การสร้างไก่ชน: สายพันธุ์เทพ...

1
การสร้างไก่ชน: สายพันธุ์เทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 อาพล จุปะมัดถา สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๑. เพื่อสร้างไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 ที่มีลักษณะเป็นไก่สีกรด (F1) ๒. จัดทาฐานข้อมูลพันธุ์ประวัติไก่ชนที่คัดเลือกเป็นพ่อแม่พันธุ์ (F0) และไก่ชน F1 ๓. ศึกษาสมรรถนะภาพการชนและประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ของไก่ชน F0 ๔. ศึกษาสมรรถนะภาพการเจริญเติบโตของไก่ชน F1 ๕. หาค่าทางพันธุกรรมของลักษณะเชิงคุณภาพและลักษณะเชิงปริมาณบางประการของไก่ชน F0 กับไก่ชน F1 ขอบเขตและวิธีดาเนินการวิจัย พม่า (P) 75 : ไซง่อน (V) 25 + พม่า (P) 75 : บราซิล (B) 25 = (กลุ่มพ่อแม่พันธุ์หรือไก่ชน F0) จัดแผนผสมพันธุ์แบบสลับกลุ่มพ่อแม่พันธุ์ (ไก่ชน F0) ดังตารางที่ 1 ตารางที ่ 1 แผนการผสมพันธุ์ไก่ชน F0 และการเกิดไก่ชน F1 รายการ พ่อพันธุ(F0) ระดับเลือด P75:V25 P75:B25 เบอร์ 1 3 2 4 แม่พันธุ(F0) ระดับเลือด P75:B25 P75:V25 เบอร์ 1, 3, 7, 8, 10 2, 4, 5, 6, 9 11, 12, 16, 19,20 13, 14, 15, 17,18 ไก่ชนเทพสตรี ชั่วอายุที1 (F1) ระดับเลือด P75:V12.5:B12.5 ทุนไม่มาก การเลี้ยง (อาหารแบบอุตสาหกรรม) พื้นที่จากัด คัดเลือกตามมาตรฐานมาตรฐานความเป็นเลิศสาหรับไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี (ตารางที่ 2) ตารางที ่ 2 มาตรฐานความเป็นเลิศสาหรับไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี รายการ ต้องการ ยอมรับได้ ไม่ยอมรับ ค่าคะแนน 0.90-1.00 0.80-0.89 0.0-0.79 ระดับสายเลือด P75:V12.5:B12.5 P>75 ,V<12.5,B<12.5 V>12.5, B>12.5 น้หนักที่ 16 สัปดาห์ เพศผู1.4-1.8 กิโลกรัม >1.2 , > 1.8 กิโลกรัม <1.2, >2.3 กิโลกรัม เพศเมีย 1.2-1.7 กิโลกรัม > 1.2, >1.7 กิโลกรัม <1.0, >2.0 กิโลกรัม รูปร่างทรวดทรวง ยาวและสมส่วน สมส่วน สั้น เตี้ย สีปาก ขาวปนเหลือง ขาวปนเหลืองปนดา เขียว ดา สีตา ขาว (ปลาหมอตาย) ขาวปนเหลือง ดา ลักษณะหงอน หิน สามเหลี่ยม อื่นๆ ขนาดเล็ก หงอนใหญ่ แจ้ พับ สีสร้อย เหลืองอมแดงปนดา เหลือง แดง เทา ดา ขาว ลาย สีตัว ดา, เหลือง-แดงปนดา เหลือง แดง เทา ดา ขาว ลาย ปีก ปีกเต็ม เหลือง-แดงปนดา ปีกเต็ม สีแดง เหลือง ปีกสองตอน ดา เทา ลาย ปีกนอกมีสีแมลงสาบ ปีกนอกมีสีแมลงสาบน้อย ปีกนอกไม่มีสีแมลงสาบ สีหาง ดา ดาปนขาวเล็กน้อย ขาว >50% สีแข้ง ขาวปนเหลือง ขาวปนดา เขียว ขาว ดา แผนการทดลองและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ วางแผนการทดลองเป็น 2 ปัจจัยตามกลุ่มไก่ F0 ซึ่งสลับสายกลุ่มพ่อแม่พันธุ์ วิเคราะห์ผลการทดลองด้วยวิธี independent sample T-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ค่าอัตราทางพันธุกรรม (h 2 ) วิเคราะห์โดยหาค่ารีเกรซชั่น (r 2 ) ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS (กัลยา, 2546) ผลการดาเนินการวิจัยและอภิปรายผล ๑. ไก่ชน F1 สร้างได้จากการผสมพันธุ์แบบสลับกลุ่มพ่อแม่พันธุ์ และคัดเลือกได้ร้อยละ 29.32 ของฝูง มีลักษณะดังภาพที่ 1 ๒. ฐานข้อมูลพันธุ์กรรมไก่ชน ประกอบด้วยข้อมูลพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ แผนการผสมพันธุ์ ค่าการเจริญเติบโต และค่าการสืบพันธุสร้างและจัดเก็บโดยใช้โปรแกรม Excel ตัวอย่างแสดงดังภาพที่ 2 ภาพที ่ 2 ตัวอย่างฐานข้อมูลพันธุ์กรรมไก่ชนที่จัดเก็บโดยใช้โปรแกรม Excel รายการ พ่อ PV:แม่ PB SD พ่อ PB:แม่ PV SD sig จานวนไข่ (ฟอง) 10.401.58 10.401.58 0.84 น้าหนักไข่ (กรัม) 37.841.14 36.300.90 0.69 การผสมติด (%) 90.337.96 85.997.27 0.81 การฟักออก (%) 92.039.79 87.2012.24 0.26 น้าหนักลูก (กรัม) 29.170.92 28.921.61 0.25 การเลี้ยงรอด (%) 89.2512.14 90.7516.67 0.52 ๓. ไก่ชน F0 มีค่าสมรรถนะภาพการชนคือ ลีลาการชน ความเร็ว ความแม่น ความรุนแรง และความอดทน เฉลี่ย >80% ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ดีสอดคล้องกับวรวิทย์ (2538); อาพลและคณะ (2548) และระหว่างกลุ่มมีค่าไม่แตกต่างกัน ทางสถิติ (P>0.05) ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ไก่ชน F0 หมายเหตุ: SD = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ sig = แสดงระดับความแตกต่างทางสถิติ T-test รายการ กลุ่มพ่อ PV:แม่ PB SD กลุ่มพ่อ PB:แม่ PVSD sig จานวนตัวเฉลี่ย 7.002.00 6.301.42 0.26 น้าหนักแรกเกิด (กรัม) 29.240.81 28.821.63 0.09 น้าหนักตัวที่อายุ 16 สัปดาห์ (กรัม) 1,481.4182.35 1,346.20139.23 0.10 น้าหนักที่เพิ่ม (กรัม) 1,452.1782.22 1,317.37138.46 0.11 ปริมาณอาหารที่กิน (กรัม/ตัว/วัน) 49.146.26 41.688.72 0.49 อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (กรัม/ตัว) 12.311.11 11.241.29 0.31 อัตราแลกน้าหนัก 3.880.38 3.530.59 0.13 ๔. ไก่ชน F1 ทั้งสองกลุ่มสมรรถนะภาพการเจริญเติบโตไม่แตกต่างกันทางสถิติ ดังตารางที่ 4 ซึ่งใกล้เคียงกับรายงาน ของอาพลและคณะ (2548); ดรุณีและคณะ (2551) ตารางที่ 4 สมรรถนะภาพการเจริญเติบโตไก่ชน F1 ช่วงอายุ 0-16 สัปดาห์ หมายเหตุ : SD = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน sig = แสดงระดับความแตกต่างทางสถิติ T-test ๕. ค่าลักษณะเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพของไก่ชน F0 และไก่ชน F1 มีค่าเฉลี่ย 0.92 และ0.85 ตามลาดับ ค่า h 2 ของไก่ชน F1 มีค่าค่อนข้างตา (ตารางที่ 5) ชี้ให้เห็นว่า การนาไก่ชนลูกผสมมาสร้างสายพันธุ์ต้องคัดทิ้งปริมาณสูง รายการ ลักษณะเชิงปริมาณและคุณภาพ ค่าอัตราพันธุกรรม ไก่ชน F0 SD ไก่ชน F1 SD Sig 1 r 2 Sig 2 ขนาด 1.000.00 a 0.930.11 b 0.00 - - รูปร่าง 0.920.40 0.810.14 0.07 0.27 <0.00 สีปาก 0.860.40 a 0.820.16 b 0.00 0.24 <0.00 สีตา 0.960.04 b 0.980.03 a 0.04 0.23 <0.00 หงอน 0.970.04 0.920.04 0.68 0.04 0.03 สีสร้อย 0.920.11 a 0.760.15 b 0.01 0.08 0.00 สีตัว 0.860.11 a 0.750.22 b 0.03 0.01 0.28 สีปีก 0.900.11 a 0.760.16 b 0.05 0.01 0.25 สีหาง 0.950.06 0.930.09 0.32 0.01 0.24 สีแข้ง 0.850.05 a 0.810.13 b 0.00 0.01 0.60 เฉลี่ย 0.920.05 a 0.850.08 b 0.02 - - ตารางที่ 5 ลักษณะเชิงปริมาณและคุณภาพของไก่ชน F0 กับไก่ชน F1 และค่าอัตราพันธุกรรมไก่ชน F1 ต่อไก่ชน F0 หมายเหตุ : SD = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ab แสดงความแตกต่างทางสถิติในแต่ละแถวที่ระดับ sig 1 (T-test) r 2 = ค่ารีเกรชชั่น และ sig 2 = ความแตกต่างทางสถิติ F-test ผลการดาเนินการวิจัยและอภิปรายผล (ต่อ) ภาพที่ 1 ไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 (F1) แนวทางการนาผลการดาเนินโครงการไปใช้ประโยชน์ ๑. ไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 นาไปพัฒนาต่อให้ได้ไก่ชั่วอายุที่ 2 ๒. นาความรู้ไปส่งเสริมและช่วยปรับปรุงการเลี้ยงไก่ชนในฟาร์มเกษตรกร เช่น ที่บ้านท่ากระยาง จ. ลพบุรี ๓. เผยแพร่ความรู้ให้กับเกษตรกรในงานประชุมเสวนาวิชาการ เรื่อง “การทาไก่ชนให้ลงเหล่า” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี โดยร่วมกับบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ฟาร์ม ศ. เอกเจริญ) ซุ้ม ส มีสุวรณ สุรพรชัย และซุ้มกิมกี่ อยากดัง ๔. มอบไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรีให้กับเกษตรกรที่สนใจนาไปเลี้ยงเพื่อเป็นแหล่งรายได้และอาหาร ๕. เมื่อพัฒนาจนไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรีเป็นสายพันธุแท้แล้วจะนาไปตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรม กิตติกรรมประกาศ การวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสานักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา **************************************************** ติดต่อผู้วิจัย: Email: [email protected]

