ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 · 2018-02-02 ·...

4
สรุปข่าวผลงานข่าวในรอบสัปดาห์ของโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ) http://www.deepsouthwatch.org/dsj p 1 ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 นศ.สตรีมุสลิมไทยคว้าเกียรตินิยมชะรีอะห์อัล-อัซฮัร นางสาวดีนา เจะปอ นักศึกษาไทยในอียิปต์สร้างชื่อให้กับประเทศ ติด อันดับ 1 ใน 10 ของมหาวิทยาลัย จากนักเรียนแสนกว่าคนและอีก 2 คว้าเกียตรินิยมอันดับ1 และ 2 คณะอักษรศาสตร์และชะรีอะห์อิสลาม มียะห์ มหาวิทยาลัยอัล –อัซฮัซ นอกกจากนี้ ยังมีนักเรียนไทยที่ได้ รับรางวัลเกียตรินิยมอีก 2 คน คือ นางสาวยูไร หะยีมะหลี นักศึกษา ปริญญาโท เกียตรินิยมอันดับ 1 คณะอักษรศาสตร์ ซึ่งมีพื้นเพเดิมเป็น ชาวจังหวัดปัตตานี และนางสาวมนัญญา มีสัญฐาน นักศึกษาปริญญา ตรี เกียตรินิยมอันดับ 2 คณะชะรีอะห์ อิสลามียะห์พื้นเพเดิมเป็นชาว กรุงเทพมหานคร ด้าน ศอ.บต.จัดส่งนักศึกษาไทยไปอียิปต์แล้ว 956 คน http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4983 คืนความทรงจำา“เมืองญาบะ” บ้านที่เคยอบอุ่น ของพุทธ มุสลิม จีน ท่ามกลางเสียงลือ เสียงเล่าอ้างว่า “รือเสาะ” คือแหล่งผู้มีอุดมการณ์ เข้มข้น เป็นพื้นที่สีแดงที่มีข่าวรายงานเหตุการณ์ความรุนแรงไม่ขาด สาย แต่ยังมีมุมที่คนในจะเล่าให้คนนอกฟัง เป็นมุมต่างที่อาจจะไมเป็นที่กล่าวขาน ค้านเสียงปืน เสียงระเบิดจากพ้นที่ นั่นคือเรื่องราวว่า ด้วยความรุ่งเรือง จนถึงยุคล่มสลายของสายสัมพันธ์ พุทธ มุสลิม จีน ของ “เมืองญาบะ” อำาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ทั้งนี้เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายนที่ผ่านมา มีความพยายามของคนกลุ่มหนึ่ง ที่อยากจะกูความสัมพันธ์ของพี่น้องสามชาติพันธุ์นี้ ให้กลับมาเหมือนวันวาน โดย การจัดกิจกรรม “คืนความทรงจำา เมืองญาบะ” ณ ศาลาประชาคม อำาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส โดยภายในงาน มีกิจกรรมดึงดูดผู้เข้า ร่วมทั้งมาจากพื้นที่รือเสาะ คนนอกที่มาจากพื้นที่อื่น ร่วมถึงมีชาวต่าง ประเทศที่สนใจงานนี้ด้วย http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4985 เสียงสันติภาพ (7) วิทยุชุมชนคริสต์เตียนยะลา สถานีวิทยุชุมชนคริสต์เตียนยะลา 88.0 MHz นับเป็นสถานีวิทยุ 24 ชั่วโมง อีกแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ก่อตั้งโดยสมาชิกค ริสตจักรยะลา ขับเคลื่อนด้วยศรัทธาและจิตอาสาเพื่อที่จะเผยแพร่หลัก คำาสอนคริสต์ศาสนาในชีวิตประจำาวัน การก่อตั้งสถานีวิทยุเกิดขึ้นหลัง จากการเกิดเหตุความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ปี 47 เป็นต้นมา เมื่อมีเหตุการณ์รุนแรงทำาให้ไม่มีอาจารย์ที่จะมาเทศนา แก่สมาชิกคริสตจักรจังหวัดยะลา แม้ว่าสามารถรับฟังการเทศนาจาก อินเตอร์เน็ตได้ แต่สมาชิกคริสตจักรยะลาส่วนใหญ่ โดยเฉพาะผู้สูง อายุ ไม่สะดวกรับฟังการเทศจากในอินเตอร์เน็ต ดังนั้นเราคิดว่าวิทยุคือ คำาตอบสำาหรับปัญหาแก้แก้ปัญหาดังกล่าว เพราะวิทยุสามารถรับฟัง พร้อมๆ กับทำางาน และที่สำาคัญวิทยุราคาถูกมากในปัจจุบันนีhttp://www.deepsouthwatch.org/dsj/4982 เครือข่ายผู้หญิงใต้รวมพลังจัดงานวันขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล 25 พฤศจิกาฯ กองทุนพัฒนาสตรีปัตตานี ร่วมกับเครือข่ายผู้หญิงยุติความรุนแรงแสวง สันติภาพ จัดกิจกรรม “รวมพลังผู้หญิงชายแดนใต้ ยุติความรุนแรงทุก รูปแบบ” เนื่องในวันขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล 25 พฤศจิกายน นีกำาหนดการ จะมีการปล่อยขบวนเดินรณรงค์ยุติความรุนแรงที่ลาน วัฒนธรรม หน้าศาลากลางจังหวัดปัตตานีในเวลา 08.00 น.เคลื่อนไป ตามถนนหนองจิก ผ่านโรงพยาบาลปัตตานี โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานีวิทยาลัยเทคนิคปัตตานี จนถึงโรงแรมซีเอส. ปัตตานี http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4980

