ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ...

13
ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุงเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา ระบบการศึกษาของประเทศไทยไดกำหนดใหคนในชาติไดซึมซับรับรูความเปนไทยผาน เนื้อหาวิชาการดานตางๆ เพื่อใหเกิดสำนึกรูตัวตนวาทุกคนมีหนาที่ในการทำนุบำรุงรักษาความ เปนไทย เริ่มตั้งแตระดับประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา ดวยชุดความรูที่ประกอบไปดวย ศิลปะไทย นาฏศิลปไทย ดนตรีไทย วัฒนธรรมไทย และอีกมากมายที่ใหทุกคนรูตัววาเราคือคน ไทย แตผูเขียนมีคำถามบางประการ ตอการเรียนการสอนในดานศิลปะไทยเกี่ยวกับการใชคำวา ลายไทยซึ่งเปนคำที่ใชเรียกลักษณะลวดลายที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวและมีรูปแบบมาตรฐานทีถูกสรางขึ้นใหเกิดการรับรู ยอมรับวารูปแบบนั้นคือ ลายไทยทั้งนี้ผูเขียนมีขอสงสัยวาองคความรูดังกลาวถูกสรางขึ้นมาอยางไร องคความรูและความ เชื่อเกี่ยวกับลายไทยนั้น มีผลกระทบตอสังคมไทย ระบบการศึกษา ความรูในสังคมไทยอยางไร 1

Transcript of ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ...

Page 1: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

ลายไทย หรือลายใคร

โดย ศุภชัย อารีรุงเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา

! ระบบการศึกษาของประเทศไทยไดกำหนดใหคนในชาติไดซึมซับรับรูความเปนไทยผาน

เนื้อหาวิชาการดานตางๆ เพื่อใหเกิดสำนึกรูตัวตนวาทุกคนมีหนาที่ในการทำนุบำรุงรักษาความ

เปนไทย เริ่มตั้งแตระดับประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา ดวยชุดความรูที่ประกอบไปดวย

ศิลปะไทย นาฏศิลปไทย ดนตรีไทย วัฒนธรรมไทย และอีกมากมายที่ใหทุกคนรูตัววาเราคือคน

ไทย แตผูเขียนมีคำถามบางประการ ตอการเรียนการสอนในดานศิลปะไทยเก่ียวกับการใชคำวา

“ลายไทย” ซึ่งเปนคำที่ใชเรียกลักษณะลวดลายที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวและมีรูปแบบมาตรฐานที่

ถูกสรางขึ้นใหเกิดการรับรู ยอมรับวารูปแบบนั้นคือ “ลายไทย”

! ทั้งนี้ผูเขียนมีขอสงสัยวาองคความรูดังกลาวถูกสรางขึ้นมาอยางไร องคความรูและความ

เชื่อเก่ียวกับลายไทยนั้น มีผลกระทบตอสังคมไทย ระบบการศึกษา ความรูในสังคมไทยอยางไร

1

Page 2: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

! จากคำถามตอองคความรู ท ี ่ฝ งรากลึกมายาวนานในเรื ่องศิลปะไทย จึงนำมาสู

วัตถุประสงคของผูเขียนในการเขียนบทความนี้ ดวยการคนควาขอมูลเพื่อนำมาวิเคราะหในเบื้อง

ตน อันสงผลตอการศึกษาในประเด็นอื่นอยางตอเนื่องตอไป อยางไรก็ตามการตั้งคำถามตอการ

ศึกษาในเรื่องศิลปะไทยมีปรากฏในสังคมไทยไมมากนัก เนื่องจากที่ผานมาระบบการเรียนการ

สอนแบบไทยที่อยูภายใตความเปนครูและศิษย เกิดจากการถูกครอบครูนับแตวันแรกของการ

ยอมรับเปนครู-ศิษย ดวยระบบศิษยและครูแบบไทยๆนั้นเองสงผลใหการเรียนไมจำเปนตองตั้ง

คำถามตอความรูที่ไดรับ นอกจากนี้ยังกอใหเกิดการยอมรับ สรรเสริญตอความรู ภูมิปญญาความ

สามารถของบรรพบุรุษไทยไปโดยปริยาย มีผูกลาวถึงภาวะของการถูกครอบงำดวยกฏเกณฑตางๆ

หลายระดับของความเปนชาง เชน บทความของ ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล (ปริตตา เฉลิมเผา

กออนันตกูล, 2555:147) ไดกลาววา ชางไทยนั้นไดอยูในกรอบของความเคารพครูเปนอยางสูง มี

แนวคิดในการยกความดีงามใหแกครูทั้งหมด จะไมไปอางชื่อวาเปนผลงานของตัวเองซึ่งเปนการ

ผิดประเพณี เปนเพราะชางไมไดทำงานใหตนเอง ชางหลวงทำงานใหราชการ ชางพระทำเพ่ือ

ศรัทธาในศาสนา และชางเชลยศักดิ์ไมตองการเปดเผยตนเองเพราะเกรงจะถูกเกณฑไปใช

บทความนี้วาดวยการตั้งคำถามตอผลงานของครูผูเปนบรรพชนที่ไดสรางมรดกทางปญญา

และฝมือปรากฏในศิลปะไทย การตั้งขอสงสัยของผูเขียนอาจถูกตั้งคำถามวาจะเกิดประโยชนใด

ตอแวดวงศิลปะไทย ในเมื่อสิ่งที่มีปรากฏอยูนั้นก็ไดรับการยอมรับไปแลววา มันคือ “ศิลปะไทย”

มันคือ “ลายไทย” ผูเขียนมีความเห็นวาอาจจะเปนการปดกันเสรีภาพทางความคิดในการศึกษาไป

สักหนอย เพราะจะกลายเปนขอสรุปวา คำตอบของการศึกษาไมจำเปนตองถามหรือคนควากันอีก

ตอไปและยอมรับในชุดความรูที่ไดรับการสั่งสอนกันมาเทานั้น ในขณะที่การศึกษาแบบสนับสนุน

การตั้งขอสงสัยและการพยายามตั้งคำถามอยางไมมีขอสิ้นสุด เปนการศึกษาในโลกตะวันตก

เนื่องจากขอจำกัดในการตั้งคำถามคือการหยุดยั้งเสรีภาพทางความคิด ดวยเหตุเพราะความรูที่

เกิดขึ้นนั้นมันมาจากการสงสัย (ธเนศ วงศยานนาวา, 2552: 181) ซึ่งนิธิ เอียวศรีวงศ ไดกลาววา

การไดมีการทบทวนถามถึงขอสรุปที่ทำใหเราตองยอมจำนน เปนเรื่องใหญมากๆ การสรางหรือ

เขาไปรื้อระบบความรูใหมเพื่อเกิดความสามารถและอำนาจในการตั้งคำถามเปนหัวใจสำคัญใน

การสรางความเปนธรรมแกสังคม (นิธิ เอียวศรีวงศ, 2550: 57) รวมทั้งระบบการศึกษาของไทย

!

