หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556 - Architecture KMITL · 2018. 7. 9. ·...

68
.. . 'I- - L . -. . . I,. I r. , t' -

Transcript of หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556 - Architecture KMITL · 2018. 7. 9. ·...

  • .. . 'I-

    - L . - . . . I,.

    I r .

    , t ' -

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต

    (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556)

    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

    สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้คุณทหารลาดกระบัง

  • 1. & I M E ~ ~ $ R ~

    doniwitw u q~aoiilmunssuniams~a~m

    dnniwi~dn~c., Bachelor of Landscape Architecture

    : q3a~i~nunssuniamssJ"~3m

    : Bachelor of Landscape Architecture

    : n.aa.u.

    : B.L.A.

  • 1

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    หลักสูตรภมูิสถาปัตยกรรมศาสตรบณัฑิต หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556

    ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชา สถาปัตยกรรมและการวางแผน

    หมวดท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป

    1. ชื่อหลักสูตร ช่ือภาษาไทย ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต ช่ือภาษาอังกฤษ Bachelor of Landscape Architecture

    2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ช่ือเต็ม (ภาษาไทย) : ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Landscape Architecture ช่ือย่อ (ภาษาไทย) : ภ.สถ.บ.

    (ภาษาอังกฤษ) : B.L.A.

    3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถ้ามี) คณะกรรมการจัดท ามาตรฐานคุณวุฒิสถาปัตยกรรมศาสตร์ สภาสถาปนิก ได้ก าหนดวิชาเอกหรือความ

    เช่ียวชาญเฉพาะของหลักสูตรไว้ 5 ด้าน ได้แก่ (1) องค์ความรู้ด้านทฤษฎีและการออกแบบ (2) องค์ความรู้ด้านการปฏิบัติวิชาชีพ จรรยาบรรณทางวิชาชีพ (3) องค์ความรู้ด้านสภาพแวดล้อม ภูมิสังคมและวัฒนธรรม (4) องค์ความรู้ด้านการก่อสร้าง (5) องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี

    4. จ านวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 165 หน่วยกิต

  • 2

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ

    หลักสูตรปริญญาตรี 5 ปี 5.2 ภาษาที่ใช้

    หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย 5.3. การรับเข้าศึกษา รับท้ังนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติท่ีสามารถพูด ฟัง อ่าน เขียน และเข้าใจภาษาไทยอย่างดี

    5.4. ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

    5.5. การให้ปริญญาแก่ผู้ส าเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

    6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรใหม่ ก าหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2557

    ได้พิจารณากล่ันกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งท่ี 7/2556 เมื่อวันท่ี 25 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2556 ได้รับอนุมัต/ิเห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบันในการประชุมครั้งท่ี 8/2556 เมื่อวันท่ี 26 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2556 รับรองหลักสูตรโดยสภาสถาปนิก

    เมื่อวันท่ี................... เดือน............................. พ.ศ. ......................

    7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติในปี

    การศึกษา 2559 มีความสอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี หรือ 5 ปี ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548 และตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิก ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการตรวจสอบและรับรองปริญญา ระดับปริญญาตรี ของสถาบันการศึกษาท่ีเปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2553

    8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษา (1) ปฏิบัติวิชาชีพในหน่วยงานภาคเอกชน เช่น ภูมิสถาปนิก ผู้ควบคุมงานก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม

    ประกอบวิชาชีพในสายงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัทท่ีปรึกษาด้านการพัฒนาสภาพแวดล้อม หน่วยงานเอกชนหรือองค์กรท่ีไม่แสวงหาผลก าไร

    (2) ปฏิบัติวิชาชีพในหน่วยงานราชการ หน่วยงานในก ากับของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ในต าแหน่งภูมิสถาปนิก

  • 17

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    3.1.3 รายวิชา ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    ตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิก ว่าด้วยการก าหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตหมวดวิชาของมาตรฐานวิชาการในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ.2552 หมายถึง รายวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เกษตร คณิตศาสตร์ และสหศาสตร์ ในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปนักศึกษาเลือกเรียนตามรายวิชาท่ีก าหนดหรือเรียนวิชาใดก็ได้ตามกลุ่มวิชาท่ีสถาบันเปิดสอนในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปก าหนด (ภาคผนวก ง)

    กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 90010002 สุขภาพและโภชนาการ 3 (3-0-6) HEALTH AND NUTRITION 90010004 ส่ิงแวดล้อมและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 3 (3-0-6) ENVIRONMENT AND NATURAL RESOURCES CONSERVATION

    กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 90020001 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 3 (3-0-6) FOUNDATION ENGLISH 1 90020002 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 3 (3-0-6) FOUNDATION ENGLISH 2 90020004 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 3 (3-0-6) ENGLISH FOR COMMUNICATION 90020005 การใช้ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 3 (3-0-6) THAI USAGE FOR COMMUNICATION

    กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 90030002 จริยศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ 3 (3-0-6) ETHICS AND AESTHETICS

  • 18

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    90030004 การพัฒนาบุคลิกภาพและสุขภาพจิต 3 (3-0-6) PERSONALITY DEVELOPMENT AND MENTAL HYGIENE

    กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 90040001 เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต 3 (3-0-6) ECONOMICS AND WAYS OF LIVING 90040005 สังคมและวัฒนธรรมไทย 3 (3-0-6) THAI SOCIETY AND CULTURE

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ ในหมวดวิชาเฉพาะ ทางหลักสูตรฯได้จัดรายวิชาให้สามารถตอบสนองต่อพันธกิจและนโยบายในการบริหารสถาบันฯ และให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิก ว่าด้วยการก าหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตหมวดวิชาของมาตรฐานวิชาการในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ.2552

    กลุ่มวิชาหลักสาขา 45 หน่วยกิต ตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกฯ หมายถึง รายวิชาเกี่ยวกับกระบวนการคิด

    สังเคราะห์ บง่ช้ีปัญหาในงานภูมิสถาปัตยกรรมด้วยการปฏิบัติ อาทิเช่น ปฏิบัติการออกแบบศิลปะ การออกแบบและการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม การออกแบบพืชพรรณ (Planting Design) โดยมีหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต

    หลักสูตรนี้ ให้ความส าคัญกับกลุ่มวิชาหลักสาขาซึ่งเป็นเนื้อหาส าคัญของวิชาชีพภูมิสถาปนิก โดยได้จัดการศึกษาในรายวิชาและเนื้อหาสาระองค์ความรู้ ด้านทฤษฎีและการออกแบบให้ครอบคลุมทุกด้าน รวมทุกรายวิชามีหน่วยกิตรวมท้ังส้ิน 45 หน่วยกิต ตรงตามเกณฑ์มาตรฐานตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกฯ มีรายวิชาในกลุ่มดังต่อไปนี้

    หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 02376101 ออกแบบเบ้ืองต้น 3 (1-4-4) FUNDAMENTAL DESIGN 02376102 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 1

  • 19

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    02376103 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 2 02376104 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 3 02376105 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 4 02376106 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 5 02376107 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 6 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 6 02376108 วิธีวิจัยและการจัดท ารายละเอียดโครงการ 3 (2-2-4) RESEARCH METHODOLOGY AND PROGRAMMING 02376109 วิทยานิพนธ์ทางภูมิสถาปัตยกรรม 9 (0-18-9) THESIS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE

    กลุ่มวิชาพื้นฐาน 27 หน่วยกิต ตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกฯ หมายถึง รายวิชาความรู้พื้นฐานในสาขาภูมิ

    สถาปัตยกรรม อาทิเช่น มูลฐานในการออกแบบ มนุษย์และส่ิงแวดล้อม ทฤษฎี การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม ความรู้เกี่ยวกับเมืองและชุมชน ผังเมือง วัสดุพืชพรรณ นิเวศวิทยา ธรณีสัณฐานวิทยา วิทยาศาสตร์พืชพรรณ (Plant Science) โดยมีหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต

    หลักสูตรนี้ ให้ความส าคัญกับกลุ่มวิชาพื้นฐาน เพื่อเป็นการปรับพื้นความรู้ให้แก่นักศึกษาใหม่ โดยได้จัดการศึกษาในรายวิชาและเนื้อหาสาระให้ครอบคลุมทุกด้าน รวมทุกรายวิชามีหน่วยกิตรวมท้ังส้ิน 27 หน่วยกิต มากกว่าเกณฑ์มาตรฐานตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกฯ 7 หน่วยกิต มีรายวิชาในกลุ่มดังต่อไปนี้

    หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 02376201 หลักการเขียนแบบเบื้องต้น 2 (1-2-3) BASIC ARCHITECTURAL DRAWING

  • 20

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    02376202 ออกแบบทัศนศิลป์ 3 (2-2-5) VISUAL DESIGN 02376203 วาดเส้น 2 (0-4-4) DELINEATION 02376204 การน าเสนองานทางภูมิสถาปัตยกรรม 2 (0-4-4) LANDSCAPE ARCHITECTURAL PRESENTATION 02376205 พืชพรรณและสวนเบ้ืองต้น 2 (2-0-4) INTRODUCTION TO PLANTS AND GARDEN 02376206 พืชพรรณส าหรับงานภูมิทัศน์ 2 (2-0-4) LANDSCAPE PLANTS 02376207 มรดกสภาพแวดล้อมท้องถิ่น 3 (3-0-6) VERNACULAR HERITAGE 02376208 ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2-0-4) HISTORY OF LANDSCAPE ARCHITECTURE 02376209 นิเวศวิทยาและความยั่งยืน 2 (2-0-4) ECOLOGY AND SUSTAINABILITY 02376210 ธรณีสัณฐานวิทยา 2 (2-0-4) GEOMORPHOLOGY 02376211 แนวคิดในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (3-0-6) CONCEPTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE 02376212 ผังเมืองเบ้ืองต้น 2 (2-0-4) INTRODUCTION TO URBAN PLANNING

    กลุ่มวิชาเทคโนโลยี 29 หน่วยกิต ตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกฯ หมายถึง รายวิชาท่ีเกี่ยวกับเทคนิค เครื่องมือ ใน

    การออกแบบและการปฏิบัติวิชาชีพสาขาภูมิสถาปัตยกรรม อาทิเช่น วัสดุและการก่อสร้าง วัสดุพืชพันธุ์ หลักวิชาด้านการจัดการพืชพันธุ์และเกษตรภูมิทัศน์ คอมพิวเตอร์ในงานภูมิสถาปัตยกรรม เป็นต้น โดยมีหน่วยกิตรวมกับหมวดวิชาสนับสนุนไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต

    หลักสูตรนี้ ให้ความส าคัญกับกลุ่มวิชาเทคโนโลยี เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ปรัชญา และปณิธานของสถาบันฯท่ีให้ความส าคัญในการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควบคู่ไปกับองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีในวิชาชีพภูมิสถาปนิก โดยได้จัดการศึกษาในรายวิชาและเนื้อหาสาระให้

  • 21

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ครอบคลุมทุกด้าน รวมทุกรายวิชามีหน่วยกิตรวมท้ังส้ิน 29 หน่วยกิต มีรายวิชาในกลุ่มดังต่อไปนี้

    หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 02376301 พื้นฐานวัสดุและการก่อสร้าง 3 (2-2-5) FUNDAMENTAL CONSTRUCTIONS AND MATERIALS 02376302 เทคโนโลยีทางอาคาร 1 3 (1-4-4) BUILDING TECHNOLOGY 1 02376303 เทคโนโลยีทางอาคาร 2 3 (1-4-4) BUILDING TECHNOLOGY 2 02376304 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 1 3 (1-4-4) LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 1 02376305 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 2 3 (1-4-4) LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 2 02376306 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 3 3 (1-4-4) LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 3 02376307 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 4 3 (1-4-4) LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 4 02376308 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 5 3 (1-4-4) LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 5 02376309 คอมพิวเตอร์ในงานภูมิสถาปัตยกรรม 2 (1-2-4) COMPUTER FOR LANDSCAPE ARCHITECTURE 02376310 การส ารวจข้อมูลจากระยะไกลและภูมิสารสนเทศ 3 (1-4-4) REMOTE SENSING AND GIS

  • 22

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    กลุ่มวิชาสนับสนุนสาขา 26 หน่วยกติ ตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกฯ หมายถึง รายวิชาท่ีสนับสนุนการออกแบบและการ

    ปฏิบัติวิชาชีพสาขาภูมิสถาปัตยกรรม อาทิเช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ทฤษฎีและปฏิบัติการเกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรมสาขาอื่นๆ รายวิชาด้านการปฏิบัติวิชาชีพและจริยธรรม กฎหมาย ระเบียบ การส่ือสารเพื่อการน าเสนอผลงาน เป็นต้น โดยมีหน่วยกิตรวมกับหมวดวิชาเทคโนโลยีไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต

    หลักสูตรนี้ ให้ความส าคัญกับกลุ่มวิชาสนับสนุนสาขา เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มเติมจากรายวิชาอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาชีพหลัก โดยได้จัดการศึกษาในรายวิชาและเนื้อหาสาระให้ครอบคลุมทุกด้าน รวมทุกรายวิชามีหน่วยกิตรวมท้ังส้ิน 26 หน่วยกิต ซึ่งเมื่อรวมกับหมวดวิชาเทคโนโลยีแล้วมีหน่วยกิตรวมท้ังส้ิน 55 หน่วยกิต มากกว่าเกณฑ์มาตรฐานตามระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกฯ 20 หน่วยกิต มีรายวิชาในกลุ่มดังต่อไปนี้

    หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 02376402 ออกแบบสถาปัตยกรรม 1 4 (1-6-5) ARCHITECTURAL DESIGN 1 02376403 ออกแบบสถาปัตยกรรม 2 5 (1-8-6) ARCHITECTURAL DESIGN 2 02376401 ส่ือดิจิตอลเพื่อการออกแบบ 2 (1-2-3) DIGITAL MEDIA FOR DESIGN 02376404 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันตก 3 (3-0-6) HISTORY OF WESTERN ARCHITECTURE 02376405 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันออก 3 (3-0-6) HISTORY OF EASTERN ARCHITECTURE 02376406 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 3 (2-2-5) INTERIOR ARCHITECTURE 02376407 ภูมิอากาศวิทยาและสถาปัตยกรรม 2 (2-0-4) CLIMATOLOGY AND ARCHITECURE 02376408 ป่าไม้และการป่าไม้ 2 (2-0-4) FOREST AND FORESTRY 02376409 การปฏิบัติวิชาชีพและจรรยาบรรณ 2 (2-0-4) PROFESSIONAL PRACTICE AND ETHICS

  • 23

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    กลุ่มวิชาประสบการณ์ภาคสนาม เป็นกลุ่มวิชาท่ีช่วยส่งเสริมประสบการณ์ภาคสนามแก่นักศึกษา สอดคล้องกับพันธกิจและ

    นโยบายในการบริหารสถาบันฯในเรื่องสหกิจศึกษา และปรัชญาของคณะฯท่ีมุ่งเน้นให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ความรู้สู่การปฏิบัติ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการและยังสามารถรองรับการฝึกงานข้ามประเทศตามกรอบความตกลงของ AFAS ในการจัดเตรียมการยอมรับร่วมกันของอาเซียนด้านการบริการสถาปัตยกรรม 2558 (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Architectural Services: MRAs) ท่ีมีแนวโน้มเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีบริการวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม (ASEAN Architect) ในอนาคต

    หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 02376501 การฝึกงาน 0 (0-45-0) PRACTICAL TRAINING กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะ

    เป็นกลุ่มวิชาเลือกเฉพาะท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงกับสาขาวิชาชีพภูมิสถาปนิก เป็นการสร้างทางเลือกในการศึกษาท่ีค านึงถึงความต้องการของนักศึกษาเป็นหลัก สามารถเลือกเรียนวิชาท่ีส่งเสริมการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทหรือการประกอบอาชีพในสายอื่นๆท่ีเกี่ยวข้อง สอดคล้องกับพันธกิจและนโยบายในการบริหารสถาบันฯในเรื่องการศึกษาแบบก้าวหน้าและการจัดการศึกษาแบบค านึงถึงผู้เรียนเป็นหลัก โดยเลือกเรียนจ านวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต มีรายวิชาในกลุ่มดังต่อไปนี้

    หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 02376601 ภูมิสังคมในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 3 (1-4-4) GEO-SOCIAL BASED IN ARCHITECTUREL DESIGN 02376602 ประติมากรรมในงานภูมิทัศน ์ 2 (1-2-4) SCULPTURE IN LANDSCAPE 02376603 ภูมิทัศน์วัฒนธรรม 2 (2-0-4) CULTURAL LANDSCAPE 02376604 มนุษย์กับธรรมชาติ 2 (2-0-4) HUMAN AND NATURE

  • 24

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    02376605 กระบวนทางธรรมชาติในงานออกแบบ 2 (2-0-4) NATURAL PROCESS IN DESIGN 02376606 ทรัพยากรชายฝ่ังทะเล 2 (2-0-4) COASTAL RESOURCE ENVIRONMENT 02376607 สุนทรียส่ิงแวดล้อม 2 (2-0-4) ENVIRONMENTAL ESTHETICS 02376608 ส่ือดิจิตอลส าหรับงานภูมิทัศน์ 2 (2-0-4) LANDSCAPE DIGITAL MEDIA 02376609 การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ในเมือง 2 (1-2-4) URBAN TREE CARE 02376610 เทคนิควิเคราะห์พื้นท่ีส าหรับงานภูมิทัศน์ 2 (2-0-4) SITE ANALYSIS TECHNIQUE IN LANDSCAPE 02376611 สัมมนาทางภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2-0-4) SEMINAR IN LANDSCAPE ARCHITECTURE 02376612 การอนุรักษ์ภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2-0-4) CONSERVATION IN LANDSCAPE ARCHITECTURE 02376613 2 (0-4-2) SELECTED TOPICS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE 02376614 การบริการภูมิสถาปัตยกรรมภาคสนาม 2(0-4-2) LANDSCAPE ARCHITECTURAL FIELD SERVICE ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

    นักศึกษาสามารถเลือกเรียนในรายวิชาท่ีเปิดสอนในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หรือนอกเหนือจากรายวิชาท่ีระบุไว้ด้านล่าง จ านวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

    หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) 02216701 ดนตรีวิจักขณ์ 2 (2-0-4) MUSIC APPRECIATION 02216702 ดนตรีไทย 2 (2-0-4) THAI MUSIC

  • 25

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    02216703 ศิลปะไทย 2 (2-0-4) THAI ARTS 02216704 การถ่ายภาพเบื้องต้น 2 (1-2-3) INTRODUCTION TO PHOTOGRAPHY 02216705 เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม 2 (2-0-4) APPROPRIATE TECHNOLOGY 02216706 สุนทรียสนทนา 2 (1-2-3) DIALOGUE 02216709 คอมพิวเตอร์กราฟิก 2 (1-2-3) COMPUTER GRAPHIC 02216710 สีน้ าเพื่อความรื่นรมย์ 2 (1-2-3) APPRECIATION OF WATER COLOR 02216711 สีน้ าในงานสถาปัตยกรรม 2 (1-2-3) WATER COLOR IN ARCHITECTURE 02216712 ปฏิบัติการโรงงาน 2 (1-2-3) WORKSHOP 02216714 สถาปัตยกรรมไม้ไผ่ 2 (1-2-3) BAMBOO ARCHITECTURE 02216715 แนวความคิดในการสร้างสรรค์ 2 (2-0-4)