Transcript of ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 · 2018-02-02 ·...

Page 1: ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 · 2018-02-02 · เปิดเอกสาร สมช.ตอบ 5 ข้อเรียกร้องบีอาร์เอ็น

สรุปข่าวผลงานข่าวในรอบสัปดาห์ของโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ)

http://www.deepsouthwatch.org/dsj

p1

ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556

นศ.สตรีมุสลิมไทยคว้าเกียรตินิยมชะรีอะห์อัล-อัซฮัร

นางสาวดีนา เจะปอ นักศึกษาไทยในอียิปต์สร้างชื่อให้กับประเทศ ติด

อันดับ 1 ใน 10 ของมหาวิทยาลัย จากนักเรียนแสนกว่าคนและอีก 2

คว้าเกียตรินิยมอันดับ1 และ 2 คณะอักษรศาสตร์และชะรีอะห์อิสลาม

มียะห์ มหาวิทยาลัยอัล –อัซฮัซ นอกกจากนี้ ยังมีนักเรียนไทยที่ได้

รับรางวัลเกียตรินิยมอีก 2 คน คือ นางสาวยูไร หะยีมะหลี นักศึกษา

ปริญญาโท เกียตรินิยมอันดับ 1 คณะอักษรศาสตร์ ซึ่งมีพื้นเพเดิมเป็น

ชาวจังหวัดปัตตานี และนางสาวมนัญญา มีสัญฐาน นักศึกษาปริญญา

ตรี เกียตรินิยมอันดับ 2 คณะชะรีอะห์ อิสลามียะห์พื้นเพเดิมเป็นชาว

กรุงเทพมหานคร ด้าน ศอ.บต.จัดส่งนักศึกษาไทยไปอียิปต์แล้ว 956 คน

http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4983

คืนความทรงจำา“เมืองญาบะ” บ้านที่เคยอบอุ่น ของพุทธ มุสลิม จีน

ท่ามกลางเสียงลือ เสียงเล่าอ้างว่า “รือเสาะ” คือแหล่งผู้มีอุดมการณ์

เข้มข้น เป็นพื้นที่สีแดงที่มีข่าวรายงานเหตุการณ์ความรุนแรงไม่ขาด

สาย แต่ยังมีมุมที่คนในจะเล่าให้คนนอกฟัง เป็นมุมต่างที่อาจจะไม่

เป็นที่กล่าวขาน ค้านเสียงปืน เสียงระเบิดจากพื้นที่ นั่นคือเรื่องราวว่า

ด้วยความรุ่งเรือง จนถึงยุคล่มสลายของสายสัมพันธ์ พุทธ มุสลิม จีน

ของ “เมืองญาบะ” อำาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ทั้งนี้เมื่อวันที่ 17

