รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4...

38
รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง การพัฒนาเครื่องผาผลทุเรียนเพื่อการบริโภคผลสด Development of Durian Dehusking Machine for Fresh Consumption โดย รศ.ดร.อนุพันธ เทอดวงศวรกุล นายปราโมทย กุศล เสนอ ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน .. 2552

Transcript of รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4...

Page 1: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

รายงานฉบับสมบูรณ

เร่ือง

การพัฒนาเครื่องผาผลทุเรียนเพ่ือการบริโภคผลสด Development of Durian Dehusking Machine for Fresh Consumption

โดย รศ.ดร.อนุพันธ เทอดวงศวรกุล

นายปราโมทย กุศล

เสนอ

ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร

วิทยาเขตกําแพงแสน พ.ศ. 2552

Page 2: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

รายงานฉบับสมบูรณ

การพัฒนาเครื่องผาผลทุเรียนเพ่ือการบริโภคผลสด Development of Durian Dehusking Machine for Fresh Consumption

บทคัดยอ

การพัฒนาเครื่องผาผลทุเรียน โดยอาศัยหลักการเคลื่อนที่ของกลไกมาใชในการออกแบบ และการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน ที่มีสวนรองรับการเคลื่อนที่ เพื่อสามารถลดภาระในกระบวนการผลิตและนําคุณสมบัติทางกายภาพของผลทุเรียนมาออกแบบเครื่องผาผลทุเรียนตนแบบทํางานดวยระบบกลไก ฐานเครื่องมีขนาด 25 x 40 ซ.ม. ทําจากเหล็ก น้ําหนักของเครื่อง 39 ก.ก. ทํางานโดยกดหัวเจาะ ลงบนผลทุเรียนดานที่ตัดขั้วออกจนสุด แลวหมุนแขนหัวเจาะไปในทิศทางที่ตรงกันขามกับแขนกด เพื่อใหเปลือกทุเรียนบิดแลวฉีกออกตามแนวสาแหรก ใชเวลาเปดผลไมรวมเวลาแกะดวยมือเฉลี่ย 20 วินาที และเวลาเปดผลรวมเฉล่ีย 1 นาที 40 วินาที สามารถเปดผลทุเรียนสุกไดดีที่คา % DW ประมาณ 40 ขึ้นไป แตเปดผลทุเรียนหามไดไมคอยดี ที่คา % DW ต่ํากวา 35

Abstract The development of durian dehusking machine was based on designing for mechanical

movement and movement of parts. Physical properties of durian can be used to design the prototype durian dehusking machine. The base of machine which was made from steel has a size 25 x 40 cm, and weight 39 kg. The durian dehusking machine open with the press arm of drill head. By pressing on the stem - end durian fruit until the head entered fully into the fruit and then rotating the arm of drill head to the opposite direction with the press arm, this would to tweak durian peel and split along dehisce. The durian dehusking machine took 20 seconds in opening fruit excluding time for hand opening. The durian dehusking machine was successful in opening ripe durian fruit at DW value not less than 40 %, but not applicable at DW value less than 35 %.

1. บทนํา

ไทยเปนผูผลิตทุเรียนรายใหญของโลก (ป 2544-2549) เฉลี่ยปละ 788,225 ตัน โดยในป 2550 มีการผลิต 686,478 ตัน แหลงที่สําคัญจะเปนภาคตะวันออก ไดแก จันทบุรี ระยอง และตราด (เดือนมีนาคม- กรกฏาคมชวงพฤษภาคมออกสูตลาดมาก) และภาคใต ไดแก ชุมพร สุราษฎรธานี (เดือนมิถุนายน- ตุลาคม ชวงสิงหาคมออกสูตลาดมาก) ในป 2550 (มค.-กย.) ไทยสงออกทุเรียนแช

Page 3: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

2

เย็น 151,523 ตัน มูลคา 2,457 ลานบาท มีปริมาณและมูลคาเพิ่มรอยละ 17 และ 1 ตามลําดับ เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันที่ผานมา ตลาดสงออกที่มีมูลคามากไดแก จีน 52% ฮองกง 21% และอินโดนีเซีย 16% และสงออกทุเรียนสดแชแข็ง 11,531 ตัน มูลคา 362 ลานบาท มีปริมาณ และมูลคาลดลงรอยละ 14 และ 9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันที่ผานมา ตลาดสงออกที่มีมูลคามากไดแก สหรัฐอเมริกา 44% ออสเตรเลีย 16% แคนนาดา 12% และจีน 8% (กรมการคาตางประเทศ, 2550)

1.1 ความสําคัญ เนื่องจากทุเรียนเปนผลไมที่มีน้ําหนักมาก เปลือกหนา และมีลักษณะเปนหนามโดยรอบๆ

ผล เปลือกหนาและแข็งแรงกวาผลไมอ่ืนๆ ทําใหการปอกเปลือกทุเรียนแตละลูกตองเสียเวลามากและตองอาศัยความชํานาญ และผูปอกตองมีความแข็งแรงจึงจะสามารถเอาเนื้อทุเรียนออกมาจากผลได ซ่ึงกอใหเกิดปญหาสําหรับผูบริโภคโดยทั่วไป โดยเฉพาะตางประเทศ เชน ฮองกง ไดมีการจางชาวสวนทุเรียนจากประเทศไทยไปนั่งปอกใหผูบริโภค ดวยเหตุดังกลาว จึงทําใหมีแนวคิดที่จะพัฒนาเครื่องมือที่มีกลไกงาย ใชไดสะดวก และทุนแรง และปอกทุเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ และทําการศึกษาเกี่ยวกับเครื่องปอกเปลือกทุเรียน โดยอาศัยหลักการเคลื่อนที่ของกลไกมาใชในการออกแบบ และการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน ที่มีสวนรองรับการเคลื่อนที่ เพื่อสามารถลดภาระในกระบวนการผลิต รวมทั้งสามารถปอกทุเรียนโดยสามารถปฏิบัติงานไดงาย ไมตองอาศัยความชํานาญ และมีตนทุนการผลิตเครื่องต่ํา

1.2 วัตถุประสงค

เพื่อออกแบบ สราง ทดสอบ ประเมินผลเครื่องผาทุเรียนเพื่อการบริโภคสด 1.3 ขอบเขต

ทําการทดลองกับทุเรียนพันธุหมอนทอง 1.4 ประโยชน

ไดเครื่องตนแบบ เครื่องผาทุเรียน และผลการทดลองที่สามาถนําไปผลิตเปนเชิงการคารวมกับภาคเอกชน

2. ตรวจเอกสาร เกริกและอุดม(2530)ไดออกแบบเครื่องปอกเปลือกผลทุเรียนโดยใชหลักการทางกลศาสตร

มีโครงสรางประกอบดวย ชุดโครงสราง ชุดคันโยก แกนบังคับแนวหัวปอก ชุดหวัปอกมีลักษณะเรียวเปนรูปกรวย ที่ปลายกรวยมใีบมีด 5 แฉก และแกนวางทุเรียนปรับระดับได ดังรูปที่ 1 การปอกอาศัยการกดคนัโยก ถายทอดแรงไปสูหัวปอกรูปกรวย ใหแทงทะลุทําลายไสกลางผลทุเรียน ลักษณะรูปกรวยทําใหชวยเปดทุเรียนออก

Page 4: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

3

รูปที่ 1 แสดงเครื่องปอกเปลือกทุเรียน ของเกริก และอุดม (2530)

ในการทดลองจะใชหัวปอกที่มีลักษณะตางกัน 5 แบบ เพื่อทดสอบหาหัวปอกทีเ่หมาะสม ผลการทดสอบกับทุเรียนพนัธุชะนี พบวาปอกได 80% ของจํานวนพทูั้งหมด พูที่เปดไดดีที่สุดปอกได 85 % ของความยาวผล เกิดการเสียหายนอยมาก แตระบบชุดคันโยกยังไมดีพอ ไมสามารถปอกไดโดยการกดลงไปในครั้งเดียว การทดสอบทุเรียนพันธุหมอนทอง พบวาปอกได 40% ของจาํนวนพทูั้งหมด พูที่เปดไดดีที่สุดเปดไดประมาณ 50 % ของความยาวผล และเกิดความเสียหาย 30 % ซ่ึงเปนผลมาจากคุณสมบตัิของเปลือกทุเรียนที่มีสาแหรกและเปลือกที่เหนยีว ทําใหประสิทธิภาพในการปอกแบบนี้นอยมาก การทดสอบกบัทุเรียนพนัธุกานยาว ตองทําการบิดหวัปอกไปมา และบางผลก็มีการกรีดนําที่ขางผลทุเรียนดวย สามารถปอกได 80 % แตสวนใหญมีความเสยีหายเกดิขึ้นทีเ่นื้อทุเรียน

วรรณา (2531) ไดมีการพัฒนาเครื่องปอกเปลือกผลทุเรียนจากเกริกและอุดม โดยพฒันาหัวปอกโดยใหมคีวามสะอาด โดยทําการชุบโครเมียมเพื่อใหเปนที่ยอมรับของตลาด และเปลี่ยนฐานรองรับใหสามารถปรับหมุนได เพื่อใหใบมดีสามารถปรับใหตรงกับแนวสาแหรกมากที่สุดดงัรูปที่ 2

Page 5: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

4

รูปที่ 2 แสดงสวนประกอบของเครื่องปอกทุเรียน ของวรรณา (2531)