Transcript of การสร้างไก่ชน: สายพันธุ์เทพ...

Page 1: การสร้างไก่ชน: สายพันธุ์เทพ ...herp-nru.psru.ac.th/file/O54261_12.pdfการสร างไก ชน: สายพ นธ เทพสตร

การสร้างไก่ชน: สายพันธุ์เทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 อ าพล จุปะมัดถา

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๑. เพ่ือสร้างไก่ชนสายพันธ์ุเทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 ที่มีลักษณะเป็นไก่สีกรด (F1) ๒. จัดท าฐานข้อมูลพันธุ์ประวัติไก่ชนที่คัดเลือกเป็นพ่อแม่พันธุ์ (F0) และไก่ชน F1 ๓. ศึกษาสมรรถนะภาพการชนและประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ของไก่ชน F0 ๔. ศึกษาสมรรถนะภาพการเจริญเติบโตของไก่ชน F1 ๕. หาค่าทางพันธุกรรมของลักษณะเชิงคุณภาพและลักษณะเชิงปริมาณบางประการของไก่ชน F0 กับไก่ชน F1

ขอบเขตและวิธีด าเนินการวิจัย

พม่า (P) 75 : ไซง่อน (V) 25 + พม่า (P) 75 : บราซิล (B) 25 = (กลุ่มพ่อแม่พันธุ์หรือไก่ชน F0) จัดแผนผสมพันธุ์แบบสลับกลุ่มพ่อแม่พันธุ์ (ไก่ชน F0) ดังตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 แผนการผสมพันธ์ุไก่ชน F0 และการเกิดไก่ชน F1

รายการ

พ่อพันธ์ุ (F0) ระดับเลือด P75:V25 P75:B25

เบอร์ 1 3 2 4

แม่พันธ์ุ (F0) ระดับเลือด P75:B25 P75:V25

เบอร์ 1, 3, 7, 8, 10 2, 4, 5, 6, 9 11, 12, 16, 19,20 13, 14, 15, 17,18

ไก่ชนเทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 (F1)

ระดับเลือด P75:V12.5:B12.5

ทุนไม่มาก การเลี้ยง (อาหารแบบอุตสาหกรรม) พื้นที่จ ากัด

คัดเลือกตามมาตรฐานมาตรฐานความเป็นเลิศส าหรับไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี (ตารางท่ี 2)

ตารางท่ี 2 มาตรฐานความเป็นเลิศส าหรับไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี

รายการ ต้องการ ยอมรับได้ ไม่ยอมรับ ค่าคะแนน 0.90-1.00 0.80-0.89 0.0-0.79 ระดับสายเลือด P75:V12.5:B12.5 P>75 ,V<12.5,B<12.5 V>12.5, B>12.5 น้ าหนักที่ 16 สัปดาห์ เพศผู ้

1.4-1.8 กิโลกรัม

>1.2 , > 1.8 กิโลกรัม

<1.2, >2.3 กิโลกรัม

เพศเมีย 1.2-1.7 กิโลกรัม > 1.2, >1.7 กิโลกรัม <1.0, >2.0 กิโลกรัม รูปร่างทรวดทรวง ยาวและสมส่วน สมส่วน สั้น เตี้ย สีปาก ขาวปนเหลือง ขาวปนเหลืองปนด า เขียว ด า สีตา ขาว (ปลาหมอตาย) ขาวปนเหลือง ด า ลักษณะหงอน หิน สามเหลี่ยม อื่นๆ ขนาดเล็ก หงอนใหญ่ แจ้ พับ สีสร้อย เหลืองอมแดงปนด า เหลือง แดง เทา ด า ขาว ลาย สีตัว ด า, เหลือง-แดงปนด า เหลือง แดง เทา ด า ขาว ลาย ปีก ปีกเต็ม เหลือง-แดงปนด า ปีกเต็ม สีแดง เหลือง ปีกสองตอน ด า เทา ลาย

ปีกนอกมีสีแมลงสาบ ปีกนอกมีสีแมลงสาบน้อย ปีกนอกไม่มีสีแมลงสาบ สีหาง ด า ด าปนขาวเล็กน้อย ขาว >50%

สีแข้ง ขาวปนเหลือง ขาวปนด า เขียว ขาว ด า

แผนการทดลองและการวิเคราะห์ขอ้มูลทางสถิต ิ วางแผนการทดลองเป็น 2 ปัจจัยตามกลุ่มไก่ F0 ซึ่งสลับสายกลุ่มพ่อแม่พันธุ์ วิเคราะห์ผลการทดลองด้วยวิธี independent sample T-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ค่าอัตราทางพันธุกรรม (h2) วิเคราะห์โดยหาค่ารเีกรซชั่น (r2) ใชโ้ปรแกรมส าเร็จรูป SPSS (กัลยา, 2546)

ผลการด าเนินการวิจัยและอภิปรายผล

๑. ไก่ชน F1 สร้างได้จากการผสมพันธ์ุแบบสลับกลุ่มพ่อแม่พันธุ์ และคัดเลือกได้ร้อยละ 29.32 ของฝูง มีลักษณะดังภาพที่ 1

๒. ฐานข้อมูลพันธุ์กรรมไก่ชน ประกอบด้วยข้อมูลพ่อพันธุ์ แม่พันธ์ุ แผนการผสมพันธุ์ ค่าการเจริญเติบโต และค่าการสืบพันธุ์ สร้างและจัดเก็บโดยใช้โปรแกรม Excel ตัวอย่างแสดงดังภาพที่ 2

ภาพท่ี 2 ตัวอย่างฐานข้อมูลพันธุ์กรรมไก่ชนที่จัดเก็บโดยใช้โปรแกรม Excel

รายการ พ่อ PV:แม่ PB SD พ่อ PB:แม่ PV SD sig

จ านวนไข่ (ฟอง) 10.401.58 10.401.58 0.84 น้ าหนักไข่ (กรัม) 37.841.14 36.300.90 0.69 การผสมติด (%) 90.337.96 85.997.27 0.81 การฟักออก (%) 92.039.79 87.2012.24 0.26 น้ าหนักลูก (กรัม) 29.170.92 28.921.61 0.25 การเลี้ยงรอด (%) 89.2512.14 90.7516.67 0.52

๓. ไก่ชน F0 มีค่าสมรรถนะภาพการชนคือ ลีลาการชน ความเร็ว ความแม่น ความรุนแรง และความอดทน เฉลี่ย >80% ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ดีสอดคล้องกับวรวิทย ์(2538); อ าพลและคณะ (2548) และระหว่างกลุ่มมีค่าไม่แตกต่างกัน ทางสถิติ (P>0.05) ดังตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพการสืบพันธุไ์ก่ชน F0

หมายเหต:ุ SD = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ sig = แสดงระดับความแตกต่างทางสถิติ T-test