พฤศจิกายนที่ผ่านมา มีความพยายามของคนกลุ่มหนึ่ง ที่อยากจะกู้

ความสัมพันธ์ของพี่น้องสามชาติพันธุ์นี้ ให้กลับมาเหมือนวันวาน โดย

การจัดกิจกรรม “คืนความทรงจำา เมืองญาบะ” ณ ศาลาประชาคม

อำาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส โดยภายในงาน มีกิจกรรมดึงดูดผู้เข้า

ร่วมทั้งมาจากพื้นที่รือเสาะ คนนอกที่มาจากพื้นที่อื่น ร่วมถึงมีชาวต่าง

ประเทศที่สนใจงานนี้ด้วย

http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4985

เสียงสันติภาพ (7) วิทยุชุมชนคริสต์เตียนยะลา

สถานีวิทยุชุมชนคริสต์เตียนยะลา 88.0 MHz นับเป็นสถานีวิทยุ 24

ชั่วโมง อีกแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ก่อตั้งโดยสมาชิกค

ริสตจักรยะลา ขับเคลื่อนด้วยศรัทธาและจิตอาสาเพื่อที่จะเผยแพร่หลัก

คำาสอนคริสต์ศาสนาในชีวิตประจำาวัน การก่อตั้งสถานีวิทยุเกิดขึ้นหลัง

จากการเกิดเหตุความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ปี

47 เป็นต้นมา เมื่อมีเหตุการณ์รุนแรงทำาให้ไม่มีอาจารย์ที่จะมาเทศนา

แก่สมาชิกคริสตจักรจังหวัดยะลา แม้ว่าสามารถรับฟังการเทศนาจาก

อินเตอร์เน็ตได้ แต่สมาชิกคริสตจักรยะลาส่วนใหญ่ โดยเฉพาะผู้สูง

อายุ ไม่สะดวกรับฟังการเทศจากในอินเตอร์เน็ต ดังนั้นเราคิดว่าวิทยุคือ

คำาตอบสำาหรับปัญหาแก้แก้ปัญหาดังกล่าว เพราะวิทยุสามารถรับฟัง

พร้อมๆ กับทำางาน และที่สำาคัญวิทยุราคาถูกมากในปัจจุบันนี้

http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4982

เครือข่ายผู้หญิงใต้รวมพลังจัดงานวันขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล

25 พฤศจิกาฯ

กองทุนพัฒนาสตรีปัตตานี ร่วมกับเครือข่ายผู้หญิงยุติความรุนแรงแสวง

สันติภาพ จัดกิจกรรม “รวมพลังผู้หญิงชายแดนใต้ ยุติความรุนแรงทุก

รูปแบบ” เนื่องในวันขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล 25 พฤศจิกายน

นี้ กำาหนดการ จะมีการปล่อยขบวนเดินรณรงค์ยุติความรุนแรงที่ลาน

วัฒนธรรม หน้าศาลากลางจังหวัดปัตตานีในเวลา 08.00 น.เคลื่อนไป

ตามถนนหนองจิก ผ่านโรงพยาบาลปัตตานี โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล

วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานีวิทยาลัยเทคนิคปัตตานี จนถึงโรงแรมซีเอส.

ปัตตานี

http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4980

Page 2: ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 · 2018-02-02 · เปิดเอกสาร สมช.ตอบ 5 ข้อเรียกร้องบีอาร์เอ็น

p2

http://www.isranews.org/south-news.html

สรุปข่าวประจำาสัปดาห์ ศูนย์ข่าวภาคใต้ สำานักข่าวอิศรา

อาบูฮาฟิซ อัลฮากีม: จดหมายเปิดผนึกถึงสื่อมวลชนไทย

จดหมายเปิดผนึกฉบับนี้เผยแพร่ครั้งแรกในบล็อก Abu Hafez เมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน โดยมีต้นฉบับเดิมเป็นภาษามลายู คือ “Surat terbu-ka kepada Media Thai” (เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 พ.ย. 2556) ต่อมา บล็อกดังกล่าวได้เผยแพร่เวอร์ชั่นภาษาอังกฤษในวันถัดมา คือ “An open letter to Thai Media” เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พ.ย. 2556) หลังจากนั้น ผู้เขียนได้มีโอกาสพบปะพูดคุยกับสื่อมวลชนไทยบางสำานักและบันทึกความเคลื่อนไหวลงในอีกบทความหนึ่ง คือ “Thai media has spoken” (เผยแพร่ครั้งแรก 20 พ.ย. 2556) http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4979

