Kmitl e port-jantima-edit2

10
เอกสารประกอบการอบรม การจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดทาแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ รศ.ดร.จินตวีร์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ช่วยวิทยากร) เอกสารประกอบการอบรม การจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (E-Portfolio) สาหรับนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2557 โดย วิทยากร นางสาวจันทิมา เจริญผล ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

description

เอกสารการอบรม

Transcript of Kmitl e port-jantima-edit2

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 1

เอกสารประกอบการอบรม

การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (E-Portfolio) ส าหรับนักศึกษา

สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง

วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2557

โดย

วิทยากร

นางสาวจันทิมา เจริญผล

ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 2

การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (E-Portfolio)

ส าหรับนิสิตสถาบนัเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง

ความหมายของแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การสะสมผลงานของผู้เรียนตามจุดมุ่งหมายอย่างเป็นระบบ

โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายช่วยให้ผู้เรียนสามารถสะสมผลงานได้ในสื่อที่หลากหลาย เช่น ข้อความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น ท าให้สามารถสะท้อนการเรียนรู้และพัฒนาการในช่วงเวลานั้นของผู้เรียนได้ โดยที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการก าหนดเนื้อหา เลือกเนื้อหา และการประเมินผล ตลอดจนการประเมินตนเองที่เน้นการสะท้อนความคิด และใช้ไฮเปอร์เท็กซ์เชื่อมโยงผลงานที่ได้รับการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้เข้าด้วยกัน โดยมีการออกแบบการน าเสนอที่ผู้อ่ืนสามารถเข้าชมและให้ข้อมูลย้อนกลับได้ ประเภทของแฟ้มสะสมงาน

ในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์มีนักวิชาการได้ก าหนดประเภทของแฟ้มสะสมงานโดยมีการจ าแนกประเภทไว้ดังนี้

1. การจ าแนกตามจุดประสงค์การจัดเก็บ ซึ่งชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ และคณะ (2540) และชัยฤทธิ์ ศิลาเดช 2540) ได้แบ่งแฟ้มสะสมงานเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ

1.1 แฟ้มสะสมงานเชิงวิชาการ (Academic Portfolio) เป็นแฟ้มสะสมงานที่เก็บรวบรวมผลงานของบุคคล กลุ่มบุคคล และหน่วยงานในด้านการศึกษา โดยแสดงผลงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เพ่ือแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้า และพัฒนาการในทุกๆ ขั้นตอน นอกจากนี้ยังสามารถน าไปใช้ประกอบการสมัครเข้าศึกษาต่อ การเสนอผลงานทางวิชาการ หรือใช้เป็นหลักฐานประกอบการสมัครเข้าท างาน

1.2 แฟ้มสะสมงานเชิงวิชาชีพ (Professional Portfolio) เป็นแฟ้มสะสมงานที่แสดงผลงานเกี่ยวกับอาชีพ ความถนัด และความสามารถของบุคคลในสาขาอาชีพต่างๆ เพ่ือน าไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนต าแหน่ง หรือใช้เป็นหลักฐานประกอบการสมัครเข้าท างาน

2. การจ าแนกตามกระบวนการของการจัดเก็บ ซึ่งภาวิณี ศรีสุขวัฒนานันท์ (2540) และ Campbell et.al. (1997) ได้แบ่งประเภทแฟ้มสะสมงานดังนี้

2.1 แฟ้มสะสมงานระหว่างด าเนินการ (Working Portfolio) เป็นแฟ้มสะสมงานที่จัดเก็บหลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการในการท างาน ทั้งในด้านความตั้งใจ การวางแผน การปฏิบัติงาน การแก้ปัญหา การประเมินตนเอง และการให้ผู้อ่ืนประเมิน ซึ่งปริมาณผลงานขึ้นอยู่กับความต้องการของเจ้าของแฟ้มสะสมงาน และผู้ประเมิน

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 3

2.2 แฟ้มสะสมงานส าหรับน าเสนอ (Presentation Portfolio) เป็นแฟ้มสะสมงานที่จัดเก็บหลักฐานที่ได้รับการคัดสรรมาแล้วจากเจ้าของแฟ้มสะสมงาน ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ และเอกลักษณ์ของเจ้าของแฟ้ม

จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับประเภทของแฟ้มสะสมงาน ในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ส าหรับผู้เรียน ควรจัดอยู่ในประเภทแฟ้มสะสมงานเชิงวิชาการ และควรน าเสนอใน 2 ลักษณะนั่นคือ แฟ้มสะสมงานระหว่างด าเนินการ ซึ่งเป็นการจัดเก็บหลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการในการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ผลงาน การวางแผนและการปฏิบัติงาน การประเมินตนเอง การสะท้อนความคิด และการให้ผู้อ่ืนประเมิน และแฟ้มสะสมงานส าหรับน าเสนอ ซึ่งเป็นแฟ้มสะสมงานที่ได้รับการคัดสรรผลงานจากผู้พัฒนาแฟ้มสะสมงาน ซึ่ งจะแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะ ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถพิเศษอันเป็นเอกลักษณ์ของผู้พัฒนาแฟ้มสะสมงาน โครงสร้างแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียน จากการศึกษาแนวคิดของ McKillop (1994, อ้างถึงใน สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2544) ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2540) และประกอบ กรณีกิจ (2552) สามารถสรุปโครงสร้างของแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียนได้ดังนี้

1. ส่วนน า 1.1 หน้าปก (โฮมเพจ) 1.2 ประวัตินักเรียน 1.3 จุดมุ่งหมายหรือจุดประสงค์ของการพัฒนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์

2. ส่วนเนื้อหา ได้แก่ ผลงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ส่วนการประเมินผลงาน

3.1 บันทึกการสะท้อนความคิดต่อผลงานของตนเอง 3.2 บันทึกการประเมินตนเอง 3.3 บันทึกการให้ข้อมูลย้อนกลับ และการประเมินผลงานจากอาจารย์ผู้สอนหรือเพ่ือน

4. ภาคผนวก โดยในเอกสารประกอบการอบรมนี้ประกอบด้วยแนวทางในการจัดท า E-Portfolio โดยมีหัวข้อหลักๆ ดังต่อไปนี้

1. สร้าง Profile (ใส่ข้อมูลส่วนตัว เช่น รูปภาพ ชื่อ ที่อยู่ ) 2. สร้าง My Page (การจัดการหน้าสะสมผลงาน) 3. การใส่ Reflection โดยการใช้ Text box และ V Blog 4. การเผยแพร่ e-portfolio

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 4

1. สร้าง Profile (ใส่ข้อมูลส่วนตัว เช่น รูปภาพ ชื่อ ที่อยู่ ) 1.1 เข้าสู่หน้าเมนู Pages โดยคลิกที่เมนูย่อย ดังรูปภาพ

1.2 ในเมนู Page หน้าตัวอย่างที่โปรแกรมมีให้แล้ว เราสามารถ เข้าสู่เมนู Edit Profile Page โดย

คลิกท่ี Edit content and Layout เพ่ือปรับแต่งแก้ไขข้อมูลได้

1.3 การปรับแต่งข้อมูลส่วนตัว > รูปภาพ โดยการลาก object Image ที่เมนูด้านซ้ายมาวางบนพ้ืนที่ขวามือ (Drag and Drop)

อัพโหลดรูปภาพ โดย คลิกปุ่มเลือกไฟล์ > ใส่ชื่อรูปภาพ > คลิกปุ่ม SAVE ที่ด้านล่าง

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 5

1.4 การเพ่ิมข้อความ ใช้ object Text box จะอยู่ในเมนู General > Text box

ใส่ข้อมูลดังนี้

ชื่อ

รหัสนิสิต

วันเดือนปีเกิด

ที่อยู่

ความสามารถพิเศษและความสนใจ

เมื่อแก้ไขข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Done เพื่อบันทึก หากต้องการดูข้อมูลให้เลือกที่เมนู

Display Page

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 6

2. สร้าง My Page (การจัดการหน้าสะสมผลงาน) 2.1 เข้าสู่เมนู Portfolio > Page > คลิกปุ่ม Create Page ดังภาพ

2.2 จะพบหน้าแก้ไขเพจ และซ่ึงประกอบด้วยเมนู 5 เมนู ดังนี้

2.3 จะขอน าเสนอในส่วนของการแก้ไข Content เพิ่มเติมในเรื่องของการน าไฟล์ต่างๆ เข้าสู่หน้า

สะสมผลงาน ได้แก่ VIDEO เอกสารน าเสนอในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ PowerPoint, e-book, และ PDFไฟล ์

