บทที่ 5...94 5.1.4 ล ป ดเบ ดเตล ด (miscellaneous lipid) สารอ...

28
บทที5 ลิปิ ด ลิปิดเป็นสารอาหารที ่ให้พลังงานสูงกว่าสารอาหารอื ่นในน ้าหนักที ่เท่าๆกัน มีธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบแต่สัดส่วนของ ไฮโดรเจน ต่อออกซิเจนไม่ เป็น 2 ต่อ 1 เหมือนคาร์โบไฮเดรต ลิปิดสะสมอยู่ใต้ผิวหนังสัตว์ มันหมู มันวัว เนย พบสะสมอยูในเมล็ดพืช เช่น ถั ่วลิสง ถั่วเหลือง ปาล์ม ข้าวโพด ละหุ่ง มะพร้าว ดังนั ้นร่างกายจึงไม่ควร รับประทานลิปิดในปริมาณที ่มากจนเกินไป ร่างกายควรได้รับไขมันวันละร้อยละ 25-35 ของ แคลอรีทั้งหมดที ่ได้รับ สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา (American Heart Association) ได้ แนะนาให้บริโภคไขมันไม่เกินร้อยละ 35 ของพลังงานที ่ได้รับในแต่ละวัน โดยเป็นไขมันที ่มีกรด ไขมันไม่อิ่มตัวไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 และเป็นกรดไขมันอิ่มตัวไม่เกินร้อยละ 10 ในการปรุง อาหารโดยเฉพาะประเภทผัด ทอดใช้ลิปิดกลุ่มไขมันช่วยเพิ่มรสชาติทาให้อาหารมีกลิ่นหอมน่า รับประทาน ไขมันที ่อยู่ในสภาพของเหลวในอุณหภูมิปกติ เรียกว่า น ้ามัน ถ้าอยู่ในสภาพของแข็ง เรียกว่า ไข หรือ ไขมัน แม้ต้องจากัดปริมาณการบริโภคไขมันแต่ร่างกายขาดไขมันไม่ได้ 5.1 โครงสร้างทางเคมีของลิปิ ด ลิปิดแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 5.1.1 ลิปิดธรรมดา ลิปิดอย่างง่าย หรือลิปิดเชิงเดี่ยว (simple lipid) ลิปิดนี ้ประกอบด้วยธาตุ 3 ธาตุคือ คาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจนเท่านั้น ลิปิดชนิดนี ้เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างแอลกอฮอล์กับกรดไขมัน ทั้งนี ้ลิปิดธรรมดาที ่เกิดจากกรด ไขมันกับแอลกอฮอล์ที ่ชื ่อว่า กลีเซอรอล (glycerol) หรือกลีเซอริน (glycerin) โดยการขับ ้าออก (condensation) การทาปฏิกิริยาระหว่างกรดไขมันกับกลีเซอรอลได้ 3 ลักษณะและได้ เอซิลกลีเซอรอล (acylglycerol) หรือ กลีเซอร์ไรด์ (glyceride) 3 ชนิด ดังนี 5.1.1.1 โมโนกลีเซอร์ไรด์ (monoglyceride) เกิดจากกลีเซอรอล 1 โมเลกุลทาปฏิกิริยากับกรดไขมัน 1 โมเลกุล 5.1.1.2 ไดกลีเซอร์ไรด์ (diglyceride) เกิดจากกลีเซอรอล 1 โมเลกุลทาปฏิกิริยากับกรดไขมัน 2 โมเลกุล 5.1.2.3 ไตรกลีเซอร์ไรด์ (triglyceride) เกิดจากกลีเซอรอล 1 โมเลกุลทาปฏิกิริยากับกรดไขมัน 3 โมเลกุล

Transcript of บทที่ 5...94 5.1.4 ล ป ดเบ ดเตล ด (miscellaneous lipid) สารอ...

