRANCHISOR on demand.

B. ALTERATIONS TO THE STORE FRANCHISEE shall make no material alterations to the leasehold improvements or

appearance of the STORE nor shall FRANCHISEE make any material replacements of or alterations to the fixtures, equipment or signs of the STORE without prior written approval by FRANCHISOR and any approval that may be necessary under the lease or sublease for the premises.

C. REFURBISHING THE STORE At FRANCHISOR’s request, which shall not be more than once every five (5) years,

FRANCHISEE shall refurbish the STORE at its own expense to conform to the building design, trade dress, color schemes, and presentation of the Names and Marks in a manner consistent with the image then in effect for new ABC STORES under the XXXX System, including, without limitation, remodeling, redecoration, structural changes, and modifications to existing improvements and equipment.

D. AUTHORIZED PRODUCTS The presentation of a uniform image to the public and the offering of uniform

product lines is an essential element of a successful franchise system. FRANCHISEE therefore agrees that the STORE will offer brands and types of PRODUCTS and services from time to time specified by FRANCHISOR. FRANCHISEE further agrees that the STORE will not, without prior written approval by FRANCHISOR, offer any other products or services nor shall the STORE or the premises which it occupies be used for any purpose other than the operation of an ABC STORE in compliance with this Agreement and FRANCHISEE’s lease or sublease for the premises.

E. APPROVED BRANDS AND/OR SUPPLIES The reputation and goodwill of ABC STORES is based upon, and can be

maintained only by, the sale of high-quality products. FRANCHISEE therefore agrees that the STORE will only offer for sale authorized PRODUCTS as specified by FRANCHISOR and other products approved for the STORE from time to time as being acceptable and from

Page 156: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 142

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

approved suppliers. The term PRODUCTS as used in this Agreement, include all products hereafter approved and/or developed by FRANCHISOR. FRANCHISOR may from time to time modify the list of approved brands and/or suppliers and FRANCHISEE shall not, after receipt in writing of such modification, reorder any brand or from any supplier which has been determined to be no longer of acceptable quality. Subject to Section 6.F. below, if FRANCHISEE proposes to sell any product of a brand which has not been approved as being acceptable or from a supplier which has not been approved, it shall first notify FRANCHISOR in writing and submit sufficient photographs, drawings, specifications, samples and/or other information concerning the product and/or the supplier and FRANCHISOR shall, within a reasonable time, notify FRANCHISEE in writing whether or not such proposed brand and/or such proposed supplier is acceptable. FRANCHISOR may approve a supplier for any PRODUCTS and may approve a supplier only as to certain PRODUCTS. FRANCHISOR may concentrate purchases with one or more suppliers to obtain lower prices and/or the best advertising support and/or services for a group of ABC STORES owned or franchised by FRANCHISOR or its affiliates. FRANCHISOR and its affiliates reserve the right to receive revenue from approved suppliers based on transactions with franchisees and FRANCHISOR (or its affiliate). Approval of a supplier may be conditioned on requirements related to the frequency of delivery, standards of service, including prompt attention to customer complaints, consistency and reliability and may be temporary pending a further evaluation of such supplier by FRANCHISOR. FRANCHISOR will require any supplier applying for approval to allow FRANCHISOR or its affiliates to inspect the proposed supplier’s facilities to assist FRANCHISOR in determining if the proposed supplier meets FRANCHISOR’s criteria. FRANCHISEE shall at all times maintain an adequate and representative inventory of PRODUCTS, sufficient in quality, quantity and variety, to satisfy customer demand and realize the full potential of the STORE, as prescribed from time to time by FRANCHISOR. The inventory of the STORE shall contain a representative number of each “XXXX” brand or other private brands of FRANCHISOR which shall be given representative display area. FRANCHISOR shall not have any liability to FRANCHISEE if FRANCHISOR is at any time unable for any reason to offer any “XXXX” brand or other brand of PRODUCTS for purchase by FRANCHISEE or at competitive prices. Certain PRODUCTS may be offered by an affiliate of FRANCHISOR.

F. SUPPLIERS OF COFFEE In recognition that the quality and uniformity of the coffee carried by ABC STORES

are of paramount importance to the reputation and goodwill of ABC STORES, FRANCHISEE must purchase all coffee offered at the STORE from DEF. In the event DEF ceases supplying FRANCHISEE with coffee, FRANCHISOR will designate another supplier or suppliers of coffee. In such event, FRANCHISEE may propose a supplier to FRANCHISOR in

Page 157: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 143

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

accordance with the procedure for obtaining approval of suppliers with respect to other PRODUCTS offered by FRANCHISEE, set forth in Section 6.E. above. In addition to the criteria listed in Section 6.E. a proposed supplier must also meet FRANCHISOR’s criteria as to the size of the coffee bean, the method of preparation of the bean, the region of origin of the bean, the quality of flavoring used in bean preparation the consistency of bean color and moisture content after roasting, the type of packaging and the type of roaster used. FRANCHISOR will require any supplier applying for approval to allow FRANCHISOR or its affiliates to inspect the proposed supplier’s roasting facilities and green bean purchase contracts to assist FRANCHISOR in determining if the proposed supplier meets FRANCHISOR’s criteria.

G. USE OF SUPPLIES IMPRINTED WITH NAMES AND MARKS FRANCHISEE shall in the operation of the STORE use displays, boxes, bags, paper,

forms, packaging materials, labels and other paper and plastic products and supplies imprinted with the Names and Marks as prescribed from time to time by FRANCHISOR.

H. STANDARDS OF SERVICE The STORE shall at all times give prompt, courteous and efficient service to its

customers. FRANCHISEE and the STORE shall in all dealings with customers, suppliers and the public adhere to the highest standards of honesty, integrity, fair dealing and ethical conduct.

I. DETERIORATED PRODUCTS AND COMPLAINTS FRANCHISEE shall not advertise, offer for sale or sell any damaged, molded or

deteriorated PRODUCTS or PRODUCTS which are “out of date” as provided in the OPERATING MANUAL or as specified on the PRODUCT itself. All damaged, molded, deteriorated or “out of date” PRODUCTS shall be withdrawn from sale and removed from the STORE. All reasonable complaints by customers shall be honored pursuant to the policy set forth in the OPERATING MANUAL.

J. SPECIFICATIONS, STANDARDS AND PROCEDURES FRANCHISEE agrees to comply with all mandatory specifications, standards and

operating procedures (whether contained in the OPERATING MANUAL or any other document or notice) relating to the operation of an ABC STORE and the STORE, including, without limitation, those relating to:

Page 158: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 144

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(1) type, quality and shelf life of PRODUCTS offered; (2) PRODUCT dating programs, including removal of “out of date” PRODUCT; (3) merchandising techniques; (4) the safety, maintenance, cleanliness, function and appearance of the STORE

premises and its fixtures, equipment and signs; (5) uniforms and aprons to be worn by and general appearance of STORE

employees; (6) use of Names and Marks; (7) hours during which the STORE will be open for business; (8) use and retention of standard forms; (9) use and illumination of signs, posters, displays, standard formats and similar

items; and (10) identification of FRANCHISEE as the owner of the STORE. Mandatory specifications, standards and operating procedures prescribed from

time to time by FRANCHISOR in the OPERATING MANUAL or otherwise communicated to FRANCHISEE in writing, shall constitute provisions of this Agreement as if fully set-forth herein. All references herein to this Agreement shall include all such mandatory specifications, standards and operating procedures. Though FRANCHISOR retains the right to establish and periodically modify such mandatory specifications, standards and operating procedures which FRANCHISEE has agreed to maintain in the operation of the STORE, FRANCHISEE retains the right and sole responsibility for the day-to-day management and operation of the STORE and the implementation and maintenance of such mandatory specifications, standards and operating procedures at the STORE.

K. COMPLIANCE WITH LAWS AND GOOD BUSINESS PRACTICES FRANCHISEE shall secure and maintain in force all required licenses, permits and

certificates relating to the operation of the STORE and shall operate the STORE in full compliance with all applicable laws, ordinances and regulations, including, without limitation, all government regulations relating to handling of food products, occupational hazards and health, worker’s compensation insurance, unemployment insurance and withholding and payment of federal, state and local income taxes, social security taxes and sales taxes. All advertising and promotion by FRANCHISEE shall be completely factual and shall conform to the highest standards of ethical advertising. FRANCHISEE agrees to refrain from any business or advertising practice which may be injurious to the business of

Page 159: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 145

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

FRANCHISOR and the goodwill associated with the Names and Marks and other ABC STORES.

L. MANAGEMENT OF THE STORE The STORE shall be managed by FRANCHISEE. If FRANCHISEE is a corporation,

partnership or limited liability company, one of the owners of FRANCHISEE must be designated as the “Managing Owner” who must be a natural person who owns and controls not less than ten percent (10%) of the equity and voting power of FRANCHISEE. FRANCHISEE (or the Managing Owner) must have at least two (2) years of retail or restaurant management experience. FRANCHISEE (or the Managing Owner) must complete, to the satisfaction of FRANCHISOR, the training program. If FRANCHISEE (or the Managing Owner) has completed the franchise training, FRANCHISEE shall be qualified to train its managers. If and in the event FRANCHISOR, in its sole discretion, determines that the FRANCHISEE (or the Managing Owner) is not properly performing his duties, FRANCHISOR shall advise FRANCHISEE and FRANCHISEE shall take such corrective measures as are necessary to immediately rectify the situation. FRANCHISEE shall keep FRANCHISOR informed at all times of the identity of any Managing Owner(s) of the STORE.

M. CONFLICTING AND COMPETING INTERESTS FRANCHISEE agrees that FRANCHISEE will at all times faithfully, honestly and

diligently perform its obligations hereunder, that it will continuously exert its best efforts to promote and enhance the business of the STORE and that it will not engage in any business or other activity that will conflict with its obligations hereunder. FRANCHISEE shall not divert elsewhere any trade, commerce or business which ordinarily would be transacted by FRANCHISEE in or from the STORE and to this end, FRANCHISEE shall not at any time sell or rent to anyone any list of customers or permit the use of such list by anyone for any purpose other than the mailing of advertising material for the STORE. FRANCHISEE further agrees that neither FRANCHISEE nor any of its owners (through a member of the immediate family of FRANCHISEE or an owner of FRANCHISEE or otherwise) will, during the term of the FRANCHISE, have any interest as an owner of (except of publicly-traded securities or interests in other ABC STORES pursuant to other franchise agreements with FRANCHISOR or its affiliates), or assist or perform services as a director, officer, employee, consultant, representative, agent, or in any other capacity for, any other business principally offering products substantially similar to the PRODUCTS then being offered by the majority of the ABC STORES, nor will they have any interest, as aforesaid, in

Page 160: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 146

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

any entity which franchises or otherwise grants to others the right to sell products similar to the PRODUCTS then being offered by the majority of the ABC STORES.

N. INSURANCE FRANCHISEE shall obtain and maintain insurance coverage with an insurance

company approved by FRANCHISOR, which approval shall not be unreasonably withheld as follows:

(1) comprehensive general liability insurance (including products liability); with

coverage of ………… to ……………. combined single limit for death, personal injury, and …………………… property damage coverage;

(2) business liability annual aggregate coverage of ………………..; (3) business interruption insurance, including Continuing Royalty coverage, for 12

months after casualty, in amounts equal to at least ………………..; (4) workers’ compensation insurance coverage of ……………… per employee,

…………… per accident, ……………….. per disease; and (5) windstorm, fire, and extended coverage insurance, insuring the construction of

improvements and completed STORE operated by FRANCHISEE, for the full replacement value thereof.

In the event of damage to the STORE covered by insurance, the proceeds of any

such insurance shall be used to restore the STORE to its original condition (but in accordance with FRANCHISOR’s then-current standards and specifications) as soon as possible, unless such restoration is prohibited by the lease or FRANCHISOR has otherwise consented to in writing. FRANCHISEE shall promptly provide to FRANCHISOR proof of such insurance coverage upon the obtaining of such insurance, and at such other times upon the request of FRANCHISOR.

FRANCHISEE shall, prior to opening the STORE, file with FRANCHISOR, certificates of

such insurance and shall promptly pay all premiums on the policies as they become due. All such liability insurance policies shall name FRANCHISOR and its affiliates as additional insureds. In addition, the policies shall contain a provision requiring 30 days prior written notice to FRANCHISOR of any proposed cancellation, modification, or termination of insurance. If FRANCHISEE at any time fails or refuses to maintain in effect any insurance coverage required by FRANCHISOR, or to furnish satisfactory evidence thereof, FRANCHISOR, at its option and in addition to its other rights and remedies hereunder, may, but need not, obtain such insurance coverage, on behalf of FRANCHISEE, and FRANCHISEE shall promptly execute any applications or other forms or instruments required to obtain any such

Page 161: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 147

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

insurance and pay to FRANCHISOR, on demand, any costs and premiums incurred by FRANCHISOR.

7. PROPRIETARY AND CONFIDENTIAL INFORMATION OF FRANCHISOR FRANCHISEE acknowledges and agrees that FRANCHISOR possesses certain

confidential and proprietary information in which FRANCHISOR possesses valuable industrial and intellectual property rights consisting of the methods, techniques, formats, specifications, procedures, information, systems, methods of business management, sales and promotion techniques and knowledge of and experience in the operation and franchising of ABC STORES (the “Confidential Information”). FRANCHISOR will disclose such parts of the Confidential Information as are required for the operation of an ABC STORE to FRANCHISEE in furnishing FRANCHISEE the training program, the OPERATING MANUAL and in guidance furnished to FRANCHISEE during the term of the FRANCHISE.

