สำนักพิมพ...

15
สำนักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร LabVIEW สำหรับงานควบคุมฮารดแวร อดิศักดิ์ รมพุฒตาล หนังสือนี้ไดรับทุนสนับสนุนการเขียนตำราจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2555 LabVIEW สำหรับงานควบคุมฮารดแวร ตั วอย่ าง

Transcript of สำนักพิมพ...

Page 1: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

สำนักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

LabVIEWสำหรับงานควบคุมฮารดแวร

อดิศักดิ์ รมพุฒตาล

หนังสือนี้ไดรับทุนสนับสนุนการเขียนตำราจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2555

อดิศักดิ์ รมพุฒตาลLabVIEW

สำหรับงานควบคุมฮารดแวร

http://www.thammasatpress.tu.ac.th

ราคา 250 บาทหมวดวิทยาศาสตร

ISBN 978-616-314-104-0

LabVIEW สำหรับงานควบคุมฮารดแวร

อดิศักดิ์ รมพุฒตาลปริญญาตรี, ปริญญาโท สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

ปจจุบันดำรงตำแหน�งผูชวยศาสตราจารยประจำภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

จุดเดนของหนังสือเลมนี้• เรียนรูการใชงานและเขียนโปรแกรมดวย LabVIEW ตั้งแตพื้นฐานจนถึงการประยุกตใชงานจริง• ฝกฝนทักษะดวยตัวอยางการเขียนโปรแกรม LabVIEW ควบคุมวงจรอิเล็กทรอนิกส• ใชงาน LabVIEW เวอรชั่น 2011 ข้ึนไป• เหมาะสำหรับนิสิต นักศึกษา ชางเทคนิค และผูสนใจ LabVIEW ทุกระดับ

หนังสือนี้มีเนื้อหา 9 บท ดังนี้ บทที่ 1 การใชงานโปรแกรม LabVIEW เบื้องตนบทที่ 2 การเขียนโปรแกรม LabVIEWบทที่ 3 การเขียนโปรแกรมควบคุมผานทางพอรตขนานบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณเอาตพุตผานทางพอรตขนานบทที่ 5 การเขียนโปรแกรมควบคุมสวิตชผานทางพอรตขนานบทที่ 6 การเขียนโปรแกรมควบคุมสงและรับขอมูลผานทางพอรตอนุกรมบทที่ 7 การเขียนโปรแกรมสงและรับขอมูลผานทางพอรตอนุกรมรวมกับพอรตขนานบทที่ 8 การพัฒนาบอรดดาตาแอกควิซิชั่น (DAQ) สำหรับการเช�อมตอกับ LabVIEWบทที่ 9 การเขียนโปรแกรมควบคุมบอรดดาตาแอกควิซิชั่น (DAQ)

9 786163 141040

สัน 1.4 ซม.

ตัวอย่าง

Page 2: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

(4)

หนังสือที่ได้รับทุนสนับสนุนการเขียนตำราจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2555

อดิศักดิ์ ร่มพุฒตาล.

LabVIEW สำหรับงานควบคุมฮาร์ดแวร์.

1. แลบวิว 2. เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร ์- - การสร้างแบบจำลองด้วยคอมพิวเตอร์.

3. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์. Q185 ISBN 978-616-314-104-0eISBN 978-616-314-150-7 ลิขสิทธิ์ของผู้ช่วยศาสตราจารย์อดิศักดิ์ ร่มพุฒตาล สงวนลิขสิทธิ์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 เดือนกันยายน 2557 จำนวน 200 เล่มฉบับอิเล็กทรอนิกส์ (e-book) มกราคม 2558 จัดพิมพ์และจัดจำหน่ายโดยสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ อาคารธรรมศาสตร์ 60 ปี ชั้น U1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ ถนนพระจันทร์ กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2223-9232, 0-2613-3801-2 โทรสาร 0-2226-2083 (สำนักงานศูนย์รังสิต โทร. 0-2564-2859-60) e-mail address: [email protected] พิมพ์ทีบ่ริษัทไอดีออล ดิจิตอลพริ้นท ์จำกัด นายธีศิษฐ ์วราภาสกุล ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา

ราคาเล่มละ 250.- บาท

LabVIEW_Frist_edit 2.indd 4 3/9/2557 14:48:14

ตัวอย่าง

Page 3: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

(5)

สารบัญ

หน้า

คำนำ (9)

บทที่ 1 การใช้งานโปรแกรม LabVIEW เบื้องต้น 1

ส่วนประกอบของ LabVIEW 2

เครื่องมือที่ใช้ออกแบบ VI ของ LabVIEW 9

ประเภทของข้อมูล (Data Type) 18

การเปรียบเทียบคำศัพท์ที่เรียกในโปรแกรม

LabVIEW กับโปรแกรมทั่วไป 20

บทที่ 2 การเขียนโปรแกรม LabVIEW 21

While Loop 21

For Loop 34

การหน่วงเวลาภายในการวนซ้ำ 40

Shift Register 42

การเพิ่ม Element ของ Shift Register 47

Case Structures 51

Sequence Structures 56

Formula Node 58

Array 60

Local Variable 64

บทที่ 3 การเขียนโปรแกรมควบคุมผ่านทางพอร์ตขนาน 69

การใช้งานพอร์ตขนาน 69

ลักษณะและสัญญาณของพอร์ตขนาน 69

แอดเดรสของพอร์ตขนาน 71

การเขียนโปรแกรมส่งค่าออกทางพอร์ตขนาน 72

การเขียนโปรแกรมรับค่าเข้ามาทางพอร์ตขนาน 91

LabVIEW_Frist_edit 2.indd 5 3/9/2557 14:48:14

ตัวอย่าง

Page 4: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

(6)

หน้า

บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์เอาต์พุตผ่านทางพอร์ตขนาน 97

การเขียนโปรแกรมควบคุมหลอดไฟแอลอีดี 99

การเขียนโปรแกรมควบคุมหลอดไฟแอลอีดี 7 ส่วน 125

การเขียนโปรแกรมควบคุมสเต็ปปิ้งมอเตอร์ 131

การเขียนโปรแกรมควบคุมดีซีมอเตอร์โดยใช้รีเลย์ 140

บทที่ 5 การเขียนโปรแกรมควบคุมสวิตช์ผ่านทางพอร์ตขนาน 147

การเขียนโปรแกรมควบคุมสวิตช์เพื่อไปขับหลอดไฟแอลอีดี 148

การเขียนโปรแกรมควบคุมสวิตช์เพื่อไปขับหลอดไฟแอลอีดี 7 ส่วน 156

การเขียนโปรแกรมควบคุมสวิตช์เพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์ 162

การเขียนโปรแกรมควบคุมสวิตช์เพื่อไปขับดีซีมอเตอร์ 170

บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมควบคุมส่งและรับข้อมูลผ่านทางพอร์ตอนุกรม 177

การสื่อสารแบบอนุกรม 177

รูปแบบการสื่อสารแบบอนุกรม 178

ลักษณะและสัญญาณของพอร์ตอนุกรม 178

VIs สำหรับการสื่อสารผ่านทางพอร์ตอนุกรม 180

การเขียนโปรแกรมส่งข้อมูลออกทางพอร์ตอนุกรม 184

การเขียนโปรแกรมรับข้อมูลเข้ามาทางพอร์ตอนุกรม 187

การเขียนโปรแกรมส่งและรับข้อมูลผ่านทางพอร์ตอนุกรม 189

การเขียนโปรแกรมส่งและรับข้อมูลผ่านทางพอร์ตอนุกรม

เพื่อไปขับหลอดไฟแอลอีดีในหน้าต่าง Front Panel 192

บทที่ 7 การเขียนโปรแกรมส่งและรับข้อมูลผ่านทางพอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนาน 201

การควบคุมการส่งและรับข้อมูลผ่านทางพอร์ตอนุกรม

ร่วมกับพอร์ตขนาน 201

การเขียนโปรแกรมควบคุมการส่งและรับข้อมูลผ่านทาง

พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับหลอดไฟแอลอีดี 202

การเขียนโปรแกรมควบคุมการส่งและรับข้อมูลผ่านทาง

พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับหลอดไฟแอลอีดี 7 ส่วน 209

LabVIEW_Frist_edit 2.indd 6 3/9/2557 14:48:14

ตัวอย่าง

Page 5: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

(7)

