รำยงำนฉบับสมบูรณ์ - MOCข าว ผล ตภณ ฑม น...

484
จัดทำโดย ศูนย์บริกำรวิชำกำรเศรษฐศำสตร์ คณะเศรษฐศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ พฤษภาคม 2556 รำยงำนฉบับสมบูรณ์ โครงกำรจัดจ้ำงที ปรึกษำเพื อพัฒนำ แบบจำลองทำงเศรษฐศำสตร์ สำนักงำนนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรค้ำ กระทรวงพำณิชย์

Transcript of รำยงำนฉบับสมบูรณ์ - MOCข าว ผล ตภณ ฑม น...

  • จดัท ำโดย ศูนยบ์ริกำรวิชำกำรเศรษฐศำสตร ์คณะเศรษฐศำสตร ์มหำวิทยำลยัธรรมศำสตร ์

    พฤษภาคม 2556

    รำยงำนฉบบัสมบรูณ ์โครงกำรจดัจำ้งท่ีปรึกษำเพ่ือพฒันำแบบจ ำลองทำงเศรษฐศำสตร ์

    ส ำนกังำนนโยบำยและยุทธศำสตรก์ำรคำ้ กระทรวงพำณิชย ์

  •  

     

    รายงานฉบบัสมบรูณ์ โครงการจดัจ้างท่ีปรึกษาเพ่ือพฒันาแบบจาํลองทางเศรษฐศาสตร ์

     

      

    เสนอต่อ

    สาํนักงานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารค้า กระทรวงพาณิชย ์

                  

    โดย

    ศนูยบ์ริการวิชาการเศรษฐศาสตร ์คณะเศรษฐศาสตรม์หาวิทยาลยัธรรมศาสตร ์ พฤษภาคม 2556

       

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    โครงการจดัจ้างท่ีปรกึษาเพ่ือพฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    สารบญั หน้า

    1. บทน า 1 2. ขัน้ตอนการด าเนินการโครงการ 6 3. ผลการด าเนินการโครงการ 16

    3.1 การจดัหาวสัดุ อุปกรณ์ ซอฟทแ์วร ์ทีจ่ าเป็นตอ้งใชใ้นการด าเนินโครงการ เพื่อใช้ประกอบในการจดัท าแบบจ าลองฯ ตลอดจนการวเิคราะห ์และพยากรณ์

    16

    3.2 การจดัทมีทีป่รกึษา การใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองต่างๆ รวมทัง้การจดัเครือ่งมอืการวเิคราะห ์และพยากรณ์เศรษฐกจิการคา้ระหว่างประเทศ ในภาพรวมและแยกรายกลุ่มสนิคา้

    17

    แบบจ าลองเชงิโครงสรา้งเพื่อวดัผลกระทบของนโยบายการคา้ในภาพรวม 19

    รายงานผลการประมาณค่าแบบจ าลองดุลยภาพแยกส่วนส าหรบัตลาดส าคญัของไทย: การวเิคราะหผ์ลกระทบของความผนัผวนของอตัราแลกเปลีย่นต่อการคา้ระหว่างประเทศของไทย

    64

    แบบจ าลองอนุกรมเวลา Autoregressive Integrated Moving Average with Explanatory Variable (ARIMAX) ส าหรบัพยากรณ์การส่งออกของไทยและกลุ่มสนิคา้

    148

    การศกึษาความยดืหยุน่ของอุปสงคส์นิคา้ส่งออกไทย : กรณศีกึษาสนิคา้ขา้ว ผลติภณัฑย์างพารา ผลติภณัฑม์นัส าปะหลงั และผลไมก้ระป๋อง

    161

    การศกึษาความยดืหยุน่ของบรกิารขนส่งทางบก (Demand for Road Freight) :กรณศีกึษาโดยใชค้วามตอ้งการน ้ามนัดเีซลเป็นตวัแทน

    205

    อุปสงคข์องนกัศกึษาต่างชาตต่ิอการศกึษาอุดมศกึษาในประเทศไทย 215

    แบบจ าลองการส่งผ่านราคาจากวตัถุดบิสู่ราคาขัน้สุดทา้ย (Price Transmission Model)

    225

    แบบจ าลอง GTAP ส าหรบัการพยากรณ์ระหว่างประเทศ: แนวโน้มการเปลีย่นแปลงของเศรษฐกจิโลกและผลกระทบต่อการส่งออกของไทย

    240

    รายงานผลการประมาณค่าแบบจ าลองดุลยภาพ (CGE) ส าหรบัตลาดส าคญัของไทย: การวเิคราะหต์ลาดสนิคา้ส่งออกทีส่ าคญั

    258

    3.3 การอบรมพฒันาและเสรมิสรา้งความรูค้วามเขา้ใจเกีย่วกบัแบบจ าลองต่างๆ ใหแ้ก่บุคลากรของส านกังานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารคา้

    304

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    หน้า 3.4 การจดัท าขอ้เสนอแนะเชงินโยบายรายไตรมาส จากผลของการวเิคราะหแ์ละ

    พยากรณ์ขอ้มลูจากแบบจ าลองต่างๆ 305

    3.5 การจดัการประชุมรว่มกบับุคลากรส านกังานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารคา้เดอืนละครัง้ และการจดังานสมัมนาวชิาการทางเศรษฐกจิการคา้ ณ กระทรวงพาณิชย ์3 ครัง้ และการจดังานสมัมนาใหญ่

    459

    3.6 การจดัท ารายงานผลการศกึษาฉบบัสมบูรณ์ และคู่มอืการปฏบิตังิานส าหรบัเจา้หน้าทีผู่ป้ฏบิตังิานการจดัท าแบบจ าลองต่างๆ ตามโครงการ

    460

    4. บทสรุปและขอ้เสนอแนะจากโครงการฯ 461

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 1

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    รายงานฉบบัสมบรูณ์ โครงการจดัจ้างท่ีปรึกษาเพ่ือพฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์

    1. บทน า

    1.1 หลกัการและเหตผุล

    ในปจัจุบนั สถานการณ์เศรษฐกิจการค้าของโลกได้มกีารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ตามพลวตัของสงัคม และการพฒันาระบบเทคโนโลยแีละสารสนเทศการสื่อสาร ซึ่งมกีารปรบัเปลี่ยนเพื่อให้ทนัต่อยุคสมยัตลอดเวลา ส่งผลให้การติดต่อท าธุรกรรมทางเศรษฐกิจการค้าเป็นไปอย่างสะดวก รวดเรว็ เกดิการเปลี่ยนแปลงโครงสรา้งทางเศรษฐกจิการค้าของโลก และมคีวามซบัซ้อนมากขึน้ การมกีฎระเบยีบ และเงือ่นไขทางการคา้ใหม่ๆ ประกอบกบั ระบบเศรษฐกจิการคา้ของไทยในปจัจบุนัเป็นเศรษฐกจิแบบเปิด มกีารพึง่พาภาคเศรษฐกจิการคา้ระหว่างประเทศเป็นตวัขบัเคลื่อน เพื่อสรา้งรายได ้และการจา้งงานในประเทศ ดงันัน้ ความสมัพนัธท์างการคา้ของไทยกบัประเทศอื่น ๆ จงึมคีวามเกี่ยวขอ้งสมัพนัธ์กนัมากขึน้ เมื่อเกดิเหตุการณ์วกิฤตทางเศรษฐกจิในประเทศต่าง ๆ ในโลกซึ่งอาจเป็นประเทศคู่ค้าหรือคู่แข่งขันของไทย ท าให้ประเทศไทยได้ร ับผลกระทบต่อเสถยีรภาพของระบบเศรษฐกจิไทยดว้ย