FRANCHISEE acknowledges and agrees that it will not acquire any interest in the

Confidential Information, other than the right to utilize it in the development and operation of the STORE during the term of the FRANCHISE, and that the use or duplication of the Confidential Information in any other business would constitute an unfair method of competition with FRANCHISOR and other ABC STORE franchisees. FRANCHISEE acknowledges that the Confidential Information is disclosed to FRANCHISEE solely on the condition that FRANCHISEE agrees, and FRANCHISEE does hereby agree, that FRANCHISEE (and each of its owners, if the FRANCHISEE is a company, partnership or limited liability company): (1) will not use the Confidential Information in any other business or capacity; (2) will maintain the absolute confidentiality of the Confidential Information during and after the term of this Agreement; (3) will not make unauthorized copies of any portion of the Confidential Information disclosed in written form; and (4) will adopt and implement all reasonable procedures prescribed from time to time by FRANCHISOR to prevent unauthorized use or disclosure of the Confidential Information, including without limitation, requiring (a) all owners, officers, directors, managing members, and full time managers of FRANCHISEE and any other employee of FRANCHISEE designated by FRANCHISOR to execute confidentiality and non-competition agreements in the form attached hereto as Exhibit B (the “Confidentiality and Non-Competition Agreement”) and (b) any other person who will have access to Confidential Information to execute confidentiality agreements in the form attached hereto as Exhibit C (the “Confidentiality Agreement”).

Notwithstanding anything to the contrary contained in this Agreement, the

restrictions on FRANCHISEE’s disclosure and use of the Confidential Information shall not apply to (a) information, processes or techniques which are or become generally known by

Page 162: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 148

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

operators of businesses that are competitive with franchisees of FRANCHISOR, other than through disclosure (whether deliberate or inadvertent) by FRANCHISEE; or (b) disclosure of Confidential Information in judicial, arbitral or administrative proceedings to the extent FRANCHISEE is legally compelled to disclose such information, provided FRANCHISEE shall have used its best efforts, and shall have afforded FRANCHISOR the opportunity, to obtain an appropriate protective order or other assurance satisfactory to FRANCHISOR of confidential treatment for the information required to be so disclosed.

All ideas, concepts, techniques or materials relating to an ABC STORE, whether or

not protectable intellectual property and whether created by or for FRANCHISEE or FRANCHISEE’s employees, must be promptly disclosed to FRANCHISOR and will be deemed to be FRANCHISOR’s sole and exclusive property, part of the XXXX System, and works made-for-hire for FRANCHISOR. To the extent any item does not qualify as a “work made-for-hire” for FRANCHISOR, by this paragraph FRANCHISEE assigns ownership of that item and all related rights to that item, to FRANCHISOR and agrees to sign whatever assignment or other documents FRANCHISOR requests to evidence FRANCHISOR’s ownership or to help FRANCHISOR obtain intellectual property rights in the item.

8. ADVERTISING AND PROMOTION A. BY FRANCHISOR FRANCHISOR will develop, prepare and offer to FRANCHISEE (with or without

charge) such posters, ad formats, direct mail, point of sale and other advertising materials for the STORE as FRANCHISOR deems appropriate and will implement a marketing program as described below. FRANCHISEE shall be required to participate in all advertising and/or promotional campaigns which FRANCHISOR may establish.

B. MARKETING FUND FRANCHISOR’s experience and business judgment is that a unified marketing

program, on both a local and broader level, is an essential factor in the potential success of all ABC STORES, to achieve top-of-mind awareness in potential customers, to build and retain goodwill associated with the Name and Marks thereby hopefully benefiting all ABC STORE operators, to create improved brand loyalty among new and future customers and to achieve a favorable retail position for all ABC STORES. To maximize the possibility of obtaining these goals, FRANCHISOR and FRANCHISEE have agreed to a marketing program as follows:

Page 163: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 149

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(1) FRANCHISOR has instituted an advertising, publicity and marketing fund (the “Marketing Fund”) for such advertising, advertising-related, marketing and/or public relations programs, services and/or materials as FRANCHISOR may deem necessary or appropriate to promote ABC STORES. The Marketing Fund may be combined with any marketing fund otherwise established for ABC STORES and the funds merged for use in accordance with this Agreement. FRANCHISEE will contribute to the Marketing Fund two percent (2%) of the gross sales of the STORE (as defined in Paragraph B of Section 13), payable as provided in Paragraph C of Section 12. FRANCHISOR reserves the right to increase the amount FRANCHISEE is required to contribute to an amount not to exceed three percent (3%) of the gross sales of the STORE. FRANCHISOR will cause all ABC STORES owned by it to make contributions to the Marketing Fund based on the contribution rate generally in effect at the time such ABC STORES most recently came under FRANCHISOR’s ownership. FRANCHISEE understands that, due to differing forms of franchise agreements or otherwise, some XXXX franchisees may have different Marketing Funds and/or other obligations than in this Agreement.

(2) FRANCHISOR will have sole and absolute discretion over all matters relating to

the Marketing Fund in any way, including (but not limited to) its management, all financial matters, expenditures, receipts and/or investments by the Marketing Fund, timing of expenditures, creative concepts, content, materials and endorsements for any marketing programs, together with the geographic, market, and media placement and allocation thereof. The Marketing Fund may be used, in FRANCHISOR’s sole and absolute discretion, to (among other things) pay costs of preparing, producing, distributing and using marketing, advertising and other materials and programs; administering national, regional and other marketing programs, purchasing media, employing advertising, public relations and other agencies and firms; and supporting public relations, market research and other advertising and marketing activities, as well as any expenses associated with any Franchisee Advisory Council(s), if those Councils, and such expenses, are approved by FRANCHISOR. A brief statement regarding the availability of information regarding the purchase of XXXX franchises may be included in advertising and other items produced and/or distributed using the Marketing Fund.

(3) FRANCHISOR may arrange for services, goods and otherwise, including (but not

limited to) creative concepts, production, placement, purchase of media, legal, accounting and other services, to be provided to the Marketing Fund by itself, any of its affiliates and/or their employees or agents, including persons/entities who may be owned, operated, controlled by, and/or affiliated with, FRANCHISOR (such as an “in-house advertising agency”) or who may be independent. FRANCHISOR may use the Marketing Fund to compensate and reimburse any of such persons/entities (including itself) as FRANCHISOR

Page 164: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 150

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

deems appropriate in its sole and absolute discretion (including payment of commissions) and to compensate itself and/or others for administrative and other services, materials, etc. rendered to the Marketing Fund, provided that any compensation to FRANCHISOR or any affiliate will not be unreasonable in amount. While FRANCHISOR is not required to submit any proposed or other expenditures by (or any other matters relating to) the Marketing Fund for approval by any Franchisee Advisory Council, if FRANCHISOR does submit any matters for approval and approval is granted by a majority of such Franchisee Advisory Council, such approval will be final and binding on FRANCHISEE.

(4) FRANCHISEE will participate in all advertising and public relations programs

instituted by the Marketing Fund but will retain full freedom to set FRANCHISEE’s own prices, except that FRANCHISOR may specify maximum prices above which FRANCHISEE will not sell or otherwise provide any goods or services and FRANCHISEE will comply with all such maximum prices. The Marketing Fund will, as available, furnish FRANCHISEE with marketing, advertising and promotional formats and sample materials and may charge the direct cost of producing them plus shipping and handling. FRANCHISOR may use the Marketing Fund to pay the costs of advertising, advertising-related, marketing and/or public relations programs, services and/or materials with respect to locations, programs or concepts where products and/or services offered under the Name and/or Marks are to be offered in conjunction with products and/or services offered under other marks, including (but not limited to) any co-branding, dual franchising or other programs, and any other franchised or non-franchised alternative channel of distribution, whether or not controlled by FRANCHISOR.

(5) The Marketing Fund will be accounted for separately from FRANCHISOR’s other

funds (but may be commingled with FRANCHISOR’s other funds) and will not be used to defray any of FRANCHISOR’s general operating expenses, except for such salaries, administrative costs, overhead and other expenses as FRANCHISOR may reasonably incur in activities related to the Marketing Fund and its programs (including, without limitation, conducting market research, preparing advertising and marketing materials, insurance, legal costs and collecting and accounting for the Marketing Fund.) FRANCHISOR may, in FRANCHISOR’s sole and absolute discretion, spend in any fiscal year an amount greater or less than the aggregate contributions to the Marketing Fund in that year and the Marketing Fund may borrow from FRANCHISOR or other lenders to cover deficits of the Marketing Fund or cause the Marketing Fund to invest any surplus for future use by the Marketing Fund. FRANCHISEE authorizes FRANCHISOR to collect for remission to the Marketing Fund any advertising or promotional monies or credits offered by any supplier based upon purchases by FRANCHISEE or otherwise. All interest earned on monies contributed to the Marketing Fund will be contributed to the Marketing Fund and will be used to pay costs

Page 165: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 151

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

before using the Marketing Fund’s other assets. A statement of monies collected and costs incurred by the Marketing Fund will be prepared annually by FRANCHISOR and be furnished to FRANCHISEE upon written request. FRANCHISOR may (but is not required to) have financial statements of the Marketing Fund audited and any costs in connection therewith will be paid by the Marketing Fund. FRANCHISOR will have the right to cause the Marketing Fund to be incorporated or operated through an entity separate from FRANCHISOR as FRANCHISOR deems appropriate in its sole and absolute discretion, and such successor entity will have all rights and duties of FRANCHISOR relating to the Marketing Fund.

(6) FRANCHISOR may (but is not required to) remit a portion of Marketing Fund

contributions back to a franchisee on such terms and conditions as determined by FRANCHISOR including (but not limited to) reimbursement of local advertising expenditures made by a Franchisee and FRANCHISOR may waive and/or compromise claims for contributions to, and/or claims against or with respect to, the Marketing Fund in FRANCHISOR’s sole and absolute discretion, using the Marketing Fund to pay any such claims. FRANCHISOR will have sole and absolute discretion as to whether or not FRANCHISOR takes legal or other action against any franchisee who is in default of his or her obligations with respect to the Marketing Fund (including obligations to make contributions) or otherwise and whether a franchisee may be allowed to make direct advertising expenditures in place of contributions to the Marketing Fund.

(7) FRANCHISEE acknowledges and agrees that the Marketing Fund is generally

intended to maximize general recognition of the Name and/or Marks and patronage of ABC STORES. FRANCHISEE understands and acknowledges that the STORE may not benefit directly or in proportion to its contribution to the Marketing Fund from the development and placement of advertising and development of marketing materials. FRANCHISOR will have no obligation to cause other ABC STORES, licensees or outlets (some of which may be under different arrangements) to contribute to the Marketing Fund, any cooperative or engage in local marketing. FRANCHISEE and FRANCHISOR, each having a mutual interest in, and agreeing on the critical practical business importance of, FRANCHISEE’s and FRANCHISOR’s relationship being governed solely by written instruments signed by the parties to be bound (and not having either FRANCHISEE or FRANCHISOR subject to the uncertainty and ambiguity inherent in the application of legal or other concepts not expressly agreed to in writing by FRANCHISEE and FRANCHISOR), agree that FRANCHISEE’s and FRANCHISOR’s rights and obligations with respect to the Marketing Fund and all related matters are governed solely by the express terms of this Agreement and that this Agreement (and the parties’ relationship and all rights and obligations with respect to the Marketing Fund) does not create a “trust,” “fiduciary relationship” or similar special arrangement. FRANCHISOR may maintain Marketing Fund assets in one or more accounts

Page 166: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 152

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

designated as “trust accounts” (or similarly designated), for purposes of protecting such assets from claims of third-party creditors or otherwise, but such designation and/or treatment will not operate to create any “trust,” “fiduciary relationship” or similar special arrangement as to the Marketing Fund, its assets or otherwise.

C. BY FRANCHISEE. FRANCHISEE shall submit for prior approval by FRANCHISOR, any and all advertising

and promotional materials prepared by FRANCHISEE for the STORE and FRANCHISEE shall not use any disapproved or unapproved advertising or promotional materials. FRANCHISEE shall comply with any advertising requirements contained in its lease or sublease for the premises of the STORE. All advertising and promotional materials used by FRANCHISEE must be completely factual, comply with all applicable laws and conform to the highest standards of ethical advertising and policies prescribed from time to time by FRANCHISOR.

FRANCHISEE shall list and advertise the STORE in the principal classified telephone

directory distributed within its primary trading area, in such business classifications as FRANCHISOR prescribes from time to time, utilizing FRANCHISOR’s standard classified telephone directory advertisement at FRANCHISEE’s sole expense. When more than one ABC STORE serves a metropolitan area, FRANCHISOR may require all such ABC STORES to be listed in the classified directory advertisement and FRANCHISEE shall pay an equal share of the cost thereof.

D. WEBSITE. FRANCHISEE specifically acknowledges and agrees that any Website (as defined

below) shall be deemed “advertising” under this Agreement, and will be subject to (among other things) FRANCHISOR’s approval under Paragraph C of this Section. (As used in this Agreement, the term “Website” means an interactive electronic document, contained in a network of computers linked by communications software that refers to the STORE, other ABC STORES or the Names and Marks. The term Website includes, but is not limited to, Internet and World Wide Web home pages.) In connection with any Website, FRANCHISEE agrees to the following:

(1) FRANCHISEE shall not establish a separate Website without the prior written

consent of FRANCHISOR. FRANCHISOR shall have the right, but not the obligation, to designate one or more web page(s) to describe FRANCHISEE and/or the STORE, such web page(s) to be located within FRANCHISOR’s Website;

Page 167: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 153

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

(2) If FRANCHISOR approves, in writing, a separate Website for FRANCHISEE, then each of the following provisions shall apply:

(a) FRANCHISEE shall not establish or use the Website without FRANCHISOR’s prior

written approval. (b) Before establishing the Website, FRANCHISEE shall submit to FRANCHISOR, for

FRANCHISOR’s prior written approval, a sample of the proposed Website domain name, format, visible content (including, but not limited to, proposed screen shots), and non-visible content (including, but not limited to, meta tags) in the form and manner FRANCHISOR may reasonably require; and FRANCHISEE shall not use or modify such Website without FRANCHISOR’s prior written approval as to such proposed use or modification.