“ลาย” กับการสื่อสารทางความหมาย

! ความพริ้วไหว ออนชอย ละเอียดออน วิจิตรบรรจง ไดถูกนำมาเปรียบเปรยหรือแสดงถึง

ลักษณะเฉพาะในการนิยามและใหความหมายของ "ลายไทย" ที่เปนความเขาใจของคนในสังคม

ไทย แลวถูกนำมาใชเพ่ือสรางใหเกิดอัตลักษณตอผลิตผลทางความคิดในศาสตรทางศิลปะหลาย

2

Page 3: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

แขนงของประเทศไทย โดยผูสรางสรรค ชาง หรือศิลปน อาจนำเอารูปแบบสวนประกอบของลาย

ไทยสวนใดสวนหนึ่งไปปรับใชเพ่ือเปนการบงบอกวานี่คือของไทย

! ในอดีตระบบการถายทอดความรูในเรื่องของการสรางสรรค การประดิษฐคิดสรางสิ่งตางๆ

ที่เก่ียวของกับมนุษยอยูภายใตระบบการศึกษาผานสถาบันศาสนาเปนหลัก ความรูตางๆจึงมีการ

สืบทอดความคิด ความรูตางๆ ผานพระสงฆ ดังเชนที่สมเด็จฯกรมพระยานริศนานุวัดติวงศ ได

เขียนบรรยาย ถึงสมุดรูปภาพเรื่องรามเกียรติ ์ เมื่อมีการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังระเบียงวัดพระแกว

ครั้งปฏิสังขรณสมโภชพระนครรอยปวา มีพระอาจารยลอย วัดสุวรรณาราม พระอาจารยแดง วัด

หงสรัตนาราม เปนแมกองรางภาพ (สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาฯ กรมพระยา นริศรานุวัดติ

วงศ, 2546: 112. ) พระสงฆในอดีตนั้นมีความสามารถในดานชางเขียนซึ่งรับหนาที่สำคัญจาก

สถาบันกษัตริย ตอมาระบบการศึกษาจึงไดเปลี่ยนมาสูยุคของการสรางความรูสมัยใหม ดวยการ

ใหความหมายตอคำวา “ศิลปะ” ในชวงเพียงไมเกิน 100 ปที่ผานมานี้เอง

!

! คำวา “ศิลปะ” ตามความหมายที่คนไทยในอดีตรูจักนั้น มิไดมีความหมายเก่ียวของกับ

การสรางสรรคผลงานศิลปะของมนุษยที่หมายถึง “วิชาความรู” แตกลับมีความหมายเดียวกับคำ

วา “ศิลปศาสตร” ทั้งนี้เพราะมีรากศัพทมาจากคำในภาษาสันสกฤตวา ศิลฺป ซึ่งหมายถึง “กรรมอัน

บุคคลพึงศึกษา”

! ในเวลาชวงประมาณป พ.ศ. 2060 - 2393 (ค.ศ. 1517 - 1850) คนไทยเริ่มรูจักคำวา

“งานชาง” มากขึ้น โดยผานผลงานการสรางสรรคทางศิลปะเพื่อจรรโลงพุทธศาสนาและการ

พรรณาโวหารในงานวรรณกรรมที่แสดงความยิ่งใหญของงานศิลปะเพื่อเปนการยอพระเกียรติของ

พระมหากษัตริยผูดำริสราง จากขอมูลที่ปรากฏในงานวรรณกรรมตางๆ พบวามีการกลาวถึงงาน

ชางในดานวิธีการและรายละเอียดของการใชงานชางในการบูรณะปฏิสังขรณปูชนียวัตถุสถาน

ดวย

! คำวา “ศิลปะ” ที่มีความหมายถึง “งานชาง” นั้นปรากฏขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 (ครองราชย

พ.ศ. 2453-2468 / ค.ศ.1910-1925) โดยความหมายที่ใชนั้นอาจจะทรงแปลมาจากคำวา “Art”

ในภาษาอังกฤษซึ่งมีความหมายสอดคลองกับที่ชาวตะวันตกใชในยุคนั้น อันตรงกับคำวา “Craft”

ในปจจุบัน ดังนั้น ในชวงระยะเวลาดังกลาวคำวา “งานศิลปะ” จึงหมายถึง “งานฝมือ” สวนคำวา

“โบราณวัตถุ” หมายถึง “ของเกา” ที่คนไทยในยุคนั้นยังไมใหความสนใจที่จะศึกษา จนกระทั่งในป

พ.ศ. 2467 (ค.ศ.1924) รัชกาลที ่ 6 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมีการตรวจคนและดูแลรักษา

โบราณวัตถุในพระราชอาณาจักรขึ้นเปนครั้งแรก แตอยางไรก็ตาม การสรางความหมายของ ลาย

ไทย ยังไมปรากฏในสังคมไทยใหเห็นเปนเอกลักษณเพ่ือการยอมรับ ครั้นตอเมื่อพระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯ ใหรวมกรมชางมหาดเล็ก กรมพิพิธภัณฑมาเปนกรม

3

Page 4: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

ศิลปากร สังกัดกระทรวงวัง มีหนาที่ดูแลรักษาโบราณวัตถุสถานของสยาม และในป พ.ศ. 2456

(ค.ศ.1913) ทรงยกฐานะของ “โรงเรียนหัตถกรรมราชบูรณะ” ใหเปน “โรงเรียนเพาะชาง” ซึ่งเปน

สถาบันการศึกษาที่สอนเก่ียวกับศิลปะแหงแรกของประเทศไทย (พิริยะ ไกรฤกษ, 2544: 9) ซึ่งมี

วัตถุประสงคเพ่ือการสรางชางศิลปใหออกมารับใชในระบบราชการ

! การใชคำศัพทที่มีความหมายเก่ียวกับ "ลาย" นั้น มีปรากฏในบันทึกของ สมเด็จฯกรม

พระยานริศรานุวัดติวงศ ที่กลาวในป 2471 เปนการวิจารณเก่ียวกับ เรื่อง “ครุย วาเขมรเรียก ตรวย

ไทยเรียก กรวย กรุย เพราะพูดเสียง ตร ไมได หมายถึงชื่อเครื่องประดับที่ทำดวยขนสัตวผูกเปนพู

ตอมาทำทองเปนรูปพูแตแบนเหมือนใบโพธิ ์ จนกลายมาเปน ลายเขียนลายทอ ก็ยังเรียกวา

กรวย” (สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาฯ กรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ, 2546: 121. ) นั้นหมาย

ถึง ลายกรวยเชิง ที่ไดใชเรียกกันในปจจุบัน ดังจะสังเกตเห็นการใชคำเรียก ลายที่เปนลายเฉพาะ

แบบชนิดแตละแบบ มิไดกลาวเรียก ลายไทย แตอยางใด หรือแมกระทั่งยังมีบันทึกในเรื่อง “ลาย

ประดับมุกดครั้งกรุงศรีอยุธยานั้น อยางลายอีแปะเปนของผูกขึ้นในรัชกาลพระเจาบรมโกษฐเปน