  • 91

    บทท่ี 5 ลิปิด

    ลิปิดเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานสูงกว่าสารอาหารอื่นในน ้ าหนักที่เท่าๆกัน มีธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบแต่สดัส่วนของ ไฮโดรเจน ต่อออกซิเจนไม่เป็น 2 ต่อ 1 เหมอืนคาร์โบไฮเดรต ลปิิดสะสมอยู่ใต้ผวิหนังสตัว์ มนัหมู มนัววั เนย พบสะสมอยู่ในเมล็ดพืช เช่น ถัว่ลิสง ถัว่เหลือง ปาล์ม ข้าวโพด ละหุ่ง มะพร้าว ดังนั ้นร่างกายจงึไม่ควรรบัประทานลิปิดในปรมิาณที่มากจนเกินไป ร่างกายควรได้รบัไขมนัวนัละร้อยละ 25-35 ของแคลอรีทัง้หมดที่ได้รบั สมาคมโรคหวัใจแห่งสหรฐัอเมรกิา (American Heart Association) ได้แนะน าให้บรโิภคไขมนัไมเ่กนิรอ้ยละ 35 ของพลงังานทีไ่ด้รบัในแต่ละวนั โดยเป็นไขมนัที่มกีรดไขมันไม่อิม่ตัวไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 และเป็นกรดไขมนัอิม่ตัวไม่เกินร้อยละ 10 ในการปรุงอาหารโดยเฉพาะประเภทผัด ทอดใช้ลิปิดกลุ่มไขมนัช่วยเพิ่มรสชาติท าใหอ้าหารมกีลิน่หอมน่ารบัประทาน ไขมนัทีอ่ยู่ในสภาพของเหลวในอณุหภูมปิกต ิเรยีกว่า น ้ามนั ถ้าอยู่ในสภาพของแขง็เรยีกวา่ ไข หรอื ไขมนั แมต้้องจ ากดัปรมิาณการบรโิภคไขมนัแต่รา่งกายขาดไขมนัไมไ่ด้

    5.1 โครงสร้างทางเคมีของลิปิด ลปิิดแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก ่ 5.1.1 ลิปิดธรรมดา ลิปิดอย่างง่าย หรือลิปิดเชิงเด่ียว (simple lipid)

    ลปิิดนี้ประกอบด้วยธาตุ 3 ธาตุคอื คาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจนเทา่นัน้ ลปิิดชนิดนี้เกดิจากปฏิกริยิาระหว่างแอลกอฮอล์กบักรดไขมนั ทัง้นี้ลิปิดธรรมดาที่เกดิจากกรดไขมนักบัแอลกอฮอล์ทีช่ ื่อว่า กลเีซอรอล (glycerol) หรอืกลีเซอรนิ (glycerin) โดยการขบัน ้าออก (condensation) การท าปฏิกริยิาระหวา่งกรดไขมนักบักลีเซอรอลได้ 3 ลกัษณะและได้เอซลิกลเีซอรอล (acylglycerol) หรอื กลเีซอรไ์รด์ (glyceride) 3 ชนิด ดงันี้ 5.1.1.1 โมโนกลีเซอรไ์รด์ (monoglyceride)

    เกดิจากกลเีซอรอล 1 โมเลกลุท าปฏกิริยิากบักรดไขมนั 1 โมเลกลุ 5.1.1.2 ไดกลีเซอรไ์รด์ (diglyceride)

    เกดิจากกลเีซอรอล 1 โมเลกลุท าปฏกิริยิากบักรดไขมนั 2 โมเลกลุ 5.1.2.3 ไตรกลีเซอรไ์รด์ (triglyceride)

    เกดิจากกลเีซอรอล 1 โมเลกลุท าปฏกิริยิากบักรดไขมนั 3 โมเลกลุ

  • 92

    กลีเซอร์ไรด์ที่พบมากที่สุดคอื ไตรกลีเซอร์ไรด์ ได้แก่ ไขมนัและน ้ ามนัที่ใช้ในการปรุงอาหาร เชน่ ไขมนัหม ูน ้ามนัพชืต่างๆ ลิปิดชนิดนี้เรยีกว่าเป็นไขมนัหรอืน ้ ามนักแ็ล้วแต่วา่ขึน้อยู่กบัสถานะทีอ่ณุหภูม ิ25 องศาเซลเซยีส ลปิิดนี้พบในเนื้อสตัวโ์ดยอยู่รวมกนัเป็นกอ้นมนัหรอือาจแทรกอยู่ตามส่วนต่างๆของร่างกาย บางครัง้จงึเรยีกลปิิดนี้ว่า ไขมนัธรรมชาต ิ (natural fat)

    ภาพท่ี 5.1 ปฏิกริยิาการเกดิไตรกลเีซอรไ์รด์

    ทีม่า (Lea, 2002)

    5.1.2 ลิปิดประกอบ (compound lipid) ลิปิดธรรมดาที่รวมอยู่กับสารอื่น เช่น รวมตัวอยู่กับคาร์โบไฮ เดรต กรด

    ฟอสฟอรกิหรอืสารประกอบพวกไนโตรเจน ตวัอย่างของลปิิดกลุ่มนี้ ได้แก ่ฟอสโฟลิปิด ไกลโค-ลปิิดและไลโปโปรตนี (lipoprotein) 5.1.2.1 ฟอสโฟลิปิด (phospholipid)

    เรยีกอกีชื่อวา่ ฟอสโฟกลเีซอไรด์ (phosphoglyceride) หรอืฟอสฟาไทด์ (phosphatide) สารที่พบมากในเยื่อหุ้มเซลล์พืชและสตัว์ (ภาพที่ 5.2) เนื้อเยื่อประสาทและไข่แดง สารนี้ประกอบด้วยกรดไขมนั 2 โมเลกุล ฟอสเฟตและแอลกอฮอล์ บางครัง้เรยีกสารนี้ว่า