เครื่องปอกเปลือกทุเรียนเครื่องนี้ใชกลไกที่ไมซับซอนและมีโครงสรางที่แข็งแรง การปอกใชหัวปอกเคลื่อนที่เขาหาผลทุเรียน ซ่ึงมีสวนทําใหผลทุเรียนสามารถอยูในแนวดิ่งไดจนกระทั่งส้ินสุดการปอก ลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับเนื้อทุเรียน การปอกทําไดรวดเร็วเพราะใชระบบคันโยก และสามารถหมุนสวนฐานที่รองรับผลทุเรียนเพื่อจัดใหแนวสาแหรกตรงกับใบมีดมากที่สุด การทดสอบจะทําการหาชวงที่เหมาะสมในการปอกทุเรียนแตละพันธุ ดังนี้

1. พันธุชะนี แยกได 2 กรณี คือ 1.1 ปอกหลังจากที่ขั้วปลิแลวประมาณ 24 ช่ัวโมง สําหรับทุเรียนที่มีเนื้อไมนิ่มจะตอง

ใชแรงปอกมาก และเปอรเซ็นตการเปดไดของพูตามความยาวผลประมาณ 80 % โดยเปดได 4 พู ในจํานวน 5 พู 1.2 ปอกหลังจากที่ขั้วปลิแลวประมาณ 36 ช่ัวโมง สําหรับทุเรียนที่มีเนื้อนิ่ม และมีรสหวานจัด ใชแรงปอกนอยมาก และเปอรเซ็นตการเปดไดของพูตามความยาวผลของพูเปดไดมากที่สุด 80 % ขึ้นไป สวนพูอ่ืนๆ ก็เปดไดดีเชนกัน

2. พันธุหมอนทอง แยกไดเปน 2 กรณี คือ 2.1 ปอกหลังจากที่ขั้วปลิแลวประมาณ 36 ช่ัวโมง สําหรับทุเรียนหาม การปอกตองใช

แรงมาก เปอรเซ็นตการเปดไดของพูประมาณ 60-70 % เปดไดดี 2 พู ในจํานวน 5 พู

Page 6: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

5

2.2 ปอกหลังจากที่ขั้วปลิแลวประมาณ 48 ช่ัวโมง สําหรับทุเรียนสุกใชแรงปอกไมมากนัก เปอรเซ็นตการเปดไดของพูตามความยาวผลประมาณ 80-90 % เปดไดดี 2 พูในจํานวน 5 พู

เชาวน (2542) ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดออกแบบเครื่องฉีกทุเรียนขึ้นโดยใชตนกําลังจากแรงคน ประกอบดวย 1. คันโยก 2. นอตยึดคันโยก 3. แกนบังคับแนวหัวปอก 4. แกนบังคับการปอก 5. ชุดหัวปอก 6. แกนวางทุเรียนปรับระดับได ดังรูปที่ 3

รูปที่ 3 แสดงเครื่องฉีกทุเรียน งานวจิัยของเชาวน (2542)

เครื่องฉีกทุเรียนเครื่องนี้ใชไดกับทุเรียนพนัธุชะนีและหมอนทองที่แกกําลังรับประทานได หรือแกจดั ใชไดกับทุเรียนทีม่ีความยาวไมเกิน 30 เซนติเมตร มีความสามารถในการทํางาน 1 ผล ตอนาที ตอคน ความเสียหายของเนื้อทุเรียนนอยมาก และมีประสิทธิภาพการปอก 100 %

ดารณี (2544) ไดทําการวิจัยหาวิธีที่เหมาะสมในการปอกเปลือกทุเรียนพันธุหมอนทอง โดยการใชสารเอทีฟอน และลม เพื่อลดแรงงานในการปอกทุเรียน แบะเนื้อทุเรียนมีคุณภาพดีที่สุด พบวาการปอกเปลือกทุเรียนตามรอยสาแหรก ทําไดยากและเกิดความเสียหายมากกวาการปอกเปลือกทุเรียนตามแนวรอพูในวันที่ทุเรียนเริ่มสุก และจะปอกไดงายขึ้นเกิดความเสียหายนอยลงเมื่อทุเรียนสุกมากขึ้น การจัดใหผลทุเรียนหมอนทองอายุ 113 และ 120 วันหลังดอกบานไวในสภาพ

ปกติ สภาพที่มีลมแรง ไดรับการพนเอทีฟอน 2,000 μl/l กอนการเก็บรักษา ทําใหทุเรียนมีการแตกของผล และปอกไดงายกวาทุเรียนที่เก็บรักษาในสภาพปกติ

ผลของวิธีการปอกเปลือกตอคุณภาพเนื้อทุเรียนพบวา ในวันที่ทุเรียนเริ่มสุก (เนื้อทุเรียนยังหามอยู) การปอกเปลือกตามรอยสาแหรกทําไดยากกวาและใชเวลามากกวาการปอกเปลือกตามรองพู แตเวลาในการปอกตามรอยสาแหรกลดลงเมื่อทุเรียนสุกมากขึ้น จนกระทั่งการปอกเปลือกตาม

Page 7: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

6

รอยสาแหรกทําไดรวดเร็วกวาการปอกตามรองพู ในเรื่องของความเสียหายนั้น พบวา การปอกเปลือกตามรอยสาแหรกทําใหเกิดความเสียหายมากกวาการปอกเปลือกตามแนวรองพู ในวันที่ทุเรียนเริ่มสุก และหลังจากนั้น 1 วัน แตเมื่อทุเรียนสุกมากขึ้นการปอกเปลือกตารองพูจะทําใหเนื้อทุเรียนมีความเสียหายมากกวาการปอกเปลือกทุเรียนตามรอยสาแหรก ดังนั้นจึงสรุปไดวา ควรใชการปอกเปลือกตามแนวรองพูสําหรับทุเรียนที่ยังหามอยู แตเมื่อทุเรียนเริ่มสุกมากขึ้นควรปอกเปลือกทุเรียนตามรอยสาแหรก อยางไรก็ตามการปอกเปลือกทุเรียนหามตามรองพูยังคงใชเวลานาน และตองอาศัยความชํานาญพอสมควร ดังนั้น หากสามารถทําใหเปลือกทุเรียนแยกออกจากกันไดงาย โดยที่เนื้อทุเรียนยังไมนิ่ม ก็จะเปนประโยชนอยางมาก ตอทั้งผูบริโภค และผูคาปลีก

กันชลักษณ และคณะ (2546) ไดทําการออกแบบเครื่องปอกเปลือกทุเรียนซึ่งมีสวนประกอบที่สําคัญของเครื่อง มี 3 สวน ไดแก 1) ชุดโครงสรางทําเปนโครงเหล็ก 2) ชุดหัวปอกรูปกรวยขนาดเสนผาศูนยกลาง 3.8 ซม. มีปกถางชวยในการแยกทุเรียนออกจากกัน 3) เคลื่อนที่ขึ้นลงดวยระบบเฟองเพลา และโซ สงกําลังจากมอเตอรขนาด 1 แรงมา

การทดลองปอกทุเรียนที่นํามาบมตามธรรมชาติโดยตัดขั้วและวางทิ้งไวเปนเวลา 5 วันโดยใชความเร็วรอบมอเตอร 710 รอบตอนาที หรือที่ความเร็วหัวปอก 0.037 เมตร/วินาทีโดยเมื่อเปดสวิตซหัวปอกเคลื่อนที่ลงแทงทะลุจากดานที่ตัดขั้วออกจนสุดความยาวผลโดยมีปกถางเปนตัวชวยฉีกทุเรียนออกจากกัน ทําใหผลทุเรียนแยกออกเปนสองสวน ความสามารถของเครื่องในการฉีกทุเรียน 1 ผลใหแยกเปนสองสวน ใชเวลาเฉลี่ย 34.68 วินาที และพบวาเกิดความเสียหายแกเนื้อทุเรียนเทากับรอยละ 7 ของจํานวนพูทุเรียนที่ถูกแยกออกจากกัน

จากผลการทดลองในการทดลองหาความเร็วหัวกดทุเรียนที่เหมาะสมโดยปอกทุเรียนพันธุหมอนทอง ขนาดตางๆที่ตัดจากตนแลวบมเปนเวลา 4 และ5 วัน ที่ความเร็วรอบมอเตอรตางๆ พบวาเครื่องสามารถปอกทุเรียนไดทุกขนาดโดยทุเรียนและความเร็วรอบมอเตอรที่เปลี่ยนไปไมมีผลตอความเร็วเฉลี่ยในการปอกทุเรียนแตละลูก คือความเร็วที่ไดมีคาใกลเคียงกัน และไดคาแรงเจาะทะลุทุเรียนสูงสุดแตกตางกันสําหรับแตละลูกตามความสุกของทุเรียนที่แตกตางกัน ไดรอยละการเปดของพู 100 %และสามารถปอกทุเรียนไดที่หลายความสุกแกโดยมีความเสียหายแกเนื้อทุเรียนประมาณ 5-8 เปอรเซ็นต ซ่ึงสวนใหญเกิดจากลักษณะของทุเรียนที่นํามาทดสอบมีแกนที่ไมตรง ทําใหหัวปอกแทงลงไปแลวแฉลบโดนเนื้อบริเวณใกลๆไสทุเรียน และในการปอกทุเรียนที่มีความสุกนอยเครื่องใชแรงกดและฉีกมากในขณะที่ทุเรียนมีแรงตานเยอะจึงเกิดความเสียหายแกเนื้อทุเรียน และสําหรับทุเรียนลูกที่ยังคอนขางดิบอยูมากทําใหการเปดพูทุเรียนไมสามารถเปดออกไดตลอดความยาวผล

จากผลการทดลองเพื่อทดสอบประสิทธิภาพและผลกระทบที่มีตอการทํางานของเครื่องโดยปอกทุเรียนพันธุหมอนทอง ขนาดตางๆ จํานวน 30 ผล ที่ตัดจากตนแลวบมเปนเวลา 5 วันแลวคัดเอาลูกที่สุกแลวมาทดสอบ ที่ความเร็วรอบมอเตอร 710 รอบ/นาที พบวาเครื่องปอกทุเรียน