    กระทรวงพาณิชย์ในฐานะหน่วยงานหลกัด้านเศรษฐกิจที่มภีารกิจส าคญัในการส่งเสรมิการค้าให้แก่ภาคธุรกิจเอกชนไทยทัง้ในและต่างประเทศ ให้มคีวามสามารถเข้มแข็งและมัน่คงท่ามกลางกระแสการเปลีย่นแปลงอยา่งรวดเรว็ของเศรษฐกจิการคา้โลก รวมทัง้ การมบีทบาทส าคญัในการขบัเคลื่อนและกระตุน้เศรษฐกจิการคา้ของประเทศใหเ้จรญิเตบิโตอย่างยัง่ยนื เสรมิสรา้งความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจการค้าในประเทศ กระตุ้นการส่งออกเพื่อสร้างรายได้เข้าประเทศ ตอบสนองความต้องการของประชาชนทุกระดับอย่างทัว่ถึงและยุติธรรม ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนัทางการค้า กระทรวงพาณิชย์จงึได้ก าหนดนโยบาย /มาตรการทางเศรษฐกจิต่าง ๆ เพื่อผลกัดนัให้ประเทศไทยสามารถแข่งขนัทัง้ในระดบัในเวทกีารค้าโลก ภูมภิาค และโดยเฉพาะอาเซยีน โดยใช้กรอบแนวคดิเชงินโยบาย/มาตรการเศรษฐกิจที่ให้ความส าคญัแก่ปจัจยัต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงตลาด การเจาะขยายตลาดใหม่ การอ านวยความสะดวกทางการคา้ รวมถงึ ปจัจยัขบัเคลื่อนเศรษฐกจิทุกภาคส่วน และการพฒันาองคป์ระกอบทางการคา้ทีเ่อื้อต่อความสามารถในการแขง่ขนัทัง้ระบบ

    กระทรวงพาณิชย ์ไดเ้ริม่ด าเนินการจดัท าแบบจ าลองเพื่อพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศของไทยมาตัง้แต่ปีงบประมาณ 2552 โดยใช้ข้อมูลการส่งออกและน าเข้าของไทยที่อยู่ในความรบัผดิชอบของกระทรวงพาณิชย์เป็นฐานข้อมูล พฒันาปรบัปรุงแบบจ าลองให้ขยายขอบเขตการด าเนินงานใหค้รอบคลุม ทนัสมยั และมคีวามถูกต้องแม่นย ามากขึน้ เพื่อใหส้อดคลอ้งกบัโครงสรา้ง

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 2

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ทางเศรษฐกจิการค้าของไทยที่มกีารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มคีวามสมัพนัธ์เชื่อมโยงกบัทุกภาคการผลติและการบรกิาร ทัง้ภายในประเทศและต่างประเทศ ซึง่นับวนัจะยิง่มคีวามซบัซอ้นมากขึน้ ท าใหก้ระทรวงพาณิชย์จงึมคีวามจ าเป็นทีจ่ะต้องจดัหาเครื่องมอืทางวชิาการทางเศรษฐศาสตร ์ ในการศกึษา ตดิตาม วเิคราะห์ประเดน็ปญัหา ปจัจยัเสี่ยงของภาวะเศรษฐกจิรวมทัง้ คาดการณ์หรอืพยากรณ์แนวโน้มเศรษฐกจิอย่างเป็นระบบ ซึง่จะช่วยใหผู้้บรหิารของกระทรวงพาณิชยส์ามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบ การตัดสินใจก าหนดแนวทาง/มาตรการ/นโยบายในการแก้ไขปญัหา และเตรียมพร้อมรบักับสภาวการณ์/ผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทนัท่วงท ี

    1.2 วตัถปุระสงคข์องโครงการ

    1. เพื่อพฒันาแบบจ าลองพยากรณ์การคา้ระหว่างประเทศ ส าหรบัใชส้นับสนุนการวเิคราะห ์ให้ข้อเสนอแนะ และก าหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจการค้า ตลอดจนการพยากรณ์ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศใหม้คีวามถูกตอ้งตามหลกัวชิาการ

    2. เพื่อจดัท าและพฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐมติิ เพื่อใช้ส าหรบัการศึกษาสนิค้าเกษตร /

    อุตสาหกรรมเกษตร และอุตสาหกรรม/ธุรกจิบรกิาร (รายสนิคา้) โดยพจิารณาปจัจยัทีเ่กี่ยวขอ้งและมีผลกระทบต่อสนิคา้แต่ละประเภท ทัง้ภายในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะปจัจยัดา้นคู่แข่ง/คู่ค้าที่ส าคญัของไทย ซึ่งมผีลกระทบต่อการผลติ การบรโิภค และการค้าสนิค้า /บรกิารนัน้ๆ และใช้เป็นข้อมูลในการสนับสนุนการวเิคราะห์ เสนอแนะ และก าหนดนโยบาย/มาตรการด้านเศรษฐกิจ รวมทัง้ สามารถพยากรณ์เศรษฐกจิไดอ้ยา่งถูกตอ้งตามหลกัวชิาการ

    3. เพื่อจดัท าและพฒันาแบบจ าลองค านวณดุลยภาพทัว่ไปเบือ้งต้นของไทย (Computable

    General Equilibrium: CGE) ซึง่ไดเ้ริม่ต้นการจดัท าโครงสรา้งและฐานขอ้มลูไวแ้ลว้ในปี 2554 เพื่อประเมนิผลกระทบจากนโยบาย/มาตรการต่าง ๆ ของกระทรวงพาณิชย ์และปจัจยัอื่นๆ ที่มผีลต่อระบบเศรษฐกจิไทยโดยรวม

    4. เพื่อใหส้ านักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ารคา้ มเีครื่องมอืการวเิคราะห ์และพยากรณ์

    เศรษฐกจิการคา้ระหว่างประเทศในภาพรวม และแยกรายกลุ่มสนิคา้ ทัง้สนิคา้เกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรม/ธุรกจิบรกิาร ในรปูแบบทีเ่อือ้ต่อการใชง้าน

    5. เพื่อใหเ้จา้หน้าทีข่องส านักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ารคา้ มคีวามรู ้ความเขา้ใจใน