สรุปเหตุครึ่งเดือนพฤศจิกายน 2556 เกิดเหตุ 37 เสียชีวิต 29 บาดเจ็บ 46

สรุปเหตุการณ์ความไม่สงบตั้งแต่วันที่ 3 - 18 พฤศจิกายน 2556 เหตุการณ์ทั้งหมดจำานวน 37 เหตุ บาดเจ็บ 46 ราย เสียชีวิต 29 ราย รวม 72 ราย โดยวันที่ 4 วันเดียว มีถึง 9 เหตุการณ์ เจ็บ 12 เสียชีวิต 2 ราย คนเจ็บและเสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นประชาชน http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4969

นราธิวาส ปัตตานี มีโอกาสดีเปรสชั่นถล่มซ้ำารอยปี 53

ประธานโครงการเครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติ ลุ่มน้ำาปัตตานี (pbwatch) เผย ตั้งแต่วันที่ 19 - 22 พฤศจิกายน 2556 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล มีการโอกาสโดนพายุดีเปรสชั่นถล่ม เนื่องจากบรรยากาศคล้ายปี 53 ส่วนจังหวัดพัทลุง ตรัง นครศรีธรรมราช ฝนตกหนักถึงหนักมากและมีลมแรง ทั้งนี้ประชาชนไม่ควรตระหนกเกินควรแต่ให้ตระหนักถึงภัยพิบัติที่อาจเกิดข้ึนได้และให้ติดตามข้อมูลอย่างจากกรมอุตุนิยมวิทยาและ pbwatch อย่างใกล้ชิด http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4964

ชี้ปลายปีแนวโน้มดี ดัชนีเเศรษฐกิจชายแดนภาคใต้ไตรมาส3พุ่ง

กระทรวงพาณิชย์ร่วมกับ ศอ.บต.เผยผลสำารวจความเชื่อมั่นด้านการค้าการลงทุนในชายแดนใต้ช่วงไตรมาส 3 ชี้การฟื้นฟูเศรษฐกิจสร้างความเชื่อมั่นให้นักท่องเที่ยวเพิ่ม การพูดคุยสันติภาพสร้างความหวังว่าจะนำาสันติสุขกลับมา เชื่อว่าส่งผลให้แนวโน้มปลายปีดีขึ้น การสำารวจและจัดทำาดัชนีความเชื่อมั่นด้านการค้าและการลงทุน ครั้งนี้เป็นการสำารวจจากผู้ประกอบการทั้งหมด 428 ราย จากองค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจในพื้นที่ ผลประกอบการ การขยายกิจการ การจ้างงาน และสถานการณ์ในพื้นที่ พบว่า ผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นด้านการค้าและการลงทุนเพิ่มขึ้น ทำาให้การกระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่ช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีนี้มีแนวโน้มดีขึ้นจากเดือนสิงหาคมซึ่งอยู่ที่ 37.8 เท่ากับ 34.4 http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4965

6 ปี‘ชุมชนศรัทธา’สิ่งละอันลดความขัดแย้ง จับต้องได้ที่หมู่บ้าน

หลายคนคงเคยได้ยินคำาว่า “ชุมชนศรัทธา” กันมาบ้างแล้ว แต่อาจจะยังไม่เข้าใจลึกซึ้งว่าคืออะไร แล้วลดความขัดแย้งได้อย่างไร “ชุมชนศรัทธา” หรือ “กำาปงตักวา”ในภาษามลายูนั้นมีชื่อเต็มว่า โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายชุมชนศรัทธา “กำาปงตักวา” แนวคิดหลักคือ มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนตามวิถี อัตลักษณ์ที่เป็นทุนเดิมของชุมชน เครือข่ายชุมชนศรัทธา เน้นกระบวนการและรูปแบบการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ภายใต้โครงสร้างอำานาจของชุมชน ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เป็นกระบวนการที่ใช้ภูมิปัญญา วิถีท้องถิ่น หลักศาสนา เป็นเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพชุมชน ทำาให้คนในชุมชนมีศักยภาพในการร่วมเสริมสร้างสันติสุข การพึ่งตนเอง การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างมั่นคงถาวร โครงการนี้ดำาเนินการมาตั้งแต่ปี 2551 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีชุมชนหรือหมู่บ้านเป้าหมาย 120 หมู่บ้าน http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4957