(c) In addition to any other applicable requirements, FRANCHISEE shall comply with FRANCHISOR’s standards and specifications for Websites as prescribed by FRANCHISOR from time to time in the OPERATING MANUAL or otherwise in writing.

(d) If required by FRANCHISOR, FRANCHISEE shall establish such hyperlinks to FRANCHISOR’s Website and others as FRANCHISOR may request in writing.

(e) FRANCHISOR may revoke its approval at any time, in writing, and require that FRANCHISEE discontinue use of a separate Website.

9. REPORTS, BOOKS AND RECORDS, INSPECTIONS A. GENERAL REPORTING FRANCHISEE shall submit monthly financial reporting forms and such other

financial, operational and statistical information as FRANCHISOR may require to: (i) assist FRANCHISEE in the operation of the STORE in accordance with the XXXX System; (ii) allow FRANCHISOR to monitor FRANCHISEE’s Gross Sales, purchases, costs and expenses; (iii) enable FRANCHISOR to develop chain wide statistics which may improve bulk purchasing; (iv) assist FRANCHISOR in the development of new authorized PRODUCTS or the removal of existing unsuccessful products; (v) enable FRANCHISOR to refine existing authorized PRODUCTS; (vi) generally improve chain-wide understanding of the XXXX System. Without limiting the generality of the foregoing:

FRANCHISEE will allow FRANCHISOR to poll on a daily basis, at a time selected by

FRANCHISOR, FRANCHISEE’s computerized point of sales system for the STORE to retrieve sales, usage, and operations data.

Page 168: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 154

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

On or before noon (pacific standard time) each Friday, during the Term hereof, FRANCHISEE shall submit a weekly sales summary, on a form prescribed by FRANCHISOR, reporting all Gross Sales for the preceding week (defined as the seven day period beginning each Thursday and ending on the following Wednesday) either by electronic mail (“e-mail”), by facsimile or, by any other electronic means prescribed by FRANCHISOR.

On or before the 10th day of each month, or fiscal period (if FRANCHISEE has

adopted FRANCHISOR’s fiscal accounting cycle, during the Term hereof, FRANCHISEE shall submit a monthly sales summary signed by FRANCHISEE, on a form prescribed by FRANCHISOR, reporting all Gross Sales for the preceding month, or fiscal period as applicable, together with such additional financial information as FRANCHISOR may from time to time request.

On or before the 30th day following each calendar quarter during the Term

hereof, FRANCHISEE shall submit to FRANCHISOR financial statements for the preceding quarter, including a Balance Sheet and Profit and Loss Statement, prepared in the form and manner prescribed by FRANCHISOR and in accordance with generally accepted accounting principles (“GAAP”), which shall be certified by FRANCHISEE to be accurate and complete. FRANCHISEE shall also provide FRANCHISOR with quarterly sales and menu mix data in the format and manner prescribed by FRANCHISOR.

FRANCHISEE shall submit to FRANCHISOR a semi-annual Profit and Loss Statement,

signed and certified by FRANCHISEE. The Profit and Loss Statement shall be prepared by a Certified Public Accountant, in accordance with GAAP, and shall provide FRANCHISEE’s sales, expenses and financial status with respect to the STORE. FRANCHISEE shall submit to FRANCHISOR a copy of the original signed 1120 or 1120S tax form each and every year or any other forms which take the place of the 1120 or 1120S forms. FRANCHISEE shall also provide FRANCHISOR with copies of signed original sales and use tax forms contemporaneously with their filing with the appropriate state or local authority. FRANCHISOR reserves the right to require such further information concerning the STORE as FRANCHISOR may from time to time reasonably request.

Within sixty (60) days following the end of each calendar year, FRANCHISEE shall

submit to FRANCHISOR an unaudited annual financial statement prepared in accordance with GAAP, and in such form and manner prescribed by FRANCHISOR, which shall be certified by FRANCHISEE to be accurate and complete.

FRANCHISEE shall immediately (in no event more than 24 hours following) notify

FRANCHISOR of any (a) incident that may adversely affect the operation or financial

Page 169: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 155

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

condition of the STORE, FRANCHISOR or its affiliates; (b) legal action (including the commencement of a suit or proceeding, or the threat thereof), (c) issuance of any writ, order, injunction, award or decree of any court, agency or government authority, including any citation,

fine or closing order, or (d) any other adverse inquiry, notice, demand or sanction

received by FRANCHISEE relating to the operation of the STORE or the Location, including any alleged violation of any law, including health, safety or employment law violations, and including any labor dispute or actual or threatened labor strike, work stoppage, lock-out or other incident relating to any labor agreement, and shall provide FRANCHISOR with copies of all related correspondence and other communications and information relating thereto.

B. INSPECTIONS FRANCHISOR’s authorized representatives shall have the right to enter the

Location and the STORE during business hours, with or without notice, without unreasonably disrupting FRANCHISEE’s business operations, for the purposes of examining same, conferring with FRANCHISEE’s employees, inspecting and checking operations, food, beverages, furnishings, interior and exterior decor, supplies, fixtures, and equipment, and determining whether the business is being conducted in accordance with this Agreement, the XXXX System and the OPERATING MANUALS. If any such inspection indicates any deficiency or unsatisfactory condition with respect to any matter required under this Agreement or the OPERATING MANUALS, including but not limited to quality, cleanliness, service, health and authorized product line, FRANCHISOR will notify FRANCHISEE in writing of FRANCHISEE’s non-compliance with the OPERATING MANUALS, the XXXX System, or this Agreement. FRANCHISEE shall have 24 hours after receipt of such notice, or such other greater time period as FRANCHISOR may provide, to correct or repair such deficiency or unsatisfactory condition, if it can be corrected or repaired within such period of time. If not, FRANCHISEE shall within such time period commence such correction or repair and thereafter diligently pursue it to completion.

C. AUDITS Upon ten (10) days prior written notice, FRANCHISOR, its agents or representatives

may audit FRANCHISEE’s books and records. In connection with such audit(s) or other operational visits, FRANCHISEE shall keep its cash receipts records, monthly control forms, accounts payable records including all payments to FRANCHISEE’s suppliers at the Location or at its business office for five (5) years after their due date, which records shall be

Page 170: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 156

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

available for examination by FRANCHISOR or its representative(s), at FRANCHISOR’s request. Without any prior written notice, FRANCHISOR, its agents or representatives may inspect the STORE and FRANCHISEE’s daily, weekly and monthly statistical information which is required under the OPERATING MANUAL. FRANCHISEE shall make such information available for such inspections in recognition that an operational inspection cannot succeed without review of essential statistical information. If any audit or other investigation reveals an under-reporting or under-recording error of two percent (2%) or more, then in addition to any other sums due, the expenses of the audit/inspection shall be borne and paid by FRANCHISEE upon billing by FRANCHISOR, plus interest as provided under Section 12.D below.

10. NAMES AND MARKS A. OWNERSHIP OF NAMES AND MARKS FRANCHISOR is the licensee of DEF of the Names and Marks licensed to

FRANCHISEE by this Agreement and FRANCHISEE’s right to use the Names and Marks is derived solely from this Agreement and is limited to the operation of the STORE in compliance with this Agreement at the Location (or a substitute premises hereafter approved by FRANCHISOR as provided in Section 2), and by all applicable standards, specifications and operating procedures prescribed by FRANCHISOR from time to time during the term of this FRANCHISE. FRANCHISEE agrees that all usage of the Names and Marks, including usage on computerized media and/or electronic media if approved by FRANCHISOR (including but not limited to the World Wide Web, the Internet, Telnet, newsgroups, bulletin boards, FTP, and the like), by FRANCHISEE and any goodwill established thereby shall inure to the exclusive benefit of FRANCHISOR and DEF. FRANCHISEE further agrees that after the termination or expiration of the FRANCHISE, it will not directly or indirectly at any time or in any manner identify, the STORE, FRANCHISEE, any owner or other business as an ABC STORE, a former ABC STORE or as a franchisee of or otherwise associated with FRANCHISOR, or use in any manner or for any purpose any of the Names and Marks or other indicia of an ABC STORE.

B. LIMITATIONS ON FRANCHISEE’S USE OF NAMES AND MARKS FRANCHISEE agrees to use the Names and Marks as the sole service mark and

trade name identification of the STORE. FRANCHISEE shall display a notice in such form as FRANCHISOR may prescribe that FRANCHISEE is an independent owner of the STORE pursuant to this Agreement. FRANCHISEE shall not use any of the Names and Marks as part of any corporate name or with any prefix, suffix or other modifying words, terms, designs or

Page 171: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 157

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

symbols (other than logos licensed to FRANCHISEE hereunder), or in any modified form, nor may FRANCHISEE use any Names and Marks in connection with the sale of any unauthorized product or service or in any other manner including via computerized media and electronic media not explicitly authorized in writing by FRANCHISOR. All bank accounts, licenses, permits or other similar documents shall contain the actual name of the person or entity owning the STORE and may contain “d/b/a XXXX COFFEES.” FRANCHISEE shall obtain any fictitious name, assumed name or “doing business” registration as may be required by law.

C. NOTIFICATION OF INFRINGEMENTS AND CLAIMS FRANCHISEE shall immediately notify FRANCHISOR of any apparent infringement of

or challenge to FRANCHISEE’s use of any of the Names and Marks or claim by any person of any rights in any of the Names and Marks and FRANCHISEE shall not communicate with any person other than FRANCHISOR and DEF and their counsel in connection with any such infringement, challenge or claim. FRANCHISOR and its affiliates shall have sole discretion to take such action as they deem appropriate and the right to exclusively control any litigation or Patent and Trademark Office or other administrative proceeding arising out of any such infringement, challenge or claim or otherwise relating to any Names and Marks. FRANCHISEE agrees to execute any and all instruments and documents, render such assistance, and do such acts and things as may, in the opinion of FRANCHISOR’s or DEF’s counsel, be necessary or advisable to protect and maintain FRANCHISOR’s and DEF’s interests in any litigation or Patent and Trademark Office or other proceeding or to otherwise protect and maintain FRANCHISOR’s and DEF’s interests in any of the Names and Marks.

D. DISCONTINUANCE OF USE OF NAME AND/OR MARKS If FRANCHISOR believes at any time that it is advisable for FRANCHISOR and/or for

FRANCHISEE to modify or discontinue the use of the Name and/or any of the Marks and/or use one or more additional or substitute name(s), trademarks or service marks, FRANCHISEE will promptly comply (at FRANCHISEE’s sole expense) with FRANCHISOR’s directions to modify or otherwise discontinue the use of such Name and/or Marks, or use one or more additional or substitute names, trademarks or service marks, including (but not limited to) replacement of all signage, etc. Neither FRANCHISOR nor any of its affiliates, including DEF, will have any liability or obligation (whether of indemnity, expense reimbursement or otherwise) to FRANCHISEE, and FRANCHISEE agrees to make no claim, for, or in connection with, any modification, discontinuance or otherwise, and/or any dispute regarding the Name and/or any of the Marks and/or FRANCHISEE’s and/or FRANCHISOR’s rights in or to

Page 172: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 158

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

them. FRANCHISOR makes no guaranty that a modification, discontinuance or otherwise may not be required, whether as a result of expiration, termination or limitation of FRANCHISOR’s rights to the Name and/or Marks or otherwise.

E. INDEMNIFICATION OF THE FRANCHISEE. FRANCHISOR agrees to indemnify FRANCHISEE against and to reimburse

FRANCHISEE for all damages for which FRANCHISEE is held liable in any proceeding rising out of FRANCHISEE’s use of any of the Names and Marks pursuant to and in compliance with this Agreement and for all costs reasonably incurred by FRANCHISEE in the defense of any such claim brought against FRANCHISEE or in any such proceeding in which FRANCHISEE is named as a party; provided that FRANCHISEE has timely notified FRANCHISOR of such claim or proceeding and has otherwise complied with this Agreement.

11. INITIAL FRANCHISE FEE FRANCHISEE shall pay to FRANCHISOR an initial franchise fee for the FRANCHISE in

the amount of ……………….. The initial franchise fee is payable in immediately available funds upon the execution of this Agreement and is deemed fully earned by FRANCHISOR upon execution of this Agreement and shall be non-refundable in whole or in part, under any circumstances.

12. ROYALTY FEE A. AMOUNT OF ROYALTY FEE FRANCHISEE agrees to pay to FRANCHISOR a royalty fee of …… percent (…..%) of

the gross sales of the STORE, as defined in Paragraph B below, payable as provided in Paragraph C below.

B. DEFINITION OF “GROSS SALES” As used in this Agreement, the term “gross sales” shall mean and include the

total actual gross charges for all products and services sold to customers of the STORE, for cash or credit, whether such sales are made at or from the premises of the STORE, or any other location or other channels of distribution if approved in writing in advance by FRANCHISOR but excluding: sales, use, service or excise taxes collected from customers and paid to the appropriate taxing authority; customer refunds and adjustments.

Page 173: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 159

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

C. PAYMENT OF ROYALTY FEE AND MARKETING FUND CONTRIBUTION The royalty fee (as above provided) and the Marketing Fund contribution (as

provided in Section 8) shall be payable on the tenth (10th) day following the end of each four (4) week period, as determined by FRANCHISOR. This payment shall be accompanied by a sales report (the form of which will be created and furnished by FRANCHISOR) completed, verified and signed by FRANCHISOR.