    พื้นท่ีเว้นว่างแบบไทย IDEOLOGIES AND METHODS IN THAI ARCHITECTURE SPACE 02216718 ชัยภูมิศาสตร์ในงานสถาปัตยกรรม 2 (2-0-4) GEOMANCY IN ARCHITECTURE 02216719 พระราชปรัชญา และแนวคิดทฤษฎีในพระราชด าริ 2 (2-0-4)

    ROYAL PHILOSOPHY AND CONCEPT THEORIES IN THE ROYAL INITIATIVE

    02216720 การวิเคราะห์พื้นท่ีเพื่อการพัฒนา 2 (2-0-4) ตามแนวพระราชด าริ

    AREA ANALYSIS FOR DEVELOPMENT IN THE ROYAL INITIATIVE

  • 26

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    02216721 เศรษฐกิจพอเพียงส าหรับนักศึกษาปริญญาตรี 2 (2-0-4) SUFFICIENCY ECONOMY FOR UNDERGRADUATE STUDENTS

    02216722 การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้วยกิจกรรม 2 (0-4-2) STUDENT QUALITY DEVELOPMENT

    THROUGH ACTIVITIES 02216723 จิตอาสา 2 (0-4-2) VOLUNTEER SPIRIT 02216724 จักรยานในชีวิต 2 (1-2-3) BICYCLE IN LIFE

  • 28

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    3.1.4 แผนการศึกษา

    ปีที ่1 ภาคการศึกษาที่ 1

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376101 ออกแบบเบ้ืองต้น FUNDAMENTAL DESIGN

    3 (1-4-4)

    02376203 วาดเส้น DELINEATION 2 (0-4-4)

    02376201 หลักการเขียนแบบเบื้องต้น BASIC ARCHITECTURAL DRAWING 2 (1-2-3)

    02376202 ออกแบบทัศนศิลป์ VISUAL DESIGN 3 (2-2-5)

    02376301 พื้นฐานวัสดุและการก่อสร้าง FUNDAMENTAL CONSTRUCTIONS AND MATERIALS

    3 (2-2-5)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    รวม 19

  • 29

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่1 ภาคการศึกษาที่ 2

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376402 ออกแบบสถาปัตยกรรม 1 ARCHITECTURAL DESIGN 1

    4 (1-6-5)

    02376204 การน าเสนองานทางภูมิสถาปัตยกรรม LANDSCAPE ARCHITECTURAL PRESENTATION 2 (0-4-4)

    02376205 พืชพรรณและสวนเบ้ืองต้น INTRODUCTION TO PLANTS AND GARDEN

    2 (2-0-4)

    02376302 เทคโนโลยีทางอาคาร 1 BUILDING TECHNOLOGY 1 3 (1-4-4)

    02376401 ส่ือดิจิตอลเพื่อการออกแบบ DIGITAL MEDIA FOR DESIGN 2 (1-2-3)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    รวม 19

  • 30

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่2 ภาคการศึกษาที่ 1

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376403 ออกแบบสถาปัตยกรรม 2 ARCHITECTURAL DESIGN 2

    5 (1-8-6)

    02376206 พืชพรรณส าหรับงานภูมิทัศน์ LANDSCAPE PLANTS 2 (2-0-4)

    02376303 เทคโนโลยีทางอาคาร 2 BUILDING TECHNOLOGY 2 3 (1-4-4)

    02376404 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันตก HISTORY OF WESTERN ARCHITECTURE 3 (3-0-6)

    02376406 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน INTERIOR ARCHITECTURE

    3 (2-2-5)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    รวม 19

  • 31

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่2 ภาคการศึกษาที่ 2

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376102 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 1

    5 (1-8-6)

    02376207 มรดกสภาพแวดล้อมท้องถิ่น VERNACULAR HERITAGE 3 (3-0-6)

    02376304 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 1 LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 1 3 (1-4-4)

    02376405 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันออก HISTORY OF EASTERN ARCHITECTURE

    3 (3-0-6)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี

    2 (x-x-x)

    รวม 19

  • 32

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่3 ภาคการศึกษาที่ 1

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376103 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 2

    5 (1-8-6)

    02376208 ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม HISTORY OF LANDSCAPE ARCHITECTURE 2 (2-0-4)

    02376305 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 2 LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 2 3 (1-4-4)

    02376309 คอมพิวเตอร์ในงานภูมิสถาปัตยกรรม COMPUTER FOR LANDSCAPE ARCHITECTURE 2 (1-2-4)

    02376210 ธรณีสัณฐานวิทยา GEOMORPHOLOGY 2 (2-0-4)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    รวม 17

  • 33

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่3 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376104 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 3

    5 (1-8-6)

    02376209 นิเวศวิทยาและความยั่งยืน ECOLOGY AND SUSTAINABILITY 2 (2-0-4)

    02376306 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 3 LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 3 3 (1-4-4)

    02376407 ภูมิอากาศวิทยาและสถาปัตยกรรม CLIMATOLOGY AND ARCHITECURE 2 (2-0-4)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป 3 (3-0-6)

    xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี

    2 (x-x-x)

    รวม 17

  • 34

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่4 ภาคการศึกษาที่ 1

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376105 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 4

    5 (1-8-6)

    02376211 แนวคิดในงานภูมิสถาปัตยกรรม CONCEPTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE 3 (3-0-6)

    02376307 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 4 LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 4 3 (1-4-4)

    02376310 การส ารวจข้อมูลจากระยะไกลและภูมิสารสนเทศ REMOTE SENSING AND GIS 3 (1-4-4)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป

    3 (3-0-6)

    xxxxxxxx วิชาเลือกเฉพาะ 2 (x-x-x)

    รวม 19

  • 35

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่4 ภาคการศึกษาที่ 2

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376106 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 5

    5 (1-8-6)

    02376108 วิธีวิจัยและการจัดท ารายละเอียดโครงการ RESEARCH METHODOLOGY AND PROGRAMMING 3 (2-2-4)