  • 93

    ฟอสโฟกลีเซอรไ์รด์ (phosphoglyceride) ตัวอย่างกรดไขมนัชนิดนี้ ได้แก่ เลซทินิ (lecithin) ในไขแ่ดง

    ภาพท่ี 5.2 โครงสรา้งของฟอสโฟลปิิดในเยื่อหุม้เซลล์ ทีม่า ทีม่า (Lea, 2002)

    5.1.2.2 ไกลโคลิปิด (glycolipid) สารที่พบมากในเซลล์สมองและเส้นประสาท ไต ตับ ม้ามประกอบด้วย

    กรดไขมนั กลเีซอรอล คารโ์บไฮเดรตและแอลกอฮอล์ ตวัอย่างกรดไขมนัชนิดนี้ ได้แก ่ซรีโีบร+ไซด์ (cerebroside) แกงกลโิอไซด์ (ganglioside) 5.1.2.3 ไลโปโปรตีน (lipoprotein)

    ไลโปโปรตีนพบในกระแสโลหติ (plasma) ประกอบด้วยโปรตนีกบัลิปิด ไลโปรโปรตีนแต่ละชนิดมสี่วนประกอบคอื โปรตนี ฟอสโฟลิปิด โคเลสเทอรอลและไตรกลีเซอร์ -ไรด์ ไลโปรโปรตนีเหล่านี้ท าหน้าทีใ่นการขนส่งไขมนัในรา่งกายและเป็นสว่นประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ 5.1.3 อนุพนัธ์ลิปิด (derived lipid)

    ลปิิดที่ได้จากการแตกตัวของไลปิดธรรมดาหรอืไลปิดประกอบ เช่น กรดไขมนั กลเีซอรอล

  • 94

    5.1.4 ลิปิดเบด็เตลด็ (miscellaneous lipid) สารอนิทรยี์ทีม่สีมบตัคิล้ายลปิิดทีพ่บในธรรมชาต ิ ได้แก ่

    5.1.4.1 สเตอรอยด์ (steroid) อนุพันธ์ของไซโคลเพนทาโนเพอร์ไฮโดรฟีแนนทรีน นิ วเคลียส

    (cyclopentanoperhydrophenanthrene nucleus) ที่ม ีความส าคัญต่อสัตว์ชัน้สูง เช่น ฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิง (testosterone and progesterone) (ภาพที ่5.3) ตามล าดับเออรโ์กส-เตอรอล (ergosterol) สงัเคราะหว์ติามนิดีได้เมือ่ได้รบัรงัสอีุลตราไวโอเลต (ultraviolet light) จากแสงแดด เป็นต้น

    คอเลสเตอรอล (cholesterol) (ภาพที่ 5.4) ที่พบในเยื่อหุ้มเซลล์สัตว์สังเคราะห์ได้ที่ตับและที่ผนังของล าไส้เล็ก ถ้ารับประทานไขมันมากร่างกายลดการสร้ างโคเลสเตอรอลเพื่อรกัษาดุลยภาพของโคเลสเตอรอลในตับและในน ้ าเลือด โคเลสเตอรอลเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ประสาท บางส่วนน าไปเปลี่ยนเป็นวติามินดี การรับประทานอาหารที่มไีขมนัไม่อิม่ตัวและคอเลสเตอรอลสูงท าให้มคีอเลสเตอรอลไปสะสมทีผ่นังหลอดเลือดจนอดุตนัในทีส่ดุท าใหเ้กดิความดนัโลหติสงูและโรคหวัใจขาดเลอืด

    5.1.4.2 เทอรปี์น (terpene) สารที่พบในน ้ ามันหอมระเหย (essential oil) จากพืช เช่น geraneol

    farnesol phytol เป็นต้น

    ภาพท่ี 5.3 ฮอรโ์มนทีผ่ลติได้จากโคเลสเตอรอล ทีม่า (Lea, 2002)

  • 95

    ภาพท่ี 5.4 โคเลสเตอรอล

    ทีม่า (Lea, 2002)

    5.2 กรดไขมนั ลิปิดต่างมีกรดไขมนัเป็นองค์ประกอบและสมบัติของลิปิดเหล่านี้ เปลี่ยนแปลงไปตามสมบัติของกรดไขมนัที่เป็นองค์ประกอบ ซึ่งกรดไขมนัเป็นกรดอนิทรยี์ที่ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซเิจน โดยมกัมจี านวนคาร์บอนเป็นเลขคู่ตัง้แต่ 2 อะตอมขึ้นไป มสีูตรทัว่ๆไปคอื R-COOH กรดไขมนัเป็นส่วนประกอบทีส่ าคญัของลิปิดเกอืบทุกชนิด กรดไขมนัแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คอื การใชจ้ านวนคารบ์อนในโมเลกลุเป็นเกณฑ์ และการใชโ้ครงสรา้งเป็นเกณฑ์