รายการ กลุ่มพ่อ PV:แม่ PB SD กลุ่มพ่อ PB:แม่ PVSD sig

จ านวนตัวเฉลี่ย 7.002.00 6.301.42 0.26 น้ าหนักแรกเกิด (กรัม) 29.240.81 28.821.63 0.09 น้ าหนักตัวที่อาย ุ16 สัปดาห์ (กรัม) 1,481.4182.35 1,346.20139.23 0.10 น้ าหนักที่เพิ่ม (กรัม) 1,452.1782.22 1,317.37138.46 0.11 ปริมาณอาหารที่กิน (กรัม/ตัว/วัน) 49.146.26 41.688.72 0.49 อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (กรัม/ตัว) 12.311.11 11.241.29 0.31 อัตราแลกน้ าหนัก 3.880.38 3.530.59 0.13

๔. ไก่ชน F1 ทั้งสองกลุ่มสมรรถนะภาพการเจริญเติบโตไม่แตกต่างกันทางสถิติ ดังตารางที่ 4 ซึ่งใกล้เคียงกับรายงาน ของอ าพลและคณะ (2548); ดรุณีและคณะ (2551)

ตารางท่ี 4 สมรรถนะภาพการเจริญเติบโตไก่ชน F1 ช่วงอายุ 0-16 สัปดาห ์

หมายเหตุ : SD = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน sig = แสดงระดับความแตกต่างทางสถิติ T-test

๕. ค่าลักษณะเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพของไก่ชน F0 และไก่ชน F1 มีค่าเฉลี่ย 0.92 และ0.85 ตามล าดับ ค่า h2 ของไก่ชน F1 มีค่าค่อนข้างต่ า (ตารางท่ี 5) ชี้ให้เห็นว่า การน าไก่ชนลูกผสมมาสร้างสายพันธ์ุต้องคัดทิ้งปริมาณสูง

รายการ ลักษณะเชิงปริมาณและคุณภาพ ค่าอัตราพันธุกรรม

ไก่ชน F0 SD ไก่ชน F1 SD Sig1 r2 Sig2 ขนาด 1.000.00a 0.930.11b 0.00 - - รูปร่าง 0.920.40 0.810.14 0.07 0.27 <0.00 สีปาก 0.860.40a 0.820.16b 0.00 0.24 <0.00 สีตา 0.960.04b 0.980.03a 0.04 0.23 <0.00 หงอน 0.970.04 0.920.04 0.68 0.04 0.03 สีสร้อย 0.920.11a 0.760.15b 0.01 0.08 0.00 สีตัว 0.860.11a 0.750.22b 0.03 0.01 0.28 สีปีก 0.900.11a 0.760.16b 0.05 0.01 0.25 สีหาง 0.950.06 0.930.09 0.32 0.01 0.24 สีแข้ง 0.850.05a 0.810.13b 0.00 0.01 0.60 เฉลี่ย 0.920.05a 0.850.08b 0.02 - -

ตารางท่ี 5 ลักษณะเชิงปริมาณและคุณภาพของไก่ชน F0 กับไก่ชน F1 และค่าอัตราพันธุกรรมไก่ชน F1 ต่อไก่ชน F0

หมายเหตุ : SD = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน abแสดงความแตกต่างทางสถิติในแต่ละแถวที่ระดับ sig1 (T-test) r2 = ค่ารีเกรชชั่น และ sig2 = ความแตกต่างทางสถิติ F-test

ผลการด าเนินการวิจัยและอภิปรายผล (ต่อ)

ภาพที่ 1 ไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 (F1)

แนวทางการน าผลการด าเนินโครงการไปใช้ประโยชน์ ๑. ไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรี ชั่วอายุที่ 1 น าไปพัฒนาต่อให้ได้ไก่ชั่วอายุที่ 2 ๒. น าความรู้ไปส่งเสริมและช่วยปรับปรุงการเลี้ยงไก่ชนในฟาร์มเกษตรกร เช่น ที่บ้านท่ากระยาง จ. ลพบุรี ๓. เผยแพร่ความรู้ให้กับเกษตรกรในงานประชุมเสวนาวิชาการ เรื่อง “การท าไก่ชนให้ลงเหล่า” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี โดยร่วมกับบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ฟาร์ม ศ. เอกเจริญ) ซุ้ม ส มีสุวรณ สุรพรชัย และซุ้มกิมกี่ อยากดัง ๔. มอบไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรีให้กับเกษตรกรที่สนใจน าไปเลี้ยงเพ่ือเป็นแหล่งรายได้และอาหาร ๕. เมื่อพัฒนาจนไก่ชนสายพันธุ์เทพสตรีเป็นสายพันธุแท้แล้วจะน าไปตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรม

กิตติกรรมประกาศ การวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากส านักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา **************************************************** ติดต่อผู้วิจัย: Email: [email protected]