    02376308 เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม และวัสดุพืชพันธุ์ 5 LANDSCAPE TECHNOLOGY AND PLANT MATERIAL 5 3 (1-4-4)

    02376212 ผังเมืองเบ้ืองต้น INTRODUCTION TO URBAN PLANNING 2 (2-0-4)

    02376408 ป่าไม้และการป่าไม้ FOREST AND FORESTRY 2 (2-0-4)

    xxxxxxxx วิชาศึกษาท่ัวไป 3 (3-0-6)

    รวม 18

    ปีที่ 4 ภาคการศึกษาฤดูร้อน

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376501 การฝึกงาน PRACTICAL TRAINING

    0 (0 -45-0)

  • 36

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    ปีที ่5 ภาคการศึกษาที่ 1

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376107 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 6 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 6

    5 (1-8-6)

    02376409 การปฏิบัติวิชาชีพและจรรยาบรรณ PROFESSIONAL PRACTICE AND ETHICS 2 (2-0-4)

    xxxxxxxx วิชาเลือกเสรี 2 (x-x-x)

    รวม 9

    ปีที ่5 ภาคการศึกษาที่ 2

    รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต

    02376109 วิทยานิพนธ์ทางภูมิสถาปัตยกรรม THESIS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE

    9 (0-18-9)

    รวม 9

    จ านวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 165 หน่วยกิต

  • 68

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    4. องค์ประกอบเก่ียวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี)

    วิชา 02376501 การฝึกงาน PRACTICAL TRAINING S / U นักศึกษาจะต้องผ่านการฝึกงานวิชาชีพเพื่อเตรียมตัวเป็นภูมิสถาปนิกก่อนการจบการศึกษากับ

    บริษัทภูมิสถาปนิก หรือหน่วยงานทางราชการท่ีมีแผนกงานภูมิ สถาปัตยกรรม ท่ีทางหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมเป็นผู้คัดเลือก บริษัทหรือหน่วยงานท่ีเข้าร่วมโครงการฝึกงานจ าเป็นต้องจัดเตรียมรายละเอียดโครงการร่วมกับทางหลักสูตร เพื่อให้มีมาตรฐานเดียวกันในการรับนักศึกษาเข้าเป็นพนักงานฝึกงาน บริษัทและหน่วยงานจะส่งรายงานการฝึกงานของนักศึกษาให้กับทางหลักสูตรเมื่อเสร็จส้ินโครงการ และนักศึกษาจะต้องส่งรายงานการฝึกงานในแต่ละวันให้กับทางหลักสูตร เพื่อเป็นการพิจารณาประเมินผลหลังจากจบโครงการ โครงการฝึกงานวิชาชีพนี้จะให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริงในการปฏิบัติงานในบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ พร้อมท้ังเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับบริษัทหรือหน่วยงานเพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาในอนาคต

    4.1. มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม

    (1) มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบท้ังต่อตนเองและสังคมและเป็นผู้มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบวิชาชีพ เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต อยู่ภายใต้หลักธรรมา ภิบาลขององค์กรและสังคม

    (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีภาวการณ์เป็นผู้น า หรือผู้ตามท่ีดี รู้จักการท างานร่วมกับผู้อื่น สามารถล าดับความส าคัญและแก้ไขข้อขัดแย้งโดยใช้หลักธรรมาภิบาล มีความสามารถในการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์กรได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

    (3) มีความอ่อนน้อม ถ่อมตน อดทน มุ่งมั่น ใฝ่รู้ และมีความเพียร ให้เกียรติเพื่อนร่วมงาน 4.2. ช่วงเวลา

    ภาคฤดูร้อน ของปีการศึกษาท่ี 4 ต้ังแต่เดือนเมษายน – เดือนพฤษภาคม

    4.3. การจัดเวลาและตารางสอน วิชา 02376501 การฝึกงาน PRACTICAL TRAINING S / U

    ใช้เวลาฝึกงาน เป็นเวลาอย่างน้อย 320 ช่ัวโมง

  • 69

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    5. ข้อก าหนดเก่ียวกับการท าโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี)

    5.1 ค าอธิบายโดยย่อ วิชา 02376109 วิทยานิพนธ์ทางภูมิสถาปัตยกรรม 9 (0-18-9) THESIS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE

    การศึกษาท่ีสมบูรณ์แบบของหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบังนั้น นักศึกษาจะต้องผ่านวิชาวิทยานิพนธ์ในงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ซึ่งจะเป็นวิชางานออกแบบช้ินสุดท้ายท่ีจะฝึกให้นักศึกษาผ่านกระบวนการออกแบบอย่างมืออาชีพ นักศึกษาจะเป็นผู้ก าหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ด้วยตนเองโดยพิจารณาจากความสนใจส่วนบุคคลและจะต้องส่งหัวข้อดังกล่าวให้คณะกรรมการวิทยานิพนธ์เป็นผู้อนุมัติ นักศึกษาจะเลือกอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลังจากท่ีหัวข้อวิทยานิพนธ์ได้ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ การท าวิทยานิพนธ์นี้ถือเป็นการบรรลุการศึกษาในสายวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม ความสามารถทางการออกแบบท่ีได้เรียนรู้มาจากวิชาท้ังหมดทุกภาคการศึกษาจะถูกน ามาใช้ในการวางแผน การออกแบบ และการแก้ปัญหาต่างๆของโครงการเพื่อเป็นการแสดงความสามารถและศักยภาพในงานออกแบบของนักศึกษาอย่างเต็มภาคภูมิ นักศึกษาจะได้รับค าปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตลอดต้ังแต่เริ่มโครงการจนถึงการออกแบบรายละเอียดซึ่งจะเป็นการแสดงถึงความต้ังใจท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์ของนักศึกษา

    5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้

    (1) มีความสามารถคิดวิเคราะห์ ออกแบบและน าเสนอข้อมูลในหัวข้อค้นคว้าของตนเอง (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบในการท างาน (3) สามารถค้นคว้าหาข้อมูล/ติดตามการเปล่ียนแปลงข้อมูล บูรณาการข้อมูลท่ีได้มาประยุกต์ใช้ทฤษฏี

    การออกแบบและทฤษฏีท่ีเกี่ยวข้องมาใช้ในการออกแบบสร้างสรรค์งานภูมิสถาปัตยกรรมของตนเอง (4) สามารถใช้ภาษาไทยในการน าเสนอด้วยการเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสม (5) มาตรฐานผลงานวิทยานิพนธ์ขั้นสุดท้าย ต้องมีความสวยงาม สมบูรณ์ และมีรายละเอียดครบถ้วน