    5.2.1 การแบ่งกรดไขมนัโดยใช้จ านวนคาร์บอนในโมเลกุล แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

    5.2.1.1 กรดไขมนัชนิดท่ีมีโมเลกลุขนาดสัน้ (short chain fatty acid) หรอืมีจ านวนคารบ์อนอะตอมน้อยกวา่ 12

    5.2.1.2 กรดไขมนัชนิดท่ีมีโมเลกุลขนาดกลาง (medium chain fatty acid) หรอืมจี านวนคารบ์อนอะตอมระหวา่ง 12-16

    5.2.1.3 กรดไขมนัชนิดท่ีมีโมเลกลุขนาดยาว (long chain fatty acid) หรอืมีจ านวนคารบ์อนมากกวา่ 16

    5.2.2 การแบ่งกรดไขมนัโดยใช้โครงสร้างเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 5.2.2.1 กรดไขมนัชนิดอ่ิมตวั (saturated fatty acid)

    กรดไขมนัที่คาร์บอนในโมเลกุลมไีฮโดรเจนจบัเกาะอยู่เต็มที่แล้ว ไม่สามารถรบัไฮโดรเจนหรอืธาตุอื่นใดเข้าไปในโมเลกุลได้อกี แขนละ 1 อะตอมหรอืเรยีกวา่จบักนัด้วยพันธะเดี่ยว (single bond) มสีูตรทัว่ไปคอื R-COOH โดยที่ R เท่ากบั CnH2n+1 และ n เป็น

  • 96

    ตวัเลขที่แสงถึงคาร์บอนอะตอม กรดไขมนัชนิดนี้พบมากในไขมนัสตัว์ มจีุดหลอมเหลวสูงกว่ากรดไขมนัไมอ่ิม่ตวั (ตารางที ่5.1)

    5.2.2.2 กรดไขมนัชนิดไม่อ่ิมตวั (unsaturated fatty acid) กรดไขมันที่ม ีพันธะคู่ (double bond) หรือพันธะสาม (triple bond)

    ระหว่างอะตอมของคาร์บอนบางตัว กรดไขมนัชนิดนี้มจีุดหลอมเหลวต ่าและมพีันธะคูม่ากจงึถูกเปลี่ยนแปลงจากปฏิกริ ิยาออกซิเดชนั (oxidation) ได้ง่ายจากออกซิเจนเข้าท าปฏิกริยิาตรงต าแหน่งพันธะคู่เกิด เป็นสารเพอร์ออกไซด์ (peroxide) ท าให้เกิดการเหม็นหืน (rancidity) อย่างไรกต็ามพบวา่ไขมนัทีไ่มอ่ิม่ตัวมากกลับมกีลิน่หนืชา้เพราะมวีติามนิอ ีในทางอตุสาหกรรมอาหารมกัเติมสารกันหนืลงไป เช่น BHT (butylated hydroxyl toluene) หรอื BHA (butylated hydroxyl anisole) กรดไขมนัชนิดไม่อิม่ตัวมคีวามส าคญัมากเนื่องจากเป็นกรดไขมนัที่ร่างกายไมส่ามารถสงัเคราะหข์ ึ้นใชเ้องได้ ต้องได้รบัจากอาหาร กรดไขมนัพวกนี้ เช่น กรดไลโนเลอคิ กรดไลโนเลนิค และกรดอะราชโิดนิค (ตารางที ่5.1) เป็นต้น

    5.2.3 การแบ่งกรดไขมนัตามหลกัโภชนาการ การแบ่งกรดไขมนัตามความต้องการของรา่งกาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 5.2.3.1 กรดไขมนัท่ีจ าเป็นต่อร่างกาย (essential fatty acid) กรดไขมันชนิดจ าเป็นต่อร่างกายหรือที่ร่างกายสังเคราะห์เองไม่ได้ ต้องได้รบัจากอาหารนี้ม ี 3 ชนิด คอื กรดไลโนเลอคิ กรดไลโนเลนิค และกรดอะราชโิดนิค แต่ภายหลังได้พบว่า กรดไลโนเลอคิและกรดอะราชิโดนิคเท่านั ้น ที่จ าเป็นส าหรับร่างกายมนุษย์ ส่วนกรดไลโนเลนิคนัน้พบว่าจ าเป็นส าหรบัสตัว์ เช่น พวกหนูทดลองและยังได้พบอกีวา่กรดอะราชโิดนิคนัน้ รา่งกายมนุษย์สามารถสงัเคราะหจ์ากกรดไลโนเลอคิได้ ดงันัน้จงึมเีพยีงกรดไลโนเลอคิเทา่นัน้ทีจ่ าเป็นต้องได้รบัจากการรบัประทานอาหารเทา่นัน้