เปิดเอกสาร สมช.ตอบ BRN ใช้ภาษาการทูต ยื่นกลับ 2 ข้อเบาหวิวไร้กดดัน

เปิดเอกสาร สมช.ตอบ 5 ข้อเรียกร้องบีอาร์เอ็น ใช้ถ้อยคำาภาษาการทูต “เราได้ยอมรับเพื่อพูดคุยกันต่อไป” ขณะที่ 2 ข้อเรียกร้องที่ยื่นกลับ

“เบาหวิว” เป็นแค่ยาหอมขอให้ทำางานร่วมกัน สอดรับข่าวจากทางฝั่งขบวนการอ้างไทยรับ 5 ข้อแล้ว ซ้ำายังแถมให้อีก 2 ข้อ ด้านสถานการณ์

ในพื้นที่ยังระอุ กำาลังผสมบุกจู่โจมค้นบ้านเป้าหมายที่รือเสาะ-ระแงะ นราธิวาส รวบ 9 ผู้ต้องสงสัยพร้อมยุทโธปกรณ์อื้อ

กอ.รมน.กางแผนสร้างรั้วชายแดน! ใต้ฝนหนัก – พบรถเหยื่อ3ศพยัดถังเจอเผาซ้ำา

กอ.รมน.เอาจริง! กางแผนสร้างรั้วชายแดนไทย-มาเลเซีย ทั้งรั้วคอนกรีต ตาข่าย ลวดหนาม และรั้วต้นไม้ เตรียมนำาเข้าถกในเจบีซีเร็วๆ นี้

สถานการณ์ใต้ยังป่วนหนักทั้งๆ ที่ฝนถล่ม น้ำาจ่อท่วม แต่ยังมีบึ้ม-ยิงรายวัน ในโรงเรียนก็ไม่เว้น พบรถกระบะเหยื่อฆ่ายัดถัง 3 ศพถูกเผาซ้ำา

เปิดใจ “จูแว” พลัดถิ่น (2) ขอทวงสิทธิดินแดน - ชนชาติ - การเมือง

“ถ้าทุกอย่างสามารถจบลงและนำาความสันติสุขสู่พื้นที่นี้ได้ในแนวทางการพัฒนาสิทธิขั้นพื้นฐาน สิทธิความเป็นเจ้าของดั้งเดิม สิทธิการเมืองที่ดี

เศรษฐกิจที่ดี และสังคมที่ดีงาม การต่อสู้ด้วยความรุนแรงทั้งหลายก็จะไม่เกิดขึ้น” เป็นคำายืนยันจากปากแกนนำากลุ่มเคลื่อนไหวที่ต่อสู้เพื่อปลด

ปล่อยดินแดนปัตตานี หรือที่ในภาษามลายูเรียกว่า “จูแว” ซึ่งพำานักอยู่ในต่างประเทศ ระหว่างการให้สัมภาษณ์คณะสื่อมวลชนไทยกระแส

หลักเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่มีกระบวนการพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐบาลไทยกับขบวนการบีอาร์เอ็น เมื่อ 28 ก.พ.2556 เป็นต้นมา

Page 3: ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 · 2018-02-02 · เปิดเอกสาร สมช.ตอบ 5 ข้อเรียกร้องบีอาร์เอ็น

p3

http://www.deepsouthwatch.org/blog

บล็อกรีวิว (แนะนำาข้อเขียนของเครือข่าย)

http://www.prachatai.com

สรุปข่าวประจำาสัปดาห์ สำานักข่าวประชาไท

รายงานเสวนา ‘จากสื่อ...สู่โศกนาฏกรรม’