Page 8: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

7

สามารถกดทุเรียนไดแรงเจาะทะลุสูงสุดของทุเรียนเฉลี่ย 22.09 กิโลกรัม/ผลหรือ 216.7 นิวตัน/ผล และในการฉีกทุเรียนทั้งหมด 30 ผลใชเวลา 17.34นาที เสียเวลาในการยกทุเรียนขึ้นลงจากเครื่องและความลาของผูปฏิบัติงานก็มีผลทําใหเสียเวลาในการทํางาน

เสกสรร (2550) ออกแบบและสรางเครื่องผาทุเรียนดิบเพื่อการแปรรูปโดยใชระบบไฮดรอ

ลิค (Unripe Durian Cutting-open Machine for Processing Using Hydraulic System) แกไขปญหาผลผลิตของทุเรียนไดเปนอยางดีทางหนึ่งซึ่งการแปรรูปทุเรียนโดยการนํามาทอดกรอบนั้นกลุมเกษตรกรจะใชทุเรียนพันธุหมอนทองดิบที่อยูในระยะแกจัดและเปนทุเรียนนอกเกรด ทําการผาแยกออกเปนพูดวยมีดขาวบางหรือมีดที่ทําขึ้นเปนพิเศษและแยกเอาเนื้อทุเรียนออกแปรรูปตอไป

รูปที่ 4 เครื่องผาทุเรียนดิบเพื่อการแปรรปูโดยเสกสรร (2550) เครื่องผาทุเรียน (รูปที่ 4) มีตนกําลังใชมอเตอรไฟฟา 220 โวลท ขนาด 1 แรงมา

ความสามารถในการทํา งาน 435กิโลกรัมตอช่ัวโมงความสูญเสียของเนื้อทุเรียนที่ติดไปกับพูอ่ืน 3.80 เปอรเซนตใชกําลังไฟฟาในการทํางาน 529 วัตต-ช่ัวโมง เครื่องมีน้ําหนัก 95กิโลกรัมและใชผูปฏิบัติงาน 1 คน นอกจากนั้นยังมีลักษณะเดน คือ สามารถผาทุเรียนดิบและสุกไดทุกขนาด มีความคลองตัวและสะดวกสบายในการทํา งานสามารถลดตนทุนคาจางแรงงานผาทุเรียนดิบลงไดถึง 50 เปอรเซนตในการทํางานผูปฏิบัติงานจะตัดขั้วผลทุเรียนกอน แลวจึงนําทุเรียนวางบนแทนผาโดยตั้งผลขึ้นตามแนวดิ่งและใหรอยตอระหวางพูของผลอยูกึ่งกลางแทนผา จับผลใหแนนและใชเทาเหยียบแปนบังคับล้ินควบคุมการทํางานซึ่งจะทําใหกานกระบอกไฮดรอลิคและใบมีดเลื่อนลงมาผาตรงรอยตอระหวางพูตลอดความสูงของผลทุเรียนและเมื่อปลอยเทาเหยียบแปนคันบังคับออกจะทําใหกานกระบอกไฮดรอลิคและใบมีดเลื่อนขึ้นมาจนสุด หลังจากนั้นจะใชมือหมุนผลทุเรียนใหรอยตอระหวางพูของผลทุเรียนตอไปอยูกึ่งกลางแทนผาจับผลใหแนนและปฏิบัติดังที่กลาวมาจนกระทั่งผาทุเรียนไดหมดทุกพู และสําหรับปจจัยที่มีผลตอการทํางานของเครื่องผาทุเรียนดิบนี้ก็มี

Page 9: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

8

บางปจจัย อาทิ ความชํานาญของผูปฏิบัติงาน โดยเฉพาะความสามารถในการมองหารอยตอระหวางพูของผลทุเรียนกอนการผารูปทรงความบิดเบี้ยวของผลทุเรียนมีมากนอยตางกัน , ความแตกตางของความสูงผลทุเรียน ถาผลทุเรียนมีความสูงมากจะทําใหใชเวลาในการผามากกวาผลทุเรียนที่มีความสูงนอย 3. วิธีดําเนินงานวิจัย 3.1การหาสมบัติทางกายภาพของผลทุเรียน 3.1.1 ขนาดและรูปราง หาขนาดและรูปรางของผลทุเรียน เพื่อหามิติตางๆ ของผลทุเรียนไดแก น้ําหนักผลขนาดความกวางผล (Dmax, Dmin) และความยาวผล (Hmax, Hmin) โดยการวัดขนาด (ภาพที่ 5) อุปกรณ 1. บรรทัดเหล็ก 2. คาลิปเปอร 3. เครื่องชั่งน้ําหนัก 4. ผลทุเรียน ขนาดเล็ก กลาง ใหญ ขนาดละ 3 ผล วิธีการ 1. นําผลทุเรียนมาชั่งเพื่อจําแนกขนาด เล็ก กลาง ใหญ 2. นําผลทุเรียนมาติดหมายเลขตามลําดับ 3. ใชคาลิปเปอรวัดหาตัวแปรที่สนใจ 4. นําคาลิปเปอรสอบเทียบกับบรรทัดเหล็กแลวอานคา 5. ทําซ้ําจนครบ 9 ผล

ภาพที่ 5 การวดัหามิติตางๆ ของผลทุเรียน

Dmax, Dmin

Hmax Hmin

Page 10: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

9

3.1.2 ขนาดความกวางของพูผลทุเรียน หาขนาดความกวางของพูผลทุเรียน ไดแก ความกวางพู(D) และความยาวพู (H) โดยการวัดขนาด อุปกรณ 1. เวอรเนียคาลิปเปอร 2. มีดผาผลทุเรียน 3. ปากกา Permanent 4. กระจกใส 5. ผลทุเรียน ขนาดเล็ก กลาง ใหญ ขนาดละ 3 ผล วิธีการ 1. ลากเสนดวยปากกา Permanent ตามความยาวผลเพื่อเปนเครื่องหมายของรอยตอ 2. นําผลทุเรียนมาแบงตามความยาวของผลออกเปน 4 สวน (รูปที่ 6) 3. ใชมีดผาทุเรียนตามที่แบงไวจะไดSection S1, S2 และ S3 (รูปที่ 7) 4. ใชกระจกใสตีเสนเปน Quarter I, II, III, IV ทาบลงบนสวนตัดของผลทุเรียนใหเสน แกน X อยูตรงกับแนวเสนสาแหรกของพูเอก 5. นําเวอรเนียคาลิปเปอรวัดมิติของพูตาม (รูปที่ 8) โดยวัดพูที่อยูใน Quarter กับพูที่

ตรงกับแนวแกน 6. ทําซ้ําตาม Section S1, S2 และ S3 จนครบ 9 ผล

รูปที่ 6 การตัดSection

รูปที่ 7 ลักษณะผลทุเรียนที่ผานการตัด Section

S1 S3 S2

S1 S2 S3

Page 11: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

10

รูปที่ 8 มิติการวัดหาความกวางพู 3.1.3 ขนาดไสผลและความหนาเปลือกของผลทุเรียน หาขนาดไสผลและความหนาเปลือกของผลทุเรียน ไดแก ขนาดไสผลแตละ Section ตามแกน X และแกน Y หาความหนาของเปลือกผลตามแกน X และแกน Y (รูปที่ 9) อุปกรณ 1. เวอรเนียคาลิปเปอร 2. กระจกใส 3. ผลทุเรียนที่ตัดเปน Section แลวขนาดเล็ก กลาง ใหญ ขนาดละ 3 ผล วิธีการ 1. ใชกระจกใสตีเสน กําหนดแกน X และแกน Y ทาบลงบนสวนตัดของผลทุเรียน โดยใหแกน X อยูตรงกับแนวเสนสาแหรกของพูเอก 2. นําเวอรเนียคาลิปเปอรวัดมิติของพูตาม (รูปที่ 9) 3. ทําซ้ําตาม Section S1, S2 และ S3 จนครบ 9 ผล

Y

-X

-Y

X D

H

II III

IV I

Page 12: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

11

รูปที่ 9 มิติการหาขนาดไสผลและความหนาเปลือก

3.1.4 ระยะหางระหวางพูขอบเนื้อถึงขอบเนื้อ การจําแนกขนาดพูและจํานวนพูของผลทุเรียน หาระยะหางระหวางพู การจําแนกขนาดพูและจํานวนพูของผลทุเรียน ไดแก ระยะหางระหวางพูในแตละ Quarter I, II, III, IV โดยจําแนกขนาดเสนผาศูนยกลางของพู <25 มม. คือขนาดพูเล็ก, 25-35 มม.คือขนาดพูกลาง, >35 คือขนาดพูใหญ และนับจํานวนพูของผลทุเรียน อุปกรณ 1. เวอรเนียคาลิปเปอร 2. กระจกใส 3. ผลทุเรียนที่ตัดเปน Section แลวขนาดเล็ก กลาง ใหญ ขนาดละ 3 ผล วิธีการ 1. ใชกระจกใสที่ตีเสนเปน Quarter I, II, III, IV ทาบลงบนสวนตัดของผลทุเรียนโดย ใหแกน X อยูตรงกับแนวเสนสาแหรกของพูเอก 2. นําเวอรเนียคาลิปเปอรวัดระยะหางระหวางพูตาม (รูปที่ 10) 3. วัดขนาดพูแลวจําแนกออกเปนขนาด เล็ก กลาง และใหญ 4. นับจํานวนพูของผลทุเรียน 5. ทําซ้ําในแตละ Section ที่ 2 ของแตละผลจนครบ 9 ผล