    การจดัท า พฒันา และต่อยอดแบบจ าลองพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ แบบจ าลองทางเศรษฐมติ ิเพื่อใช้ส าหรบัการศกึษาสนิคา้เกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร และอุตสาหกรรม/ธุรกจิบรกิาร (รายสินค้า) และแบบจ าลองค านวณดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE) ไดอ้ยา่งต่อเนื่องและมปีระสทิธภิาพ

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 3

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    1.3 ขอบเขตการด าเนินงาน

    1. ใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองต่างๆ

    1.1 แบบจ าลองการพยากรณ์การคา้ระหว่างประเทศ ทัง้ในภาพรวม และตลาดส าคญัของไทย ไดแ้ก่ สหรฐัอเมรกิา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น จนี อนิเดยี และอาเซยีน ส าหรบัใชเ้ป็นขอ้มลูในการสนับสนุนการวิเคราะห์ เสนอแนะ และก าหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจการค้า ตลอดจน การพยากรณ์การคา้ระหว่างประเทศใหม้คีวามถูกตอ้งตามหลกัวชิาการ

    1.2 แบบจ าลองทางเศรษฐมติิ เพื่อใช้ส าหรบัการศึกษาสนิค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร และอุตสาหกรรม/ธุรกจิบรกิาร (รายสนิคา้)

    1.2.1 สนิคา้เกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตร อย่างน้อย 3สนิคา้/กลุ่มสนิคา้ ไดแ้ก่ ขา้ว ผลติภณัฑม์นัส าปะหลงั และผลไมก้ระป๋องและแปรรปู

    1.2.2 อุตสาหกรรม/ธุรกจิบรกิาร อย่างน้อย 3 สนิคา้/กลุ่มสนิคา้ ไดแ้ก่ ผลติภณัฑ์ยาง ธุรกจิบรกิารดา้นการศกึษา และธุรกจิบรกิารดา้นการขนส่งทางบก

    โดยพิจารณาปจัจัยที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบต่อสินค้าแต่ละประเภท ทัง้ภายในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะปจัจยัดา้นคู่แข่ง/คู่คา้ทีส่ าคญัของไทย ซึง่มผีลกระทบต่อการผลติ การบรโิภค และการค้าสนิคา้/บรกิารนัน้ๆ และใช้เป็นขอ้มลูในการสนับสนุนการวเิคราะห ์เสนอแนะ และก าหนดนโยบาย/มาตรการดา้นเศรษฐกจิ รวมทัง้ สามารถพยากรณ์เศรษฐกจิไดอ้ย่างถูกต้องตามหลกัวิชาการทัง้นี้ การก าหนดรายการสินค้า /กลุ่มสินค้าที่จะท าการศึกษาสามารถเปลีย่นแปลงได้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้ตอบสนองต่อภารกจิของกระทรวงพาณชิยไ์ดอ้ยา่งมปีระสทิธภิาพ

    1.3 แบบจ าลองค านวณดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE) ซึ่งได้เริม่ต้นการจดัท าโครงสรา้งและฐานขอ้มูลไว้แล้วในปี 2554 เพื่อประเมนิผลกระทบจากนโยบาย/มาตรการต่างๆ ของกระทรวงพาณิชย ์และปจัจยัอื่นๆ ที่มผีลต่อระบบเศรษฐกจิไทยโดยรวมจ านวน 2 นโยบาย/มาตรการ

    1.4 ขยายฐานขอ้มลูสนิคา้และบรกิารทีส่ าคญัทางเศรษฐกจิ เพื่อใหค้รอบคลุมการจดัท าแบบจ าลองฯ ตามขอ้ 1.3

    2. จดัหาทีมงานที่ปรกึษา (หวัหน้าโครงการฯ และคณะท างาน) ไม่น้อยกว่า 5 คน เพื่อ

    ศกึษา วเิคราะห ์จดัท าแบบจ าลองต่างๆ และจดัหาผูช้่วยนกัวจิยั จ านวนไมน้่อยกว่า 4 คน โดยมวีุฒิการศกึษาระดบัปรญิญาตรทีางดา้นเศรษฐศาสตร ์และ/หรอืเศรษฐมติเิป็นอยา่งน้อย เขา้ปฏบิตังิานที่ส านักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ารค้าเต็มเวลา ตามที่ได้รบัมอบหมายจากบุคลากรส านักงานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารคา้ เพื่อใหบ้รรลุตามวตัถุประสงคข์องโครงการฯ

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 4

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    3. จดัท าเครือ่งมอืการวเิคราะห ์และพยากรณ์เศรษฐกจิการคา้ระหว่างประเทศ ในภาพรวมและแยกรายกลุ่มสนิคา้ ทัง้สนิคา้เกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรม/ธุรกจิบรกิาร ในรปูแบบทีเ่อือ้ต่อการใชง้าน

    4. อบรมพฒันาและเสรมิสรา้งความรูค้วามเขา้ใจเกี่ยวกบัแบบจ าลองต่างๆ ให้แก่บุคลากร

    ของส านกังานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารคา้ จ านวนไมน้่อยกว่า 5 คน

    5. จดัหาวสัดุ/อุปกรณ์ ที่จ าเป็นต้องใช้ในการด าเนินโครงการ โดยค านึงถึงประโยชน์ของการใชง้าน และความเหมาะสมสอดคลอ้งกบัภารกจิกระทรวงพาณชิย ์

    6. จัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผลของการวิเคราะห์และพยากรณ์ข้อมูลจาก

    แบบจ าลองต่าง ๆ เพื่อน าเสนอผูบ้รหิาร 3 เดอืน/ครัง้

    7. จดังานสมัมนาวชิาการทางเศรษฐกจิการคา้ ณ กระทรวงพาณิชยอ์ย่างน้อย 1 ครัง้ เพื่อเผยแพร่ ประชาสมัพนัธ์ผลงานในโครงการฯ รวมทัง้ สร้างความเข้าใจและรบัฟงัข้อคดิเห็นจากหน่วยงานภาครฐัและเอกชนโดยมผีูเ้ขา้ร่วมงานไม่น้อยกว่า 200 คน ทัง้นี้ ผูร้บัจา้งเป็นผูร้บัผดิชอบค่าใชจ้า่ยในการจดังานทัง้หมด

    8. จดัการประชุมร่วมกบับุคลากรส านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า อย่างน้อย 1

    ครัง้/เดอืนเพื่อระดมความคดิเหน็ และทบทวนความคบืหน้า/ปญัหาอุปสรรคในการด าเนินโครงการฯ

    1.4 ผลผลิตของโครงการ

    1. รายงานการจดัท า พัฒนา และการวิเคราะห์ผลจากแบบจ าลองการพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ ทัง้ในภาพรวม และตลาดส าคญัของไทย ไดแ้ก่ สหรฐัอเมรกิา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น จนี อนิเดยี และอาเซยีน