หน้า

การเขียนโปรแกรมควบคุมการส่งและรับข้อมูลผ่านทาง

พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์ 216

การเขียนโปรแกรมควบคุมการส่งและรับข้อมูลผ่านทาง

พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับดีซีมอเตอร์ 223

บทที่ 8 การพัฒนาบอร์ดดาต้าแอกควิซิชั่น(DAQ) สำหรับการเชื่อมต่อกับ 231

LabVIEW

หลักการทำงานของระบบดาต้าแอกควิซิชั่น 231

การออกแบบระบบดาต้าแอกควิซิชั่น 232

บทที่ 9 การเขียนโปรแกรมควบคุมบอร์ดดาต้าแอกควิซิชั่น(DAQ) 235

การทดสอบการทำงานของโหมดดิจิตอลอินพุต 235

การทดสอบการทำงานของโหมดดิจิตอลเอาต์พุต 242

การทดสอบการทำงานของโหมดแอนะล็อกอินพุต 247

บรรณานุกรม 253

LabVIEW_Frist_edit 2.indd 7 3/9/2557 14:48:14

ตัวอย่าง

Page 6: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

(9)

LabVIEW เปนโปรแกรมประเภท GUI (Graphical User Interface) ซึ่งเปนการ

เขียนโปรแกรมติดต่อระหว่างส่วนเชื่อมต่อกับส่วนผู้ใช้และอุปกรณ์ภายนอก ปจจุบันได้มีการ

นำเอา LabVIEW มาใช้ในการวัด ทดสอบ และควบคุมเครื่องมือวัดต่างๆ กันอย่างแพร่หลาย

ทั้งในห้องวิจัยและห้องปฏิบัติการ โดยสังเกตเห็นจากงานวิจัยในแขนงต่างๆ ที่จำเปนต้องมี

การวัดเพื่อเก็บข้อมูล และนำข้อมูลไปวิเคราะห์ต่อไป

หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นด้วยความตั้งใจที่อยากจะให้นักศึกษา นักวิจัย และวิศวกร ได้

ฝกฝนและเข้าใจการเขียนโปรแกรม LabVIEW สำหรับงานควบคุมฮาร์ดแวร์ เช่น อุปกรณ์

อินพุต-เอาต์พุตผ่านทางพอร์ตขนาน พอร์ตอนุกรม และบอร์ดดาต้าแอกควิซิชั่น (DAQ) เพื่อ

เปนพื้นฐานสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัยขั้นสูงต่อไป นอกจากนี้หนังสือเล่มนี้ยังนำ

ไปใช้สำหรับการเรียนการสอนวิชาเทคนิคการเชื่อมต่อไมโครคอมพิวเตอร์ ที่คณะวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนื้อหาในหนังสือกล่าวถึง การใช้งานโปรแกรม

LabVIEW เบื้องต้น การเขียนโปรแกรม LabVIEW การเขียนโปรแกรมควบคุมผ่านทางพอร์ต

ขนาน การเขยีนโปรแกรมควบคมุอปุกรณเ์อาตพ์ตุผา่นทางพอรต์ขนาน การเขยีนโปรแกรมควบคมุ

สวิตช์ผ่านทางพอร์ตขนาน การเขียนโปรแกรมควบคุมส่งและรับข้อมูลผ่านทางพอร์ตอนุกรม

การเขียนโปรแกรมส่งและรับข้อมูลผ่านทางพอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนาน การพัฒนาบอร์ด

ดาต้าแอกควิซิชั่น (DAQ) สำหรับการเชื่อมต่อกับ LabVIEW และการเขียนโปรแกรมควบคุม

บอร์ดดาต้าแอกควิซิชั่น (DAQ) เปนต้น โดยในแต่ละหัวข้อได้อธิบายทฤษฎีการทำงานของ

วงจร หลักการทำงานของโปรแกรม และตัวอย่างการใช้งานด้วยโปรแกรม LabVIEW อย่าง

ละเอียด

ผู้เขียนขอขอบคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ครูอาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน โดยเฉพาะ