แน บอกไดวาผูกขึ้นเมื่อครั้งทำบานมุกดวัดพระชินราช ลายกานขดประกอบเทวรูปและลายทรง

พุมขาวบิณฑ “ (สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาฯ กรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ, 2546: 136) จึง

เห็นวาในชวง ระหวาง 2470 - 2480 นั้นยังคงเรียกลายประเภทตางๆอยูนั่นเอง

! แตอยางไรก็ตามในชุดความรูใหมที่ไดมีการศึกษาถึง ลวดลาย ในองคประกอบของศิลปะ

ประเภทตางๆของไทย ไดมีผูศึกษาไวดังปรากฏในผลงานของ สันต ิ เล็กสุขุม ไดเขียนหนังสือเร่ือง

พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณไทย โดยเปนการรวบรวม และอธิบายลาย

กระหนกตั้งแตสมัยทวารวดีถึงปจจุบัน โดยการเริ่มอธิบายถึงสังคมกอนประวัติศาสตร ดวยการ

พิจารณาเทคโนโลยีกับงานประดับลวดลายของชุมชนตางๆกอนประวัติศาสตรที่มีความเชื่อมโยง

กันเชน ทางภาคเหนือสัมพันธกับดินแดนตะวันตกเฉียงใตของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศพมา ภาคตะวันตกและภาคใตของประเทศสาธารณรัฐ

ประชาชนลาว ตอนกลางของประเทศกัมพูชา และตอนใตของประเทศเวียดนามดวย

! ในขอเขียนขางตนยังกลาวถึงชวงการรับวัฒนธรรมศาสนาของดินแดนประเทศไทยในชวง

กอนพุทธศตวรรษที่ 19 วามีความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมศาสนา จากหลักฐานงานชางดานการ

ประดับในวัฒนธรรมทวารวดีราวพุทธศตวรรษที ่ 11 หรือ 12-16 ซึ่งพบมากในภาคกลาง ขณะที่

ภาคอีสานและภาคตะวันออกไดพบรวมกับศิลปะขอมสมัยกอนเมืองพระนคร วัฒนธรรมศรีเกษตร

ในประเทศพมา วัฒนธรรมชวาภาคกลางในประเทศอินโดนีเซีย วัฒนธรรมมีเซินในประเทศ

เวียดนามรวมอยูดวย กลาววาวัฒนธรรมศาสนาเมื่อแรกเขามาในภูมิภาคนี ้ยอมผสมผสานกับพ้ืน

ฐานเดิมของทองถิ่นและพัฒนาจนเปนลักษณะใหมของแตละดินแดน โดยมาจากการรับ

วัฒนธรรมของบุคคลชั้นสูง นั่นหมายถึง การสรางใหเกิดอัตลักษณทางศิลปะมีเหตุผลจากความ

4

Page 5: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

ตองการสรางสัญลักษณแสดงความสำคัญของผูนำใหเกิดการรับรูในเชิงสัญลักษณที่สงผลตอ

ความสำคัญของบุคคล หรือไม !

! นอกจากนั้นยังมีการกลาวถึงคำวา “กระหนก” ที่ใหความหมายเขาใจวาเปนลักษณะลาย

อยางหนึ่งของศิลปะไทย ดวยการอธิบายถึงงานประดับตางๆ มีลวดลายลักษณะหนึ่งปรากฏ โดย

อนุโลมเรียกลายลักษณะนั้นสะกดวา “กระหนก” หรือ “กนก” ก็ตาม แปลวา ทอง เดิมอาจจะหมาย

ถึงตูลายทอง (ตูลายรดน้ำ) มีความหมายถึงงานประดับดวยการปดทองคำเปลว มีลวดลายที่มี

ปลายลายพริ้วไหว คลายเปลวไฟ เรียกวา “ลายทอง” ภายหลังเรียกรวมโดยหมายเฉพาะลักษณะ

ของลวดลายเรียกวา “กระหนก” อยางไรก็ตามไมพบหลักฐานวา "กระหนก" ใชเรียกในความหมาย

ของ"ลายทอง"กันตั้งแตเมื่อใดและเปลี่ยนมาหมายถึง"ลักษณะของลวดลาย"ตั้งแตเมื่อใด อาจจะ

เริ่มเรียกกันในสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยสันติ เล็กสุขม ไดขออนุโลมใชคำวา “กระกนก” ตั้งแตสมัย

ทวารวดีเปนตนมา โดยอางถึงงานวิจัยวา ลวดลายสำคัญนี้คือตนแบบ “กระหนก” ของสมัย

ปจจุบันโดยใชรวมกับคำวา “ลายไทย” ซึ่งเปนคำเกิดใหม คงไมไดมีการใชมากอนสมัยกรุง

รัตนโกสินทร

! จะเห็นไดวาจากงานเขียนดังกลาวยังไมอาจจะอธิบายไดวา ลายไทย นั้นไดถูกกำหนด

เรียก และเปนคำที่อธิบายลักษณะของรูปแบบอะไรบาง มีความหมายครอบคลุมแบบลายอยางไร

นั่นอาจแสดงใหเห็นไดวา การเหมาเรียกงานศิลปะประดับตกแตงลวดลายประดับตั้งแตสมัยทวาร

วดีวาคือ "ลายไทย" นั้น สงผลตอการรับรูของคนในประเทศไทย และระบบการศึกษาทาง

ประวัติศาสตรศิลปไทย หรือการศึกษาศิลปะไทย

!

ลายไทย กับการสรางสำนึกเรื่องชาติไทย

! จากขอสมมติฐานของ สันต ิ เล็กสุขุม เรื่องการใชคำ ลายไทย เพ่ือใหความหมายของ

ลวดลายตางๆ ของศิลปะในประเทศไทยนั้น จึงนำมาสูคำถามอันเปนขอสงสัยเบื้องตนของ

บทความนี้ ดังนั้นการศึกษาคนควาจึงไดมุงไปสูการหาเหตุในการสรางชุดความรูในยุคเริ่มตนการ

กอตั้งระบบการศึกษาทางศิลปะ ตั้งแตชวง ป พ.ศ. 2477 - 2486 ซึ่งเปนชวงของการกอตั้งจาก

โรงเรียนประณีตศิลปกรรม จนกระทั่งเปนมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งในขณะนั้น มีบุคคลสำคัญที่

เกี่ยวของคือ พระสาโรชรัตนนิมมานก (สาโรช สุขยางค) สอนวิชาสถาปตยกรรมไทยและ

ประวัติศาสตรอารยธรรม, พระสรลักษณลิขิต (มุย จัททรลักษณ) สอนวิชาจิตรกรรม,

ศาสตราจารยพระพรหม พิจิตร สอนสถาปตยกรรมไทย, พระเทวาภิินิมมิต (ฉาย เทียมศิลปไชย)

สอนวิชาศิลปไทย, หลวงเทพลักษณเลขา (ละ หุตะพร) สอนวิชาออกแบบและทำฉากละคร, หลวง

วิจิตรวาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤดา) สอนวิชาประวัติศาสตรไทย, ม.จ.สมัยเฉลิม กฤดากร และ