As directed by FRANCHISOR, FRANCHISEE must participate in FRANCHISOR’s then-

current electronic funds transfer program authorizing FRANCHISOR to utilize a pre-authorized bank draft system on a every four-week basis, or otherwise as FRANCHISOR specifies from time-to-time in FRANCHISOR’s sole and absolute discretion. All royalty fees, advertising contributions and other amounts due FRANCHISOR (and/or any affiliate) for each period must be received by FRANCHISOR (or such affiliate) or credited to the appropriate account by pre-authorized bank debit before 5:00 p.m. on the tenth (10th) day after each four-week period, or other point in time specified by FRANCHISOR. If FRANCHISEE fails to submit the sales report by the tenth (10th) day after any four-week period, FRANCHISOR may specify the amount to be credited to FRANCHISOR’s account for royalty fees, advertising contributions and other amounts due to FRANCHISOR based on past reports submitted by FRANCHISEE.

D. INTEREST ON LATE PAYMENTS AND LATE FEES All royalty fees, advertising contributions and any other amounts owed to

FRANCHISOR or its affiliates by FRANCHISEE, pursuant to FRANCHISE, shall bear interest after due date at the highest legal rate for open account business credit in the state in which the STORE is located not to exceed one and one-half percent (1 1/2%) per month. FRANCHISEE must also pay FRANCHISOR or its affiliates a late fee of ………………. per occurrence subject to applicable law. FRANCHISEE acknowledges that this Paragraph D shall not constitute FRANCHISOR’s agreement to accept such payments after they are due or a commitment by FRANCHISOR to extend credit to or otherwise “finance” FRANCHISEE’s operation of the STORE. Further, FRANCHISEE acknowledges that its failure to pay any amounts when due will constitute a breach of this Agreement as provided in Paragraph A of Section 13 notwithstanding the provisions of this Paragraph D.

Page 174: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 160

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

13. TERMINATION OF FRANCHISE A. TERMINATION BY FRANCHISEE If FRANCHISEE has materially complied with all of its obligations under this

Agreement and FRANCHISOR has materially breached this Agreement, FRANCHISEE will have a right to terminate this Agreement if (1) FRANCHISEE provides FRANCHISOR with written notice of FRANCHISOR’s breach within ninety (90) days of the occurrence of the material breach and (2) FRANCHISOR fails to cure FRANCHISOR’s breach within sixty (60) days after FRANCHISOR receives the written notice of such breach or, in a case where FRANCHISOR’s breach cannot reasonably be cured within sixty (60) days after FRANCHISOR receives written notice of its breach, fail to provide FRANCHISEE with reasonable evidence of FRANCHISOR’s continuing efforts to correct its breach within a reasonable time. If FRANCHISOR disputes the occurrence of a material breach or FRANCHISEE’s allegation that FRANCHISOR has failed to timely cure any breach or to provide FRANCHISEE with reasonable evidence of FRANCHISOR’s continuing efforts to correct its breach within a reasonable time, then FRANCHISOR will provide FRANCHISEE with written notice of the dispute. FRANCHISEE must then commence mediation pursuant to this Agreement within twenty (20) days after FRANCHISEE receives such written notice. FRANCHISEE’s failure to commence mediation within such twenty (20) day period shall operate as a waiver of any alleged breach by FRANCHISOR to date. During the pendency of the mediation proceeding (or arbitration proceeding if the dispute cannot be resolved by mediation pursuant to Paragraph A of Section 16), this Agreement shall not terminate unless otherwise terminable by FRANCHISOR hereunder or upon agreement of the parties.

To terminate this Agreement under this Paragraph A, FRANCHISEE must give

FRANCHISOR a separate written notice of termination which will be effective thirty (30) days after delivery of such notice to FRANCHISOR.

B. BY FRANCHISOR FRANCHISOR may terminate this Agreement effective upon delivery of notice of

termination to FRANCHISEE, if:

(1) FRANCHISEE or any of its owners makes an assignment for the benefit of creditors or an admission of its/his inability to pay its/his obligations as they become due;

(2) FRANCHISEE or any of its owners files a voluntary petition in bankruptcy, files any pleading seeking any reorganization, liquidation or dissolution under any law, admits or fails to contest the material allegations of any such pleading filed against it/him,

Page 175: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 161

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

is adjudicated a bankrupt or insolvent, a receiver is appointed for a substantial part of the assets of FRANCHISEE or any of its owners or the STORE, or the claims of creditors of FRANCHISEE or any of its owners or the STORE are abated or subject to a moratorium under any law;

(3) FRANCHISEE abandons or fails to actively operate the STORE for three (3) or

more consecutive days; (4) FRANCHISEE or any of its owners surrenders or transfers control of the STORE’s

operations without FRANCHISOR’s prior written consent; (5) FRANCHISEE suffers termination of or fails to obtain renewal or extension of the

lease or sublease for, or otherwise fails to maintain possession of the Location or a substitute premises approved by FRANCHISOR;

(6) FRANCHISEE submits to FRANCHISOR on two (2) or more separate occasions at any time during any two (2) year period of the term of the FRANCHISE a monthly report, financial statement, tax return, schedule or other information or supporting record which understates the gross sales of the STORE for any period by more than ….. percent (…..%);

(7) FRANCHISEE operates the STORE in a manner that presents a health or safety hazard to its customers, employees or the public;

(8) FRANCHISEE or any of its owners are convicted of, or pleads no contest or guilty to, a felony or other crime which substantially impairs the goodwill associated with the Names and Marks or engages in any misconduct which affects the reputation of the STORE or the goodwill associated with the Names and Marks;

(9) FRANCHISEE or any of its owners makes an unauthorized assignment of the FRANCHISE, this Agreement, the STORE or its assets or an ownership interest in FRANCHISEE as hereinafter defined in Paragraphs B and C of Section 15;

(10) FRANCHISEE fails to pay any amount owed to FRANCHISOR or its affiliates when the same is due and payable and does not correct such failure within five (5) days after written notice of such failure to comply is delivered to FRANCHISEE;

(11) FRANCHISEE sells coffee not purchased from DEF pursuant to the requirements set forth herein;

(12) FRANCHISEE or any affiliate fails on two (2) or more separate occasions within any period of twelve (12) consecutive months, or on three (3) or more separate occasions within any period of twenty-four (24) consecutive months, to comply with any provisions (whether the same or different) of this Agreement, any lease or sublease, any other agreement with FRANCHISOR and/or any affiliate and/or the OPERATING MANUAL, whether or not such failures to comply are timely corrected; or

(13) FRANCHISEE fails to comply with any other material provision of this Agreement, any lease or sublease, any other agreement with FRANCHISOR and/or any of its affiliates or any mandatory specification, standard or operating procedure prescribed by

Page 176: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 162

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

FRANCHISOR and does not correct such failure within fifteen (15) days after written notice of such failure to comply (which shall describe the action that FRANCHISEE must take) is delivered to FRANCHISEE.

C. RIGHT OF FRANCHISOR TO DISCONTINUE PRODUCTS TO FRANCHISEE AFTER

NOTICE OF DEFAULT TO FRANCHISEE If FRANCHISOR delivers to FRANCHISEE a notice of default or non-compliance

pursuant to Section 13 of this Agreement, in addition FRANCHISOR’s other rights and remedies, FRANCHISOR reserves the right of FRANCHISOR (and its affiliates) if currently selling PRODUCTS, to discontinue selling PRODUCTS to FRANCHISEE until such time as FRANCHISEE corrects the default. Additionally, if FRANCHISEE fails to adhere to the standard credit terms of FRANCHISOR’s affiliates with respect to payment for any PRODUCTS sold by FRANCHISOR’s affiliates to FRANCHISEE, FRANCHISOR’s affiliates reserve the right to cease selling PRODUCTS to FRANCHISEE or requiring FRANCHISEE to pay C.O.D. (i.e., cash on delivery) by certified check until such time as FRANCHISEE corrects this problem.

D. CROSS-DEFAULTS, NON-EXCLUSIVE REMEDIES, ETC. Any default by FRANCHISEE (or any person/company affiliated with FRANCHISEE)

under the terms and conditions of this Agreement or any lease or sublease, or any other agreement between FRANCHISOR, or its affiliate, and FRANCHISEE, shall be deemed to be a material default of each and every said agreement, and furthermore, in the event of termination, for any cause, of this Agreement, or any other agreement between the parties hereto, FRANCHISOR may, at its option, terminate any or all said agreements. No right or remedy which FRANCHISOR may have (including termination) is exclusive of any other right or remedy provided under law or equity and FRANCHISOR may pursue any rights and/or remedies available.

14. FRANCHISEE’S OBLIGATION UPON TERMINATION OR EXPIRATION A. PAYMENT OF AMOUNTS OWED TO FRANCHISOR FRANCHISEE agrees to pay to FRANCHISOR and its affiliates within ten (10) days

after the effective date of termination or expiration of the FRANCHISE, or such later date that the amounts due to FRANCHISOR and its affiliates are determined, such royalty fees, advertising contributions, amounts owed for PRODUCTS purchased by FRANCHISEE from FRANCHISOR and its affiliates and all other amounts owed to FRANCHISOR and its affiliates

Page 177: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 163

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

which are then unpaid, including any interest and late fees due pursuant to this Agreement as provided in Paragraph D of Section 12.

B. RETURN OF MANUALS. FRANCHISEE agrees that upon termination or expiration of the FRANCHISE, it will

immediately return to FRANCHISOR all copies of the OPERATING MANUAL for an ABC STORE which have been loaned to it by FRANCHISOR.

C. CANCELLATION OF ASSUMED NAMES AND TRANSFER OF PHONE NUMBERS. FRANCHISEE agrees that upon termination or expiration of the FRANCHISE, it will

take such action as may be required to cancel all assumed names or equivalent registrations relating to its use of the Names and Marks and to notify the telephone company and all listing agencies of the termination or expiration of FRANCHISEE’s right to use any telephone number and any classified and other telephone directory listings associated with any Names and Marks and with an ABC STORE and to authorize transfer of same to FRANCHISOR or its designee. FRANCHISEE acknowledges that as between FRANCHISOR and FRANCHISEE, FRANCHISOR has the sole right to and interest in all telephone numbers and directory listings associated with any Names and Marks of the STORE and FRANCHISEE authorizes FRANCHISOR, and hereby appoints FRANCHISOR and any officer of FRANCHISOR as its attorney-in-fact, to direct the telephone company and all listing agencies to transfer the same to FRANCHISOR or its designee should FRANCHISEE fail or refuse to do so. The telephone company and all listing agencies may accept such direction or this Agreement as conclusive evidence of the exclusive rights of FRANCHISOR in such telephone numbers and directory listings and its authority to direct their transfer.

FRANCHISEE shall also be required to cancel or if FRANCHISOR so elects to have

assigned to FRANCHISOR, all ownership of any and all computerized media or electronic media, including but not limited to the World Wide Web, the Internet, Telnet, news groups, bulletin boards, FTP, and the like which presently or which may later exist.

D. FRANCHISOR HAS RIGHT TO PURCHASE STORE. If this Agreement is terminated prior to its scheduled expiration date by

FRANCHISOR in accordance with the provisions of this Agreement, FRANCHISOR or its designee shall have the right and option (exercisable by written notice thereof within thirty (30) days after the determination of the purchase price pursuant to this Paragraph) to

Page 178: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 164

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

purchase (at the purchase price determined pursuant to this Paragraph) from FRANCHISEE some or all of the assets (including FRANCHISEE’s inventory of saleable PRODUCTS which have been fully paid for by FRANCHISEE) of the STORE and if the premises were not leased to FRANCHISEE by FRANCHISOR or its affiliates, the right to an assignment of FRANCHISEE’s lease or sublease for the premises of the STORE (or, if assignment is prohibited, a sublease for the full remaining term and on the same terms and conditions as FRANCHISEE’s lease). There shall be no provision for payment for leasehold improvements, the title of which shall be governed by the terms of FRANCHISEE’s lease or sublease for the STORE premises. The purchase price for the assets of the STORE shall be the depreciated value of those assets as shown on FRANCHISEE’s most current federal tax return; provided that the purchase price shall not contain any factor or increment for “goodwill” or “going concern value.” FRANCHISOR may exclude from the assets purchased hereunder any fixtures, equipment, signs or PRODUCTS and supplies in the inventory of the STORE that are not approved as meeting quality standards for an ABC STORE. The purchase price shall be paid by FRANCHISOR in cash at the closing of the purchase. Contemporaneously therewith, FRANCHISEE shall: (i) deliver instruments transferring good and merchantable title to the assets purchased, free and clear of all liens and encumbrances to FRANCHISOR or its nominee with all sales and other transfer taxes paid by FRANCHISEE; and (ii) assign or transfer all licenses or permits which may be assigned or transferred. In the event that FRANCHISEE cannot deliver clear title to all of the purchased assets as aforesaid, or in the event there shall be other unresolved issues, the closing of the sale shall be accomplished through an escrow. Further, FRANCHISEE and FRANCHISOR shall, prior to closing, comply with any applicable bulk filings required in the state where the STORE is located. If FRANCHISOR exercises its option to purchase, pending the closing of such purchase as hereinabove provided, FRANCHISOR shall have the right to appoint a manager to maintain the operation of the STORE. Alternatively, FRANCHISOR may require FRANCHISEE to close the STORE during such time period without removing therefrom any assets. FRANCHISEE shall maintain in force all required insurance policies until the date of closing. In connection with such purchase, FRANCHISEE (and each owner and/or affiliate of FRANCHISEE) will execute a general release, in form prescribed by FRANCHISOR, of any and all claims, liabilities and/or obligations against FRANCHISOR and its affiliates.