2.3.1 VIDEO (http://www.youtube.com)

1. การใส่วิดีโอ โดยการใช้ code embed จาก YouTube มีวิธีการ copy ดังภาพ

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 7

2. น า code ที่ได้ มาใส่ใน Object Text box โดยมีวิธีการดังนี้

3. และท าการ Save จะได้ผลดังภาพ

2.3.2 เอกสารในรูปแบบการน าเสนอ (PowerPoint) จาก SlideShare

1. การใส่ PPT โดยการใช้ code embed จาก slideshare

(http://www.slideshare.net) มีวิธีการ copy ดังภาพ

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 8

วิธีการใส่เช่นเดียวกับการใส่ code embed จาก Youtube จะได้ผลดังภาพ

2. การใสเ่อกสาร PDF แบบลิงค์ จาก ISSUU (http://issuu.com)

วิธีการ 1. คลิกท่ี Share 2. Copy Direct link

น าลิงค์ท่ีได้ มาใส่ใน Object Text box 1. ใส่ชื่อ 2. พิมพ์ชื่อลิงค์ 3. คลิกที่ปุ่มใส่ลิงค์ > ใส่

Link URL >Target->open link in a New Window >Update ดังภาพ

ผลที่ได้จากการใส่ลิงค์

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 9

3. การเพ่ิมเอกสาร PDF โดยการใช้ ใน Object PDF คลิกเลือก Media >object PDF >วางบนพื้นท่ีที่ต้องการ

3. การใส่ Reflection โดยการใช้ Text box และ V Blog มีแนวค าถามดังนี้

การสะท้อนความคิดต่อผลงานของนักศึกษา

1. นักศึกษามีความคิดเห็นหรือรู้สกึอย่างไรต่อ

ผลงานช้ินนี ้

2. นักศึกษาใช้เวลาท าผลงานช้ินนีน้านเท่าไร

3. ผลงานช้ินนี้มีจุดเด่นและจุดด้อยอย่างไร

4. นักศึกษาพบปัญหาอะไรบ้างในการท าผลงานช้ินนี้

5. นักศึกษาแก้ปัญหาที่พบในข้อ 4 อย่างไร

6. นักศึกษาเรียนรู้อะไรบา้งจากการสร้างผลงานช้ินนี ้

7. นักศึกษาได้แนวทางในการพัฒนางานช้ินต่อไป

อย่างไร

การใส่ Text box และ V-Blog ได้อธิบายไว้แล้วในข้อ 1.4 หน้า 2 และ 2.3.1 หน้า 3

4. การเผยแพร่ e-portfolio

4.1 ไปที่เมนู Portfolio > Page > เลือก Page ที่ต้องการเผยแพร่ > คลิกรูปดินสอ (Edit Content

and Layout) > Share page ดังภาพ

เอกสารประกอบการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมผลงาน (e-portfolio) ด้วย

เอกสารฉบับนี้ได้ดัดแปลงจากเอกสารการอบรม การจัดท าแฟ้มสะสมงาน (e-portfolio) ด้วย Mahara

โดย ผศ.ดร.ประกอบ กรณีกจิ รศ.ดร.จินตวีร ์ คล้ายสังข์ (วิทยากร)และนางสาวจันทิมา เจริญผล (ผู้ชว่ยวิทยากร)

Page | 10

4.2 แก้ไขสิทธิ์ให้เป็นสาธารณะ คลิกที่ Public > Save

รายการอ้างอิง

ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ และคณะ. (2540). “การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment)”

สสวท. 25 (กรกฎาคม – กันยายน) : 13 - 15.

ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช. (2540). การพัฒนาแฟ้มสะสมงานในการประเมินผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้น

มัธยมศึกษาปีท่ี 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ประกอบ กรณีกิจ. (2552). ผลของระดับความสามารถทางการเรียนรู้และแบบการให้ข้อมูลป้อนกลับใน

แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตในวิชาการผลิตสื่อ

อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา. กองทุนวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาวิณี ศรีสุขวัฒนานันท์. (2540). “การประเมินผลสัมฤทธิ์ด้วยระบบแฟ้มผลงาน”. วารสารศึกษาศาสตร์

ปริทัศน์. 12, 1 (มกราคม – เมษายน).

สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2544). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตามสภาพจริง. เชียงใหม่ :

ส านักพิมพ์ The Kowledge Center.