    กรดไลโนเลอคิ (linoleic acid) ซึ่งมคีวามส าคญัต่อการเจรญิเติบโตของเด็กทารกมอีาการขาดกรดไขมนัจ าเป็นได้ง่ายกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเด็กมไีขมนัสะสมน้อยกว่า ในเดก็ทารกทีม่อีาการของโรคผวิหนังและน ้าหนักลด เนื่ องจากได้รบัอาหารทีม่ไีขมนัต ่ารกัษาให้หายได้โดยให้กรดไลโนเลอคิ กรดไลโนเลอคิใช้ในการสงัเคราะห์ฮอร์โมนหลายชนิด ตลอดจนเกีย่วขอ้งกบัการขนสง่และเมแทโบลิซมึของโคเลสเตอรอลด้วย กรดไลโนเลอคิพบมากในน ้ามนัถัว่เหลอืง น ้ ามนัข้าวโพด น ้ ามนัดอกค าฝอยและน ้ามนัร าข้าว การขาดกรดไขมนัที่จ าเป็นท าให้เกดิอาการทีส่งัเกตได้คอื ผวิหนักแตกและตดิเชือ้โรคได้งา่ย 5.2.3.2 กรดไขมนัท่ีไม่จ าเป็นต่อร่างกาย (nonessential fatty acid)

    กรดไขมนัที่รา่งการสงัเคราะห์ได้เอง เช่น กรดปาล์มมติิก กรดสเตยีรกิ เป็นต้น (ตารางที ่5.2)

  • 97

    ตารางท่ี 5.1 ชนิดของกรดไขมนัทัง้ชนิดอิม่ตวั ไมอ่ิม่ตวัและแหล่งทีพ่บมาก กรดไขมนั สตูร แหล่งท่ีพบ

    กรดไขมนัอ่ิมตวั กรดบิวไทริก (butyric acid)

    C3H7COOH (C4H8O2)

    เนย

    กรดคาโปรอกิ (Caproic acid)

    C5H11COOH (C6H12O2)

    เนย น ้ามนัปาลม์ น ้ามนัมะพร้าว

    กรดคาไปรลกิ (caprylic acid)

    C7H15COOH (C8H16O2)

    เนย น ้ามนัปาลม์ น ้ามนัมะพร้าว

    กรดคาปริก (capric acid)

    C9H19COOH (C10H20O2)

    เนย น ้ามนัมะพร้าว

    กรดลอริก (lauric acid)

    C11H23COOH (C12H24O2)

    น ้ามนัมะพร้าว ไขปลาวาฬ

    กรดไมริสติก (myristic acid)

    C13H27COOH (C14H28O2)

    น ้ามนัมะพร้าว ลกูจนัทน์เทศ

    กรดปาลมติิก (palmitic acid)

    C15H31COOH (C16H32O2)

    ไขมนัจากพชื สตัว ์

    กรดสเตียริก (stearic acid)

    C17H35COOH (C18H36O2)

    ไขมนัจากพชื สตัว ์

    กรดอะราคดิกิ (arachidic acid)

    C19H39COOH (C20H40O2)

    น ้ามนัถัว่ลสิง

    กรดไขมนัไม่อ่ิมตวั กรดปาลมโิตเลอกิ (palmitoleic acid)

    C15H29COOH (C16H30O2)

    ไขมนัจากพชื สตัว ์

    กรดโอเลอกิ (oleic acid)

    C17H33COOH (C18H34O2)

    ไขมนัจากพชื สตัว ์

    กรดไลโนเลอกิ (linoleic acid)

    C17H31COOH (C18H32O2)

    น ้ามนัเมลด็ฝ้าย น ้ามนัดอกค าฝอย

    กรดไลโนเลนิก (linolenic acid)

    C17H29COOH (C18H30O2)

    น ้ามนัลนิซดี

    กรดอะราคโิดนิก (arachidonic acid)

    C19H31COOH (C20H32O2)

    ไขมนัสตัว ์

    ทีม่า (ประสงค ์หล าสะอาด, 2541, หน้า 135 )

  • 98

    ตารางท่ี 5.2 ปรมิาณของกรดไขมนัในอาหารชนิดต่างๆ (กรมัต่อไขมนั 100 กรมั) แหล่งไขมัน กรดไขมนัอ่ิมตัว กรดไขมนัไม่อ่ิมตวั กรดไลโนเลอิก