    2. รายงานการจดัท า พฒันา และการวเิคราะห์ผลจากแบบจ าลองทางเศรษฐมติิ เพื่อใช้ส าหรบัการศกึษาสนิคา้เกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร และอุตสาหกรรม/ธุรกจิบรกิาร (รายสนิคา้) โดยพิจารณาปจัจัยที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบต่อสินค้าแต่ละประเภท ทัง้ภายในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะปจัจยัด้านคู่แข่ง/คู่ค้าที่ส าคญัของไทย ซึ่งมผีลกระทบต่อการผลิต การบรโิภค และการคา้สนิคา้/บรกิารนัน้ๆ

    3. รายงานการจดัท า พัฒนา และวิเคราะห์ผลจากแบบจ าลองค านวณดุลยภาพทัว่ไปเบือ้งต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE) ซึง่ไดเ้ริม่ต้นการจดัท าโครงสรา้งและฐานข้อมูลไว้แล้วในปี 2554 เพื่อประเมนิผลกระทบจากนโยบาย/มาตรการต่างๆ ของกระทรวงพาณิชย ์และปจัจยัอื่นๆ ทีม่ผีลต่อระบบเศรษฐกจิไทย โดยรวม จ านวน 2 นโยบาย/มาตรการ โดย

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 5

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ได้ขยายฐานขอ้มูลสนิค้าและบรกิารที่ส าคญัทางเศรษฐกจิ เพื่อให้ครอบคลุมการจดัท าแบบจ าลองดงักล่าว

    4. เครื่องมอืการวเิคราะห ์และพยากรณ์เศรษฐกจิการคา้ระหว่างประเทศ ในภาพรวม และแยกรายกลุ่มสินค้าทัง้สนิค้าเกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรม/ธุรกิจบรกิาร ในรปูแบบทีเ่อือ้ต่อการใชง้าน

    5. รายงานผลการอบรม เพื่อพฒันาและเสรมิสรา้งความรูค้วามเขา้เกีย่วกบัแบบจ าลองต่างๆ ใหบุ้คลากรของส านกังานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารคา้

    6. วสัดุ/อุปกรณ์ที่จ าเป็นใช้ในการด าเนินโครงการ โดยค านึงถึงประโยชน์ของการใช้งาน ความเหมาะสม สอดคลอ้งกบัภารกจิของกระทรวงพาณชิย ์

    7. รายงานขอ้เสนอแนะเชงินโยบาย โดยอา้งองิจากผลของการวเิคราะหแ์ละพยากรณ์ขอ้มลูแบบจ าลองต่างๆ เพื่อน าเสนอผูบ้รหิาร 3 เดอืน/ครัง้

    8. รายงานผลการจดังานสมัมนาวิชาการเศรษฐกิจการค้า เพื่อเผยแพร่ ประชาสมัพนัธ์ผลงานในโครงการฯ รวมทัง้ สรา้งความเขา้ใจและรบัฟงัขอ้คดิเหน็จากหน่วยงานภาครฐัและเอกชน

    9. รายงานผลการศกึษาฉบบัสมบูรณ์ ในรปูเอกสารและบนัทกึลงแผ่น CD-ROM จ านวนอยา่งละ 20 ชุด เพื่อสรปุผลการจดัท าแบบจ าลอง การวเิคราะห ์และรายงานผลการศกึษา ตลอดจน ขอ้เสนอแนะเชงินโยบายจากผลของการคาดการณ์ตามแบบจ าลองต่างๆ

    10. คู่มอืปฏิบตัิงานส าหรบัเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบตัิงาน ในการจดัท าแบบจ าลองต่างๆ ตามโครงการ จ านวน 20 ชุด

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 6

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    2. ขัน้ตอนการด าเนินการโครงการ

    เพื่อให้บรรลุตามวตัถุประสงค์ของโครงการ การด าเนินงานของโครงการจะด าเนินงานตามแนวทางดงันี้

    2.1 การด าเนินงาน 1. การจดัทีมงานท่ีปรึกษา (หวัหน้าโครงการฯ และคณะท างาน) จ านวน 6 คน

    เพ่ือศึกษา วิเคราะห์ จดัท าแบบจ าลองต่างๆ เลขาโครงการฯ จ านวน 1 คน และจดัหาผู้ช่วยนักวิจยั จ านวน 4 คน เข้าปฏิบติังานท่ีส านักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ารค้าเต็มเวลา ตามท่ีได้รบัมอบหมายจากบคุลากรส านักงานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารค้า

    ทมีงานทีป่รกึษา ประกอบดว้ย (1) หวัหน้าโครงการ คอื รศ.ดร.ธาตร ีจนัทรโคลกิา (2) ผูเ้ชีย่วชาญดา้นการจดัท าแบบจ าลองเศรษฐมติ ิประกอบดว้ย

    - ดร.พสิุทธิ ์กุลธนวทิย ์- ดร.ภาวนิ ศริปิระภานุกูล - ดร.เฉลมิพงษ์ คงเจรญิ - ดร.วรรณวภิางค ์มานะโชตพิงษ์

    (3) ผูเ้ชี่ยวชาญดา้นแบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไป (Computable General Equilibrium: CGE) คอื ดร.ณฐัพงษ์ พฒันพงษ์

    (4) เลขาโครงการฯ คอื ศริประภา วาทกจิ (5) ผูช้่วยวจิยั ประกอบดว้ย

    1. นางสาวณฐัพร รตัคธา ปรญิญาตร ีคณะเศรษฐศาสตร ์สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ก าลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท คณะเศรษศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัเชยีงใหม ่ช่วงเวลาทีป่ฏบิตังิาน วนัที ่1 มถุินายน 2555 จนถงึ 28 กุมภาพนัธ ์2556 2. นางสาวปิยพร ประพนัธพ์จน์ ปรญิญาตร ีคณะเศรษฐศาสตร ์สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ก าลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท คณะเศรษศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัเชยีงใหม ่ช่วงเวลาทีป่ฏบิตังิาน วนัที ่1 มถุินายน 2555 จนถงึ 28 กุมภาพนัธ ์2556 3. นายทท พ่อสาร ปรญิญาตร ีคณะเศรษฐศาสตร ์สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 7

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ก าลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท คณะเศรษศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัเชยีงใหม ่ช่วงเวลาทีป่ฏบิตังิาน วนัที ่1 มถุินายน 2555 จนถงึ 28 กุมภาพนัธ ์2556 4. นายณฐัวุฒ ิสุคนธบารม ีปรญิญาตร ีคณะเศรษฐศาสตร ์สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัหอการคา้ไทย ปรญิญาโท คณะเศรษศาสตร ์สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัหอการคา้ไทย ช่วงเวลาทีป่ฏบิตังิาน วนัที ่1 มถุินายน 2555 จนถงึ 31 ตุลาคม 2555 5. นายวรฒุ วงษ์สวาท ปรญิญาตร ีคณะเศรษฐศาสตร ์สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัหอการคา้ไทย ปรญิญาโท คณะเศรษศาสตร ์สาขาเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัหอการคา้ไทย ช่วงเวลาทีป่ฏบิตังิาน วนัที ่1 พฤศจกิายน 2555 จนถงึ 28 กุมภาพนัธ ์2556