อยา่งยิง่ อาจารย ์ดร.สทิธโิชค อำนวยพล อาจารยป์ระจำภาควชิาฟสิกิส ์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ์

ที่ทำให้ผู้เขียนเกิดแรงบันดาลใจที่จะเขียนหนังสือเล่มนี้ในระหว่างการสนทนาทางวิชาการ

ขณะนั่งรถบัสสวัสดิการของมหาวิทยาลัยกลับบ้าน สุดท้ายนี้หากหนังสือเล่มนี้มีข้อผิดพลาด

ประการใด ผู้เขียนขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

อดิศักดิ์ ร่มพุฒตาล

[email protected]

คำนำ

LabVIEW_Frist_edit 2.indd 9 3/9/2557 14:48:15

ตัวอย่าง

Page 7: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

1

1 การใชงานโปรแกรม LabVIEW เบื้องตน

บทที่

LabVIEW หรอื Laboratory Virtual Instrument Engineering Workbench หมายถงึ

เครื่องมือวัดเสมือนจริงสำหรับห้องปฏิบัติการทางวิศวกรรม LabVIEW เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้าง

และพัฒนาขึ้นมาโดยบริษัทเนชั่นแนลอินสทรูเม้นทส์ (National Instruments) เพื่อใช้พัฒนา

แอปพลิเคชันทางด้านการวัด ทดสอบ และควบคุมสำหรับงานทางด้านวิศวกรรม

การเขยีนโปรแกรมดว้ย LabVIEW เปน็การเขยีนโปรแกรมดว้ยภาษารปูภาพ (Graphical

Language) ที่อาศัยหลักการเขียนโปรแกรมแบบการไหลของข้อมูลหรือ Data Flow ซึ่งคล้าย

คลึงกับการทำงานของบล็อกไดอะแกรม (Block Diagram) ที่มีการไหลเข้า (Input) ของ

ข้อมูล และการไหลออก (Output) ของข้อมูลของบล็อกไดอะแกรม โดยจะทำงานจากบล็อก

ไดอะแกรมหนึ่งไปยังอีกบล็อกไดอะแกรมหนึ่งต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะครบทุกบล็อกไดอะแกรม

โดยการเขียนแบบนี้ วิศวกรส่วนใหญ่จะมีความคุ้นเคยอยู่แล้ว ซึ่งจะแตกต่างจากการเขียน

โปรแกรมปกติทั่วไปในรูปแบบตัวหนังสือ หรือ Text Base ที่อาศัยหลักการเขียนโปรแกรม

เป็นตัวหนังสือ ทีละบรรทัด จากบนลงล่าง ยกตัวอย่างเช่น ภาษา C หรือ เบสิก เป็นต้น

LabVIEW เป็นโปรแกรมประเภท GUI (Graphical User Interface) ซึ่งเป็นการเขียน

โปรแกรมติดต่อระหว่างส่วนเชื่อมต่อกับส่วนผู้ใช้และอุปกรณ์ภายนอกอื่นเพื่อใช้ในการวัด

ทดสอบ และควบคุม การเขียนโปรแกรมด้วย LabVIEW สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยหรือไม่เคย

เขียนโปรแกรมด้วยภาษารูปภาพนี้มาก่อนจะรู้สึกแปลก และสับสน แต่เมื่อถ้าเกิดความคุ้นเคย

แล้วจะพบว่า การเขียนโปรแกรมด้วย LabVIEW จะช่วยลดเวลาและอำนวยความสะดวกใน

การเขยีนโปรแกรมไดม้าก โดยเฉพาะการเขยีนโปรแกรมของฟงักช์นัยอ่ย ซึง่การเขยีนโปรแกรม

ด้วย LabVIEW ไม่จำเป็นต้องใช้ฟังก์ชันย่อยเหมือนกับการเขียนโปรแกรมแบบตัวหนังสือ อีก

ทั้งการเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องมือวัดต่างๆ ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเชื่อมต่อกับส่วน

ผู้ใช้กับซอร์สโค้ด (source code) หรือตัวโปรแกรมให้ยุ่งยาก

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 1 3/9/2557 14:48:33

ตัวอย่าง

Page 8: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

2

ส่วนประกอบของ LabVIEW

เมื่อเปิดโปรแกรม LabVIEW 2011 และคลิกที่ Blank VI (รูปที ่ 1.1) จะปรากฏ

หน้าต่าง 2 หน้าต่างขึ้นมาคือ หน้าต่างของ Front Panel และหน้าต่างของ Block Diagram