Y

X

ความหนาเปลือกแกน Y

ขนาดไสผลแกน X

ความหนาเปลือกแกน X

ขนาดไสผลแกน Y

IV

II III

I

Page 13: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

12

รูปที่ 10 การหาระยะหางระหวางพ ู 3.1.5 การหามุมการวางตัวของพูตามแนวสาแหรกผลทุเรียน หามุมการวางตัวของพูผลทุเรียน ไดแก ระยะหางระหวางพูในแตละ Quarter I, II, III, IV จําแนกขนาดพู เล็ก กลาง และใหญ นับจํานวนพูของผลทุเรียน อุปกรณ 1. บรรทัดวัดมุม 3. ปาก Permanent 2. กระจกใส 3. ผลทุเรียนที่ตัดเปน Section แลวขนาดเล็ก กลาง ใหญ ขนาดละ 3 ผล วิธีการ 1. ใชกระจกใสที่ตีเสนเปน Quarter I, II, III, IV ทาบลงบนสวนตัดของผลทุเรียนโดย ใหแกน X อยูตรงกับแนวเสนสาแหรกของพูเอก 2. ใชปากกา Permanent ลากเสนจากสาแหรกผลมายังจุดศูนยกลางผล 3. นําบรรทัดวัดมุม วัดองศาจากสาแหรกของพูเอกไปยังอีกสาแหรกหนึ่งตาม เข็ม นาฬิกา (รูปที่ 11) วัดจนครบรอบเมื่อนําตัวเลขรวมกันจะได 360 องศา 4. ทําซ้ําในแตละ Section ที่ 2 ของแตละผลจนครบ 9 ผล

-Y

Y

-X X

ระยะหางระหวางพู (IV)

IV

II III

I

Page 14: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

13

รูปที่ 11 การวดัหามุมวางตัวของพูผลทุเรียน 3.1.6 การหามุมในแนวดิ่งระหวางขั้วผลกับปลายผลทุเรียน หามุมในแนวดิ่งระหวางขั้วผลกับปลายผลทุเรียน โดยใหขั้วผลอยูในดิ่งแลวหาการเปลี่ยนแปลงของมุมที่ปลายผลในแตพู อุปกรณ 1. ชุดทดสอบหามุมในแนวดิ่งระหวางขั้วผลกับปลายผลทุเรียน (ภาพที่ 12) 2. ปาก Permanent 3. เครื่องชั่งน้ําหนัก 4. ผลทุเรียนคละ ขนาดจํานวน 6 ผล วิธีการ 1. ใชปากกา Permanent ทําเครื่องหมายตามลําดับพูในแตละผล

2. นําผลทุเรียนแขวนกับชุดทดสอบหามุมโดยปรับใหจุดเริ่มตนของมุมไปจรดกับขั้วผลพอดี 3. อานคามุมของปลายผลที่กระทําในแนวดิ่งจากเสนองศาบนกระจกของชุดทดสอบในระดับสายตา 4. หมุนผลตามเข็มนาฬิกาแลวอานคาองศาจนครบ 5 พูที่ทําเครื่องหมายไว

5. ทําซ้ําในแตละผลจนครบ 6 ผล

Page 15: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

14

ภาพที่ 12 ทดสอบหามุมในแนวดิ่งระหวางขั้วผลกับปลายผลทุเรียน

3.1.7 การศึกษาหาแรงดึงเปลอืกตามแนวสาแหรก ศึกษาหาแรงดึงเปลือกตามแนวแตกของสาแหรกวามีผลตออายุการเจริญเติบโตของผลอยางไร โดยนําผลของการทดลอง 3.1.7.1 และ 3.1.7.2 เปนตัวช้ีวัดชวงการเจริญเติบโตกับผลงานวิจัยที่ผานมา โดยแบงการการทดลองออกเปน 3 ตอนดังนี้ 1. การหาเปอรเซ็นตน้ําหนักแหงของผลทุเรียน 2. การวัดปริมาณ Soluble solids (SS) 3. การหาแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรก

3.1.7.1 การหาเปอรเซ็นตน้ําหนักแหงของผลทุเรียน อุปกรณ 1. เครื่องอบลมรอน 2. ปาก Permanent 3. เครื่องชั่งน้ําหนัก 4. ถวยอบ 5. เนื้อทุเรียนสวนกลางพู ผลละ 3 พู จํานวน 40 ผล

Page 16: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

15

วิธีการ 1. นําเนื้อทุเรียนมาหั่นใหไดขนาดใกลเคียงกัน 1 x 1 มิลลิเมตร

2. ใสในถวยอบโดยทําเครื่องหมายตามลําดับผลละ 3 ซํ้า A, B, C แลวช่ังน้ําหนัก 20 กรัม 3. เขาเครื่องอบที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ช่ัวโมงจนน้ําหนักแหงคงที่ (มาตรฐาน ASAE 1994) 4. นําคาที่ไดมาคํานวณหาเปอรเซ็นตน้ําหนักแหงจากสมการ

น้ําหนกัแหง(%) =

3.1.7.2 การวัดปริมาณ Soluble solids (SS) อุปกรณ 1. เครื่องเหวี่ยง (Centrifuge) 2. ปาก Permanent เขียนหลอดแกว 3. เครื่องชั่งน้ําหนัก 4. หลอดแกว Centrifuge 5. โกรงบด 6. เครื่องปน 7. น้ํากลั่น 8. เครื่องวัดปริมาณ SS hand refractometer (Atago รุน N1,Japan) 9. เนื้อทุเรียนสวนกลางพู ผลละ 3 พู จํานวน 40 ผล วิธีการ 1. นําเนื้อทุเรียนมาปนดวยเครื่องปนรวมกันทั้ง 3 พู

2. นําเนื้อทุเรียนชั่งน้ําหนัก 3 กรัม 3. ใสในโกรงกับน้ํากลั่น 9 มิลลิลิตร บดใหเขากัน (รูปที่ 13) 4. ใสในหลอดแกว Centrifuge ทําเครื่องหมาย number ตามลําดับแลวช่ังน้ําหนัก เพื่อเช็คน้ําหนัก Balance กอนเขาเครื่องเหวี่ยง 5. ใสหลอดแกว Centrifuge ลงในเครื่องเหวี่ยง (Centrifuge) ใชอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความเร็ว 2000 รอบ/นาที เปนเวลา 10 นาที (รูปที่ 14) 6. นําสวนที่ใสในหลอดแกว Centrifuge มาหาปริมาณ SS ดวย hand refractometer 7. นําคาที่อานไดมาคํานวณจากสมการ ปริมาณ SS ของเนื้อทุเรียน (%) = คาที่อานได x 4 (คาการเจือจาง)

น้ําหนกัหลังอบ x 100 น้ําหนกักอนอบ

Page 17: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

16

รูปที่ 13 การบดดวยโกรง รูปที่ 14 เครื่องเหวี่ยง (Centrifuge)

3.1.7.3 การหาแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรก

อุปกรณ 1. เครื่อง Universal testing machine (UTM) รุน Lloyd TA plus (รูปที่ 17) 2. ปาก Permanent 3. เวอรเนียคาลิปเปอร 4. มีดปอกผลไม 5. หัวตัดตัวอยางเปลือกทุเรียน (รูปที่ 15) 6. เปลือกทุเรียนในแตละพู จํานวน 40 ผล วิธีการ 1. นําเปลือกทุเรียนในแตละพูมาตัดในตําแหนง สวนหัวผล, กลางผล และปลายผล

(รูปที่16) แลวใชมีดตัดครึ่งตัวอยางตามแนวยาว เนื่องจากหัวจับของเครื่อง UTM มีขนาดเล็ก 2. ทําเครื่องหมายตามลําดับ สวนหัวผล (A) กลางผล (B) และปลายผล (C)

3. นําเปลือกตัวอยางวัดขนาดกวางและหนา (มาตรฐาน JIS Z 2001) 4. นําไปทดสอบแรงดึงเปลือกกับเครื่อง UTM ที่ความเร็ว 25 มิลลิเมตร/นาที (Niklas 1988) ดึงจนกวาเปลือกขาด (รูปที่ 18) 5. นําคาที่วัดไดคือ คา FR, FR/A, D, F/D และ E ไปวิเคราะหเพื่อศึกษาอิทธิพลของตําแหนงเปลือก

Page 18: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

17

คา FR คือ คาแรงดึงสูงสุดที่ทําใหวัตถุแตกหกั (N) คา FR/A คือ คาการตานแรงดึง (N/mm2) คา D คือ คาการเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัตถุ (mm) คา F/D คือ ความแข็งแรงของสาแหรก (N/mm) คา E คือ พลังงานหาไดจากพืน้ที่ใตกราฟ (N.mm)

รูปที่ 15 หัวตดัตัวอยางเปลือกทุเรียน รูปที่ 16 ตําแหนงการตัดเปลือก

รูปที่ 17 เครื่อง Universal testing machine รูปที่ 18 การจับยึดตัวอยางเปลือก

(Lloyd TA plus)

ขั้วผล

Page 19: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

18

3.2 การออกแบบเครื่องตนแบบและการทดสอบ การออกแบบเครื่องเปดผลทุเรียนตนแบบ (Prototype of Durian Pushing Machine)

รูปที่ 19 Schematic Diagram 3.2.1 สวนประกอบ

1. ฐานเครื่อง 2. ชองจับยึดผล 3. ตัวปรับระดับสูง-ต่ํา 4. ตัวหมุนปรับระดับ 5. แขนหมนุหวัเจาะ 6. แขนกดหวัเจาะ 7. หัวเจาะ 8. สปริง