    น ้ามนัดอกค าฝอย 8 87 72 น ้ามนัดอกทานตะวนั 12 86 63 น ้ามนัขา้วโพด 10 84 53 น ้ามนัถัว่เหลอืง 15 80 52 น ้ามนัเมลด็ฝ้าย 15 71 50 น ้ามนังา 14 80 42 น ้ามนัถัว่ลสิง 18 76 29 น ้ามนัปาล์ม 45 49 8 น ้ามนัมะกอก 11 84 7 น ้ามนัมะพรา้ว 86 8 น้อยมาก เนยเหลว 55 39 3 เนยเทยีม 14-28 40-76 7-34 น ้ามนัหมู 38 57 10 น ้ามนัตบัปลา 15 81 25 เนื้อหมู 38 58 6 เนื้อววั 48 47 2 นมววั 56 39 3 เนื่อไก่ 32 64 20 ไขไ่ก่ 32 61 7 ขา้วเจา้ 17 74 35 ชอ็กโกแลต 56 37 2 เมลด็แตงโม 17 78 39 เมลด็มะม่วงหมิพานต์ 17 78 7

    ทีม่า (ประสงค ์หล าสะอาด, 2541, หน้า 134 )

  • 99

    5.2 หน้าท่ีของลิปิด

    ลปิิดมหีน้าทีด่งันี้ 5.2.1 ไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากที่สุดต่อน ้ าหนักที่เท่ากนักับ

    สารอาหารอื่นให้พลังงาน 9.4 กโิลแคลอรมีากกว่าคาร์โบไฮเดรต 2 1/4 เท่า เป็นไขมันแหล่งสดุทา้ยในรา่งกายทีถู่กใชไ้ปเมือ่รา่งกายได้รบัพลงังานไมเ่พยีงพอ 5.2.2 เป็นอาหารสะสมใต้ชัน้ผิวหนัง ฉนวนความรอ้น ชว่ยใหค้วามอบอุ่น ปรมิาณของไขมนัสะสมในร่างกายจึงเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงความสมดุลของการรบัและการใช้พลังงานของรา่งกาย ไขมนัแทรกอยู่ในเซลล์ทัว่ ๆ ไปแล้ว รา่งกายเรายังมเีซลล์ของไขมนัที่เรยีกว่าอะดีโพสเซลล์ (adipose cell) ซึ่งเป็นแหล่งเกบ็ไขมนั แต่ในคนอว้นมชีัน้ของไขมนัอยู่หนาจนเกนิไปท าใหก้ารถ่ายเทอุณหภูมใินรา่งกายเป็นไปไมไ่ด้ด ี ท าใหรู้ส้กึอดึอดัในหน้ารอ้น นอกจากนี้การที่มไีขมนัใต้ผวิหนังมากเกนิไปท าใหก้ารเคลื่อนไหวของรา่งกายเป็นไปไมค่ล่องตวั

    5.2.3 เป็นตัวท าละลายวติามนิเอ วติามนิดี วติามนิอแีละวติามินเค แต่ทัง้นี้ข ึ้นอยู่กับชนิดของไขมนันัน้ๆ ด้วย เชน่ ในน ้ ามนัร ามวีติามนิอมีาก สว่นในน ้ ามนัตับปลามวีติามนิเอ และวติามนิดมีาก 5.2.4 เป็นสว่นประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ ชว่ยยดึใหอ้วยัวะต่างๆ ภายในทรงรปูอยู่ได้

    5.2.5 ป้องกนัอวยัวะโดยอยู่ล้อมรอบหวัใจและไตเพื่อป้องกนัการกระทบกระเทอืนของอวยัวะภายในดงักล่าว 5.2.6 เป็นองคป์ระกอบของเซลล์ประสาท ท าใหก้ระแสประสาทเคลื่อนทีเ่รว็ขึน้ 5.2.7 ป้องกนัผวิหนังแห้ง ตกกระ ไขมนัใต้ผวิหนังนี้ชว่ยเสรมิความงาม เชน่ ไขมนัที่แกม้

    5.3 โคเลสเตอรอล

    โคเลสเตอรอล สารทีม่อียู่ในไขมนัและอาหารทัว่ไปที่มาจากสตัว ์ เช่น ไขมนัสตัว ์ และผลิตผลจากสตัว์ เช่น เนื้อสตัว์ เครื่องใน ไข่ เป็นต้น (ตารางที่ 5.3) ส่วนไขมนัจากพืชและอาหารทัว่ไปจากพชื เชน่ น ้ามนัพชื ผกั ผลไม ้ ขา้ว เหล่านี้ไมม่โีคเลสเตอรอลอยู่ อาหารของชาวตะวนัตกเป็นอาหารประเภทเนื้อสตัว์และมไีขมันอยู่มาก จงึท า ให้มีโคเลสเตอรอลในอาหารมาก โดยเฉลี่ยอาหารของชาวตะวนัตกมไีขมนัอยู่ประมาณรอ้ยละ 35 ของพลงังานทัง้หมดทีไ่ด้รบัใน 1 วนัและมโีคเลสเตอรอลประมาณ 500 มลิลกิรมัต่อวนัซึ่งเป็นปรมิาณทีสู่งมาก ในอาหารทัว่ ไปที่รบัประทานกนัปกตใินประเทศไทยนี้มเีนื้อสตัวแ์ละไขมนัอยู่น้อย จึงท าให้มโีคเลสเตอรอลอยู่น้อยด้วย มีข้อแนะน าว่าควรรบัประทานอาหารที่มปีรมิาณโคเลสเตอรอลไมเ่กนิ 300 มลิลกิรมัต่อวนั