If agreement on the depreciated value is not reached by FRANCHISEE and

FRANCHISOR within ten (10) days after the effective date of termination, the determination of depreciated value (as above defined) shall be submitted to an independent appraiser selected by FRANCHISOR. All fees, costs and expenses of such independent appraiser shall be borne equally by FRANCHISOR and FRANCHISEE.

Page 179: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 165

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

In the event FRANCHISOR does not exercise said option to purchase, FRANCHISEE shall, within ten (10) days after the earlier of (i) the expiration of the option period without exercise by FRANCHISOR of its option or (ii) service by FRANCHISOR upon FRANCHISEE of written notice that FRANCHISOR does not intend to exercise its option, remove from the STORE by physical removal or in the case of signs, by obliteration, painting over or otherwise, and cease to use, either at the STORE or elsewhere, all names, distinctive architectural or other designs, signs, pictures, crests, shields, and other advertising and equipment which are indicative of FRANCHISOR or FRANCHISEE. All PRODUCTS which are not merchantable due to physical deterioration or which are “out-of-date” shall be destroyed by FRANCHISEE.

E. COVENANT NOT TO COMPETE If this Agreement expires or is terminated by FRANCHISOR for any reason,

FRANCHISEE and its owners agree that for a period of two (2) years, commencing on the effective date of termination of this Agreement or the date on which FRANCHISEE ceases to conduct the business conducted pursuant to this Agreement, whichever is later, neither FRANCHISEE nor its owners (through a member of the immediate family of FRANCHISEE or otherwise) will have any interest as an owner (except of publicly-traded securities and interests in other ABC STORES pursuant to other franchise agreements heretofore or hereafter entered into) of, or assist or perform services as a director, officer, employee, consultant, representative, agent, or in any other capacity for, any business principally offering products substantially similar to the PRODUCTS then being offered by the majority of the ABC STORES and located within either: (i) the Standard Metropolitan Statistical Area wherein the STORE is located; or (ii) a ten (10) mile radius from any then existing ABC STORE, nor will they have any interest, as aforesaid, in any entity which franchises or grants to others the right to sell products similar to the PRODUCTS then being offered by the majority of the ABC STORES.

F. CONTINUING OBLIGATIONS All obligations of FRANCHISOR and FRANCHISEE which expressly or by their nature

survive the expiration or termination of the FRANCHISE shall continue in full force and effect subsequent to and notwithstanding the expiration or termination of this Agreement and until they are satisfied in full or by their nature expire.

Page 180: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 166

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

15. ASSIGNMENT, TRANSFER AND ENCUMBRANCE A. BY FRANCHISOR. This Agreement, and any or all of FRANCHISOR’s rights and/or obligations under it,

are fully transferable by FRANCHISOR in whole or in part, without the consent of FRANCHISEE and shall inure to the benefit of any person or entity to whom FRANCHISOR transfers it, or to any other legal successor to FRANCHISOR’s interests in this Agreement.

B. FRANCHISEE MAY NOT ASSIGN WITHOUT APPROVAL OF FRANCHISOR The FRANCHISE is personal to FRANCHISEE (and its owners) and neither the

FRANCHISE, this Agreement (except as hereinafter provided with respect to assignment to a partnership, limited liability company or corporation), the STORE or its assets (other than in the ordinary course of its business) nor any part or all of the ownership of FRANCHISEE may be voluntarily, involuntarily, directly or indirectly assigned, subdivided, subfranchised or otherwise transferred by FRANCHISEE or its owners (including, without limitation, in the event of the death of FRANCHISEE or an owner of FRANCHISEE, by will, declaration of or transfer in trust or the laws of intestate succession) without the prior written consent of FRANCHISOR, and any such assignment or transfer without such consent shall constitute a breach hereof and shall convey no rights to or interest in the FRANCHISE, this Agreement, the STORE or its assets or any part or all of the ownership interest in FRANCHISEE, and shall be null and void. A transfer of ownership in the STORE may only be made in conjunction with a transfer of the FRANCHISE. If the transfer is of the FRANCHISE, this Agreement or a controlling interest in FRANCHISEE, or is one of a series of transfers which in the aggregate constitute the transfer of the FRANCHISE, this Agreement or a controlling interest in FRANCHISEE, all of the following conditions must be met prior to, or concurrently with the effective date of the transfer: (1) the transferee must have sufficient business experience and financial resources; (2) the transferee must assume all existing obligations of the transferor hereunder and under the lease or sublease; (3) the transferee must attend and complete the training program to the satisfaction of FRANCHISOR; (4) if any part of the sale price of the transferred interest is financed, FRANCHISEE and its owners and the transferor shall have agreed that all obligations of the transferee to either of them shall be subordinate to the obligations of the transferee to pay all fees and other amounts due to FRANCHISOR and its affiliates, and otherwise comply with the Agreement or the franchise agreement executed by the transferee; (5) the STORE must be in compliance with or be brought up to the then-current design and equipment standards for ABC STORES; and (6) the transferee must execute and be bound by all provisions of FRANCHISOR’s then-current form of franchise agreement (and sublease if the STORE was subleased directly from FRANCHISOR or its affiliates), which may provide for a higher royalty fee and

Page 181: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 167

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

advertising contributions and other significant provisions may vary from what is provided hereunder and shall provide for a term equal to the remaining term of the FRANCHISE. FRANCHISOR shall not charge such transferee an initial franchise fee for the FRANCHISE, but will charge the transferor an assignment fee of Five Thousand Dollars ($5,000), to cover FRANCHISOR’s costs in approving and effectuating the assignment.

C. ASSIGNMENT TO PARTNERSHIP, LIMITED LIABILITY COMPANY OR

CORPORATION. If FRANCHISEE is in full compliance with this Agreement, FRANCHISOR shall not

unreasonably withhold its consent to a transfer of the FRANCHISE, this Agreement, the STORE and its assets to a partnership, limited liability company or corporation which conducts no business other than the STORE (and other ABC STORES under franchise agreements with FRANCHISOR), which is actively managed by FRANCHISEE and in which FRANCHISEE owns and controls not less than fifty-one percent (51%) of the equity and voting power of all issued and outstanding stock or membership or partnership interest; provided that the corporation, limited liability company or partnership execute FRANCHISOR’s standard assignment and assumption agreement, and the shareholders, members or partners, in form approved by FRANCHISOR, agree to be personally bound jointly and severally by all provisions of this Agreement and guarantee the performance thereof and all other agreements between FRANCHISEE and FRANCHISOR and its affiliates, to the same extent as if they had been parties to the original agreements, and all issued and outstanding stock certificates of such corporation shall bear a legend reflecting or referring to the restrictions of Paragraph B of this Section.

D. FRANCHISOR’S RIGHT OF FIRST REFUSAL. If FRANCHISEE or its owners shall at any time determine to sell the FRANCHISE, this

Agreement, the STORE or its assets or an ownership interest in FRANCHISEE, FRANCHISEE or its owners shall obtain a bona fide, executed written offer accompanied by a cashier’s check for ten percent (10%) of the purchase price to serve as forfeitable earnest money thereunder, from a responsible and fully disclosed purchaser and shall submit an exact copy of such offer to FRANCHISOR. FRANCHISOR or its designee shall, for a period of thirty (30) days from the date of delivery of such offer, have the right, exercisable by written notice to FRANCHISEE or its owners, to purchase the interest for the price and on the terms and conditions contained in such offer; provided that FRANCHISOR or its designee may substitute cash for any form of payment proposed in such offer. If FRANCHISOR or its designee does not exercise this right of first refusal, FRANCHISEE or its owners may complete the sale of the FRANCHISE, the STORE and its assets or such ownership interest

Page 182: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 168

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

to such purchaser (on the terms of the bona fide offer subject to FRANCHISOR’s approval of the purchaser as provided in Paragraph B of this Section); provided that if the sale to such purchaser is not completed within one hundred twenty (120) days after delivery of such offer to FRANCHISOR, FRANCHISOR or its designee shall again have the right of first refusal as herein provided.

E. DEATH OR PERMANENT DISABILITY OF FRANCHISEE Upon the death or permanent disability of FRANCHISEE or if FRANCHISEE is a

corporation, limited liability company or partnership, upon the death or permanent disability of the owner of the controlling interest in FRANCHISEE, the executor, administrator, conservator or other personal representative of such person shall transfer his interest to the heirs or beneficiaries of such person or to a third party approved by FRANCHISOR within a period of twelve (12) months. Such transfers, including, without limitation, transfers by devise or inheritance or trust provisions, shall be subject to the same conditions for transfers contained in this Agreement. Failure to so dispose of such interest within said period of time shall constitute a breach of this Agreement. FRANCHISEE shall be deemed to have a “permanent disability” if the usual, active participation in the ABC STORE by FRANCHISEE as contemplated pursuant to this Agreement is for any reason curtailed for a continuous period of six (6) months.

If after the death or permanent disability of FRANCHISEE (or the Managing Owner),

the STORE is not being managed by a competent and trained manager (as determined by FRANCHISOR in its sole discretion), FRANCHISOR is authorized to immediately appoint a manager to maintain the operation of the STORE for a period not to exceed twelve (12) months or until an approved assignee shall be able to assume the management and operation of the STORE.

F. RELEASE, EFFECT OF TRANSFER In connection with any assignment, etc. of any interest of or by FRANCHISEE

(including, but not limited to, an assignment to a corporation) FRANCHISEE and each of its owners and/or affiliates and the transferee (and each owner and/or affiliate of the transferee) if the transferee or such owner and/or affiliate is or has been a franchisee of, or had any other relationship with, FRANCHISOR or any of its affiliates must execute a general release in the form approved by FRANCHISOR.

FRANCHISOR’s consent to a transfer, or failure to exercise any right-of-first-refusal,

will not constitute a waiver of any claims FRANCHISOR may have against FRANCHISEE (or its

Page 183: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 169

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

owners or affiliates), nor will it be deemed a waiver of FRANCHISOR’s right to demand exact compliance with any of the terms or conditions of this Agreement or any other agreement by any transferor or transferee. Unless FRANCHISOR expressly in writing releases FRANCHISEE from its obligations under this Agreement (which FRANCHISOR has no obligation to do), FRANCHISEE will remain and be liable for all of the payment and other obligations under this Agreement (and any other agreement with us and/or any affiliate) and any Franchise Agreement and/or other agreement executed by any transferee. Any transfer (including any transfer consented to by FRANCHISOR and even if the transferee executes a new franchise agreement) will not act as a termination of FRANCHISEE’s (or its owner’s) confidentiality, indemnity, covenant not to compete and other obligations under this Agreement which by their nature survive the term of this Agreement. In the event of a transfer of an ownership interest in FRANCHISEE, the transferring owner must also comply with such obligations, including, without limitation, the covenant not to compete under Section 14.E.

16. DISPUTE RESOLUTION A. MEDIATION Except for controversies, disputes, or claims related to or based on FRANCHISEE’s

use of the Names and Marks, FRANCHISEE’s obligation to make royalty or other payments to FRANCHISOR or FRANCHISEE’s post-termination obligations, the parties agree to submit any dispute arising between them to non-binding mediation before submitting dispute to arbitration. The mediation is to be administered by the American Arbitration Association and conducted by one (1) mediator selected by the American Arbitration Association under the then-current commercial mediation rules of the American Arbitration Association, at a facility selected by the mediator that is located within fifty (50) miles of FRANCHISOR’s then-current principal place of business. FRANCHISOR and FRANCHISEE agree that statements made by FRANCHISOR, FRANCHISEE or any other party in any such mediation proceeding will not be admissible in any arbitration or other legal proceeding. Each party shall bear its own costs and expenses of conducting the mediation and share equally the costs of any third parties who are required to participate in the mediation.

If any dispute between the parties cannot be resolved through mediation within

forty-five (45) days following the appointment of the mediator, the parties agree to submit such dispute to arbitration subject to the terms and conditions of Paragraph B below, provided that FRANCHISOR shall have the right at any time to seek injunctive relief as provided in Paragraph H of this Section.