8

7

6

4

2

5

1

3

Page 20: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

19

3.2.2 ลักษณะของเครื่อง 1. ฐานเครื่องมีลักษณะเปนสี่เหล่ียมผืนผาขนาด 25 x 40 เซ็นติเมตร ทําจากเหล็กฉากขนาด

2 นิ้วคร่ึง 2. ชองจับยึด มีลักษณะเปนวงกลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 เซ็นติเมตร ดานบนเปนครีบไวสําหรับจับยึดผลทุเรียน

3. ตัวปรับระดับสูง-ต่ํา มีลักษณะเปนสกรู ยาว 28 เซ็นติเมตร ใชสําหรับปรับความสูงแขนปรับระดับ (4) ใหเหมาะสมกับความสูงของผลทุเรียน

4. ตัวหมุนปรับระดับ มีลักษณะเปนพวงมาลัย 10 เซ็นติเมตร ตอเชื่อมกับสกรูมีวงลอเปนหมุนปรับระดับ ขึ้นลงในแนวดิ่ง

5. แขนหมุนหัวเจาะ มีลักษณะเปนแขนโยกในแนวระดับ มีความยาว 20 เซ็นติเมตร ใชสําหรับโยกหมุนเมื่อหัวเจาะถูกเจาะลงปลายผลทุเรียน

6. แขนกดหัวเจาะ มีลักษณะ มีความยาว 45 เซ็นติเมตร ใชสําหรับกดใหหัวเจาะขึ้นลงแนวดิ่ง

7. หัวเจาะ มีลักษณะเปนกรวยแหลมขนาด 4 เซ็นติเมตร รอบกรวยประกอบดวยครีบที่มีความคมจํานวน 5 ครีบ ใชสําหรับเจาะลงปลายผลทุเรียน

8. สปริงทําหนาที่ดึงหัวจาะเมื่อหัวเจาะถูกกดใหเคลื่อนที่ลงในแนงดิ่งและขณะไมมีแรงกดสปริงจะดึงกลับตําแหนงเดิม

3.2.3 หลักการทํางานของเครื่อง

1. นําผลทุเรียนติดตั้งเขากับเครื่องโดยใหขั้วผลอยูดานลางปลายผลอยูดานบนวางบนชองจับยึดผล (1) 2. หมุนปรับระดับ (4) ใหพอดีกับผล โดยหมุนตัวปรับระดับสูง-ต่ํา ตามเข็มนาฬิกาหัวเจาะจะเลื่อนต่ําลง หมุนทวนเข็มนาฬิกาหัวเจาะจะเลื่อนสูงขึ้น และใหแขนกดหัวเจาะ (6) ทํามุมกับแนวระนาบประมาณ 45 องศา

3. หมุนหัวเจาะใหครีบตรงกับแนวสาแหรกใหมากที่สุด 4. กดแขนหัวเจาะ (6) ลงบนปลายผลทุเรียนจนสุด แลวหมุนแขนหัวเจาะ (5) ไปในทิศทาง

ที่ตรงกันขามกับแขนกด 5. เมื่อผลทุเรียนถูกเปดออกไดแลวใหยกแขนกดหัวเจาะ (6) ขึ้น หัวเจาะจะถูกยกขึ้นดวย

แรงสปริง จากนั้นนําผลทุเรียนออก

Page 21: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

20

3.3 การทดสอบเครื่องตนแบบ

รูปที่ 20 เครื่องตนแบบ นําเครื่องตนแบบที่ปรับปรุงอยางสมบรูณ (รูปที่ 20) ไปทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่อง โดยมีปจจัยควบคุมดังนี้

3.9.1 ระยะการเจริญเติบโตของผลทุเรียนที่วดัจากคา % DW ของเนื้อทุเรียนที่มผีลตอเปอรเซ็นตการเปดและเวลาในการเปดผล 3.9.2 ระยะการเจริญเติบโตของผลทุเรียนที่วดัจากคา % SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอเปอรเซน็ตการเปดและเวลาในการเปดผล

3.9.3 ระยะการเจริญเติบโตของผลทุเรียนที่วัดจากคา % DW ของเนื้อทุเรียนที่มีผล ตอแรงกดของแขนหัวเจาะและแรงฉีกของแขนหมุนหัวเจาะในการเปดผล

3.9.4 ระยะการเจริญเติบโตของผลทุเรียนที่วัดจากคา % SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผล ตอแรงกดของแขนหัวเจาะและแรงฉีกของแขนหมุนหัวเจาะในการเปดผล

Page 22: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

21

อุปกรณ 1. เครื่องผาผลทุเรียนตนแบบ 2. เครื่องเหวี่ยง (Centurion K2R Series) 3. เครื่องชั่งน้ําหนัก 4. ตราชั่งสปริง 5. เครื่องอบลมรอน 6. เครื่องปน 7. เครื่องวัดปริมาณ SS hand refractometer (Atago รุน N1,Japan) 8. นาฬิกกาจับเวลา 9. ทุเรียนที่อยูในชวงกําลังรับประทาน, สุก น้ําหนักระหวาง 2 – 4 กก. ที่คัดเลือกจาก

ชาวสวน จํานวน 80 ผล วิธีการ 1. นําผลทุเรียนเขาเครื่องผาพรอมจับเวลา

2. ดึงตราชั่งสปริงที่ถูกติดตั้งกับแขนหัวเจาะ (รูปที่ 21) กดหัวเจาะลงพรอมกับอาน คาสูงสุดจนหัวเจาะมิดผลทุเรียนแลวหยุดเวลา 3. นําตราชั่งสปริงยายไปติดตั้งกับแขนหมุนหัวเจาะ เร่ิมจับเวลาตอพรอมกับดึงใหแขนหมุนหัวเจาะหมุนอานคาสูงสุดจนผลทุเรียนแยกออกจากกันแลวหยุดเวลา 4. นับจํานวนรอยแตกและระยะความยาวของรอยแตกแตละพูเพื่อหาเปอรเซ็นตการเปดผล

5. เร่ิมจับเวลาตอพรอมกับนําผลทุเรียนออกจากเครื่อง และนําไปเปดดวยมือจนไดเนื้อ ของทุเรียนทุกพูแลวหยุดเวลา บันทึกเวลารวมทั้งหมด 6. ทําซ้ําจากขอ 1- 4 จนครบทุกผล 7. นําเนื้อทุเรียนไปหา %DW และ %SS

รูปที่ 21 การติดตั้งตราชั่งสปริงบนแขนหวัเจาะ

Page 23: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

22

4. ผลการทดลอง 4.1 ผลการวัดขนาดและรูปราง ผลการทดสอบวัดหามิติตางๆของผลทุเรียน (ตารางที่1) พบวาทุเรียนที่อยูในชวงน้ําหนกัเฉลี่ย 3.44 กิโลกรัม มีขนาดความโตของผล Dmax และ Dmin เฉลี่ย 19.92 และ 17 เซ็นติเมตร มีคาความสูง Hmax และ Hmin เฉลี่ย 23.83 และ 22.61 เซ็นติเมตรตามลําดับ ตารางที่ 1 ผลการวัดหามิติตางๆ ของผลทุเรียน

ผลที่ นํ้าหนัก D H

kg max(cm) min(cm) max(cm) min(cm) 1 3.16 18.4 16.2 24.3 23.8 2 3.18 19.2 17.8 23.7 22.1 3 2.6 18.3 15.2 20 19.2 4 3.4 21.5 17.4 22.9 22 5 3.4 18.9 15.1 26 25.8 6 3.46 20.5 19 23.2 22.2 7 3.88 20.6 16.1 25.1 23.2 8 4.18 22.7 18.1 26.1 22.6 9 3.68 19.2 18.1 23.2 22.6

AVR 3.44 19.92 17.00 23.83 22.61 SD 0.45 1.50 1.39 1.87 1.75

4.2 ผลการวัดขนาดความกวางของพูผลทุเรียน การทดสอบหาขนาดความกวางของพูผลทุเรียน (ตารางที2่) พบวาผลทุเรียนใน Section 2 มีความโตของพูมากกวา Section อ่ืน และพบวาเมื่อแกน X ตรงกับพูเอก จะมีพูทีต่รงกับ Quarter III ทุกผล คา D ของผลเอกเฉลี่ย 71.07 มม. คา H เฉลี่ยของพูเอก 83.92 มม. ตารางที่ 2 ขนาดความกวางของพูผลทุเรียน

ผลที่ D H I II III IV x y -y I II III IV x y -y

1 62.02 67.25 64.92 37.54 69.25 72.54 67.76 43.08 2 46.01 56.21 56.96 60.36 79.02 53.95 54.45 59.64 68.78 78.44 3 57.95 57.54 56.2 76.1 57.14 59.7 60.62 60.48 79.62 57.1 4 63.07 63.84 65.72 65.78 41.93 61.65 65.79 67.47 70.06 45.04 5 60.59 50.13 56.38 65.73 60.48 60.1 50.12 57.75 64.03 60.32 6 59.89 64.87 74.49 88 63.37 65.99 47.54 85.26 7 39.56 56.4 73.29 87.87 55.46 68.4 72.5 82.55 8 37.24 57.28 45.84 64.32 68.97 68.85 61.47 77.77 9 62.64 61.17 60.42 61.45 71.75 67.81 63.68 65.95 65.56 75.23

AVR 52.24 59.94 57.17 50.67 71.07 59.55 62.71 47.68 60.49 62.41 61.29 83.92 60.54 62.82 SD 12.77 2.65 8.11 9.33 9.85 11.56 35.59 8.36 3.38 6.47 7.24 6.72 10.57 27.91