    2. การให้ค าปรึกษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองต่างๆ การด าเนินงานให้ค าปรึกษา จดัท า และพฒันาแบบจ าลองต่างๆ แบ่งงานและความ

    รบัผดิชอบออก เป็น 2.1 แบบจ าลองการพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ จ าแนกตามกลุ่มประเทศ

    แบ่งเป็น 3 กลุ่มแบบจ าลอง 2.1.1 แบบจ าลองเชงิโครงสรา้งเพื่อวดัผลกระทบของนโยบายการคา้ในภาพรวม

    รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.ภาวิน ศิริประภานุกลู

    2.1.2 แบบจ าลองดุลยภาพแยกส่วนส าหรบัตลาดส าคญัของไทย รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.พิสทุธิ ์กลุธนวิทย ์

    2.1.3 แบบจ าลองอนุกรมเวลา ARIMAX ส าหรบัพยากรณ์ในระยะสัน้ รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.เฉลิมพงษ์ คงเจริญ

    2.2 แบบจ าลองทางเศรษฐมิติ เพ่ือใช้ส าหรบัการศึกษาสินค้าเกษตร/อตุสาหกรรมเกษตร และอตุสาหกรรม/ธรุกิจบริการ (รายสินค้า)

    แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบจ าลอง 2.2.1 แบบจ าลองอนุกรมเวลา (Time Series Model)

    รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.เฉลิมพงษ์ คงเจริญ

    2.2.2 แบบจ าลองเชงิโครงสรา้ง (Demand Estimation) รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 8

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ดร.วรรณวิภางค ์มานะโชติพงษ์ 2.2.3 แบบจ าลองการส่งผ่านราคา (Price Transmission Model)

    รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษาจดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย รศ.ดร.ธาตรี จนัทรโคลิกา

    2.3 แบบจ าลองค านวณดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE)

    แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบจ าลอง 2.3.1 แบบจ าลอง Global Trade Analysis Project (GTAP) ส าหรบัการ

    วเิคราะหแ์ละพยากรณ์การคา้ระหว่างประเทศ รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์

    2.3.2 แบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE) รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย

    ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์ 2.4 การขยายฐานข้อมูลสินค้าและบริการท่ีส าคญัทางเศรษฐกิจ เพ่ือให้ครอบคลุม

    การจดัท าแบบจ าลอง CGE รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา ด าเนินการขยายฐานขอ้มลูโดย ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์

    3. จดัท าเคร่ืองมือการวิเคราะห์ และพยากรณ์เศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ ในภาพรวมและแยกรายกลุ่มสินค้า ทัง้ สินค้าเกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตร และอตุสาหกรรม/ธรุกิจบริการ ในรปูแบบท่ีเอ้ือต่อการใช้งาน ด าเนินการโดยการจัดท าโปรแกรมส าหรับใช้ประกอบกับซอฟท์แวร์ ส าหรับแต่ละแบบจ าลอง ดงันี้

    3.1 แบบจ าลองการพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ จ าแนกตามกลุ่มประเทศ แบ่งเป็น 3 กลุ่มแบบจ าลอง 3.1.1 แบบจ าลองเชงิโครงสรา้งเพื่อวดัผลกระทบของนโยบายการคา้ในภาพรวม

    ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการประมาณค่าและพยากรณ์ โดยใช้ซอฟแวร ์GTAP และ GAMS รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.ภาวิน ศิริประภานุกลู

    3.1.2 แบบจ าลองดุลยภาพแยกส่วนส าหรบัตลาดส าคญัของไทย

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 9

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการประมาณค่าและพยากรณ์ โดยใช้ซอฟแวร ์STATA รบัผดิชอบด าเนินการให้ค าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.พิสทุธิ ์กลุธนวิทย ์

    3.1.3 แบบจ าลองอนุกรมเวลา ARIMAX ส าหรบัพยากรณ์ในระยะสัน้ ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการประมาณค่าและพยากรณ์ โดยใช้ซอฟแวร ์EViews รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.เฉลิมพงษ์ คงเจริญ

    3.2 แบบจ าลองทางเศรษฐมิติ เพ่ือใช้ส าหรบัการศึกษาสินค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร และอตุสาหกรรม/ธรุกิจบริการ (รายสินค้า)

    แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบจ าลอง 3.2.1 แบบจ าลองอนุกรมเวลา (Time Series Model)

    ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการประมาณค่าและพยากรณ์ โดยใช้ซอฟแวร ์EViews รบัผดิชอบด าเนินการใหค้ าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.เฉลิมพงษ์ คงเจริญ

    3.2.2 แบบจ าลองเชงิโครงสรา้ง (Demand Estimation) ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการประมาณค่าและพยากรณ์ โดยใช้

    ซอฟแวร ์STATA รบัผดิชอบด าเนินการให้ค าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย

    ดร.วรรณวิภางค ์มานะโชติพงษ์ 3.2.3 แบบจ าลองการส่งผ่านราคา (Price Transmission Model)

    ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการประมาณค่าและพยากรณ์ โดยใช้ซอฟแวร ์STATA รบัผดิชอบด าเนินการให้ค าปรกึษาจดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย

    รศ.ดร.ธาตรี จนัทรโคลิกา 3.3 แบบจ าลองค านวณดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General

    Equilibrium: CGE) แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบจ าลอง

    3.3.1 แบบจ าลอง Global Trade Analysis Project (GTAP) ส าหรบัการวเิคราะหแ์ละพยากรณ์การคา้ระหว่างประเทศ

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 10

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการวเิคราะห์และพยากรณ์ผลกระทบ โดยใช้ซอฟแวร ์GTAP รบัผดิชอบด าเนินการให้ค าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์

    3.3.2 แบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE) ด าเนินการสร้างโปรแกรมส าหรบัการวเิคราะห์และพยากรณ์ผลกระทบ โดยใช้ซอฟแวร ์GAMS รบัผดิชอบด าเนินการให้ค าปรกึษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองโดย

    ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์ 4. การอบรมพฒันาและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบัแบบจ าลองต่างๆ

    ให้แก่บคุลากรของส านักงานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารค้า จ านวนไม่น้อยกว่า 5 คน ภายหลงัการพฒันาแบบจ าลองแต่ละแบบจ าลองเสรจ็สิ้น ที่ปรกึษาได้ท าการอบรมเพื่อพฒันาและเสรมิสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบจ าลองนัน้ๆ ให้แก่บุคลากรของส านักงานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารคา้ จ านวนไมน้่อยกว่า 5 คน เพื่อใหบุ้คลากรของส านักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ารคา้ สามารถด าเนินการวเิคราะห์เศรษฐกจิโดยใชแ้บบจ าลองที่พฒันาขึน้มาไดอ้ย่างเขา้ใจ โดยการอบรมจะแบ่งเป็นหวัขอ้ตามแบบจ าลองทีจ่ะจดัท าขึน้ ดงันี้