    ตามหลักการน าเสนองานทางภูมิสถาปัตยกรรม พร้อมน าไปจัดนิทรรศการได้

    5.3 ช่วงเวลา วิชา 02376109 วิทยานิพนธ์ทางภูมิสถาปัตยกรรม 9 (0-18-9) THESIS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE

    ภาคการศึกษาท่ี 2 ของปีการศึกษาท่ี 5

  • 70

    มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    5.4 จ านวนหน่วยกิต 9 หน่วยกิต

    5.5 การเตรียมการ

    (1) จัดแบ่งกลุ่มอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ โดยในแต่ละกลุ่มจ าแนกออก เป็นอาจารย์ประจ า และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก อย่างน้อยกลุ่มละ 2 ท่าน ตามความเช่ียวชาญในการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม

    (2) ให้นักศึกษาเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ และเลือกอาจารย์ที่ปรึกษา (3) ก าหนดช่ัวโมงการสอน เนื้อหาการบรรยาย เกณฑ์การประเมิน และก าหนดช่ัวโมงการให้ค าปรึกษา

    และช่วงเวลาประเมินผล (4) น าเสนองาน ความคืบหน้าวิทยานิพนธ์ และงานขั้นสุดท้าย ต่อกลุ่มอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

    5.6 กระบวนการประเมินผล

    (1) การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าช้ันเรียนและการเข้าพบอาจารย์ท่ีปรึกษาประจ าสัปดาห์

    (2) ประเมินผลจากการน าเสนองานประกอบกับการประเมินผลจากเล่มวิทยานิพนธ์ (3) ประเมินผลการน าเสนอผลงานขั้นสุดท้ายกับกลุ่มอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรืออาจารย์พิเศษ

    หรือนักปฏิบัติวิชาชีพที่ได้การเชิญมาตรวจวิทยานิพนธ์ (4) ประเมินผลจากการจัดนิทรรศการผลงานวิทยานิพนธ์

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    166

    ภาคผนวก จ

    ค าอธิบายรายวชิา

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    167

    ค าอธิบายรายวชิา

    หมวดวิชาเฉพาะ

    กลุ่มวิชาหลักสาขา 45 หน่วยกิต 02376101 ออกแบบเบ้ืองต้น 3 (1-4-4) FUNDAMENTAL DESIGN วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE

    ศึกษา ทดลองและฝึกฝนการใช้จุด เส้น และระนาบ เพื่อจัดองค์ประกอบรูปแบบต่างๆ ให้เป็นงานสถาปัตยกรรมแบบง่ายๆท่ีมีรูปทรงและท่ีว่างท่ีมีความงามตามมาตรฐานสากล พร้อมยกตัวอย่างงานออกแบบท่ีดีท่ีเกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมท้ังระดับในประเทศและต่างประเทศ

    This module focuses on exploring and practicing the spatial organization of dots, lines, and planes to create basic compositions which meet current aesthetic standards in architecture. Students are provided with examples of good design and good buildings from both domestic and international architectural case studies.

    02376102 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 1 วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE

    การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 เป็นวิชาปฏิบัติการออกแบบเบื้องต้น โดยจะศึกษาส่วนประกอบในงานภูมิสถาปัตยกรรมท่ีเช่ือมสัมพันธ์กับ มรดกการต้ังถิ่นฐานระยะต้น ซึ่งจะเรียนรู้และฝึกฝนการออกแบบ ในโครงการขนาดเล็ก เช่น สวนบ้าน สวนครัว และสวนเกษตร ฯลฯ

    Introduction of the first landscape design studio by studying components of landscape coordinating with the heritage of early habitat settlement. Learning and designing skill will be practicing in smaller scale projects, such as kitchen garden, home garden, farm house, etc.

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    168

    02376103 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 2 วิชาบังคับก่อน : 02376102 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 PREREQUISITE : 02376102 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 1

    การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 เป็นวิชาปฏิบัติการออกแบบ ท่ีศึกษาส่วนประกอบในงานภูมิสถาปัตยกรรมท่ีเกี่ยวโยงกับภูมิสถาปัตยกรรมท้องถิ่น และลักษณะทางธรณีสัณฐาน ซึ่งจะเรียนรู้การออกแบบบนพื้นท่ีมีภูมิประเทศท่ีซับซ้อน ในโครงการ ประเภทกลุ่มบ้านชนบท หมู่บ้านในพื้นท่ีชนบท กลุ่มเรือนแพหรือเรือนริมน้้า ตลาด สถานพักตากอากาศ ฯลฯ

    This secondary studio will be studying in compound landscape design associated with vernacular and terrain setting. Complex topography is a major constrain of this design studio. Examples of the studio projects are country cluster homes, rural small village, floating house compound, market, resort, etc. 02376104 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 3 วิชาบังคับก่อน : 02376103 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 PREREQUISITE : 02376103 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 2

    การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 เป็นวิชาปฏิบัติการออกแบบ ท่ีศึกษาความรู้ของส่ิงแวดล้อมท่ีต้องมีลักษณะการออกแบบท่ีเปราะบางกับความเปล่ียนแปลง โดยจะเน้นการเรียนรู้การออกแบบโครงการบนท่ีต้ังในระบบนิเวศ พื้นท่ีประวัติศาสตร์ พื้นท่ีชายฝ่ัง หน้าผา เนินเขา ฯลฯ

    Approaching the intermediate level of studying, this studio will provide knowledge of environment and sensitive landscape design issues. Students will be focusing on ecological setting projects, for instance historic site, cliff and coastal site, foot hill site, etc.

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    169

    02376105 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 4 วิชาบังคับก่อน : 02376104 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 PREREQUISITE : 02376104 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 3

    การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 เป็นวิชาปฏิบัติการออกแบบ ท่ีเรียนรู้การสร้างสรรค์ ในพื้นท่ีเมืองและวัฒนธรรม ซึ่งนักศึกษาจะได้ทดลองซึมซับความซับซ้อนของความงาม บรรยากาศ และการใช้สอย ของพื้นท่ีทางสังคม เพื่อน้าไปสู่การปฏิบัติการออกแบบเพื่อผสานความคิด สู่งานภูมิสถาปัตยกรรมท่ีมีมิติทางสังคม มีท้ังความเช่ือมโยงและขัดแย้งกัน

    Our creative design skill could not be completed without this civic and cultural space design studio. Students will examine and digest complexities of aesthetic, atmosphere and function of social spaces. They will then consider and implement their ideas into the studio project. This studio also emphasizes on social dimensions, relations, and juxtaposition landscape.