Page 24: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

23

4.3 ผลการวัดขนาดไสผลและความหนาเปลือกของผลทุเรียน ผลการทดสอบวัดหามิติไสผลและความหนาเปลือกของผลทุเรียน (ตารางที่ 3) พบวาขนาดไสผลทุเรียนใน Section 1-3 ของ Quarter I, II, III, IV และความหนาเเปลือกในแกน X, Y มีขนาดเฉลี่ยใกลเคียงกัน ตารางที่ 3 ผลการวัดหามิติไสผลและความหนาเปลือกของผลทุเรียน

ผลที่ ไสผล

ความหนาเปลือก(mm) Section 1 (mm) Section 2 (mm) Section 3 (mm) X Y X Y X Y X Y

1 38.95 31.24 24.47 45.52 24.18 36.81 9.24 11.22 2 26.07 31.75 42.22 38.16 34.14 36.05 13.36 11.34 3 29.91 25.23 32.52 27.25 25.92 26.93 8.48 11.87 4 41.75 37.66 46.2 39.33 33.33 37.04 11.19 15.2 5 35.7 37.15 36.95 36.95 31.58 27.43 9.23 10.09 6 30.93 29.05 36.69 32.51 32.34 29.91 8.17 12.29 7 50.39 20.39 56.36 24.33 46.6 41.68 14.44 7.12 8 33.48 26.18 37.62 31.45 38.76 42.79 16.61 17.42 9 25.81 32.58 35.82 34.78 39.97 36.91 9.46 11.13

AVR 34.78 30.14 38.76 34.48 34.09 35.06 11.13 11.96 SD 7.96 5.61 8.93 6.46 6.96 5.76 2.99 2.94

4.4 ผลการวัดระยะหางระหวางพูขอบเนื้อถึงขอบเนื้อ การจําแนกขนาดพูและจํานวนพูของผลทุเรียน ผลการทดสอบระยะหางระหวางพู การจําแนกขนาดพแูละจํานวนพูของผลทุเรียน (ตารางที่ 4) พบวาระยะหางระหวางพูของ Quarter I, II, III, IV มีขนาดเฉลี่ยใกลเคียงกัน โอกาสพบขนาดพูกลางมีมากกวา รองลงมาคือพูเล็ก พบนอยที่สุดคือพูใหญ และโอกาสพบผลทุเรียน 5 พูมากกวา ตารางที่ 4 ระยะหางระหวางพู การจําแนกขนาดพูและจํานวนพูของผลทุเรียน

ผลที่ ระยะหางระหวางพู ขนาดพู

จํานวนพู I II III IV เล็ก กลาง ใหญ

1 7.53 8.81 8.19 25.48 1 2 1 4 2 9.05 9.37 14.88 10.13 1 3 1 5 3 7.5 8.25 6.08 11.15 1 3 1 5 4 17.2 18.44 19.94 16.45 2 1 2 5 5 10.73 10.55 10.32 10.42 2 2 1 5 6 22.22 10.51 8.95 13.12 1 2 1 4 7 13.77 15.58 11.84 26.91 2 1 1 4 8 17.87 24.73 15.74 16.31 1 2 1 4 9 7.51 7.87 11.04 7.45 1 3 1 5

AVR 11.59 11.64 10.23 11.31 1.11 1.56 0.89 3.56 SD 5.64 6.00 4.44 6.33 0.53 0.82 0.38 0.53

Page 25: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

24

4.5 ผลการวัดมุมการวางตัวของพูตามแนวสาแหรกผลทุเรียน ผลการทดสอบหามุมการวางตัวของพูผลทุเรียน (ตารางที่ 5) พบวามุมการวางตัวของพูไมแนนอน คาเฉลี่ยของมุมในแตละพูอยูในชวง 70-85 องศา คา max กับ min นั้นหางกันมาก มีคาเฉลี่ย 98.89, 66.89 ตามลําดับ ตารางที่ 5 ผลของมุมการวางตัวของพู

ผลที่ มุมของพู 1-2 max min

1 80 82 66 132 132 66

2 66 82 75 71 66 82 66

3 70 72 73 69 76 76 69

4 76 70 70 65 79 79 65

5 70 71 81 78 60 81 60

6 124 66 82 88 124 66

7 84 83 74 119 119 74

8 65 124 99 72 124 65

9 71 72 73 72 72 73 71

AVR 78.44 80.22 77.00 85.11 70.60 98.89 66.89

SD 18.19 17.53 9.62 24.01 7.67 24.89 4.01

4.6 หามุมในแนวดิ่งระหวางขั้วผลกับปลายผลทุเรียน ตารางที่ 6 มุมในแนวดิ่งระหวางขัว้ผลกับปลายผลทุเรียน

ผลที่ น้ําหนัก

พูที ่มุม

กก. องศา

1 2.93

1 7.5 2 0 3 7.5 4 2 5 3

2 2.95

1 0 2 2 3 2 4 0 5 2

3 2.79

1 5 2 5 3 5 4 5 5 8

4 3.76

1 3 2 5 3 5 4 3 5 3

5 4.39

1 0 2 5 3 0 4 7 5 5

6 5.1

1 0 2 5 3 3 4 5 5 5

AVR 3.60 SD 2.440

Page 26: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

25

ผลการทดสอบหามุมในแนวดิ่งระหวางขัว้ผลกับปลายผลทุเรียน (ตารางที่ 6) พบวามุมในแนวดิ่งระหวางขัว้ผลกับปลายผลทุเรียน มีคามากสุด 7.5 องศา นอยสุด 0 องศา โดยมีคาเฉลี่ย 3.6 องศา 4.7 ผลการวัดแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรก ในการวัดแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรกนั้นจะวิเคราะหปจจยัที่มีผลตอแรงดึงคือตาํแหนงการวัดบนเปลือก และความบริบรูณของทุเรียนดวยวิธีการวิเคราะหความแปรปรวน ดังนั้นจึงศกึษาเปอรเซ็นตน้ําหนักแหงและปริมาณ SS ในทุเรียนแตละผลเพื่อนํามาใชเปนคาอางอิงในการแบงทุเรียนเปนกลุมความบริบรูณ ผลการทดสอบหาเปอรเซ็นตน้ําหนกัแหง และการวดัปริมาณ Soluble solids (SS) ของผลทุเรียน (ตารางที่ 7) พบวาเมื่อเปอรเซ็นตน้ําหนกัแหงของเนื้อทุเรียนเพิ่มขึ้นจะสงผลใหเปอรเซ็นต SS ของเนื้อทุเรียนเพิ่มขึ้นเชนกนั (รูปที่ 22) โดยมคีา R เทากัน 0.70 จึงไดแบงชวงการเจริญเติบโตของผลตามเปอรเซ็นตน้ําหนกัแหง (STAGE) ออกเปน 5 ชวง คือ 7-25 มีอายุผลอยูในชวงประมาณ 90 วัน 25-35 มีอายุผลอยูในชวงประมาณ 106 วัน 35-40 มีอายุผลอยูในชวงประมาณ 120 วัน 40-45 และ 45-50 มีอายุผลอยูในชวงเกิน 127 วันขึน้ไป (พีรพงษ, 2541)

รูปที่ 22 ความสัมพันธระหวาง %DW กับ %SS แตละชวงการเจริญเติบโต

คาความสัมพันธระหวา%DW กับ % SS

R2 = 0.4937

0

10

20

30

40

0 20 40 60

% DW

% S

S Series1Linear (Series1)

R = 0.70

Page 27: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

26

4.7.1 ผลการทดสอบหาแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรกจากปจจัยควบคุมตามการเจริญเติบโตของผล (STAGE) พบวาคาแรงดึงสูงสุดที่ทําใหวัตถุแตกหัก (FR) ไดรับอิทธิพลจากการเจริญเติบโตและตําแหนงของเปลือกทุเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 5% (ตารางที่ 7) จากการวิเคราะห DMRT ในภาพรวมคาแรง FR ที่ตําแหนงเปลือก C มีแนวโนมมากที่สุด และที่ตําแหนงเปลือก A มีแนวโนมต่ําที่สุด เมื่อพิจารณาอิทธิพลของระยะการเจริญเติบโตตอแรง FR พบวา เมื่อทุเรียนมีระยะการเจริญเติบโตมากขึ้นคาแรง FR มีแนวโนมลดลง ที่ตําแหนงเปลือก A คา FR จะต่ําสุด และแตกตางจากแรงที่ระยะ 1 ถึง 4 อยางมีนัยสําคัญ สําหรับตําแหนงเปลือก B แรง FR ที่ระยะ 5 จะแตกตางจากระยะ 1 ถึง 4 อยางมีนัยสําคัญเชนเดียวกัน ตารางที่ 7 การวิเคราะห DMRT ของคาแรงดึงสูงสุด (FR)

ระยะการเจริญเติบโต (Stage)

ตําแหนงของเปลือกทุเรียน A B C

1 60.47bcde

(7.04) 64.83ef

(9.80) 70.31f

(10.92)

2 57.35bc

(8.56) 61.85bcde

(10.79) 59.78bcde

(10.92)

3 58.82bcd

(11.17) 57.63bc

(10.50) 59.21bcde

(10.57)

4 60.72bcde

(11.67) 62.20cde

(9.10) 64.83dcef

(11.50)

5 50.89a

(15.46) 50.87a

(14.57) 55.27ab

(18.34) หมายเหต ุ 1. คาเฉลี่ยตามหลังดวยตัวอักษรที่เหมือนกันคือไมแตกตางกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห โดยวิธี DMRT ที่ระดับนัยสําคัญ 5%