5

Page 6: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

ม.จ.ยาใจ จิตรพงษ สอนวิชาสถาปตยกรรม (สุธ ี คุณาวิชญานนท, 2546: 42) พระยา

อนุมานราชธน และ ศิลป พีระศรี ซึ่งบุคคลทั้งหมดนี้มีความสำคัญตอการเปลี่ยนแปลงแนวคิดทาง

ศิลปะในประเทศไทยเปนอยางมาก

! ชวงเวลาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เปนเวลาที่ศิลปะรวมสมัย และ

การจัดการศึกษาศิลปะยังไมเปนระบบชัดเจน ดวยศิลปะอยูในสถานการณที่ตกต่ำมาก และถูก

มองจากคนทั่วไปวาเปนเพียงชางฝมือที่กำลังเสื่อมคาลงเนื่องจากขาดการสืบทอดความรูที่ดี ขาด

ความนิยม และผูอุปถัมภ มีขอเขียนของ ม.จ.อิทธิเทพสรรค กฤษดากร เรื่อง “การสอนวิจิตรศิลป”

ในชวงป พ.ศ.2476 - 2477 ออกมา(จักรพันธ วิลาสินีกุล, 2547: 101.) และตรงกับความคิดเห็น

บางอยางของ ศิลป พีระศร ี ดังเชน บทความเรื่อง “ประติมากรรมและจิตรกรรมของสยามในยุค

ปจจุบัน” ในป พ.ศ.2481 โดยมีการวิจารณถึงเรื่องสังคม การสนับสนุนสงเสริมใหสังคมมีความรัก

และเห็นคาในงานศิลปะ จากบทความนี้อาจจะสงผลถึงการกอตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ดวย

แนวคิดเรื่องของการสรางใหเกิดชาตินิยม หรือการสรางชาติไทย ซึ่งมีนักวิชาการไดกลาวไวมาก

พอสมควรตอการใชคนควาในมิติอื่นๆ ทั้งนี้ผูเขียนจึงไดรวบรวมคนควาโดยเฉพาะเนื้อหาที่เกี่ยว

กับ ศิลปะไทย ตามที่ไดตั้งประเด็นไว

!

! หากจะพิจารณาถึงสภาวะการดำรงอยู ขององคความรู ในดานศิลปะที ่เก ิดขึ ้นใน

ประเทศไทยขณะนั้น ศิลปะแบบประเพณียังคงมีอยู ดวยการทำงานของชางในสาขาวิชาตางๆใน

แตละภูมิภาคของประเทศไทย ตลอดจนในสถาบันการศึกษา ที่กอตั้งขึ้นเพ่ือผลิตบุคลากรทางชาง

ของไทยมากอนหนานั้น คือ โรงเรียนเพาะชาง ซึ่งผานกาลเวลามา 30 ป แตความรูโดย

ขนบประเพณีนั้นอาจจะยังไมไดสงผลตอแนวคิดตอการสรางความหมายใหกับศิลปะไทยเทากับ

แนวคิดในยุคของการสรางชาตินิยม โดย จอมพล ป. พิบูลสงครามในระหวาง พ.ศ. 2481 - 2487

ซึ่งเปนชวงเวลาเดียวกับการเกิดขึ้นของมหาวิทยาลัยศิลปากร และแนวคิดที่เกิดจากพระยา

อนุมานราชธน ผูมีบทบาทสำคัญในการนำแนวคิดความเปนไทยเขาสูการศึกษา การปลูกฝงความ

รูตางๆ ดังปรากฏการสรางหนังสือ ตำรา บทความ บทวิทยุตางๆ ที่มุงสรางจิตสำนึกเรื่องของชาติ

ไทย และความเปนไทย ดังเชนขอคิดเห็นที่พระยาอนุมานราชธนไดกลาวเรื่อง อะไรคือศิลปากร ใน

การพูดทางวิทยุกระจายเสียงเมื่อ 3 ธันวาคม 2485 เมื่อครั้งดำรงตำแหนงอธิบดีกรมศิลปากร มี

เนื้อหาที่อธิบายถึงความจำเปนของคนที่ควรจะมีเรื่องสุนทรียะ ศิลปะ เขาเปนสวนหนึ่งของการ

ดำรงชีวิตนอกจากการทำมาหาเลี้ยงชีพ หากไมมีศิลปะในชีวิตแลว คนก็ไมตางอะไรกับสัตว และ

เมื่อคนมีศิลปะเปนสวนหนึ่งของชีวิตแลว ยังรูจักยกยองศาสนา รักษาศีลธรรม เลนกีฬา รูจักเชิดชู

วิจิตรศิลปและนาฏศิลปเพื่อกาวหนาทางจิตใจ หากคนรูจักประพฤติดังนี้แลว และมีการสืบตอ

6

Page 7: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

กาวหนาอยางตอเนื่อง ชาตินั้นยอมไดชื่อวามีศิลปะสมบูรณ สงผลใหเกิดวัฒนธรรม (พระยา

อนุมานราชธน, 2517: 15)

! ในขณะนั้น กรมศิลปากรมีหนาที่ดูแลงานดานวิจิตรศิลป 5 ประเภท คือ สถาปตยกรรม

ประติมากรรม จิตรกรรม วรรณศิลปและดุริยางคศิลป โดยทานพระยาอนุมานราชธนไดอธิบาย

ความหมายของ “จิตรกรรม” ดังนี้

"จิตรกรรม คือศิลปะในการวาดเขียนรูปภาพและลวดลายตางๆ" จะเห็นไดวาจากการอธิบาย

ความหมายของจิตรกรรมดังกลาว ทานใชคำวา“ลวดลายตางๆ” โดยมิไดกลาวความหมายชี้ชัดลง

ไปถึงคำวา “ลายไทย” ซึ่งภายหลังจากนี1้ ป ไดมีการจัดทำตำราลายไทยขึ้นโดยมีพระเทวาภินิม

มิต เปนผูดำเนินการรวบรวม เขียน และอธิบายถึงชื่อลายตางๆ

! ตำราลายไทยที่ไดจัดทำขึ้นโดย พระเทวาภินิมมิต ในป พ.ศ.2486 นั้นไดแสดงภาพ

ลวดลายโดยมีการจัดแบงหมวดหมู มีแบบลายตางๆโดยระบุที่มาของลาย เชน ลายที่มาจาก

ดอกบัว จนถึงลายกระหนก ตลอดจนลายประดับตกแตงสถาปตยกรรม ทั้งนี้ผูเขียนเกิดขอสงสัยวา

แบบลายที่ไดรวบรวมเขามาเปนหนังสือนี ้ เปนลายที่มาจากแหลงใด เปนลายที่มาจากแบบศิลปะ

ของชนชาติในดินแดนที่เปนประเทศไทยทั้งหมดหรือไม ซึ่งพระเทวาภินิมมิตทานไดใหขอมูลบาง

สวนไวในคำแถลงเรื่องลายไทยวา

! “ขาพเจาไดรวบรวมเขียนขึ้นตามความเห็นชอบของทานอธิบดีกรมศิลปากร และคนควา

ตามแบบเกามาประกอบกับความทรงจำของตนเองบาง ในระหวาง พ.ศ.2485 ถึง พ.ศ.2486 รวม

เปนจำนวนลายได 234 แบบเปนหนาสมุดได 84 หนา

! ทั้งนี้ ผูเขียนยินดีและรูสึกวาเปนเกียรติอยางย่ิง ในอันที่ไดรับทำหนาที่สรางตำราลาย ซึ่ง