Page 184: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 170

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

B. ARBITRATION ALL CONTROVERSIES, DISPUTES OR CLAIMS ARISING BETWEEN FRANCHISOR, ITS

AFFILIATES, OFFICERS, DIRECTORS, AGENTS, EMPLOYEES AND ATTORNEYS (IN THEIR REPRESENTATIVE CAPACITY) AND FRANCHISEE (AND ITS OWNERS AND GUARANTORS, IF APPLICABLE) ARISING OUT OF OR RELATED TO IN WHOLE OR IN PART: (1) THIS AGREEMENT OR ANY RELATED AGREEMENT; (2) THE RELATIONSHIP OF THE PARTIES HERETO; (3) THE VALIDITY OF THIS AGREEMENT OR ANY RELATED AGREEMENT, OR ANY PROVISION THEREOF; OR (4) ANY SPECIFICATION, STANDARD OR OPERATING PROCEDURE RELATING TO THE ESTABLISHMENT OR OPERATION OF THE STORE, SHALL BE SUBMITTED FOR BINDING ARBITRATION TO BE ADMINISTERED BY THE AMERICAN ARBITRATION ASSOCIATION; PROVIDED THAT FRANCHISOR AND ITS AFFILIATES SHALL HAVE THE RIGHT TO ENFORCE BY JUDICIAL PROCESS ANY RIGHTS IT MAY HAVE TO POSSESSION OF THE PREMISES OF THE STORE UNDER ANY SUBLEASE OR COLLATERAL ASSIGNMENT OF LEASE WITH FRANCHISEE. SUCH ARBITRATION PROCEEDING SHALL BE CONDUCTED BY A SINGLE ARBITRATOR APPROVED BY THE AMERICAN ARBITRATION ASSOCIATION IN ACCORDANCE WITH ITS RULES AT A FACILITY DETERMINED BY THE ARBITRATOR THAT IS LOCATED WITHIN FIFTY (50) MILES OF FRANCHISOR’S PRINCIPAL PLACE OF BUSINESS AND SHALL BE CONDUCTED IN ACCORDANCE WITH THE THEN-CURRENT COMMERCIAL ARBITRATION RULES OF THE AMERICAN ARBITRATION ASSOCIATION. JUDGMENT UPON THE AWARD MAY BE ENTERED IN ANY COURT OF COMPETENT JURISDICTION. THE PARTIES FURTHER AGREE THAT, IN CONNECTION WITH ANY SUCH ARBITRATION PROCEEDING, EACH SHALL SUBMIT OR FILE ANY CLAIM WHICH WOULD CONSTITUTE A COMPULSORY COUNTERCLAIM (AS DEFINED BY RULE 13 OF THE FEDERAL RULES OF CIVIL PROCEDURE) WITHIN THE SAME PROCEEDING AS THE CLAIM TO WHICH IT RELATES. ANY SUCH CLAIM WHICH IS NOT SUBMITTED OR FILED IN SUCH PROCEEDING SHALL BE FOREVER BARRED. THIS PROVISION SHALL CONTINUE IN FULL FORCE AND EFFECT SUBSEQUENT TO AND NOTWITHSTANDING EXPIRATION OR TERMINATION OF THIS AGREEMENT. FRANCHISEE AND FRANCHISOR AGREE THAT ARBITRATION SHALL BE CONDUCTED ON AN INDIVIDUAL, NOT A CLASS-WIDE, BASIS AND THAT FRANCHISOR (AND/OR ITS AFFILIATE AND THEIR RESPECTIVE SHAREHOLDER, OFFICER, DIRECTORS, AGENTS, AND/OR EMPLOYEES) AND FRANCHISEE (AND/OR ITS OWNERS, GUARANTORS, AFFILIATES, AND/OR EMPLOYEES) SHALL BE THE ONLY PARTIES TO ANY ARBITRATION PROCEEDING DESCRIBED IN THIS SECTION AND THAT NO SUCH ARBITRATION PROCEEDING MAY BE CONSOLIDATED WITH ANY OTHER ARBITRATION PROCEEDING, NOR SHALL ANY OTHER PERSON BE JOINED AS A PARTY TO SUCH ARBITRATION PROCEEDING.

Page 185: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 171

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

C. WAIVER OF PUNITIVE DAMAGES AND JURY TRIAL. Except as provided under Section 23, FRANCHISOR and FRANCHISEE hereby waive

to the fullest extent permitted by law, any right to or claim for any punitive or exemplary damages against the other and agree that in the event of a dispute between them (including arbitration proceedings) each shall be limited to the recovery of any actual damages sustained by it. FRANCHISOR and the FRANCHISEE irrevocably waive trial by jury in any action, proceeding or counterclaim, whether at law or in equity, brought by either of them.

D. LIMITATION OF CLAIMS. Except claims for royalty fees and advertising contributions and other amounts

owed to FRANCHISOR, any and all claims arising out of or relating to this Agreement or the relationship of FRANCHISEE and FRANCHISOR in connection with FRANCHISEE’s operation of the STORE shall be barred unless an action or proceeding is commenced within one (1) year from the date FRANCHISEE or FRANCHISOR knew or should have known of the facts giving rise to such claims.

E. CONSENT TO JURISDICTION. FRANCHISEE agrees that any action arising out of or relating to this Agreement

otherwise as a result of the relationship between FRANCHISOR and FRANCHISEE (which is not required to be arbitrated hereunder or as to which arbitration is waived) must be commenced in the state or federal court of general jurisdiction closest to FRANCHISOR’s then-current principal place of business, and FRANCHISEE and each of its owners irrevocably submits to the jurisdiction of such courts and waives any objection to jurisdiction or venue of such court.

F. SURVIVAL AND CONSTRUCTION Each provision of this Section 16, together with the provisions of Section 23, will

be deemed to be self-executing and continue in full force and effect subsequent to and notwithstanding the expiration, termination, setting aside, cancellation, rescission, unenforceability or otherwise of this Agreement (or any part of it) for any reason, and will survive and will govern any claim for rescission or otherwise.

Each party reserves the right to challenge any law, rule or judicial or other

construction which would have the effect of varying or rendering ineffective any provision of this Agreement. The benefits and protections of this Agreement which apply to FRANCHISOR (including, but not limited to, all provisions relating to indemnification and/or

Page 186: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 172

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

releases) shall also apply to any past, current and/or future affiliates as if they were expressly named beneficiaries of such provisions.

G. COSTS AND ATTORNEYS’ FEES If a claim for amounts owed by FRANCHISEE to FRANCHISOR or its affiliate is

asserted in any legal proceeding before a court of competent jurisdiction or an arbitrator, or if FRANCHISOR or FRANCHISEE is required to enforce this Agreement in a judicial or arbitration proceeding, the party prevailing in such proceeding shall be entitled to recover from the other its costs and expenses, including reasonable accounting, paralegal, legal, expert witness, attorneys’ fees and arbitrator fees, whether incurred prior to, in preparation for or in contemplation of the filing of any such proceeding. If FRANCHISOR engages legal counsel in connection with any failure by FRANCHISEE to pay when due amounts due the FRANCHISOR or to submit when due any reports, information or supporting records, or in connection with any failure to otherwise comply with this Agreement, the FRANCHISEE shall reimburse the FRANCHISOR for any of the above listed costs and expenses incurred by it, whether or not legal proceedings are initiated.

H. INJUNCTIVE RELIEF Nothing in this Agreement bars FRANCHISOR’s right to obtain specific performance

of the provisions of this Agreement and injunctive relief against threatened conduct that will cause FRANCHISOR, the Names and Marks or the XXXX System loss or damage, under customary equity rules, including applicable rules for obtaining restraining orders and preliminary injunctions (subject to FRANCHISOR’s obligation to arbitrate the underlying claim if required by Section 16.B). FRANCHISEE agrees that FRANCHISOR may obtain such injunctive relief in addition to such further or other relief as may be available at law or in equity. FRANCHISEE agrees that FRANCHISOR will not be required to post a bond to obtain injunctive relief and that FRANCHISEE’s only remedy if an injunction is entered against FRANCHISEE will be the dissolution of that injunction, if warranted, upon due hearing (all claims for damages by injunction being expressly waived hereby).

I. BINDING EFFECT, MODIFICATION AND REPRESENTATIONS This Agreement is binding on the parties hereto and their respective executors,

administrators, heirs, assigns, and successors in interest, and will not be modified or supplemented except by means of a written agreement signed by both FRANCHISEE and FRANCHISOR’s President or one of FRANCHISOR’s Vice Presidents, provided that changes to the OPERATING MANUAL may be made by FRANCHISOR at any time and will be fully

Page 187: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 173

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

binding on FRANCHISEE notwithstanding any provisions of this Section or otherwise. No other officer, field representative, salesperson or other person has the right or authority to sign on behalf of FRANCHISOR, to make oral or written modifications to this Agreement, or to make any representations or agreements on behalf of FRANCHISOR, and any such modifications, representations and/or agreements shall not be binding on FRANCHISOR.

17. CONSTRUCTION, ETC. Except as expressly provided otherwise, nothing in this Agreement is intended, nor

will be deemed, to confer any rights or remedies on any person or legal entity not a party hereto. The headings of the several Sections hereof are for convenience only and do not define, limit, or construe the contents of such Sections. The term “attorneys’ fees” will include, without limitation, legal fees, whether incurred prior to, in preparation for, or in contemplation of, the filing of any written demand or claim, action, hearing or proceeding to enforce the obligations of this Agreement. References to a “controlling interest” in a business entity will mean fifty percent (50%) or more of the voting control of such entity if such entity is a corporation, and any equity interest if such entity is a partnership or limited liability company. The term “affiliate” means any past, present or future person, company or other entity which controls, is controlled by or is under common control with another person, company or other entity. For purposes of this Agreement, “affiliates” of FRANCHISOR includes, without limitation, ……………………………… The singular usage includes the plural and the masculine and neuter usages include the other and the feminine. If two or more persons are at any time FRANCHISEE hereunder, whether or not as partners or joint venturers, their obligations and liabilities to FRANCHISOR will be joint and several. This Agreement will be executed in multiple copies, each of which will be deemed an original. Each of the provisions of this Agreement (including Sections 16 and 23) apply to any claim brought (or which could be brought) by any owner and/or affiliate of FRANCHISEE’s or by or on FRANCHISEE’s behalf. If any limitation on FRANCHISEE’s rights (including, but not limited to, any limitation on damages, waiver of jury trial, shortened period in which to make any claim or otherwise) is held unenforceable with respect to FRANCHISEE, then such limitation will not apply to FRANCHISOR.

18. NON-RETENTION OF FUNDS FRANCHISEE does not have the right to offset or withhold payments owed to

FRANCHISOR (and/or any affiliate) for amounts purportedly due FRANCHISEE (or any affiliate of FRANCHISEE’s) from FRANCHISOR and/or any of its affiliates as a result of any dispute of any nature or otherwise, but will pay such amounts to FRANCHISOR (or FRANCHISOR’s affiliate) and only thereafter seek reimbursement in accordance with the provisions of

Page 188: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 174

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

Section 16. If FRANCHISEE believes that FRANCHISOR or any other person/entity has violated any legal duty to FRANCHISEE, FRANCHISEE will, notwithstanding such dispute, pay as designated all sums specified under this Agreement or any other agreement, whether to be paid to FRANCHISOR or any affiliate (including royalties, any unpaid portion of the initial franchise fee and any marketing contributions and/or amounts payable to franchisee councils and/or cooperatives) and will not withhold any payments until and unless such dispute has been finally determined in FRANCHISEE’s favor.

19. SEVERABILITY; SUBSTITUTION OF VALID PROVISIONS Except as otherwise stated in this Agreement, each provision of this Agreement,

and any portion of any provision, is severable (including, but not limited to, any provision affecting any rights to recovery for breach of any legal obligation, including but not limited to waiver of statutory benefits such as rights to jury trial, exemplary or punitive damages, recovery of attorney’s fees and/or shortening of statutes of limitations), and the remainder of this Agreement will continue in full force and effect. To the extent that any provision restricting FRANCHISEE’s competitive activities is deemed unenforceable, FRANCHISEE and FRANCHISOR agree that such provisions will be enforced to the fullest extent permissible under governing law. FRANCHISOR may modify any invalid or unenforceable provision to the extent required to be valid and enforceable and FRANCHISEE will be bound by the modified provisions.

20. WAIVERS FRANCHISOR’s waiver of any breach(es) under this or any other agreement

(whether by failure to exercise a power or right available to FRANCHISOR, failure to insist on strict compliance with the terms, obligations or conditions of any agreement, development of a custom or practice between FRANCHISEE and FRANCHISOR (or others) which is at variance with the terms of any agreement, acceptance of partial or other payments or otherwise), whether with respect to FRANCHISEE or others, will not affect FRANCHISOR’s rights with regard to any breach by FRANCHISEE or anyone else or constitute a waiver of FRANCHISOR’s right to demand exact compliance by FRANCHISEE with the terms of this Agreement or otherwise. Subsequent or other acceptance by FRANCHISOR of any payments or performance by FRANCHISEE will not be deemed a waiver of any preceding or other breach by FRANCHISEE of this Agreement or otherwise. The rights and remedies provided in this Agreement are cumulative and FRANCHISOR will not be prohibited from exercising any rights or remedies provided under this Agreement or permitted under law or equity.

Page 189: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 175

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

21. CHOICE OF LAWS Except to the extent governed by the United States Trademark Act of 1946

(Lanham Act, 15 U.S.C. §§ 1051 et seq.) and except that all issues relating to arbitrability or the enforcement or interpretation of the agreement to arbitrate set forth in Paragraph B of this Section shall be governed by the Federal Arbitration Act (9 U.S.C. §§ 1 et seq.) and the federal common law relating to arbitration, this Agreement, the FRANCHISE and all other matters concerning FRANCHISEE and FRANCHISOR (and its affiliates) shall be governed by the internal laws of the state where the STORE is located (without reference to the choice of law and conflict of law rules of that state), except that the provisions of any law of that state regarding franchise disclosure, registration or relationship and the regulations thereunder shall not apply unless its jurisdictional requirements are met independently without reference to this Paragraph.

22. ENTIRE AGREEMENT This Agreement, including the introduction and exhibits to it, together with the

OPERATING MANUAL, constitutes the entire agreement between FRANCHISOR and FRANCHISEE and there are no other oral or written understandings or agreements between FRANCHISOR and FRANCHISEE concerning the subject matter of this Agreement. Except as expressly provided otherwise in this Agreement, this Agreement may be modified only by written agreement signed by both FRANCHISOR and FRANCHISEE.