  • 100

    คนเรานอกจากได้โคเลสเตอรอลจากอาหารที่ร ับประทานเข้าไปแล้ว ร่างกายยังสงัเคราะห์ข ึ้นเองได้จากอะซีเตต (acetate) และมวีาโลเนต (mevalonate) ซึ่งอาจได้จากการสลายตวัของคารโ์บไฮเดรต โปรตนีและไขมนัในรา่งกาย ขบวนการสงัเคราะห์โคเลสเตอรอลนี้อาจเกดิขึ้นทีต่ับหรอืที่ผนังของล าไส้เล็กกไ็ด้ โดยปกตแิล้วร่างกายมกีารควบคุมการสงัเคราะห์โคเลสเตอรอล โดยที่ระดับของโคเลสเตอรอลในตับได้สมดุลกับระดับของโคเลสเตรอลในพลาสมา (plasma) ถ้ารบัประทานอาหารที่มโีคเลสเตอรอลเข้าไปมากกท็ าให้การสงัเคราะห์โคเลสเตอรอลในรา่งกายลดลง แต่อย่างไรกต็ามถ้าร่างกายได้รบัโคเลสเตอรอลเข้าไปมากๆ ก็มกีารสะสม ซึ่งอาจเป็นเหตุใหเ้กดิโรคหลอดเลอืดอดุตนัได้ (ภาพที ่5.3) ร่างกายคนเราสูญเสียโคเลสเตอรอลได้ 2 ทางคือโดยการถูกออกซิไดส์ที่ตับให้กลายเป็นน ้าดี ซึ่งน ้าดีนี้ช่วยในการย่อยและการดูดซึมของไขมนัและโดยปนกบัน ้ าดีไปที่ล าไส้เล็กและปนไปกับอาหาร อาจถูกดูดซึมกลับบ้าง ที่เหลือออกไปที่ล าไส้ใหญ่เป็นอุจจาระนอกจากนี้โคเลสเตอรอลทีผ่วิหนังกอ็าจถูกเปลี่ยนไปเป็นวติามนิดไีด้ เมือ่รา่งกายถูกแสงแดด

    ตารางท่ี 5.3 ปรมิาณโคเลสเตอรอลในอาหารชนิดต่างๆ ชนิดอาหาร mg/100g อาหาร ชนิดอาหาร mg/100g อาหาร ชนิดอาหาร mg/100g อาหาร

    เน้ือสตัว ์ เน้ือววั ปลาแซลมอน 86 เน้ือไก่ เน้ือลว้น 60 ปลาจาระเมด็ 126 เน้ือลว้น 60 ตบั 400 ปลาดุก 60 ตบั 685-750 ตบัอ่อน 376 ปลาทูน่า 186 เน้ือเป็ด 70-90 ลูกววั 140 ปลาไหลทะเล 186 เน้ือหมู ผา้ขีร้ ิว้ 610 ปลาลิน้หมา 87 เน้ือแดง 60-70 เน้ือแพะ เน้ือแกะ 60 ปลาหมกึเลก็ 384 เน้ือปนมนั 126 เน้ือกระต่าย 60 ปลาหมกึใหญ่ 1,170 น ้ามนัหมู 110 เน้ือนกพริาบ 110 แมงกะพรุน 24 ตบั 400 ไขขาว 0 ปลงิทะเล 0 ตบัอ่อน 466 ไขทัง้ฟอง 550 หอยนางรม 230-470 ไต 350 ไข่แดง (ไก่) 2,000 หอยกาบ 180 กระเพาะ 150 ไข่นกกระทา 3,640 หอยแมลงภู่ 70 ล าไส ้ 150 ไข่ปลา 7,300 หอยแครง 59 หวัใจ 400 ไข่แดง (เป็ด) 1,120 หอยอื่นๆ 150 สมอง 3,160 อาหารทะเล ประเภทนม เนย ซีโ่ครง 110 กุง้เลก็ 125 ครมี มาการนี 3,000 แฮม 100 กุง้ใหญ่ 250-300 ไอศกรมี นมสด 40 , 24 เบคอน 215 ปู 101-164 เนยเหลว เนยแขง็ 90-113 ไสก้รอก 100 น ้ามนัตบัปลา 500 กุนเชยีง 150