เปนการไดสนองคุณชาติสวนหนึ่งในแงวัฒนธรรมทางศิลป บรรดาลายซึ่งไดรวบรวมไวในสมุดเลม

นี้ อาจมีความคลาดเคลื่อนในชื่อและฝมืออยูบางเพราะชื่อของลายตางๆ ชางในสมัยอดีตทาน

เขียนฝากไวแตฝมือ หาไดบอกชื่อในศิลปนั้นๆ ไวไม ตลอดจนการแตงตำรา จึงเปนอันยากที่จะหา

หลักฐานในเรื่องชื่อของลายตางๆ ไดทั้งหมด แตอยางไรก็ดีขบวนลายของไทยอาจมีจำนวนและวิธี

เขียนพลิกแพลงตางๆมากไปกวาที่มีอยูในสมุดเลมนี ้ เพราะเหตุดวยชางยอมมีความคิดเห็น

ประดิษฐไปไดตางๆ กัน แตในแบบเหลานี้เขียนพ้ืนๆธรรมดา พอเปนแนวศึกษาในเบื้องตนเทานั้น

สวนมากเขียนเปนลายแบบรดน้ำ หาไดมีจุดประสงคที่จะเขียนแยกออกเปนประเภท ๆ เชนเปน

ลายสำหรับปน แกะสลักดวยไม หิน และปกไหม ดิ้น หรือสลักฉลุดวยกระดาษอยางใดไม แตในที่

นี้บางลายอาจนำไปเปนแบบปน แกะ สลัก หรือลายมุขก็ได”

! สิ่งที่ทำใหเห็นชัดเจนที่พระเทวาภินิมมิตไดเขียนไวคือ ชวงเวลาที่ทานไดทำงาน ศึกษา

คนควาลายตางๆ เพ่ือรวบรวมขึ้นเปนตำรา เปนชวงเวลาเดียวกับการสรางแนวคิดเรื่องชาติไทย

ของพระยาอนุมานราชธน ที่ไดสรางแนวคิดในชวงป พ.ศ.2485 ซึ่งขณะนั้นทานมีตำแหนงอธิบดี

7

Page 8: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

กรมศิลปากร จึงมีสวนกำหนดความเปนไทย โดยการสรางอัตลักษณใหกับลวดลายที่ไดกำหนดขึ้น

และรวบรวมเปนแบบมาตรฐานเพื่อการสรางชุดความรู อันสงผลถึงการสนับสนุนแนวคิดเรื่อง

ชาตินิยมใหเกิดขึ้นในสังคมไทยดวยเนื้อหาศิลปะลายไทย ซึ่งเปนนโยบายสำคัญของรัฐบาล

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

! สิ่งที่เกิดขึ้นในยุคของการสรางชุดความรูใหมในสาขาวิชาการดานตางๆ ที่เก่ียวกับการรูจัก

ตนเอง การรูจักความเปนไทย เปนเรื่องใหมในสมัยนั้น ซึ่งแนนอนวาตองอาศัยเวลา การคนควา

รวบรวม จากแหลงขอมูลทั้งบุคคล เอกสาร ของจริงในภาคสนาม เพ่ือใหความรูนั้นปรากฏเปนชุด

ตำราขึ้นมาได และความรูนั้นก็ยอมผานการคัดสรร เลือกเนื้อหาที่ตองการจะบอก ซึ่งบางสวนอาจ

ตองสรางขึ้นมาจากจินตนาการ และแนนอนวายังไมสมบูรณ ดังขอเขียนของกรมพระยาดำรง

ราชานุภาพ ไดเขียนเก่ียวกับ ความคิดของพระองคเจากิติยากรวรลักษณ กรมพระจันทรบุรีนฤนาถ

ตอการกอตั้งโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตรขึ้นเปนโรงเรียนอาชีพ โดยอยูใตการกำกับของกรม

ศิลปากร (ป พ.ศ.2477) ทานไดกลาวถึง “การสอนวิชา จารีตประเพณีไทย และ มหกรรม วาจะ

สอนอยางไร และไดกลาววา วิชาจารีตประเพณีจะแบงออกเปน 3 ตอน คือ

! 1. ประเพณีสวนตัว คือ นับตั้งแต เกิด โกนผมไฟ โกนจุก แตงงาน ตาย ทำศพ !

! 2. ศาสนา มีบวชเณร บวชพระ ทำวิสาขะ มาฆะ เขาพรรษา ออกพรรษา และเทศกาลไหว

พระ

! 3. เก่ียวแกชาติ คือ พระราชพิธีตางๆ

! สำหรับวิชามหกรรม จะจับเปนอยางๆ เชน ละคอน โขน หนัง หุน ลิเก เปนตน ซึ่งใน

จดหมายที่ไดเขียนถึง กรมฯดำรงราชานุภาพนั้น ไดแสดงใหเห็นถึงความกังวลในเรื่องเนื้อหาวิชาที่

ยังไมรูวาจะหาอะไรมาสอน ดวยอาจจะยังอานหนังสือนอย และยังไดอางถึงวา หนังสือที่จะใชเปน

คูมือมีลัทธิธรรมเนียมและพระราชพิธี 12 เดือน ที่พิมพแลวมีอยูมาก แตเรื่องหลังนั้น ไมมีคูมือเลย

นอกจากตำนานเรื่องละคอนอิเหนา ตำรารำ เทานั้น” ซึ่งกรมฯดำรงราชานุภาพก็ไดแสดงความ

เปนหวงอยูเหมือนกัน (นริศรานุวัดติวงศ,สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาฯ กรมพระยา,

2546..69) ดังนั้นพอจะมองภาพการทำงานของบุคคลสำคัญที่มีสวนในการกำหนดความรู ชุดการ

สรางชาติ และความเปนไทย วาตองใชความพยายามสรางใหเกิดขึ้นใหได

! การสรางความชัดเจนในเรื่องของศิลปะไทย และลายไทยใหเปนตำราในการเรียนการสอน

อาจจะสงผลการรับรูถึงความเปนแบบ รูปแบบ แมแบบ ที่เปนการสรางกรอบทางความคิด

จินตนาการ และการสรางสรรค รวมทั้งสงผลตอการมองถึงความตางในศิลปะที่อยูในภูมิภาค ถึง

แมพระเทวาภิมนิมิตจะกลาวออกตัวไวกอนถึงความแตกตางทางศิลปะของภูมิภาคประเทศ แตจะ

มีผูใดเลาที่จะมาวิพากษตอตำราลายไทยในขณะนั้น

8

Page 9: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

! ทั้งนี้สิ่งที่เกิดความยอนแยงทางความคิดของพระยาอนุมานราชธนตอศิลปะ วัฒนธรรม

ยังปรากฏในงานเขียนที่แสดงใหเห็นถึงความเขาใจตอความตางในความเปนภูมิภาค กลาวคือ

“วัฒนธรรมแมในชาติเดียวกัน ก็ยังมีมาตรฐานแตละทองถ่ินไมเทากันหรือเหมือนกันทีเดียว เชน