(รูปที่ 1.2) ซึ่งโปรแกรมที่เขียนขึ้นจากทั้ง 2 หน้าต่างนี้เรียกว่า VI หรือ Virtual Instrument

ถ้าเปรียบเทียบกับโปรแกรมทั่วไปแล้วก็คือ ตัวโปรแกรมหลักนั่นเอง

รูปที่ 1.1 การเปิดโปรแกรม LabVIEW 2011

รูปที่ 1.2 หน้าต่าง Front Panel และ Block Diagram ของโปรแกรม LabVIEW

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 2 3/9/2557 14:48:33

ตัวอย่าง

Page 9: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

3

หน้าที่การทำงานของหน้าต่าง Front Panel และหน้าต่าง Block Diagram

1. Front Panel คือหน้าต่างที่ใช้สำหรับเป็นส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้ หรือที่เรียกว่า

User Interface กับโปรแกรม ซึ่งหน้าต่างนี้ใช้สำหรับออกแบบหน้าปัทด้านหน้าของเครื่องมือ

วัดให้เหมือนกับหน้าปัทด้านหน้าของเครื่องมือวัดของจริง ทำได้โดยนำเอาอุปกรณ์ที่ต้องการ

มาวางลงบนตำแหน่งใดๆ เช่น โวลุ่มปรับค่าได้ หลอดไฟแอลอีดี เทอร์โมมิเตอร์ กราฟแสดง

ผล มิเตอร์แสดงค่า เกจแสดงค่า สวิตช์เปิดปิด หรือปุ่มกด เป็นต้น (รูปที่ 1.3)

รูปที่ 1.3 ตัวอย่างการออกแบบส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้ในหน้าต่าง Front Panel

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 3 3/9/2557 14:48:34

ตัวอย่าง

Page 10: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

4

ในหน้าต่างของ Front Panel จะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ (1) ส่วน Title Bar (2)

ส่วน Menu Bar และ (3) ส่วน Tool bar (รูปที่ 1.4)

Title Bar จะบอกชื่อโปรแกรมที่กำลังพัฒนา เมื่อเปิดโปรแกรมครั้งแรก LabVIEW

จะตั้งชื่ออัตโนมัติให้ก่อนโดยใช้ชื่อ Untitled 1 ดังนั้นถ้าเห็นชื่อ Untilteld 1 แสดงอยู่ที่ Title

bar ซึ่งหมายถึงผู้ใช้ยังไม่ได้มีการ save หรือตั้งชื่อโปรแกรม

Menu Bar คือเมนูการทำงานต่างๆ ซึ่งจะประกอบด้วย File Edit Operate Tools

Browse Window และ Help เป็นต้น

Tool Bar คือเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการสั่งงานให้โปรแกรมทำงานหรือหยุดทำงาน

และการจัดระเบียบการวางอุปกรณ์ที่อยู่ในหน้าต่าง Front Panel ซึ่งจะประกอบด้วยปุ่มสั่งงาน

ที่มีหน้าที่ต่างๆ (ตารางที่ 1.1)

1 2 3

รูปที่ 1.4 ส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าต่าง Front Panel

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 4 3/9/2557 14:48:34

ตัวอย่าง

Page 11: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

5

สัญลักษณ์ ชื่อ คำอธิบาย

Run ปุ่มนี้ใช้สั่งงานให้โปรแกรมเริ่มทำงาน

Running แสดงว่าโปรแกรมกำลังทำงานอยู่

List Errors แสดงว่าโปรแกรมเกิดความผิดพลาดข้ึนมา เม่ือนำ

เมาส์ไปคลิกที่ปุ่มนี้จะปรากฏ Dialog box แสดง

รายละเอียดและคำอธิบายของความผิดพลาด

Run Continuously ปุ่มนี้ใช้สั่งงานให้โปรแกรมทำงานแบบต่อเนื่อง

Running

Continuously

แสดงว่าโปรแกรมกำลังทำงานแบบต่อเนื่องอยู่

Abort Execution ปุ่มนี้ใช้สั่งให้โปรแกรมหยุดทำงาน

Pause ปุ่มนี้ใช้สั่งให้โปรแกรมหยุดทำงานชั่วคราว

Text Settings ปุ่มกำหนดรูปแบบตัวอักษรหรือแก้ไขรูปแบบ

ตัวอักษรตามที่ต้องการ

Align Objects ปุ่มจัดเรียงอุปกรณ์ให้อยู่ในแนวเดียวกัน

Distribute Objects ปุ่มจัดระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ที่วางอยู่บน