23. INDEPENDENT CONTRACTORS AND INDEMNIFICATION FRANCHISOR and FRANCHISEE are independent contractors. FRANCHISOR and

FRANCHISEE agree that there does not exist any fiduciary relationship between them. FRANCHISEE shall conspicuously identify FRANCHISEE at the premises of the STORE and in all dealings with suppliers, as the owner of the STORE. Neither FRANCHISOR nor FRANCHISEE shall make any agreements or representations in the name of or on behalf of the other or that their relationship is other than FRANCHISOR and FRANCHISEE and neither FRANCHISOR nor FRANCHISEE shall be obligated by or have any liability under any agreements or representations made by the other that are not expressly authorized hereunder, nor shall FRANCHISOR be obligated for any damages to any person or property directly or indirectly arising out of the operation of the STORE or FRANCHISEE’s business conducted pursuant to the FRANCHISE, whether caused by FRANCHISEE’s negligent or willful action or failure to act, FRANCHISOR shall have no liability for any sales, use, excise, income, property or other taxes levied upon the STORE or its assets or in connection with the sales made or business conducted by the STORE. FRANCHISEE agrees to indemnify

Page 190: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 176

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

FRANCHISOR, its affiliates, and their respective shareholders, directors, officers, employees, agents, representatives, successors and assigns (the “Indemnified Parties”) from and against, and to reimburse any of the Indemnified Parties for, any and all claims, obligations, damages, costs and taxes arising directly or indirectly out of the STORE’s operations, the business FRANCHISEE conducts under this Agreement, or FRANCHISEE’s breach of this Agreement. This indemnification shall be fully applicable, and shall not be voided or otherwise affected by any allegation or claims that FRANCHISOR has been negligent in any degree. For the purposes of this indemnification, “claims” includes all obligations, damages (actual, consequential, punitive or otherwise) and costs that any Indemnified Party reasonably incurs in defending any claim against it, including, without limitation, reasonable accountants’, arbitrators’, attorneys’ and expert witness fees, costs of investigation and proof of facts, court costs, and other expenses of litigation, arbitration or alternative dispute resolution, including travel and living expenses, regardless of whether litigation, arbitration or alternative dispute resolution is commenced. FRANCHISOR shall have the right to defend any such claim against it. The indemnities and assumptions of liabilities and obligations herein shall continue in full force and effect subsequent to and notwithstanding the expiration or termination of this Agreement.

24. NOTICES All written notices permitted or required to be delivered by the provisions of this

Agreement or of the OPERATING MANUAL, shall be deemed so delivered on the date when hand delivered; one (1) day after sending by telegraph or after the date of deposit, if deposited with a commercial delivery service which guarantees next day delivery; or three (3) days after placed in the mail by Registered or Certified Mail, Return Receipt Requested, postage prepaid and addressed to the party to be notified at its most-current principal business address of which the notifying party has been notified.

25. EFFECTIVE DATE OF AGREEMENT The “Term” of this Agreement shall take effect upon the date of FRANCHISOR’s

execution of this Agreement. 26. ACKNOWLEDGMENTS FRANCHISEE acknowledges that it has conducted an independent investigation of

the business authorized hereunder and recognizes that the business venture contemplated by this Agreement involves business risks and that its success will be largely dependent upon the ability of FRANCHISEE as an independent business-person. FRANCHISOR expressly

Page 191: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 177

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

disclaims the making of, and FRANCHISEE acknowledges that it has not received, any warranty or guarantee, express or implied, as to the potential volume, profits, or success of the business venture contemplated by this Agreement. FRANCHISEE acknowledges that it has read this Agreement and the FRANCHISOR’s Uniform Franchise Offering Circular and that it has no knowledge of any representation by the FRANCHISOR, or its officers, directors, shareholders, employees or agents that are contrary to the statements made in the FRANCHISOR’s Uniform Franchise Offering Circular or to the terms herein.

FRANCHISEE acknowledges that it has received, read, and understood this

Agreement and FRANCHISOR’s Uniform Franchise Offering Circular; that FRANCHISOR has fully and adequately explained the provisions of each to FRANCHISEE’s satisfaction; and that FRANCHISOR has accorded FRANCHISEE ample time and opportunity to consult with advisors of its own choosing about the potential benefits and risks of entering into this Agreement.

FRANCHISEE acknowledges that it received a copy of this Agreement, and any

agreements relating thereto, at least five (5) business days prior to the date on which this Agreement has been executed. FRANCHISEE further acknowledges that FRANCHISEE has received the disclosure document required by the Trade Regulation Rule of the Federal Trade Commission entitled Disclosure Requirement and Prohibitions Concerning Franchising and Business Opportunity Ventures and applicable state laws, if any, at least ten (10) business days prior to the date on which this Agreement has been executed.

IN WITNESS WHEREOF, the parties hereto have executed this Agreement on the

date stated below. FRANCHISOR: By: Name: Title: Date:

FRANCHISEE: By: Name: Title: Date:

Page 192: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 178

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

EXHIBIT A

GUARANTY AND ASSUMPTION OF OBLIGATIONS In consideration of, and as an inducement to, the execution of the above

Franchise Agreement and any Addenda thereto (individually or collectively the “Agreement”) by ABC (“FRANCHISOR”), each of the undersigned (“GUARANTORS”) hereby personally and unconditionally (1) guarantees to FRANCHISOR and its successors and assigns, for the term of the Agreement and thereafter as provided in the Agreement, that (“FRANCHISEE”) shall punctually pay and perform each and every undertaking, agreement and covenant set forth in the Agreement and (2) agrees to be personally bound by, and personally liable for the breach of, each and every provision in the Agreement, both monetary obligations and obligations to take or refrain from taking specific actions or to engage or refrain from engaging in specific activities. Each of the undersigned waives:

(1) acceptance and notice of acceptance by FRANCHISOR of the foregoing

undertakings; (2) notice of demand for payment of any indebtedness or nonperformance of any

obligations hereby guaranteed; (3) protest and notice of default to any party with respect to the indebtedness or

nonperformance of any obligations hereby guaranteed; and (4) any right he may have to require that an action be brought against

FRANCHISEE or any other person as a condition of liability. Each of the undersigned consents and agrees that: (a) his direct and immediate liability under this guaranty shall be joint and

several; (b) he shall render any payment or performance required under the Agreement

upon demand if FRANCHISEE fails or refuses punctually to do so; (c) such liability shall not be contingent upon or conditioned upon pursuit by

FRANCHISOR of any remedies against FRANCHISEE or any other person; and (d) such liability shall not be diminished, relieved or otherwise affected by any

extension of time, credit or the indulgence which FRANCHISOR may from time to time grant to FRANCHISEE or to any other person, including, without limitation, the acceptance of any partial payment or performance, or the compromise or release of any claims, none of which shall in any way modify or amend this guaranty, which shall be continuing and irrevocable during the term of the Agreement.

Page 193: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 179

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

If FRANCHISOR is required to enforce this Guaranty and Assumption of Obligations in any judicial or arbitration proceeding or appeal thereof, the GUARANTORS shall reimburse FRANCHISOR for its costs and expenses, including but not limited to, reasonable accountants’, attorneys’, attorney assistants’, arbitrators’ and expert witness fees, costs of investigation and proof of facts, court costs, other litigation expenses and travel and living expenses, whether incurred prior to, in preparation for or in contemplation of the filing of any written demand, claim, action, hearing or proceeding to enforce this Guaranty and Assumption of Obligations.

Each of the undersigned agrees to be personally bound by the arbitration

obligations under Section 16 of the Agreement, including, without limitation, the obligation to submit to binding arbitration the claims described in Section 16 of the Agreement in accordance with its terms.

Page 194: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 180

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

IN WITNESS WHEREOF, each of the undersigned has hereunto affixed his signature on the same day and year as the Agreement was executed.

WITNESS GUARANTORS Name Signature Name Signature

State of } County of } ss. On , before me, Date Name and Title of Officer (e.g., “Jane Doe, Notary Public” Personally appeared Name(s) of Signer(s)

• personally known to me • proved to me on the basis of satisfactory evidence

to be the person(s) whose name(s) is/are subscribed to the within instrument and acknowledged to me that he/she/they executed the same in his/her/their authorized capacity(ies), and that his/her/their authorized signature(s) on the instrument the person(s), or the entity upon behalf of which the person(s) acted, executed the instrument.

Witness my hand and official seal. Place Notary Seal Above Signature of Notary Public

Page 195: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 181

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

EXHIBIT B

CONFIDENTIALITY AND NON-COMPETITION AGREEMENT

This “Agreement” is made and entered into as of this day of ,

20, by and among Franchisee, Covenantor and ABC, an Illinois corporation (“Franchisor”). “Franchisee”: “Covenantor”: , being [an owner], [an officer], [a director] [general partner], [managing member] or

[manager] of Franchisee. Address: 1. PREAMBLES Franchisor has executed or intends to execute a “Franchise Agreement” with

Franchisee under which Franchisor grants to Franchisee certain rights with regard to a “XXXX Coffees Store” (“ABC Store”), a “XXXX Coffees Kiosk” (“ABC KIOSK”) or a “XXXX Coffees Cart” (“ABC CART”). Unless otherwise specified, all references herein to ABC STORES include ABC KIOSKs and ABC CARTs. Before allowing Covenantor to have access to the Confidential Information (as defined below) and as a material term of the Franchise Agreement necessary to protect Franchisor’s confidential know-how and distinctive systems, designs, decor, trade dress, specifications, standards and procedures authorized or required by Franchisor from time to time for use in the operation of Franchisee’s ABC Store, ABC KIOSK or ABC CART (the “Store”) and Franchisor’s proprietary rights in and Franchisee’s right to use the Confidential Information, Franchisor and Franchisee require that Covenantor enter into this Agreement.

To induce Franchisor to enter into the Franchise Agreement and/or to avoid a

material breach thereof Franchisor, Franchisee and Covenantor desire and consider it to be in Covenantor’s best interests that Covenantor enter into this Agreement. Due to the nature of Franchisor’s and Franchisee’s business any use or disclosure of the Confidential Information other than in accordance with this Agreement will cause Franchisor and Franchisee substantial harm.

Page 196: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 182

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2. PROTECTION OF CONFIDENTIAL INFORMATION Covenantor acknowledges and agrees that Franchisor possesses certain

confidential and proprietary information in which Franchisor possesses valuable industrial and intellectual property rights consisting of the methods, techniques, formats, specifications, procedures, information, systems, methods of business management, sales and promotion techniques and knowledge of and experience in the operation and franchising of ABC STORES (the “Confidential Information”). Franchisor and Franchisee will disclose such parts of the Confidential Information as are required for Covenantor to perform its obligations to Franchisee in furnishing Covenantor the training program, the Operating Manual (as defined in the Franchise Agreement) and in guidance furnished to Covenantor for his/her performance of services to Franchisee.

Covenantor agrees to use the Confidential Information only to the extent

reasonably necessary to perform Covenantor’s duties for Franchisee taking into consideration the confidential nature of the Confidential Information. Covenantor may disclose the Confidential Information only as agent for Franchisee. Covenantor acknowledges and agrees that the unauthorized use or duplication of the Confidential Information, including, without limitation, in connection with any other business would be detrimental to Franchisor and Franchisee and would constitute a breach of Covenantor’s obligations of confidentiality and an unfair method of competition with Franchisor and other ABC STORES owned by Franchisor, its affiliates or franchisees.

Covenantor acknowledges and agrees that the Confidential Information is

confidential to and a valuable asset of Franchisor. The Confidential Information will be disclosed to Covenantor solely on the condition that Covenantor agrees to the terms and conditions of this Agreement. Covenantor therefore agrees that during the term of the Franchise Agreement and thereafter, he/she: (a) will not use the Confidential Information in any other business or capacity; (b) will maintain the absolute confidentiality of the Confidential Information; (c) will not make unauthorized copies of any portion of the Confidential Information disclosed or recorded in written or other tangible form; and (d) will adopt and implement all reasonable procedures prescribed from time to time by Franchisor and Franchisee to prevent unauthorized use or disclosure of or access to the Confidential Information.

Notwithstanding anything to the contrary contained in this Agreement the

restrictions on Covenantor’s disclosure and use of the Confidential Information shall not apply to the following: (a) information, methods, procedures, techniques and knowledge which are or become generally known or easily accessible other than by Covenantor’s

Page 197: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 183

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

breach of an obligation of confidentiality; and (b) the disclosure of the Confidential Information pursuant to applicable law or in judicial or administrative proceedings to the extent that Covenantor is legally compelled or required by a regulatory body to disclose such information, provided Covenantor has notified Franchisor and Franchisee prior to disclosure and shall have used his/her best efforts to obtain, and shall have afforded Franchisor and Franchisee the opportunity to obtain, an appropriate assurance reasonably satisfactory to Franchisor of confidential treatment for the information required to be so disclosed.

3. IN-TERM RESTRICTIVE COVENANT. Covenantor acknowledges and agrees that Franchisor and Franchisee would be

unable to protect the Confidential Information against unauthorized use or disclosure and Franchisor would be unable to achieve a free exchange of ideas and information among ABC STORES if persons authorized to use the Confidential Information were permitted to engage in, have ownership interests in or perform services for Competitive Businesses (as defined below). Covenantor therefore agrees that for as long as Covenantor is an owner, director, officer, general partner, managing member or manager of Franchisee or is otherwise employed or engaged by Franchisee, Covenantor shall not (through a member of the immediate family or otherwise) have any interest as an owner of (except of publicly-traded securities or interests in other ABC STORES pursuant to other franchise agreements with Franchisor or its affiliates), or assist or perform services as a director, officer, employee, consultant, representative, agent or in any other capacity, for, any business principally offering products substantially similar to the products then being offered by the majority of the ABC STORES (a “Competitive Business”), nor will Covenantor have any interest, as aforesaid, in, or serve in any capacity, any entity which franchises or otherwise grants to others the right to operate a Competitive Business.

4. RESTRICTIVE COVENANT UPON TERMINATION OR EXPIRATION OF THE

FRANCHISE AGREEMENT OR COVENANTOR’S ASSOCIATION WITH FRANCHISEE. Upon the first to occur of: (a) termination or expiration without renewal of the

Franchise Agreement; or (b) the date as of which Covenantor ceases to be an owner, director, officer, general partner, managing member or manager of, or otherwise employed or engaged by, Franchisee (both referred to herein as a “Termination Event”), Covenantor agrees that, for a period of two (2) years commencing on the effective date of a Termination Event, Covenantor shall not (through a member of the immediate family or otherwise) have any interest as an owner of (except of publicly-traded securities or interests in other ABC STORES pursuant to other franchise agreements with Franchisor or its

Page 198: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 184

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

affiliates), or assist or perform services as a director, officer, employee, consultant, representative, agent or in any other capacity for, any Competitive Business located within either (i) the Standard Metropolitan Statistical Area wherein the Store is located or (ii) a ten (10) mile radius from any then existing ABC Store, nor will Covenantor have any interest, as aforesaid, in, or serve in any capacity, any entity which franchises or otherwise grants to others the right to operate a Competitive Business

Covenantor recognizes the broad scope of the restrictive covenants set forth in

Sections 3 and 4 of this Agreement, but agrees that they are reasonable. If any court or tribunal of competent jurisdiction shall refuse to enforce any such covenant because it is more extensive whether as to time limit, geographic area, scope of business or otherwise than is deemed reasonable, it is expressly understood and agreed that such covenants shall not be void, but that the restrictions contained therein shall be deemed reduced to the extent necessary to permit the enforcement of such covenants.