วัฒนธรรมแหงประเทศไทย ก็มีวัฒนธรรมภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และ

ภาคใต ที่มีไมเทากันหรือผิดแผกกันไปก็เพราะดวยมีสิ่งแวดลอมและเหตุการณในประวัติศาสตร

ไมเทากัน ถาจะเปรียบก็เหมือนกับนิ้วมือ เปนนิ้วดวยกันแตไมเทากัน ถาเราพยายามทำใหนิ้วเหลา

นี้เทากัน นิ้วเหลานั้นก็ทำประโยชนอะไรไมได และก็ทำใหเทากันไมได แมนิ้วเหลานั้นจะแตกตาง

กัน แตถาทำหนาที่ของนิ้วใหประสานกันเปนกันหนึ่งอันเดียวก็จะเปนนิ้วที่มีประโยชนแกสวนรวม

เหตุนี้จึงมีหลักอยูอยางหนึ่งซึ่งเก่ียวกับศิลปะและนำเอาใชกับเรื่องวัฒนธรรมได คือ การเขารวม

เปนอันหนึ่งอันเดียวกันตองมีสิ่งที่แปลกๆตางๆกัน คนไทยที่รวมกันเปนชาติไทยแตละคนมีรูปราง

หนาตาแปลกๆ ตาง ๆ กันและตองมีผูหญิงผูชาย ตองมีเด็กมีผูใหญรวมกัน และเขาไดดีโดยทุกคน

รูจักหนาที่ของตนในสวนรวม จึงจะทำใหสวนรวมมีความเจริญถาหากวามีเทากันหรือเหมือนกัน

หมด ก็จะรวมกันเปนประเทศชาติไมได” (คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ, 2531: 195)

! จากความเห็นของพระยาอนุมานราชธนที่ไดนำมาอางอิงนี้ สายชล สัตยานุรักษ ไดนำมา

วิเคราะหประเด็นเรื่องสังคม วัฒนธรรม ในการใหความสำคัญดานความแตกตางของสังคมชาว

บานในภูมิภาคตางๆของประเทศไทย ตอการสรางวัฒนธรรมแหงชาติไทย และวิเคราะหวาพระยา

อนุมานราชธนไดเนนเรื่อง เมืองและชนบทแตกตางกัน หรือดานการใหการศึกษากับแนวทาง

พัฒนาประเทศของรัฐบาล และวิเคราะหดวยวาการใหการศึกษานั้นมิไดเนนที่ สิทธิพลเมือง

เสรีภาพ ตลอดจนการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจเก่ียวกับทรัพยากรและการควบคุม

ตรวจสอบการใชอำนาจ นอกจากนี ้ สายชล สัตยานุรักษ ไดแสดงความคิดเห็นตอการที่พระยา

อนุมานราชธนใหคนเมืองมองเห็นประโยชนของความเชื่อและพิธีกรรมที่งมงายของชาวบาน ในแง

ที่สามารถชวยการควบคุมทางสังคม โดยมองวาเปนเรื่องของ อุบาย ทำใหชาวบานทำความดีละ

เวนความชั่ว แตไมไดตองการแสดงใหเห็นถึง ภูมิปญญาชาวบาน แตตองการใหรัฐบาลหรือ

ขาราชการมองเห็นขอดีของความเชื่อที่งมงาย จะไดไมทำการเปลี่ยนแปลงชนบทอยางรวดเร็วจน

เกินไป (สายชล สัตยานุรักษ, 2556: 212.)

! สิ่งที่สงผลถึงการรับรูในเรื่องของศิลปะไทย ลายไทยในยุคตอมาคือ การพยายามใสความ

เปนไทยในสิ่งตางๆ ดวยลายไทยอันมีพ้ืนฐานจากความเขาใจที่เกิดจากชุดความรูนั้น เชน การ

ออกแบบสิ่งพิมพ สถาปตยกรรม จิตรกรรม งานประดับตกแตงตางๆ ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ ไดกลาว

เก่ียวกับ ตำรา แบบเรียน วา แบบเรียนไดสรางความคิดแบบสำเร็จใหผูเรียนเกิดการรับรูเขาใจ ใน

การนำไปใชกับประสบการณของตนเอง ถึงแมเปนที ่ยอมรับกันแลววาผู เร ียนสามารถมี

ประสบการณการเรียนรูนอกหองเรียน ในสนามเด็กเลน มากกวาในหองเรียน ซึ่งหากจะศึกษา

9

Page 10: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

ความสำคัญในเรื่องมโนทัศนของคนไทยตอแบบเรียนก็คงจะไมมีประโยชนอะไร (นิธิ เอียวศรีวงศ,

2547: 76-78)

! จากขอคิดเห็นขางตน กระผมมีความคิดเห็นเพ่ิมเติมคือ ถึงแมวาแบบเรียนจะสามารถ

สรางมโนทัศนในเรื่องของสังคม วัฒนธรรม ในประเด็นตางๆได แตในสาระชุดความรูทางดาน

ศิลปะของไทย "ลายไทย"กลับไมอาจจะสรางมโนทัศนไปไดไกลกวารูปแบบที่ปรากฏในตำรา

หนังสือ แบบเรียน หรือแมแตในยุคสังคมออนไลนก็ไมสามารถสรางปรากฏการณไปไดไกลกวา

นั้น เนื่องจากศิลปะไทยในตำรายุคแรกของทศวรรษที ่ 2480 มีรูปแบบปรากฏในลักษณะที่เปน

ศิลปะสำหรับสถาบันกษัตริยและพุทธศาสนาซึ่งไมไดเปนภาพทรงจำในชีวิตประจำวันของคน

ทั่วไปในสังคมเทาใดนัก ศิลปะลวดลายตางๆตามแบบศิลปะไทยตามแบบเรียนจึงไมอาจทำใหผู

เรียน ผูอานและคนในสังคมไทย มองเห็นคุณคา ประโยชนที่จะมีตอการดำรงชีวิตของตัวเองได

จวบจนกระทั่งในปจจุบัน ตำรา แบบเรียน ศิลปะไทยก็เปนไดแคเพียงเสนอแบบลวดลาย ภาพ

ประเภทตางๆ หรือเปนสมุดภาพรวบรวมผลงาน กับประวัติศาสตรศิลปที่มิไดบงบอกเงื่อนไขของ

เหตุผลที่ทำใหศิลปะของไทยปรากฏขึ้น

! หรือแมกระทั่งการจะประเมินผลงานศิลปะไทยในอดีตเพื่อการใหคุณคาตางๆ ก็ไม

สามารถทำไดไปไกลเกินกวาการชื่นชมจนเลอเลิศ โดยใชความคิด และการมองแบบอุดมคติใน

การตีความและยกคุณคาความดีตอเทพยดาหรือครูในอดีต ซึ่งไมแปลกอะไรในเมื่อชุดความรูนี้ได