Front Panel

Resize Objects ปุ่มนี้ใช้ปรับขนาดของอุปกรณ์ที่วางอยู่บน

Front Panel

Reorder ปุ่มนี้ใช้จัดลำดับอุปกรณ์ที่วางซ้อนกัน

Help ปุ่มแสดงหน้าต่าง Context Help

ตารางที่ 1.1 เครื่องมือต่างๆ ที่อยู่ภายใน Tool Bar ของหน้าต่าง Front Panel

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 5 3/9/2557 14:48:44

ตัวอย่าง

Page 12: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

6

รูปที่ 1.5 ไอคอนของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ได้มีการออกแบบในหน้าต่าง Front Panel

ไอคอน

2. Block Diagram คือหน้าต่างที่ใช้สำหรับการเขียนโปรแกรมหรือซอร์สโค้ด การ

เขียนโปรแกรมของหน้าต่างนี้เป็นการนำอุปกรณ์ที่ได้จากการวางอุปกรณ์ในหน้าต่าง Front

Panel ซึง่อยูใ่นรปู Block ทีเ่รยีกวา่ Icon (รปูที ่1.5) มาทำการตอ่สายระหวา่งไอคอนเขา้ดว้ยกนั

โดยให้เป็นไปตามการไหลของข้อมูล (Data Flow)

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 6 3/9/2557 14:48:44

ตัวอย่าง

Page 13: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

7

ในหน้าต่างของ Block Diagram จะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ (1) ส่วนของ Title Bar

(2) ส่วนของ Menu Bar และ (3) ส่วนของ Tool bar ซึ่งเหมือนกับในหน้าต่างของ Front

Panel (รูปที่ 1.6)

Title Bar มีความหมายเดียวกับ Title Bar ของหน้าต่าง Front Panel

Menu Bar มีความหมายเดียวกับ Title Bar ของหน้าต่าง Front Panel

Tool bar คือเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการสั่งงานให้โปรแกรมทำงาน หรือหยุดทำงาน

และการจัดระเบียบการวางอุปกรณ์ที่อยู่บนหน้าต่าง Block Diagram ประกอบด้วยปุ่มสั่งงาน

ซึ่งมีหน้าที่ดังนี้ (ตารางที่ 1.2)

รูปที่ 1.6 ส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าต่าง Block Diagram

1 2 3

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 7 3/9/2557 14:48:44

ตัวอย่าง

Page 14: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

8

ตารางที่ 1.2 เครื่องมือต่างๆ ที่อยู่ภายใน Tool Bar ของหน้าต่าง Block Diagram

สัญลักษณ์ ชื่อ หน้าที่

Run ปุ่มนี้ใช้สั่งงานให้โปรแกรมเริ่มทำงาน

Running แสดงว่าโปรแกรมกำลังทำงานอยู่

List Errors แสดงว่าโปรแกรมเกิดความผิดพลาดขึ้นมา เมื่อ

นำเมาส์ไปคลิกที่ปุ่มนี้จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์

(Dialog box) แสดงรายละเอียดและคำอธิบาย

ของความผิดพลาด

Run Continuously ปุ่มนี้ใช้สั่งงานให้โปรแกรมทำงานแบบต่อเนื่อง

Running

Continuously

แสดงว่าโปรแกรมกำลังทำงานแบบต่อเนื่องอยู่

Abort Execution ปุ่มนี้ใช้สั่งให้โปรแกรมหยุดทำงาน

Pause ปุ่มนี้ใช้สั่งให้โปรแกรมหยุดทำงานชั่วคราว

Highlight Execution เมื่อคลิกที่ปุ่มนี้จะเป็นการสั่งให้โปรแกรมทำงาน

ช้าลง เพื่อดูการไหลของข้อมูล

Do Not Highlight

Execution

เมื่อคลิกที่ปุ่มนี้เป็นการสั่งยกเลิกให้โปรแกรม

ทำงานช้าลง หรือกลับมาทำงานตามปกติ

Start Single

Stepping

ปุ่มนี้ใช้สั่งให้โปรแกรมทำงานทีละคำสั่งและลงไป

ถึงคำสั่งของ SubVI (โปรแกรมย่อย)