มีเดีย อินไซต์ เอาท์ จัด Media Cafe สื่อสนทนาครั้งที่ 10 เมื่อวันที่ 23 พ.ย.2556 ที่ผ่านมา ซึ่งชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา กล่าวถึงการวิจัย

“การกำากับดูแลสื่อที่เผยแพร่สื่อแห่งความเกลียดชัง โดยโฟกัสไปที่สื่อวิทยุโทรทัศน์” เป็นการศึกษารูแบบเนื้อหาดีเบตที่เกินขึ้นคือ ระหว่าง hate

speech กับ free speech ว่าขอบเขตมันอยู่ตรงไหน ความต่างนี้แล้วแต่จุดยืนของแต่ละประเทศ เช่น อเมริกาจะยึดการคุ้มครองเสรีภาพในการ

แสดงความเห็น เขาจะมองว่า hate speech อยู่ใน free speech คือมีเสรีภาพที่จะพูดจนกว่ามันจะไปสู่ความรุนแรงก็จะถูกระงับ อย่างสิงคโปร์

ที่เป็นอนุรักษ์นิยมก็มองที่การดำารงซึ่งความสุขสงบเป็นเรื่องสำาคัญ หรือเยอรมันที่มีประสบการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ก็ออกกฏเกณฑ์ที่ชัดเจนว่าอะไรเป็น

hate speech อะไรไม่ใช่ http://www.prachatai.com/journal/2013/11/49944

เสวนา: การปฏิรูปการเมืองและประชาธิปไตยในอนาคต ก้าวหน้าหรือถอยหลัง?

เสวนาครบรอบ 40 ปี สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน กุลลดา เกดบุญชู มี้ด มองย้อนเหตุการณ์ 14 ตุลา ที่ชนชั้นนำายังมีอำานาจมากในโครงสร้าง

สังคม ในขณะที่ประจักษ์ ก้องกีรติเสนอปฏิรูปการเมืองครั้งที่สอง เพื่อสร้างกติกาอยู่ร่วมกันและหลีกเลี่ยงความรุนแรง

http://www.prachatai.com/journal/2013/11/49938

นิติราษฎร์ชี้คำาวินิจฉัยศาลรธน.ไม่มีผลทางกฎหมาย ร่างแก้ไข รธน.ยังสมบูรณ์

การแถลงข่าวครั้งนี้ได้รับความสนใจจากสื่อมวลขนและประชาชนเป็นจำานวนมาก วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ระบุว่า นิติราษฎร์เห็นว่าคำาวินิจฉัยของศาล

รัฐธรรมนูญมีความผิดพลาดร้ายแรงในแง่ของเขตอำานาจของศาลตลอดจนความบกพร่องในการวินิจฉัย ซึ่งศาลชี้ว่าร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญมี

ความบกพร่องทั้งในแง่เทคนิค คือ เนื่องจากมีการเสียบบัตรลงคะแนนแทนกัน รวมถึงกรณีความบกพร่องทางเนื้อหา

http://www.prachatai.com/journal/2013/11/49936

ขบวนการฯพบสื่อไทย ส่งสัญญาณเดินหน้ากับสันติภาพ

โดย FT MEDIA

http://deepsouthwatch.org/node/4974

FT MEDIA บันทึกบทสนทนาระหว่างตัวแทนขบวนการปลดปล่อยปาตานีกับสื่อมวลชนจากประเทศไทย เมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ซึ่ง

รวมไปถึงนักข่าวจาก FT Media ด้วย เนื้อหาของการพูดคุยชี้ให้เห็นว่า เหตุผลที่ตัวแทนฝ่ายขบวนการตัดสินใจเปิดตัวพบสื่อไทยน่าจะมาจาก

ความต้องการสร้างความเข้าใจกับสังคมไทยถึงรากเหง้าของความขัดแย้ง และส่งสัญญาณว่าทางกลุ่มมุ่งหวังในการสร้างสันติภาพอย่างจริงจัง

และคาดหวังว่าเรื่องนี้จะเป็นวาระแห่งชาติ เนื้อหาของบทสนทนาก็มีหลายประเด็นที่น่าสนใจ เช่น การตั้งข้อสังเกตว่าสื่อมวลชนไทยดูจะตั้ง