2. คาในวงเล็บคือ คา Std. Deviation

Page 28: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

27

4.7.2 ผลการทดสอบหาแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรกจากปจจัยควบคุมตามการเจริญเติบโตของผล (STAGE) พบวาคาการตานแรงดึง (FR/A) ตําแหนงเปลือกทุเรียนไมมีผลตอคาการตานแรงดึง (FR/A) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ไมวาจะใชทุเรียนที่ระยะการเจริญเติบโตเทาใดก็ตาม (ตารางที่ 8) ในภาพรวมทุเรียนระยะการเจริญเติบโตระยะ 1 จะมีคาสูงกวาระยะอื่นๆอยางมีนัยสําคัญ และทุเรียนระยะที่ 2 ถึงระยะ 5 มีคา FR/A ที่ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ โดยแนวโนมจะเหมือนกันไมวาจะวัดบนเปลือกทุเรียนที่ตําแหนงใดก็ตาม ตารางที่ 8 การวิเคราะห DMRT ของคา FR/A

ระยะการเจริญเติบโต

ตําแหนงของเปลือกทุเรียน A B C

1 0.93d

(0.19) 0.92d

(0.16) 0.88cd

(0.15)

2 0.64a

(0.25) 0.75ab

(0.22) 0.69ab

(0.23)

3 0.70ab

(0.19) 0.78bc

(0.22) 0.69ab

(0.19)

4 0.67ab

(0.21) 0.73ab

(0.19) 0.67ab

(0.19)

5 0.67ab (0.24)

0.64a

(0.22) 0.66ab (0.23)

หมายเหต ุ 1. คาเฉลี่ยตามหลังดวยตัวอักษรที่เหมือนกันคือไมแตกตางกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห โดยวิธี DMRT ที่ระดับนัยสําคัญ 5% 2. คาในวงเล็บคือ คา Std. Deviation

Page 29: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

28

4.7.3 ผลการทดสอบหาแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรกจากปจจัยควบคุมตามการเจริญเติบโตของผล (STAGE) พบวาทุเรียนที่ระยะการเจริญเติบโตระยะ 1 และ 2 มีคาการเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัตถุ (D) ไมแตกตางกันเมื่อวัดที่เปลือกทุเรียนตําแหนง A และ B แตจะแตกตางจากทุเรียนที่ระยะอื่นๆ (ตารางที่ 9) ในภาพรวมคา D ที่ตําแหนงเปลือก A, B และ C มีแนวโนมใกลเคียงกัน เมื่อทุเรียนมีระยะการเจริญเติบโตมากขึ้นคา D มีแนวโนมลดลง ที่ตําแหนงเปลือกคา A และ B ที่ระยะ 1 และ 2 จะแตกตางจากระยะ 3 ถึง 5 อยางมีนัยสําคัญเชนเดียวกัน ตารางที่ 9 การวิเคราะห DMRT ของคา D

ระยะการเจริญเติบโต

ตําแหนงของเปลือกทุเรียน A B C

1 1.33d

(0.17) 1.29d

(0.18) 1.28cd

(0.18)

2 1.27cd

(0.32) 1.32d

(0.39) 1.29cd (0.49)

3 1.13abc

(0.19) 1.17abc

(0.26) 1.23bcd

(0.19)

4 1.16abc

(0.22) 1.18abc

(0.24) 1.25cd

(0.19)

5 1.07ab

(0.35) 1.04a

(0.31) 1.08ab

(0.36) หมายเหต ุ 1. คาเฉลี่ยตามหลังดวยตัวอักษรที่เหมือนกันคือไมแตกตางกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห โดยวิธี DMRT ที่ระดับนัยสําคัญ 5% 2. คาในวงเล็บคือ คา Std. Deviation

Page 30: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

29

4.7.4 ผลการทดสอบหาแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรกจากปจจัยควบคุมตามการเจริญเติบโตของผล (STAGE) พบวาทุเรียนที่ระยะการเจริญเติบโตตางๆจะมีคาความแข็งของสาแหรก (F/D) ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 10) อยางไรก็ตามการวัดที่เปลือกทุเรียนตําแหนง C จะใหคาสูงกวาการวัดที่ตําแหนง A สําหรับทุเรียนระยะที่ 1 ตารางที่ 10 การวิเคราะห DMRT ของคา F/D

ระยะการเจริญเติบโต

ตําแหนงของเปลือกทุเรียน A B C

1 46.31a

(8.02) 51.75ab (10.22)

55.65b

(10.84)

2 47.90ab

(13.19) 50.26ab

(14.39) 53.24ab (21.18)

3 53.00ab

(10.92) 51.58ab

(14.30) 49.08ab

(9.85)

4 53.23ab

(11.12) 54.21b

(12.22) 52.89ab

(10.53)

5 49.30ab (14.10)

49.68ab (12.69)

52.77ab

(13.55) หมายเหต ุ 1. คาเฉลี่ยตามหลังดวยตัวอักษรที่เหมือนกันคือไมแตกตางกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห โดยวิธี DMRT ที่ระดับนัยสําคัญ 5% 2. คาในวงเล็บคือ คา Std. Deviation

Page 31: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

30

4.7.5 ผลการทดสอบหาแรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรกจากปจจัยควบคุมตามการเจริญเติบ โตของผล (STAGE) พบวาในการวัดคาพลังงานหาไดจากพื้นที่ใตกราฟ (E) ที่ตําแหนงเปลือก A, B และ C ของทุเรียนที่เจริญเติบโตระยะที่ 5 จะมีคาต่ําที่สุด และ มีคานอยกวาทุเรียนที่ระยะ 1 และ 4 สําหรับการวัดที่ตําแหนง A และต่ํากวาทุเรียนที่ระยะ 1, 2 และ 4 สําหรับการวัดที่ตําแหนง B สวนที่ตําแหนง C จะนอยกวาทุเรียนระยะ 1 และ 4 (ตารางที่ 11) ตารางที่ 11 การวิเคราะห DMRT ของคา E

ระยะการเจริญเติบโต

ตําแหนงของเปลือกทุเรียน A B C

1 144.65bcd

(28.09) 161.97cd

(32.63) 169.04d

(40.69)

2 127.87ab

(27.52) 160.19cd

(50.48) 136.05abc

(37.96)

3 136.25abc

(42.05) 136.39abc (40.50)

139.68abc

(43.40)

4 148.78bcd

(48.16) 150.45bcd

(39.36) 161.50cd

(61.90)

5 114.55a

(57.41) 111.51a (45.77)

123.90ab (65.63)

หมายเหต ุ 1. คาเฉลี่ยตามหลังดวยตัวอักษรที่เหมือนกันคือไมแตกตางกันทางสถิติ เมื่อวิเคราะห โดยวิธี DMRT ที่ระดับนัยสําคัญ 5% 2. คาในวงเล็บคือ คา Std. Deviation

Page 32: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

31

4.8 ผลการทดสอบเครื่องตนแบบ 4.8.1 ผลการหาระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW ของเนื้อทุเรียนที่มีผล

ตอเปอรเซ็นตการเปดและเวลาในการเปดผล พบวาเมื่อระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนเพิ่มขึ้นจะสงผลใหเครื่องสามารถเปดผลทุเรียนไดงายขึ้น (ภาพที่ 23) มีคา R = 0.68 จึงทําใหใชเวลาในการเปดผลทุเรียนนอยลง (ภาพที่ 24) มีคา R = 0.54 ซ่ึงสอดคลองกับผลในตารางที่ 8 โดยแรงสูงสุด FR จะนอยลงเมื่อทุเรียนมีอายุการเจริญเติบโตมากขึ้นหรือมี %DW มากขึ้น

ภาพที่ 23 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอ เปอรเซ็นตการเปดผล ภาพที่ 24 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW ของเนื้อทุเรียนที่มผีลตอเวลาใน

การเปดผล

ผลตอเปอรเซ็นตการเปด

R2 = 0.4567

010203040506070

20 25 30 35 40 45 50

%DW

%O

pen

Series1Linear (Series1)

R = 0.6758

ผลตอเวลา

R2 = 0.2954

0

50

100

150

200

250

300

20 25 30 35 40 45 50

%DW

เวลา Series1

Linear (Series1)

R = 0.5435

Page 33: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

32

4.8.2 การหาระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอเปอรเซ็นตการเปดและเวลาในการเปดผล พบวาเมื่อระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนเพิ่มขึ้นจะสงผลใหเครื่องสามารถเปดผลทุเรียนไดงายขึ้น (ภาพที่ 25) มีคา R = 0.54 จึงทําใหใชเวลาในการเปดผลทุเรียนนอยลง (ภาพที่ 26) มีคา R = 0.52 มีผลใกลเคียงกับระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW ของเนื้อทุเรียน

ภาพที่ 25 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอเปอรเซ็นต การเปดผล

ภาพที่ 26 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอเวลาใน

การเปดผล

ผลตอเปอรเซ็นตการเปด

R2 = 0.2888

010203040506070

20 25 30 35 40

%SS

%O

pen

Series1Linear (Series1)

R = 0.5374

ผลตอเวลาการเปด

R2 = 0.2723

0

50

100

150

200

250

300

20 25 30 35 40

%SS

เวลาการเปด

Series1Linear (Series1)

R = 0.5218

Page 34: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

33

4.8.3 การหาระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW ของเนื้อทุเรียนที่มีผล ตอแรงกดของแขนหัวเจาะและแรงฉีกของแขนหมุนหัวเจาะในการเปดผล พบวาเมื่อระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนเพิ่มขึ้นจะสงผลใหการออกแรงกดของแขนหัวเจาะและแรงฉีกของแขนหมุนหัวเจาะลดลง (ภาพที่ 27, 28) โดยมีคา R = 0.42 และ 0.4 ตามลําดับ