    4.1 แบบจ าลองการพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ จ าแนกตามกลุ่มประเทศ แบ่งเป็น 3 กลุ่มแบบจ าลอง 4.1.1 แบบจ าลองเชงิโครงสรา้งเพื่อวดัผลกระทบของนโยบายการคา้ในภาพรวม

    รบัผดิชอบด าเนินการใหก้ารอบรม โดย ดร.ภาวิน ศิริประภานุกลู

    4.1.2 แบบจ าลองดุลยภาพแยกส่วนส าหรบัตลาดส าคญัของไทย รบัผดิชอบด าเนินการใหก้ารอบรม โดย ดร.พิสทุธิ ์กลุธนวิทย ์

    4.1.3 แบบจ าลองอนุกรมเวลา ARIMAX ส าหรบัพยากรณ์ในระยะสัน้ รบัผดิชอบด าเนินการใหก้ารอบรม โดย ดร.เฉลิมพงษ์ คงเจริญ

    4.2 แบบจ าลองทางเศรษฐมิติ เ พ่ือใช้ส าหรับการศึกษาสินค้าเกษตร/อตุสาหกรรมเกษตร และอตุสาหกรรม/ธรุกิจบริการ (รายสินค้า)

    แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบจ าลอง 4.2.1 แบบจ าลองอนุกรมเวลา (Time Series Model)

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 11

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    รบัผดิชอบด าเนินการใหก้ารอบรม โดย ดร.เฉลิมพงษ์ คงเจริญ

    4.2.2 แบบจ าลองเชงิโครงสรา้ง (Demand Estimation) รบัผดิชอบด าเนินการใหก้ารอบรม โดย ดร.วรรณวิภางค ์มานะโชติพงษ์

    4.3 แบบจ าลองค านวณดลุยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE)

    แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบจ าลอง 4.3.1 แบบจ าลอง Global Trade Analysis Project (GTAP) ส าหรบัการ

    วเิคราะหแ์ละพยากรณ์การคา้ระหว่างประเทศ รบัผดิชอบด าเนินการใหก้ารอบรม โดย ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์

    4.3.2 แบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE) รบัผดิชอบด าเนินการใหก้ารอบรม โดย

    ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์

    5. จดัหาวสัดุ อปุกรณ์ ซอฟท์แวร ์ท่ีจ าเป็นต้องใช้ในการด าเนินโครงการ เพ่ือใช้ประกอบในการจดัท าแบบจ าลองฯ ตลอดจนการวิเคราะห ์และพยากรณ์

    วสัดุ อุปกรณ์ ประกอบดว้ย - การจดัซื้อคอมพิวเตอร์ Notebook จ านวน 4 เครื่อง ส าหรบัการจดัท าฐานข้อมูล

    วเิคราะห ์ประมาณค่าแบบจ าลอง พยากรณ์ และจดัท ารายงานวจิยั ซอฟแวร ์ไดแ้ก่ ซอฟแวรส์ าหรบัการวเิคราะหแ์บบจ าลองดุลยภาพทัว่ไป - การจดัซือ้โปรแกรมส าเรจ็รปูแบบจ าลอง GTAP (Global Trade Analysis Project) เพื่อ

    น ามาใช้เป็นเครื่องมอืในการวิเคราะห์และพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ รวมถงึเพื่อการเสนอแนะและก าหนดนโยบายการคา้ระหว่างประเทศ

    - การจดัซื้อโปรแกรม General Algebraic Modeling System (GAMS) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจดัสร้างแบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium) และท าการจดัสรา้งแบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบือ้งต้นของไทย (Computable General Equilibrium)

    6. จดัท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผลของการวิเคราะห์และพยากรณ์ข้อมูลจากแบบจ าลองต่างๆ เพ่ือน าเสนอผูบ้ริหาร 3 เดือน/ครัง้

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 12

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ด าเนินการ โดยการจดัท ารายงานขอ้เสนอแนะเชงินโยบายรายไตรมาส ประกอบดว้ย 6.1 รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผลการประมาณค่าแบบจ าลองการ

    พยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ จ าแนกตามกลุ่มประเทศรวมทั ้งข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

    6.2 รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผลการประมาณค่าแบบจ าลองทางเศรษฐมิติเพ่ือใช้ส าหรบัการศึกษาสินค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตรและอตุสาหกรรม/ธรุกิจบริการ (รายสินค้า)รวมทัง้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

    6.3 รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผลการวิเคราะห์แบบจ าลองค านวณดลุยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE)รวมทัง้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

    นอกจากนี้ จะท าด าเนินการจดัท าผลการวจิยัให้เป็นรายงานวจิยั Working Paper โดย Working Paper ดงักล่าวประกอบไปดว้ยหวัขอ้ดงัต่อไปนี้ 1) แบบจ าลองอนุกรมเวลา Autoregressive Integrated Moving Average with Explanatory Variable (ARIMAX) ส าหรบัพยากรณ์การส่งออกของไทย โดย ดร.เฉลิมพงษ์ คงเจริญ

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 13

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    2) แนวโน้มการเปลีย่นแปลงของเศรษฐกจิโลกและผลกระทบต่อการส่งออกของไทย โดย ดร.ณัฐพงษ์ พฒันพงษ์

    3) แบบจ าลองทางเศรษฐมติเิพื่อศกึษาอุปสงคผ์ลติภณัฑย์างพาราส่งออกของไทย โดย ดร.วรรณวิภางค ์มานะโชติพงษ์

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 14

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    7. จดังานสมัมนาวิชาการทางเศรษฐกิจการค้า ณ กระทรวงพาณิชย ์3 ครัง้ และการจดังานสมัมนาใหญ่ท่ีโรงแรมริชมอนด ์เพ่ือเผยแพร่ ประชาสมัพนัธ์ผลงานในโครงการฯ รวมทัง้ สร้างความเข้าใจและรบัฟังข้อคิดเห็นจากหน่วยงานภาครฐัและเอกชนโดยมีผูเ้ข้าร่วมงานไม่น้อยกว่า 200 คน ด าเนินการโดย การจดัสมัมนาวชิาการ ณ กระทราวงพาณิชยจ์ านวน 3 ครัง้ เพื่อให้ความรู้ทางวชิาการแก่ผูบ้รหิารและเจา้หน้าทีก่ระทรวงพาณิชย ์ และการจดัสมัมนาใหญ่ทีโ่รงแรมรชิมอนด์ในช่วงเดอืนมกราคม 2556 เพื่อระดมสมองและความคดิเหน็ส าหรบัแนวทางการพฒันาแบบจ าลองทีจ่ดัท าขึน้ของส านกังานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารคา้ ใหม้คีวามเหมาะสมมากยิง่ขึน้ 8. จดัการประชุมร่วมกบับคุลากรส านักงานนโยบายและยทุธศาสตรก์ารค้า เดือนละ 1 ครัง้เพ่ือระดมความคิดเห็น และทบทวนความคืบหน้า/ปัญหาอุปสรรคในการด าเนินโครงการฯ ด าเนินการโดย การประชุมร่วมกบับุคลากรส านักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ารค้าทุกเดอืน เดอืนละครัง้ เพื่อระดมความคดิเหน็ และทบทวนความคบืหน้า/ปญัหาอุปสรรคในการด าเนินโครงการฯ รวมทัง้การรายงานความคบืหน้าของการด าเนินงานเป็นลายลกัษณ์อกัษรทุกๆ 2 สปัดาห์ของการด าเนินงาน 9. การจดัท ารายงานผลการศึกษาฉบบัสมบูรณ์จ านวน 20 ชุด ในรปูเอกสารและบนัทึกข้อมูลลงในแผ่น CD-Rom จ านวน 20 ชุด เพ่ือสรุปผลการจดัท าแบบจ าลอง การวิเคราะห์ และรายงานผล รวมทัง้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผลของการคาดการณ์ตามแบบจ าลองท่ีได้จดัท าขึ้นมา 10. การจัดท าคู่ มือการปฏิบัติงานส าหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานการจัดท าแบบจ าลองต่างๆ ตามโครงการ จ านวน 20 ชุด