ถูกครอบไวแลวในยุคเดียวกัน ซึ่งปรากฏในขอเขียนของพระยาอนุมานราชธน ดังไดกลาวถึงการ

แสดงออกทางศิลปะไทย ดานประติมากรรมไทยวา การที่ปฏิมากรรมไดมีรูปและแสดงออกดวย

รูปแบบอุดมคตินั้น เปนศิลปะโดยแท หรือศิลปะบริสุทธิ์ เพราะใหผลกระทบตอความรูสึก

นามธรรม ทางพุทธิปญญา ย่ิงกวาการแสดงออกดวยรูปแบบศิลปะเหมือนจริง ซึ่งไมถือวาเปน

ศิลปะบริสุทธ์ิเชนกัน (พระยาอนุมานราชธน, 2517: 151)

! การแสดงความคิดเห็นในขอความขางตนนั้น ไดสรางรากฐานทางความคิด หรือกรอบทาง

โลกทัศนตอการเรียนรูทางศิลปะไทยในสังคมไทยนับแตนั้นเปนตนมา จึงทำใหผูที่สืบสานตอทาง

ความคิด ผูศึกษาทางศิลปะ ชางผูสรางสรรคไดถูกปลูกฝงใหมีความคิดตอศิลปะไทยวาเปนมรดก

ทางศิลปะ มีความเปนตนแบบใหศึกษา ดังนั้นการจะคิดตั้งคำถามตอผลงานการสรางของคนใน

อดีต หรือจากครูจึงมิอาจจะเกิดขึ้นไดโดยงาย จึงทำใหกรอบคิดนี้ กลายเปนโครงสรางหลักอันฝง

แนนในสังคมการศึกษาทางศิลปะไทย เปนการชื่นชมตามสุนทรียรสทางศิลปะของโบราณ และ

ทำการลอกเลียนรูปรางที่ปรากฏ หรือการยักยายถายเทผสมผสานจากศิลปะที่มาจากตนกำเนิดที่

หลากหลาย ใหมาผสมผสานแตอาจไมเขากันนักและไมเห็นถึงความคิดของสังคมในปจจุบัน ซึ่ง

ธเนศ วงศยานนาวา (ธเนศ วงศยานนาวา, 2556: 241) ไดกลาววา ในสภาวะสมัยใหม

(modernity) มีงานวิชาการมากมายที่ไดเสนอความจริงอันเคลือบดวยสิ่งไมบริสุทธ์ิ เชน ความรู

10

Page 11: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

และอำนาจ การวิพากษอุดมการณ เรียกวาสภาวะหลังสมัยใหมเปนกรอบคิดที่ไมใชเรื่องของการ

คนพบ (discovery) ในทางกลับกันนั้น เปนการถูกสรางขึ้น เชน แนวความคิดเชื้อชาตินิยม

! สิ่งที่เนนย้ำใหเห็นแนวคิดของชาตินิยมความเปนศิลปะไทยโดยพระยาอนุมานราชธน ยัง

ปรากฏการอธิบายถึงการรับรูของคนในสังคมยุคที่เริ่มจะมีการการรับศิลปะแบบของตะวันตก เมื่อ

เปรียบเทียบกับการรับรูของคนในสังคมไทย และมีการวิจารณศิลปะไทยจากสังคม โดยกลาวไววา

“...เขียนอะไรก็ไมรู เปนวงกลมๆ สองวงแปะติดไวที่อกของรูปนางในวรรณคดี ไมเห็นเหมือนของ

จริงสักนิด สูรูปของฝรั่งไมได ของเขาเหมือนของจริงดีกวา อยางนี้เปนวิจารณเพ่ือย่ำยี ไมวาชาง

เขียนไมรูจักวาวงกลมๆ นั้นหมายความวาอะไร ก็เขียนไดแตไมเขียน เขาตองการรักษาศิลปแบบ

เดิมไวเพ่ือการสืบตอ เขาไมไดดูหมิ่นติของโบราณ แตเขาบูชาเปนอยางบูรพาจารยเปนชนิดที่ฝรั่ง

เรียกวา Classical Arts คือศิลปแบบครู ถาจะใหชางเขาเขียนศิลปแบบเกา ก็ตองเปนแบบเกา ไม

เอาแบบใหมเขาไปปะปน เชนเขียนรูปนางเปนอยางเกา ก็ตองปลอยรางกายทอนบนไวไมสวม

เสื้อ...” (พระยาอนุมานราชธน, 2517: 15) จากขอวิจารณนี้แสดงใหเห็นถึงแนวคิดในดานการให

ความสำคัญตอศิลปะของไทยในการสืบตอมาจากศิลปะจากโบราณอยางตอเนื่องของไทย และ

สะทอนใหเห็นถึงการรับรูของคนในสังคมขณะนั้น ตอการเปดรับศิลปะจากตะวันตกในแบบเหมือน

จริงของมนุษย

! พระยาอนุมานราชธน ยังไดพูดถึงความสูงสงของศิลปะวา “..ศิลปเปนเครื่องชักจูงโนม

นอมใจ ศิลปเปนเครื่องมือดีที่สุดสำหรับอมรมจิตใจการศึกษาแกพลเมืองใหมีคุณงามความดี

ประจำใจอยูเปนนิจ ความขอนี้โบราณทานก็คิดเห็น ทานจึงไดมีการทะนุบำรุงวิชาชางฝมือสืบตอ

กันมาไมใหขาดสาย..” (พระยาอนุมานราชธน, 2517: 27)

! “เราเปนทายาทในบัดนี ้ ก็ใหสนองคุณชาต ิ กำลังขะมักเขมนชวยกันสรางชาติ ศิลปที่เปน

มรดกตกทอดมาถึงเรา คือของเกาที่ดีๆ เราก็รักษาหวงแหนและทะนุถนอมบำรุงไมใหทิ้งขวางไป

เสียขางไหนยังอยูโดยบริบูรณแตการรักษาสืบตอนั้น ถาเปนแตรักษาไมมีปรับปรุงบำรุงให

กาวหนา ก็ตองมีเปลี่ยนแปลงแกไข ปรับใหเขากับความเจริญและเหตุการณของโลก จึงจะเอาตัว

รอดเหลืออยูได ทิ้งทอดหรือหยุดอยูกับที่ ก็มีแตความเสื่อมเปนธรรมดาไมวาอะไรทั้งหมด ดูแตน้ำ

เถิด ถามันขังดองอยู ไมมีทางไหลเขาไหลออก ไมมีน้ำใหมเขามาและไมมีน้ำเกาออกไปถายเทกัน

ตามสวน น้ำนั้นก็ตองเนา ไมเนาเปลายังเปนที่เพาะยุงซึ่งรายกวาเสียอีกดวย น้ำฉันใดวิจิตรศิลปก็