    02376106 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 5 วิชาบังคับก่อน : 02376105 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 PREREQUISITE : 02376105 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 4

    การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 เป็นวิชาปฏิบัติการออกแบบ ท่ีเน้นการเรียนรู้ การวางแผนทรัพยากรและธรรมชาติ กระบวนการออกแบบโครงการระดับภูมิภาค โดยมีแนวความคิดการออกแบบ “Designing with nature” เป็นแกนของเรียนรู้วิธีการจัดแบ่ง พื้นท่ีส้าหรับการใช้งานต่างๆท่ีเหมาะสม ด้วยความรู้ท่ีเกี่ยวเนื่อง รวมไปถึง การช้ีให้เห็นกระบวนการท้าลายท่ีซ่อนอยู่ในการพัฒนา อีกด้านหนึ่งวิชาจะนี้มีการเน้นความสามารถในพัฒนาการออกแบบเพื่อเทียบเคียงกับงานในประเทศเพื่อนบ้าน เป็นการรองรับการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

    This studio explores the method of landscape analysis in learning of natural and resource planning design. Students will be introduced to regional scale of the design processes. Designing with nature is the philosophy of this core studio studying on how to break down a region into its appropriate uses. Pointing out that we build where we should

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    170

    farm, cut forests where we should grow them, and design forms where we should follow nature's morphologies. Comprehensible recommendation for reversing the destructive process of development is essential. The other section of this studio is concentrating on how to develop our design skill comparable to the ASEAN neighborhoods for the coming AEC.

    02376107 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 6 5 (1-8-6) LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 6 วิชาบังคับก่อน : 02376106 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 PREREQUISITE : 02376106 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 5

    การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 6 เป็นวิชาปฏิบัติการออกแบบท่ีเปิดกว้างให้นักศึกษาได้ค้นหาแนวคิดของตนเองหลังจากท่ีผ่านการเรียนรู้มาในวิชาก่อน รูปแบบของโครงการจะท้าให้นักศึกษาได้จุดประกายความสร้างสรรค์ ภายใต้เงื่อนไขและข้อจ้ากัดต่างๆ วิชานี้มีปฏิบัติการอย่างเข้มข้น เพื่อฝึกฝนนักศึกษาให้มีความเป็นนักออกแบบมืออาชีพ ให้กับอุตสาหกรรมวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม

    This advance studio is a test floor to open widely for students to explore their ideas after collecting design skill from previous levels. Project site will be provided to the class to allow students initiating their imaginations into the set constrains. This intensive studio will prepare and train our students to the ultimate design profession for the landscape architecture industry.

    02376108 วิธีวิจัยและการจัดท้ารายละเอียดโครงการ 3 (2-2-4) RESEARCH METHODOLOGY AND PROGRAMMING วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE

    ศึกษาการจัดเตรียมโปรแกรมในโครงการภูมิสถาปัตยกรรม การประเมินความต้องการของเจ้าของและผู้ใช้ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการท้ังการวิเคราะห์ด้านเทคนิคและการลงทุน การวิเคราะห์สภาพที่ต้ังโครงการ การรวมรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดล้าดับความต้องการของเนื้อท่ีและอุปกรณ์ การจัดท้าเนื้อหาของรายละเอียดโครงการ เรียนรู้วิธีการจัดสร้างความสัมพันธ์ขององค์ประกอบโครงการ ตลอดจนศึกษาพิจารณากฎหมายข้อบังคับและมาตรฐานท่ีเกี่ยวข้องและการประเมินผลกระทบท่ีมี

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    171

    ต่อโครงการ เพื่อน้าไปสู่การวางกรอบแนวคิดในการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม รวมถึงเกณฑ์ในการเลือกบริเวณและเกณฑ์ประเมินการออกแบบ

    This module involves a study of Landscape architectural program preparation, evaluation of investor and user requirements, project finances, technical feasibility, data collection, analysis and classification (to meet functional requirements), space required for equipment, terms of reference, and project preparation and management. Also included is study and analysis of related ordinances and laws and environmental impact assessments and how these are used tocreate guidelines for site selection, landscape architectural design and design criteria.

    02376109 วิทยานิพนธ์ทางภูมิสถาปัตยกรรม 9 (0-18-9) THESIS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE วิชาบังคับก่อน : 02376107 ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 6 PREREQUISITE : 02376107 LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN 6

    การศึกษาท่ีสมบูรณ์แบบของหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังนั้น นักศึกษาจะต้องผ่านวิชาวิทยานิพนธ์ในงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ซึ่งจะเป็นวิชางานออกแบบช้ินสุดท้ายท่ีจะฝึกให้นักศึกษาผ่านกระบวนการออกแบบอย่างมืออาชีพ นักศึกษาจะเป็นผู้ก้าหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ด้วยตนเองโดยพิจารณาจากความสนใจส่วนบุคคลและจะต้องส่งหัวข้อดังกล่าวให้คณะกรรมการวิทยานิพนธ์เป็นผู้อนุมัติ นักศึกษาจะเลือกอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลังจากท่ีหัวข้อวิทยานิพนธ์ได้ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ การท้าวิทยานิพนธ์นี้ถือเป็นการบรรลุการศึกษาในสายวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม ความสามารถทางการออกแบบท่ีได้เรียนรู้มาจากวิชาท้ังหมดทุกภาคการศึกษาจะถูกน้ามาใช้ในการวางแผน การออกแบบ และการแก้ปัญหาต่างๆของโครงการเพื่อเป็นการแสดงความสามารถและศักยภาพในงานออกแบบของนักศึกษาอย่างเต็มภาคภูมิ นักศึกษาจะได้รับค้าปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตลอดต้ังแต่เริ่มโครงการจนถึงการออกแบบรายละเอียดซึ่งจะเป็นการแสดงถึงความต้ังใจท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์ของนักศึกษา

    Upon the completion of this landscape architectural program at KMITL, students are required to pass Thesis in Landscape Architecture which is the final design course that trains students in the process of professional design practice. Topic proposal is created upon individual interest and is submitted to the thesis committee. Advisor will be selected by a student after student's topic is approved. The thesis is the culmination of a

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    172

    student in landscape architectural education. Skills attained in design, representation and technical subjects are utilized during the development of this project which expresses the student's values in design orientation. Student will work these out with the advisor through the details of design which states student intentions and objectives.