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 15

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    2.2 การบริหารโครงการ

    การบรหิารโครงการ แสดงดงัแผนภาพที ่1

    แผนภาพท่ี 1 โครงสร้างการบริหารโครงการ

    หมายเหตุ หมายเลขในวงเลบ็แสดงถงึ ผูร้บัผดิชอบในกจิกรรมนัน้ๆ โดยที ่ (1) รศ.ดร.ธาตร ีจนัทรโคลกิา (2) ดร.ภาวนิ ศริปิระภานุกลู (3) ดร.พสิุทธิ ์กุลธนวทิย ์ (4) ดร.เฉลมิพงษ์ คงเจรญิ (5) ดร.วรรณวภิางค ์มานะโชตพิงษ์ (6) ดร.ณฐัพงษ์ พฒันพงษ์

    หัวหน้าโครงการ(1) รศ.ดร.ธาตรี จันทรโคลิกา

    ส านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้าเจ้าหน้าที่ส านักงานฯ

    ประสานงาน

    แบบจ าลองการค้าแยกกลุ่มประเทศ แบบจ าลองการค้าแยกกลุ่มสินค้า

    Structure(2)

    แบบจ าลอง CGE

    อบรมแบบจ าลอง(2) & (3) & (4)

    อบรมแบบจ าลอง(4) & (5)

    อบรม CGE(6)

    ก าหนดรูปแบบสมการแบบจ าลอง วิเคราะห์

    เก็บข้อมูลตัวแปรส าหรับแบบจ าลอง โดยทีมผู้ช่วยวิจัย 4 คน ท่ีร่วมท างานเต็มเวลาท่ีส านักงานฯ & ประมาณค่า

    รายงานผล Working Paper(2) & (3) & (4)

    รายงานผล Working Paper(4) & (5)

    รายงานผล Working Paper(6)

    อบรม (6)

    น าเสนอผลงานในงานสัมมนา และเผยแพร่ Website (1) – (6)

    Partial Eq.(3)

    ARIMAX(4)

    ARIMAX(4)

    Demand Est.(5)

    CGE: GAMS(6)

    GTAP(6)

    ก าหนดรูปแบบ

    วิเคราะห์โดยทีมที่ปรึกษา

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 16

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    3. ผลการด าเนินการโครงการ

    การด าเนินงานของโครงการตามขัน้ตอนต่างๆ ขา้งตน้ มผีลการด าเนินงาน ดงันี้ 3.1 การจดัหาวสัดุ อปุกรณ์ ซอฟท์แวร ์ท่ีจ าเป็นต้องใช้ในการด าเนินโครงการ เพ่ือใช้ประกอบในการจดัท าแบบจ าลองฯ ตลอดจนการวิเคราะห ์และพยากรณ์

    วสัดุ อุปกรณ์ ประกอบดว้ย - การจดัซื้อคอมพิวเตอร์ Notebook จ านวน 4 เครื่อง ส าหรบัการจดัท าฐานข้อมูล

    วิเคราะห์ ประมาณค่าแบบจ าลอง พยากรณ์ และจดัท ารายงานวิจยั (ใบเสร็จในภาคผนวกหน้า 5)

    - Printer จ านวน 1 เครือ่ง (ใบเสรจ็ในภาคผนวกหน้า 6) ซอฟแวร ์ไดแ้ก่ ซอฟแวรส์ าหรบัการวเิคราะหแ์บบจ าลองดุลยภาพทัว่ไป - การจดัซือ้โปรแกรมส าเรจ็รปูแบบจ าลอง GTAP (Global Trade Analysis Project) เพื่อ

    น ามาใช้เป็นเครื่องมอืในการวเิคราะห์และพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ รวมถงึเพื่อการเสนอแนะและก าหนดนโยบายการคา้ระหว่างประเทศ (ใบเสรจ็ในภาคผนวกหน้า 7)

    - การจดัซื้อโปรแกรม General Algebraic Modeling System (GAMS) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจดัสร้างแบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General Equilibrium) และท าการจดัสรา้งแบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบือ้งต้นของไทย (Computable General Equilibrium) (ใบเสรจ็ในภาคผนวกหน้า 8)

    - การจดัซื้อโปรแกรม Microfit 5.0 เพื่อใช้เป็นเครื่องมอืในการประมาณค่าแบบจ าลองผลกระทบของความผนัผวนของอตัราแลกเปลี่ยนต่อการค้าระหว่างประเทศของไทย (ใบเสรจ็ในภาคผนวกหน้า 9)

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 17

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    3.2 การจดัทีมท่ีปรึกษา การให้ค าปรึกษา จดัท าและพฒันาแบบจ าลองต่างๆ รวมทัง้การจดัเคร่ืองมือการวิเคราะห์ และพยากรณ์เศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ ในภาพรวมและแยกรายกลุ่มสินค้า

    ผลการด าเนินงานให้ค าปรึกษา จดัท า และพัฒนาแบบจ าลองต่างๆ รวมทัง้การจัดเครื่องมอืการวเิคราะห์และพยากรณ์เศรษฐกจิการคา้ระหว่างประเทศ ในภาพรวมและแยกรายกลุ่มสนิคา้ ไดผ้ลของการศกึษา ประกอบดว้ย 1. แบบจ าลองการพยากรณ์การค้าระหว่างประเทศ จ าแนกตามกลุ่มประเทศ แบ่งเป็น 3 กลุ่มแบบจ าลอง

    (1) แบบจ าลองเชงิโครงสรา้งเพื่อวดัผลกระทบของนโยบายการคา้ในภาพรวม โดย ดร.ภาวนิ ศริปิระภานุกูล