แง่สงสัยกับการเดินหน้ากระบวนการสันติภาพ อีกทั้งยังมีทัศนคติเชิงลบต่อนักต่อสู้ ในขณะที่ฝ่ายขบวนการเองก็ยืนยันว่าเข้าร่วมกระบวนการ

ด้วยความเต็มใจ หลังจากที่รัฐบาลชุดปัจจุบันเปลี่ยนท่าทีเปิดกว้างากขึ้น แต่ภายในขบวนการเองก็ยังคงมีท่าทีสนับสนุนกระบวนการแตกต่าง

กันอยู่ นอกจากนี้ ยังได้ขยายความเกี่ยวกับสิทธิในการกำาหนดใจตนเองหรือ Self Determination อีกด้วย

Thai media has spoken

โดย Abu Hafez Al-Hakim

http://deepsouthwatch.org/node/4973

บทความที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษชิ้นนี้ อาบูฮาฟิสกล่าวถึงการพบปะกันระหว่างตัวแทนขบวนการปลดปล่อยปาตานี (BRN, PULO และ BIPP)

กับผู้สื่อข่าวจากประเทศไทยในสถานที่ซึ่งไม่ได้ถูกระบุ โดยถือว่าเป็นเหตุการณ์สำาคัญอย่างยิ่งที่ผู้สื่อข่าวได้นั่งลงถกเถียงกับกลุ่มเคลื่อนไหว

เหล่านี้ นอกจากความเป็นมิตรต่อกันแล้ว คำาถามและคำาตอบนั้นสร้างความกระจ่างให้ระหว่างกันอย่างมาก อาบูฮาฟิซระบุว่าในอนาคตจะมี

การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันเพื่อสนับสนุนกระบวนการสันติภาพที่ดำาเนินอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ในบทความเดียวกันเขายังได้หยิบยกชิ้น

ข่าวที่กล่าวถึงงานเสวนาที่สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ซึ่งมีตัวแทนสื่อมวลชนได้สะท้อนถึงได้

ถึงข้อบกพร่องของสื่อในการเสนอข่าวชายแดนใต้อีกด้วย

Page 4: ฉบับที่ 19 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 · 2018-02-02 · เปิดเอกสาร สมช.ตอบ 5 ข้อเรียกร้องบีอาร์เอ็น

p4

กำาหนดการ กิจกรรมความเคลื่อนไหวในรอบสัปดาห์

ท่านสามารถติดตามข่าวสารที่เกี่ยวกับกระบวนการสันติภาพได้ทาง Facebook ที่Patani Peace Process Monitoring news https://www.facebook.com/PatTaniPeaceProcessMonitoring

South reports https://www.facebook.com/southreport?fref=ts

http://pattanihumanities1.blogspot.

com/2013/11/blog-post_1495.html

สัมมนานโยบายสาธารณะ เรื่อง

“ทรัพยากรธรรมชาติกับสันติสุขในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”

ในระหว่างวันที่ 2 -3 ธันวาคม 2556

ณ ห้องประชุม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อ.เมือง จ.ยะลา

โดยโครงการวิจัยการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน

ในการจัดการลุ่มน้ำาสายุบรี ระยะที่ 2 ร่วมกับสมาคมลุ่มน้ำาสายบุรี

http://www.deepsouthwatch.org/node/4960

http://www.deepsouthwatch.org/node/4981http://www.deepsouthwatch.org/node/4962

หนังสือ รือเสาะ พหุวัฒนธรรม:

ความหลากหลายและมิตรภาพ

จากความทรงจำาของ “คนใน” บนพื้นที่สีแดง

รายงานผลการสำารวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง

สันติภาพที่ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ต้องการในอนาคต

โดย อับดุลการีม อัสมะแอ สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ดำาเนินโครงการโดยคณะกรรมการสถานีวิทยุและโทรทัศน์ภาษามลายู

ศูนย์อำานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

ฐานข้อมูลน่าสนใจ

http://www.deepsouthwatch.org/node/4951

http://www.deepsouthwatch.org/node/4989