    กลุ่มวิชาพื้นฐาน 27 หน่วยกิต 02376201 หลักการเขียนแบบเบื้องต้น 2 (1-2-3) BASIC ARCHITECTURAL DRAWING วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE

    วิชานี้เป็นวิชาท่ีเกี่ยวกับการเขียนรูปทรงเรขาคณิต โดยใช้เครื่องมือเขียนแบบเพื่อเป็นพื้นฐานส้าหรับการเขียนรูปทรงสถาปัตยกรรม และสภาพแวดล้อม หัวข้อส้าคัญท่ีจะศึกษา ได้แก่ การเขียนตัวหนังสือในแบบสถาปัตยกรรม การเขียนภาพออโธกราฟฟิกโปรเจคชัน พร้อมวิธีการแสงและเงา การเขียนภาพสามมิติ โดยวิธีไอโซเมตริก และหลักการในการเขียนทัศนียภาพขั้นพื้นฐาน

    In this module, students practice geometric drawing of architectural forms and their environment. In individual lessons, students will study lettering, orthographic projection (including shade and shadows), isometric and axonometric drawing and the basic rules of perspective.

    02376202 ออกแบบทัศนศิลป์ 3 (2-2-5) VISUAL DESIGN วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE

    ศึกษาและฝึกหัดการออกแบบเบื้องต้น โดยใช้เส้นรูปทรง พื้นผิว น้้าหนัก สี สัดส่วน ขนาด ฯลฯ โดยยึดหลักการของการออกแบบพื้นฐานท่ีค้านึงถึง เอกภาพ ความสมดุล การขัดแย้ง และความประสานกลมกลืน ตลอดจนการเน้นจุดเด่นขององค์ประกอบในประเภทงาน 2 มิติ และ 3 มิติ โดยเน้นหนักไปทางหลักการ และความสัมพันธ์ของทัศนศิลป์ทุกแขนง เพื่อน้าไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบช้ันสูงในแขนงวิชาชีพเฉพาะต่อไป

    This module involves the study and practice of creating compositions, focusing on form, texture, tone, color, proportion, etc. through a study of the principles of

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    173

    design (unity, equilibrium, contrast and harmony). The module highlights the significant features of composition in two and three dimensions and emphases the principles of visual art, which can then be applied to more advanced designs. 02376203 วาดเส้น 2 (0-4-4) DELINEATION วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE

    ฝึกหัดการเขียนเส้นรอบนอก (Contour Drawing) เพื่อให้เกิดความช้านาญ แม่นย้าในการเขียนภาพโครงสร้างให้ได้สัดส่วนท่ีถูกต้องและศึกษาการให้แสงเงา (Modeled Drawing) ของวัสดุต่างๆ ท่ีถูกต้องตามธรรมชาติ รวมท้ังการใช้เทคนิคต่างๆ เช่น ดินสอ พู่กัน เป็นต้น การศึกษาและปฏิบัติดังกล่าวศึกษาจากหุ่นนิ่งในห้องปฏิบัติการศึกษาการวาดเส้นจากคน สัตว์ ท้ังลักษณะนิ่ง และอาการเคล่ือนไหว (Gesture Drawing) ศึกษาการวาดเส้น ทิวทัศน์ต่างๆ เช่น ทิวทัศน์ชุมชน ชานเมือง เมืองหลวง ทะเล โบราณสถาน ฯลฯ โดยศึกษาโครงสร้าง สัดส่วน เส้น แสง-เงา ท่ีมีความประสานกลมกลืนกันตามธรรมชาติ ด้วยการฝึกปฏิบัติจากแบบจริง ท้ังในและนอกสถานท่ี

    This module involves practicing contour drawing to improve students’ skill in rendering structure, proportion, and shade and shadows using both pencil and paintbrush. The module covers sketch drawing based on observation of humans and animals, both still and moving, in addition to landscapes, towns, local suburbs, seascapes and architectural remains.

    02376204 การน้าเสนองานทางภูมิสถาปัตยกรรม 2 (0-4-4) LANDSCAPE ARCHITECTURAL PRESENTATION วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE

    การวาดภาพองค์ประกอบในงานภูมิสถาปัตยกรรมด้วยมือ เป็นการฝึกฝนให้นักศึกษามีทักษะการถ่ายทอดความรู้สึกท่ีจะน้าเสนอผลงานจากการรับรู้และความเข้าใจในมิติต่างๆของวัตถุและสภาพแวดล้อม การปฏบิัติการในรายวิชานี้ นักศึกษาจะได้ฝึกการวาดภาพพื้นฐานต้ังแต่ภาพขาวด้าสองมิติ ไปจนถึงเทคนิคการวาดภาพด้วยสีแท่ง สีปากกา และสีน้้า เป็นต้น การบรรยายกรณีศึกษาของผลงานศิลปินระดับโลกจะช่วยเป็นแรงบันดาลใจ และเป็นแนวทางให้นักศึกษาได้ฝึกฝนสร้างสรรค์ผลงานท่ีดีต่อไปในอนาคต

  • มคอ. 2

    ภ.สถ.บ. สาขาวชิาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

    174

    Hand drawing of landscape elements is a key for students to get trained in this course. Students explore with hand drawing techniques from the basic black and white of two dimensional through different media techniques such as charcoal, marker color and water color of three dimensional elements in landscape by capturing special character and feeling of their nature. Lectures of case study from the masters are also provided as discussion guidelines and inspirations. 02376205 พืชพรรณและสวนเบ้ืองต้น 2 (2-0-4) INTRODUCTION TO PLANTS AND GARDEN วิชาบังคับก่อน : ไม่มี PREREQUISITE : NONE วิชาพืชพรรณและสวนเบ้ืองต้นเป็นการแนะน้าให้นักศึกษารู้จักกับพรรณไม้ประดับเมืองร้อน และวัสดุปลูกท่ีใช้ในการจัดสวนขนาดเล็ก เช่น สวนบ้าน การเรียนการสอนจะกล่าวถึงธรรมชาติของพรรณไม้และสภาพความเป็นอยู่ในธรรมชาติและการอยู่ร่วมกันของพรรณไม้ต่างชนิด นักศึกษาได้รับประสบการณ์โดยตรงจากผู้ขายและพรรณไม้ท่ีมีขายในแหล่งต่างๆจากการไปทัศนศึกษาท่ีตลาดต้นไม้ ส้าหรับการปฏิบัติงานขั้นสุดท้าย เพื่อให้บรรลุวัตถุป