Covenantor expressly acknowledges and agrees that Covenantor possesses skills and abilities of a general nature and has opportunities for exploiting such skills. Consequently enforcement of the covenants made in Sections 3 and 4 of this Agreement will not deprive Covenantor of the ability to earn a living.

5. SURRENDER OF DOCUMENTS. Covenantor agrees that, as of the effective date of a Termination Event,

Covenantor shall immediately cease to use the Confidential Information disclosed to or otherwise learned or acquired by Covenantor and return to Franchisee or to Franchisor if directed by Franchisor all copies of the Confidential Information loaned or made available to Covenantor.

6. COSTS AND ATTORNEYS’ FEES. In the event that Franchisor or Franchisee is required to enforce this Agreement in

an action against Covenantor, Covenantor shall reimburse Franchisor and/or Franchisee if it/they prevail (whether or not awarded a money judgment) for its/their reasonable attorneys’ fees, whether such fees are incurred before, during or after any trial or administrative proceeding or on appeal.

7. WAIVER. Failure to insist upon strict compliance with any of the terms, covenants or

conditions hereof shall not be deemed a waiver of such term, covenant or condition, nor

Page 199: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 185

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

shall any waiver or relinquishment of any right or remedy hereunder at any one or more times be deemed a waiver or relinquishment of such right or remedy at any other time or times.

8. SEVERABILITY. Each section, paragraph, term and provision of this Agreement and any portion

thereof shall be considered severable and if for any reason any such provision is held to be invalid or contrary to or in conflict with any applicable present or future law or regulation in a final, unappealable ruling issued by any court, agency or tribunal with competent jurisdiction in a proceeding to which Franchisor is a party, that ruling shall not impair the operation of or have any other effect upon such other portions of this Agreement as may remain otherwise intelligible. Such other portions shall continue to be given full force and effect and bind the parties hereto. Any portion held to be invalid shall be deemed not to be a part of this Agreement from the date the time for appeal expires if Covenantor is a party thereto or upon Covenantor’s receipt of a notice from Franchisor that it will not enforce the section, paragraph, term or provision in question.

9. RIGHTS OF PARTIES ARE CUMULATIVE. The rights of the parties hereunder are cumulative and no exercise or

enforcement by a party hereto of any right or remedy granted hereunder shall preclude the exercise or enforcement by them of any other right or remedy hereunder or which they are entitled by law to enforce.

10. BENEFIT. This Agreement shall inure to the benefit of and be binding upon the parties

hereto and their respective successors and assigns. In the event Franchisor does not execute this Agreement (regardless of the reason) Franchisor shall be deemed a third party beneficiary of this Agreement and shall have the right to enforce this Agreement directly.

11. EFFECTIVENESS. This Agreement shall be enforceable and effective when signed by Covenantor

regardless of whether and when Franchisor or Franchisee signs this Agreement. 12. GOVERNING LAW/CONSENT TO JURISDICTION.

Page 200: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 186

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

This Agreement and the relationship between the parties hereto shall be construed and governed in accordance with the internal laws of the state in which the Store is located without regard to its conflict of laws principles. Covenantor and Franchisee agree that they shall institute and that Franchisor may institute any action against any of the parties hereto in any state or federal court of general jurisdiction in the state court of general jurisdiction or the Federal District Court nearest to Franchisor’s principal place of business at the time such action is filed. Covenantor and Franchisee irrevocably submit to the jurisdiction of such courts and waive any objections to either the jurisdiction or venue of such court.

IN WITNESS WHEREOF, the parties hereto have executed this Agreement in

multiple counterparts as of the day and year first above written.

Covenantor: Franchisee: Print name of Covenantor Print name of Franchisee By:

Signature of Covenantor Print Name:

Title: Franchisor: ABC an Illinois corporation By: Print

Name:

Title:

Page 201: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 187

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

EXHIBIT C

CONFIDENTIALITY AGREEMENT This “Agreement” is made and entered into as of this day

of , 20 , by and among Franchisee, Covenantor and ABC, an Illinois corporation (“Franchisor”).

“Franchisee”: “Covenantor”: , employed or engaged by Franchisee as . Address:

1. PREAMBLES Franchisor has executed or intends to execute a “Franchise Agreement” with

Franchisee under which Franchisor grants to Franchisee certain rights with regard to “XXXX Coffees Stores” (“ABC STORES”), “XXXX Coffees Kiosks” (“ABC KIOSKs”) or “XXXX Coffees Carts” (“ABC CARTs”). Unless otherwise specified, all references herein to ABC STORES include ABC KIOSKs and ABC CARTs. Before allowing Covenantor to have access to the Confidential Information (as defined below) and as a material term of the Franchise Agreement necessary to protect Franchisor’s confidential know-how and distinctive systems, designs, decor, trade dress, specifications, standards and procedures authorized or required by Franchisor from time to time for use in the operation of Franchisee’s ABC Store, ABC KIOSK or ABC CART (the “Store”) and Franchisor’s proprietary rights in and Franchisee’s right to use the Confidential Information, Franchisor and Franchisee require that Covenantor enter into this Agreement.

To induce Franchisor to enter into the Franchise Agreement and/or to avoid a

material breach thereof Franchisor, Franchisee and Covenantor desire and consider it to be in Covenantor’s best interests that Covenantor enter into this Agreement. Due to the nature of Franchisor’s and Franchisee’s business any use or disclosure of the Confidential Information other than in accordance with this Agreement will cause Franchisor and Franchisee substantial harm.

Page 202: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 188

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

2. PROTECTION OF CONFIDENTIAL INFORMATION. Covenantor acknowledges and agrees that Franchisor possesses certain

confidential and proprietary information in which Franchisor possesses valuable industrial and intellectual property rights consisting of the methods, techniques, formats, specifications, procedures, information, systems, methods of business management, sales and promotion techniques and knowledge of and experience in the operation and franchising of ABC STORES (the “Confidential Information”). Franchisor and Franchisee will disclose such parts of the Confidential Information as are required for Covenantor to perform his/her obligations to Franchisee in furnishing Covenantor the training program, the Operating Manual (as defined in the Franchise Agreement) and in guidance furnished to Covenantor for his/her performance of services to Franchisee.

Covenantor agrees to use the Confidential Information only to the extent

reasonably necessary to perform Covenantor’s duties for Franchisee taking into consideration the confidential nature of the Confidential Information. Covenantor may disclose the Confidential Information only as agent for Franchisee. Covenantor acknowledges and agrees that the unauthorized use or duplication of the Confidential Information, including, without limitation, in connection with any other business would be detrimental to Franchisor and Franchisee and would constitute a breach of Covenantor’s obligations of confidentiality and an unfair method of competition with Franchisor and other ABC STORES owned by Franchisor, its affiliates or franchisees.

Covenantor acknowledges and agrees that the Confidential Information is

confidential to and a valuable asset of Franchisor. The Confidential Information will be disclosed to Covenantor solely on the condition that Covenantor agrees to the terms and conditions of this Agreement. Covenantor therefore agrees that during the term of the Franchise Agreement and thereafter, he/she: (a) will not use the Confidential Information in any other business or capacity; (b) will maintain the absolute confidentiality of the Confidential Information; (c) will not make unauthorized copies of any portion of the Confidential Information disclosed or recorded in written or other tangible form; and (d) will adopt and implement all reasonable procedures prescribed from time to time by Franchisor and Franchisee to prevent unauthorized use or disclosure of or access to the Confidential Information.

Notwithstanding anything to the contrary contained in this Agreement the

restrictions on Covenantor’s disclosure and use of the Confidential Information shall not apply to the following: (a) information, methods, procedures, techniques and knowledge which are or become generally known or easily accessible other than by Covenantor’s

Page 203: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 189

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

breach of an obligation of confidentiality; and (b) the disclosure of the Confidential Information pursuant to applicable law or in judicial or administrative proceedings to the extent that Covenantor is legally compelled or required by a regulatory body to disclose such information, provided Covenantor has notified Franchisor and Franchisee prior to disclosure and shall have used his/her best efforts to obtain, and shall have afforded Franchisor and Franchisee the opportunity to obtain, an appropriate assurance reasonably satisfactory to Franchisor of confidential treatment for the information required to be so disclosed.

4. SURRENDER OF DOCUMENTS. Covenantor agrees that as of the date on which Covenantor ceases to perform

services for Franchisee in connection with the Store, Covenantor shall immediately cease to use the Confidential Information disclosed to or otherwise learned or acquired by Covenantor and return to Franchisee or to Franchisor if directed by Franchisor all copies of the Confidential Information loaned or made available to Covenantor.

5. COSTS AND ATTORNEYS’ FEES. In the event that Franchisor or Franchisee is required to enforce this Agreement in

an action against Covenantor, Covenantor shall reimburse Franchisor and/or Franchisee if it/they prevail (whether or not awarded a money judgment) for its/their reasonable attorneys’ fees, whether such fees are incurred before, during or after any trial or administrative proceeding or on appeal.

6. WAIVER. Failure to insist upon strict compliance with any of the terms, covenants or

conditions hereof shall not be deemed a waiver of such term, covenant or condition, nor shall any waiver or relinquishment of any right or remedy hereunder at any one or more times be deemed a waiver or relinquishment of such right or remedy at any other time or times.

7. SEVERABILITY. Each section, paragraph, term and provision of this Agreement and any portion

thereof shall be considered severable and if for any reason any such provision is held to be invalid or contrary to or in conflict with any applicable present or future law or regulation in a final, unappealable ruling issued by any court, agency or tribunal with

Page 204: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 190

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

competent jurisdiction in a proceeding to which Franchisor is a party, that ruling shall not impair the operation of or have any other effect upon such other portions of this Agreement as may remain otherwise intelligible. Such other portions shall continue to be given full force and effect and bind the parties hereto. Any portion held to be invalid shall be deemed not to be a part of this Agreement from the date the time for appeal expires if Covenantor is a party thereto or upon Covenantor’s receipt of a notice from Franchisor that it will not enforce the section, paragraph, term or provision in question.

8. RIGHTS OF PARTIES ARE CUMULATIVE. The rights of the parties hereunder are cumulative and no exercise or

enforcement by a party hereto of any right or remedy granted hereunder shall preclude the exercise or enforcement by them of any other right or remedy hereunder or which they are entitled by law to enforce.

9. BENEFIT. This Agreement shall inure to the benefit of and be binding upon the parties

hereto and their respective successors and assigns. In the event Franchisor does not execute this Agreement (regardless of the reason) Franchisor shall be deemed a third party beneficiary of this Agreement and shall have the right to enforce this Agreement directly.

10. EFFECTIVENESS. This Agreement shall be enforceable and effective when signed by Covenantor

regardless of whether and when Franchisor or Franchisee signs this Agreement. 11. GOVERNING LAW/CONSENT TO JURISDICTION. This Agreement and the relationship between the parties hereto shall be

construed and governed in accordance with the internal laws of the state in which the Store is located without regard to its conflicts of laws principles. Covenantor and Franchisee agree that they shall institute and that Franchisor may institute any action against any of the parties hereto in any state or federal court of general jurisdiction in the state court of general jurisdiction or the Federal District Court nearest to Franchisor’s principal place of business at the time such action is filed. Covenantor and Franchisee irrevocably submit to the jurisdiction of such courts and waive any objections to either the jurisdiction or venue of such court.

Page 205: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

รายงานวิจัยการพัฒนากลยุทธการตลาดธุรกิจแฟรนไชสสูสากล 191

ภายใตโครงการพัฒนาและสรางโอกาสทางการตลาดธุรกิจแฟรนไชส ป 2556

IN WITNESS WHEREOF, the parties hereto have executed this Agreement in multiple counterparts as of the day and year first above written.

Covenantor: Franchisee: Print name of Covenantor Print name of Franchisee By: Signature of Covenantor Print

Name:

Title: Franchisor: Print name of Franchisee By: Print

Name:

Title:

Page 206: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ภาคผนวก ก

รายชื่อแฟรนไชส์ระหว่างประเทศดา้นอาหารและเครือ่งดื่มที่ประกอบการใน AEC

Page 207: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ภาคผนวก ข

รายชื่อแฟรนไชส์ด้านอาหารและเครื่องดืม่ที่ประกอบการใน AEC

Page 208: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ภาคผนวก ค

ตัวอย่างสัญญา

Page 209: บทสรุปผู้บริหาร - DBD · 2020-02-29 · เข้า (Franchise Fee) ต่ ากว่า 100,000 บาท จัดเก็บค่าบริการจัดการ

ภาคผนวก ง

การส ารวจฐานข้อมลูผูป้ระกอบการแฟรนไชสม์ีรายละเอยีดของการส ารวจฐานข้อมูล ที่ด าเนินการในการส่งรายงานความคืบหน้าครัง้ที่ 2

- การส ารวจฐานข้อมลูผูป้ระกอบการแฟรนไชส์เพิ่มเติม

จากแหล่งข้อมลูทุติยภมูติ่างๆ