ภาพที่ 27 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอแรงกด

ของแขนหวัเจาะในการเปดผล ภาพที่ 28 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอแรงฉีก

ของแขนหมนุหวัเจาะในการเปดผล

ผลตอแรงกด

R2 = 0.1803

010

2030

405060

20 25 30 35 40 45 50

%DW

แรงกด Series1

Linear (Series1)

R = 0.4246

ผลตอแรงฉีก

R2 = 0.1573

0

5

10

15

20

25

30

20 25 30 35 40 45 50

%DW

แรงฉีก Series1

Linear (Series1)

R = 0.3966

Page 35: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

34

4.8.4 การหาระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผล ตอแรงกดของแขนหัวเจาะและแรงฉีกของแขนหมุนหัวเจาะในการเปดผล พบวาเมื่อระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนเพิ่มขึ้นจะสงผลใหการออกแรงกดของแขนหัวเจาะและแรงฉีกของแขนหมุนหัวเจาะลดลง มีคาใกลเคียงกับระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %DW (ภาพที่ 29, 30) โดยมีคา R = 0.44 และ 0.5 ตามลําดับ

ภาพที่ 29 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอ แรงกดของแขนหวัเจาะในการเปดผล

ภาพที่ 30 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา %SS ของเนื้อทุเรียนที่มีผลตอแรงฉีกของ

แขนหมุนหัวเจาะในการเปดผล

ผลตอแรงกด

R2 = 0.1901

10

20

30

40

50

60

20 25 30 35 40

%SS

แรงกด Series1

Linear (Series1)

R = 0.4360

ผลตอแรงฉีก

R2 = 0.2525

0

5

10

15

20

20 25 30 35 40

%SS

แรงฉีก Series1

Linear (Series1)

R = 0.5025

Page 36: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

35

5. วิจารณผลการทดลอง

ภาพที่ 31 ผลทุเรียนที่เปดยางสมบรูณ ภาพที ่32 ผลทุเรียนที่เปนโรคผลเนา

ภาพที่ 33 ความเสียหายของผลทุเรียนที่หาม ภาพที่ 34 ความเสียหายจากครีบเจาะไมตรงรองพู จากการทดสอบเครื่องตนแบบเพื่อปดผลทุเรียนนั้นพบวาผลทุเรียนที่สุกที่มีคา % DW ประมาณ 40 ขึ้นไป จะสามารถเปดผลไดงายและสมบรูณ (ภาพที่ 31) แตการเปดผลทุเรียนหามที่คา % DW ต่ํากวา 35 นั้นจะเปดผลทุเรียนไดยากหรืออาจจะเปดไมไดเลย เนื่องจากสาแหรกยังมีความแข็งแรงอยู ตองออกแรงกดแขนหัวเจาะและตองออกแรงฉีกแขนหมุนหัวเจาะมาก ผลทุเรียนอาจเกิดการหลุดออกจากชองจับยึดผล (ภาพที่ 33) ผลทุเรียนที่เปนโรคผลเนา มีลักษณะของเปลือกสีน้ําตาลและบริเวณเปลือกสวนนั้นจะนิ่ม สงผลใหหัวเจาะไมสามารถหมุนเพื่อฉีกเปลือกออกได (ภาพที่ 32) ในการกดใหหัวเจาะลงไปในผลทุเรียนนั้น ตําแหนงของครีบเจาะจะตองอยูใกลเคียงกับแนวสาแหรก ถาอยูหางมากเกินไป สงผลใหการฉีกของเปลือกไปทําความเสียหายกับเนื้อทุเรียน (รูปที่ 34) ฉนั้นผูเปดตองสังเกตแนวสาแหรกเองดวยตาเปลา และอาจเกิดขอผิดพลาดขึ้นไดถาไมชํานาญ

Page 37: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

36

6. สรุป

คุณสมบัติทางกายภาพของผลทุเรียนในชวงน้ําหนักเฉลี่ย 3-4 กิโลกรัมมีคา Dmax และ Dmin เฉลี่ย 19.92, 17 เซ็นติเมตร มีคาความสูง Hmax และ Hmin เฉลี่ย 23.83, 22.61 เซ็นติเมตรตามลําดับ ความกวางของพูเอกในผลทุเรียนมีคาเฉลี่ย 71.07 มม. คา H เฉลี่ยของพูเอก 83.92 มม. มิติไสผลและความหนาเปลือกมีขนาดเฉลี่ยใกลเคียงกันของทั้งผล โอกาสพบขนาดพูขนาดกลางมีมากกวารองลงมาคือพูขนาดเล็ก พบนอยที่สุดคือพูใหญ และโอกาสพบผลทุเรียนมี 5 พูมากกวา มุมการวางตัวของพูไมแนนอน คาเฉลี่ยของมุมในแตละพูอยูในชวง 70-85 องศา คา max กับ min นั้นหางกันมาก มีคาเฉลี่ย 98.89, 66.89 ตามลําดับ มุมในแนวดิ่งระหวางขั้วผลกับปลายผลทุเรียน มีคามากสุด 7.5 องศา นอยสุด 0 องศา โดยมีคาเฉลี่ย 3.6 องศา เปอรเซ็นตน้ําหนักแหง (%DW) ของเนื้ทุเรียนเพิ่มขึ้นจะสงผลใหเปอรเซ็นต SS ของเนื้อทุเรียนเพิ่มขึ้นดวย แรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรก ตําแหนงเปลือก C มีคา FR สูงสุด การตานแรงดึง (FR/A) ตําแหนงเปลือก C มีแนวโนมลดลงเฉลี่ย 0.88, 0.67 (N/mm2) และความแข็งแรงของสาแหรก (F/D) ในตําแหนงของเปลือก A, B และ C ไมแตกตางกัน คาพลังงาน (E) มีคาเฉลี่ย 152.25 N.mm และมีคาลดลง มีคาเฉลี่ย 111.51 N.mm แรงดึงเปลือกตามแนวสาแหรกมีคาการเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัตถุ (D) มีคาเฉลี่ย 1.26 mm และจะลดลง นําคุณสมบัติทางกายภาพของผลทุเรียนมาออกแบบเครื่องผาผลทุเรียนตนแบบทํางานดวยระบบกลไก ฐานเครื่องมีขนาด 25 x 40 ซ.ม. ทําจากเหล็ก น้ําหนักของเครื่อง 39 ก.ก. ทํางานโดยกดแขนหัวเจาะ ลงบนขั้วผลทุเรียนจนสุด แลวหมุนแขนหัวเจาะไปในทิศทางที่ตรงกันขามกับแขนกด เพื่อใหเปลือกทุเรียนบิดแลวฉีกออกตามแนวสาแหรก ใชเวลาเปดผลไมรวมเวลาแกะดวยมือเฉลี่ย 20 วินาที และเวลาเปดผลรวมเฉล่ีย 1 นาที 40 วินาที สามารถเปดผลทุเรียนสุกไดดีที่คา % DW ประมาณ 40 ขึ้นไป แตเปดผลทุเรียนหามไดไมคอยดี ที่คา % DW ต่ํากวา 35 ระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา % DW ของเนื้อทุเรียนพิ่มขึ้นจะสงผลใหเครื่องสามารถเปดผลทุเรียนไดงายขึ้น ทําใหใชเวลาในการเปดผลทุเรียนนอยลง การออกแรงกดของแขนหัวเจาะและแรงฉีกของแขนหมุนหัวเจาะลดลง สวน คา % SS ของเนื้อทุเรียนมีผลใกลเคียงกับระยะการเจริญเติบของผลทุเรียนที่วัดจากคา % DW ของเนื้อทุเรียน

Page 38: รายงานฉบับสมบูรณ เรื่อง · 2010-05-19 · 4 รูปที่ 2 แสดงส วนประกอบของเคร ื่องปอกท

37

7. เอกสารอางอิง กรมการคาตางประเทศ 2550. สถานการณการคาทุเรียน สํานักบริหารการนําเขาสงออกสินคา

ทั่วไปกลุมวิเคราะหสินคา 2 กันชลักษณ ขวัญใจพานิช, พิศาล ทวีผล, รณชิต ยุทธเกง. 2546 การออกแบบและพัฒนาเครื่องปอก

เปลือกทุเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. เกริก คงวัฒนานนท, อุดม เฉลิมเกียรติสกุล 2530. เครื่องปอกทุเรียน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,

หนา 19. เชาวน อินทรประสิทธิ์ 2542. เครื่องฉีกทุเรียน หนังสือพิมพเดลินิวส. หนา 12. ดารณี ปานขลิบ 2544. การปอกผลและการเก็บรักษาเนื้อทุเรียนพันธุหมอนทอง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, หนา 72. พีรพงษ แสงวนางคกูล 2541. การเจริญเติบโตและการพัฒนาของผลทุเรียนพันธุหมอนทอง และ

อิทธิพลของเอทีฟอนในระยะกอนเก็บเกี่ยว วิทยานิพนธ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วรรณา ไชยฤกษ 2531. การพัฒนาเครื่องปอกทุเรียน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, หนา 22. เสกสรร สีหวงษ 2550. เครื่องผาทุเรียนดบิระบบไฮดรอลิค ฝายเครื่องจักรกลการเกษตรแหงชาต ิ

สถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ASAE Standard 1994. Moisture measurement-forages. ASAE S358.2 December 93, 471pp.

American Society of Agricultural Engineers, 2950 Niles Road, Michigan, USA Japanese Standards Association JIS Handbook. Akasaka Minotoku, Tokyo, 107 Japan, 1996 Niklas, K. 1. 1988. Dependency of tensile modulus on transverse dimensions, water potential and

cell membrane of pith parenchyma. Am. J. Bot. 75: 1286-1292.