    (2) แบบจ าลองดุลยภาพแยกส่วนส าหรบัตลาดส าคญัของไทย โดย ดร.พสิุทธิ ์กุลธนวทิย ์

    (3) แบบจ าลองอนุกรมเวลา ARIMAX ส าหรบัพยากรณ์ในระยะสัน้ โดย ดร.เฉลมิพงษ์ คงเจรญิ

    2. แบบจ าลองทางเศรษฐมิติ เพ่ือใช้ส าหรบัการศึกษาสินค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร และอตุสาหกรรม/ธรุกิจบริการ (รายสินค้า)

    แบ่งเป็น 3 กลุ่มแบบจ าลอง (1) แบบจ าลองอนุกรมเวลา (Time Series Model) โดย ดร.เฉลมิพงษ์ คงเจรญิ

    (**เขียนต่อเนือ่งในรายงานแบบจ าลองอนุกรมเวลา ARIMAX ในหวัข้อ 1(3)** ) (2) แบบจ าลองเชงิโครงสรา้ง (Demand Estimation) โดย ดร.วรรณวภิางค ์มานะโชติ

    พงษ ์(3) แบบจ าลองการส่งผ่านราคา (Price Transmission Model) โดย รศ.ดร.ธาตร ีจนัทร

    โคลกิา 3. แบบจ าลองค านวณดุลยภาพทัว่ไปเบื้องต้นของไทย (Computable General

    Equilibrium: CGE) แบ่งเป็น 2 กลุ่มแบบจ าลอง

    (1) แบบจ าลอง Global Trade Analysis Project (GTAP) ส าหรบัการวเิคราะห์และพยากรณ์การคา้ระหว่างประเทศ โดย ดร.ณฐัพงษ์ พฒันพงษ์

    (2) แบบจ าลองดุลยภาพทัว่ไปเบือ้งต้นของไทย (Computable General Equilibrium: CGE) โดย ดร.ณฐัพงษ์ พฒันพงษ์

    4. การขยายฐานข้อมูลสินค้าและบริการท่ีส าคญัทางเศรษฐกิจ เพ่ือให้ครอบคลุมการจดัท าแบบจ าลอง CGE

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 18

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ด าเนินการขยายฐานขอ้มลูการคา้ระหว่างประเทศและในประเทศ โดย ดร.ณฐัพงษ์ พฒันพงษ์ ซึง่ขยายจากขอ้มลูเดมิทีไ่ดด้ าเนินการในโครงการปี 2554 โดยปรบัใหเ้ป็นขอ้มลูการคา้และเศรษฐกจิในปี 2549 และเพิม่จ านวนสนิคา้และบรกิารจาก 27 สาขา เป็น 39 สาขา โดยใชข้อ้มลูจากตารางปจัจยัการผลติและผลผลติ ปี 2548 ของส านักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาต ิ

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 19

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    แบบจ าลองเชิงโครงสร้างเพ่ือวดัผลกระทบของนโยบายการค้าในภาพรวม

    ดร.ภาวิน ศิริประภานุกลู

    1. บทน า

    แบบจ าลองเชงิโครงสรา้งในส่วนนี้จะมุ่งให้ความส าคญัไปที่การวเิคราะห์ถงึผลกระทบจาก

    การเปลีย่นแปลงนโยบายการคา้ของประเทศไทยและกลุ่มประเทศคู่คา้ส าคญั ต่อระบบเศรษฐกจิไทย

    ในภาพรวม ซึง่สะทอ้นจาก 1) ระดบัสวสัดกิารในประเทศ 2) ระดบัราคาสนิคา้ภายในประเทศ และ

    3) ระดบัผลติภาพ (Productivity) ของการผลติสนิค้าภายในประเทศ เพื่อใหก้ารวดัผลกระทบใน

    ภาพรวมดงักล่าวสะท้อนภาพทีแ่ท้จรงิ แบบจ าลองเชงิโครงสรา้งในส่วนนี้ควรทีจ่ะควบรวมลกัษณะ

    ส าคญัทีท่ าใหก้ารเปลีย่นแปลงในนโยบายการคา้ระหว่างประเทศ ส่งผลกระทบไปสู่การเปลีย่นแปลง

    ของตวัชีว้ดัดงักล่าว

    งานศกึษาดา้นเศรษฐศาสตรร์ะหว่างประเทศในระยะหลงั ใหค้วามส าคญักบัลกัษณะ “ผูผ้ลติ

    ทีม่คีวามแตกต่างกนั (Heterogeneous Firms)” เป็นอยา่งมาก โดยในความเป็นจรงิแลว้ผูผ้ลติสนิคา้

    ในแต่ละหมวดสินค้านั ้นมีความแตกต่างหลากหลายทัง้ในด้านเทคโนโลยีในการผลิตสินค้า

    ความสามารถในการบรหิารจดัการของฝ่ายบรหิาร หรอืแม้กระทัง่ความสามารถของแรงงานใน

    โรงงาน โดยความแตกต่างดงักล่าวจะส่งผลให้ระดบัผลติภาพในการผลติสนิค้าของแต่ละผู้ผลติมี

    ความแตกต่างกนั

    ความแตกต่างในผลติภาพของผู้ผลติในหมวดสนิค้าเดยีวกนัส่งผลให้เกดิการเคลื่อนย้าย

    แรงงานระหว่างผู้ผลติในหมวดสนิค้าเดยีวกนั โดยผู้ผลติที่มรีะดบัผลิตภาพสูงจะเป็นผู้ที่มคีวาม

    ได้เปรยีบในการแข่งขนั ซึ่งส่งผลให้ผู้ผลติดงักล่าวสามารถขยายระดบัการผลติสนิค้าของตนเอง

    เพิม่ขึน้ไดเ้รื่อยๆ ในขณะทีผู่ผ้ลติทีม่รีะดบัผลติภาพต ่าจะค่อยๆทยอยเลกิกจิการของตนเองไป งาน

    ศกึษาอกีหลากหลายงาน อาท ิงานของ Roberts and Tybout (1997) และ Bernard and Jensen

    (1999) ยงัชี้ใหเ้หน็อกีว่าจะมเีพยีงผู้ผลติกลุ่มเลก็ๆเท่านัน้ในแต่ละหมวดสนิค้า ที่สามารถส่งออก

    สนิคา้ของตนเองเพื่อไปขายในต่างประเทศได ้ในขณะทีผู่ผ้ลติทีม่ผีลติภาพต ่าจะไม่มคีวามเกี่ยวขอ้ง

    กบัการคา้ระหว่างประเทศแต่ประการใด

  • โครงการจดัจา้งทีป่รกึษาเพือ่พฒันาแบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร ์ หน้า 20

    ศนูยบ์รกิารวชิาการเศรษฐศาสตร ์ คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

    ลักษณะของผู้ผลิตที่มีความแตกต่างกันข้างต้นจะสร้างผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการ

    เปลีย่นแปลงในนโยบายการคา้ระหว่างประเทศ ต่อระดบัสวสัดกิารของผูค้นภายในประเทศ รวมถงึ

    ระดบัผลติภาพของการผลติสนิคา้ในภาพรวมของประเทศได้ กา