ฉันนั้น” (พระยาอนุมานราชธน, 2517: 28) จากขอความดังกลาวของ พระยาอนุมานราชธนจึง

ทำใหเห็นเจตนาในการสรางกระบวนการศึกษา รวมทั้งทางดานศิลปะของไทยใหเผยแพร แก

ประชาชนในสังคมไทยไดรับรูถึงมรดกอันทรงคุณคาที่อยูในดินแดนของประเทศไทย เกิดจิตสำนึก

ของความเปนชาติไทย เกิดรสนิยมทางศิลปะของไทยที่เปนแนวทางเดียวกัน

11

Page 12: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

F แตอยางไรก็ตามแนวคิดในการสรางความเปนไทยดวยศิลปะไทยนั้น ยังมีขอยอนแยงใน

ความคิดของพระยาอนุมานราชธน กลาวคือ การสรางตำราลายไทยเมื่อ พ.ศ 2456 ขึ้นมา อาจจะ

สงผลใหคนในสังคมไทยขณะนั้นมีคำถาม หรือขอสงสัยตอรูปแบบของลวดลายที่อยูในตำรานั้นวา

เมื่อเรียกลวดลายในตำรานั้นแลวตีความวาเปนลายไทย หากลายที่มิไดอยูในแบบนั้นจะเปนลาย

ไทยหรือไม อีกทั้งความคิดของพระยาอนุมานราชธนในเรื่องของการแบงภูมิภาคของประเทศใน

เรื่องประเพณีหรือสิ่งอื่นๆ ยังมิอาจสามารถจัดแบงไดอยางชัดเจน โดยทานไดเปรียบเปรยไววา ไม

อาจแบงไดเหมือนแบงขนมเปนชิ้นๆ เนื่องจากภาคตางๆมีสิ่งแวดลอมที่เหลื่อมล้ำกัน เหมือนสีของ

รุงกินน้ำที่บอกไมไดวาสวนที่แบงสีกันใน 7 สีนั้นเปนสีอะไรเพราะสีมีความเหลื่อมกัน เรื่องของ

ประเพณีหรือไมวาเรื่องอะไร จะแบงสรรปนสวนออกเด็ดขาดจริง ๆ ไมได เชน ศิลปะที่เปนภาพ

เปลือย อยางไรเปนอนาจารและไมอนาจาร เปนตน (พระยาอนุมานราชธน, 2517: 208)

ภาพของลายไทยในสังคมไทยยังคงมีอยูและรับรูไดเปนแบบเดียวกัน ไมวาจะปรากฏใน

แบบเรียนของภูมิภาคใดในประเทศไทย คนในสังคมที่ไดผานระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน

ลวนเขาใจเปนแนวทางเดียวกัน ถึงรูปแบบที่ปรากฏของลายไทย แตเปนที่นาแปลกหากจะกลาว

วา มีคนจำนวนนอยคนในสังคมไทยที่สามารถนำลายไทยที่ไดถูกสรางขึ้นในกระบวนการรับรูจาก

ชุดความรูที่ตกทอดมาสูสังคมไทยในปจจุบันมาพัฒนาตอในทางการศึกษา ทางศิลปศึกษา หรือ

แมกระทั่งทางการสรางสรรคทางศิลปะไทยที่กลายเปนวา ความงามทางลวดลายของศิลปะทอง

ถ่ินที่อยูตามแหลงเรียนรูตางๆ นั้นมิอาจจะเรียกวา ลายไทยได ซึ่งเปนส่ิงที่ทำใหเกิดการแบงแยก

ทางความคิด การรับรูในเรื่องของศิลปะขึ้น อีกทั้งในสังคมรวมสมัยที่มีการรับรูผานสื่ออันทรงพลัง

และมีความเร็วแตกตางจากในสังคมยุคทศวรรษที ่ 2486 ในดานการใหชุดความรูใหมตอความ

เปนศิลปะของไทย ดวยการสงเสริมภาพลักษณตางๆ ของศิลปน การประกวดแขงขันตางๆ การนำ

เสนอความเปนไทยผานการจัดแสดงศิลปกรรมนานาชาต ิ การใชศิลปะไทยใหเปนจุดขายเพ่ือการ

สงเสริมการทองเที่ยว และอื่นๆ มันทำใหเห็นการละทิ้ง ละเลยมรดกทางศิลปะของความเปนพ้ืน

ถ่ิน ชาติพันธุ ที่ตางก็มีการกระจายตัวตามภูมิภาค มีความเปนตนเองและมีความเปนมายาวนาน

เชนเดียวกับชุดตำราลายไทยที่ยังคงฝงแนนในความคิดของคนในสังคมไทย

รายการอางอิง

คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. 2531. 100 ป พระยาอนุมานราชธน. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร ! พรินติ้งกรุพ จำกัด.จักรพันธ วิลาสินีกุล. 2547. พลังการวิจารณ :ทัศนศิลป. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร.ธเนศ วงศยานนาวา. 2552.ศิลปะกับสภาวะสมัยใหม: ความยอนแยงและความลักลั่น.กรุงเทพฯ: ! ภาพพิมพ.ธเนศ วงศยานนาวา. 2556. ม(า)นุษยโรแมนติก. กรุงเทพฯ: สยาทปริทัศน.

12

Page 13: ลายไทย หรือลายใคร โดย ศุภชัย อารีรุ งเรือง สาขาวิชาศิลปศึกษา¸„ลิกที่นี่20.pdf ·

นิธิ เอียวศรีวงศ. 2547. ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุสาวรีย วาดวยวัฒนธรรม, รัฐ และ ! รูปการจิตสำนึก. พิมพครั้งที่2. กรุงเทพฯ: มติชน.ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. 2555. ภาษาของจิตรกรรมไทย, ใน ปญญา วิจินธนสาร: ! ปรากฏการณศิลปะไทยรวมสมัย, จักรพันธ วิลาสินีกุล,บรรณาธิการ.กรุงเทพฯ: ชมนาถพระยาอนุมานราชธน. 2517. การศึกษาศิลป-ประเพณี. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร.พระเทวาภินิมมิต. 2486. สมุดตำราลายไทย.กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.พิริยะ ไกรฤกษ. 2544. อารยธรรมไทยพ้ืนฐานทางประวัติศาสตรศิลปะ เลม1 ศิลปะกอนพุทธ ! ศตวรรษที่ 19. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพรินติ้งแอนดพับลิซซิ่ง.สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ,2406-2490. 2546. สาสนสมเด็จ ! เลม2.พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ,องคการคาคุรุสภา.สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ 2406-2490. 2546. สาสนสมเด็จ ! เลม5.พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา.สายชล สัตยานุรักษ. 2556. พระยาอนุมานราชธน ปราชญสามัญชนผูนิรมิต “ความเปนไทย”. ! กรุงเทพฯ: มติชน.สุธี คุณาวิชยานน.2546.จากสยามเกาสูไทยใหม วาดวยความพลิกผันของศิลปะจากประเพณี สู ! สมัยใหมและรวมสมัย.กรุงเทพฯ: บานหัวแหลม.42.สันติ เล็กสุขุม. 2553. พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณไทย.กรุงเทพฯ: เมือง ! โบราณ.

13