Star Single

Stepping

ปุ่มนี้ใช้สั่งให้โปรแกรมทำงานทีละคำสั่งแต่จะ

ไม่ลงไปถึงคำสั่งของ SubVI

Step Out ปุ่มนี้ใช้สั่งให้โปรแกรมออกจาก SubVI และ

Loop

Text Settings ปุ่มกำหนดหรือแก้ไขรูปแบบตัวอักษร

Align Objects ปุ่มจัดเรียงอุปกรณ์ให้อยู่ในแนวเดียวกัน

Distribute Objects ปุ่มจัดระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ที่วางอยู่บน

Front Panel

Reorder ปุ่มนี้จัดลำดับอุปกรณ์ที่วางซ้อนกัน

Help ปุ่มแสดงหน้าต่าง Context Help

LabVIEW_ch 1_edit 2.indd 8 3/9/2557 14:48:46

ตัวอย่าง

Page 15: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรcloud.se-ed.com/Storage/PDF/978616/314/9786163141507PDF.pdf · พอร์ตอนุกรมร่วมกับพอร์ตขนานเพื่อไปขับสเต็ปปิ้งมอเตอร์216

สำนักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

LabVIEWสำหรับงานควบคุมฮารดแวร

อดิศักดิ์ รมพุฒตาล

หนังสือนี้ไดรับทุนสนับสนุนการเขียนตำราจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2555

อดิศักดิ์ รมพุฒตาลLabVIEW

สำหรับงานควบคุมฮารดแวร

http://www.thammasatpress.tu.ac.th

ราคา 250 บาทหมวดวิทยาศาสตร

ISBN 978-616-314-104-0

LabVIEW สำหรับงานควบคุมฮารดแวร

อดิศักดิ์ รมพุฒตาลปริญญาตรี, ปริญญาโท สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

ปจจุบันดำรงตำแหน�งผูชวยศาสตราจารยประจำภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

จุดเดนของหนังสือเลมนี้• เรียนรูการใชงานและเขียนโปรแกรมดวย LabVIEW ตั้งแตพื้นฐานจนถึงการประยุกตใชงานจริง• ฝกฝนทักษะดวยตัวอยางการเขียนโปรแกรม LabVIEW ควบคุมวงจรอิเล็กทรอนิกส• ใชงาน LabVIEW เวอรชั่น 2011 ข้ึนไป• เหมาะสำหรับนิสิต นักศึกษา ชางเทคนิค และผูสนใจ LabVIEW ทุกระดับ

หนังสือนี้มีเนื้อหา 9 บท ดังนี้ บทที่ 1 การใชงานโปรแกรม LabVIEW เบื้องตนบทที่ 2 การเขียนโปรแกรม LabVIEWบทที่ 3 การเขียนโปรแกรมควบคุมผานทางพอรตขนานบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณเอาตพุตผานทางพอรตขนานบทที่ 5 การเขียนโปรแกรมควบคุมสวิตชผานทางพอรตขนานบทที่ 6 การเขียนโปรแกรมควบคุมสงและรับขอมูลผานทางพอรตอนุกรมบทที่ 7 การเขียนโปรแกรมสงและรับขอมูลผานทางพอรตอนุกรมรวมกับพอรตขนานบทที่ 8 การพัฒนาบอรดดาตาแอกควิซิชั่น (DAQ) สำหรับการเช�อมตอกับ LabVIEWบทที่ 9 การเขียนโปรแกรมควบคุมบอรดดาตาแอกควิซิชั่น (DAQ)

9 786163 141040

สัน 1.4 ซม.

ตัวอย่าง