    หมายเหตุ ถ้ามภีาวะโคเลสเตอรอลสงูควรหลีกเลี่ยงอาหารทีม่โีคเลสเตอรอลมากกว่า 200 มลิลกิรมัต่อ 100 กรมั ทีม่า (ประสงค ์หล าสะอาด, 2541, หน้า 96)

  • 101

    ภาพท่ี 5.5 การเกดิไขมนัอดุตนัในเสน้เลอืดทีม่ผีลต่อสขุภาพ ทีม่า (Lea, 2002)

  • 102

    5.4 การย่อยไขมนัในร่างกาย ไขมันส่วนใหญ่ที่เรารับประทานอยู่ในรูปของไขมันธรรมชาติ โดยมีฟอสโฟไลปิด โคเลสเตอรอลและวติามินที่ละลายในไขมันปนอยู่บ้าง ใน 1 วัน คนเรารับประทานไขมันประมาณ 20–150 กรมั ถ้าคดิเป็นร้อยละกป็ระมาณรอ้ยละ 7–40 ของปรมิาณแคลอรทีัง้หมดที่ได้ร ับใน 1 วัน ไขมันไม่ว่ารับประทานเข้าไปเป็นปริมาณมากน้อยเพียงใดก็ต้องผ่านกระบวนการย่อยสลาย ร่างกายจงึน าไปใช้ได้ การย่อยไขมนัสว่นใหญ่เกดิขึน้ในล าไสเ้ลก็ตอนต้นแต่อวยัวะต่างๆ ในทางเดนิอาหารกม็สีว่นชว่ยใหไ้ขมนัถูกย่อยได้ดขี ึน้ 5.4.1 ขัน้ตอนการย่อยไขมนัในทางเดินอาหาร ในการย่อยอาหาร อาหารถูกบดเคี้ยวให้เป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อให้มีพื้นที่ผิวคลุกเคล้าผสมผสานกบัเอนไซมช์่วยใหก้ารย่อยอาหารดขี ึน้ จากนัน้มกีารแตกตัวของสารอาหารเนื่องจากเอนไซมเ์พื่อใหไ้ด้สารอาหารทีม่โีมเลกลุเลก็ลง จนซมึผ่านเยื่อบุทางเดินอาหารได้ ในการย่อยไขมนักเ็ช่นเดียวกนั ไขมนัต้องถูกย่อยออกเป็นโมเลกุลเล็กๆ ที่ผ่านเซลล์ของเยื่อบุทางเดินอาหารได้ ไขมนัประมาณร้อยละ 40–50 ของที่รบัประทานถูกย่อยเป็นกรดไขมัน กลเีซอรอลกอ่นดูดซมึ ไขมนัสว่นทีเ่หลอืถูกย่อยใหเ้ป็นโมโนกลเีซอไรด์และไดกลเีซอไรด์ การย่อยไขมนัในกระเพาะอาหารนี้ ในกระเพาะอาหารมเีอน็ไซมท์ี่ช ือ่วา่ แกส -ตรคิไลเปส (gastric lipase) ซึ่งมอียู่เพียงเล็กน้อย ช่วยให้มกีารย่อยพวกที่ย่อยได้ง่าย เช่น ไขมนัในไขแ่ดง ไขมนัในนม สว่นไขมนัทีพ่บในเนื้อสตัว ์ เนยหรอืน ้ามนัต่างๆ นัน้ไมถู่กย่อย ในล าไสเ้ล็กตอนต้นนี้ ไขมนัถูกผสมคลุกเคล้ากบัน ้ าดี เอนไซม์จากตับอ่อนที่เรยีกว่าแพนครเีอตคิไลเปส (pancreatic lipase) ซึ่งส่งออกมาทางท่อในผนังล าไส้เล็กตอนต้น และเอนไซม์จากผนังล าไส้เล็กที่เรยีกว่า อนิเทสตินัลไลเปส (inteatinal lipase) หน้าที่ของน ้าด ี และเอน็ไซมไ์ลเปสต่างกนัคอื

    น ้าดี มหีน้าที่ช่วยใหไ้ขมนัละลายตัวและแตกตัวออกเป็นหยดเลก็ๆท าให้ผสมกบัน ้าได้ด ี เกดิเป็นสารละลายอมิลัชนัและชว่ยใหม้พีื้นทีผ่วิทีผ่สมกบัน ้าย่อยได้ดขี ึน้

    เอนไซม์ไลเปส มหีน้าที่ในการย่อยไขมนัหรอืไตรกลเีซอไรด์ ให้เกดิกรดไขมนัอสิระ 2 โมเลกลุและโมโนกลเีซอไรด์หรอืท าใหเ้กดิกรดไขมนัอสิระ 1 โมเลกลุและไดกลเีซอไรด์ เมือ่ไขมนัผสมคลุกเคล้ากบัน ้าดเีกดิเป็นสารละลายอมิลัชนัแล้ว เอนไซมแ์พนคร ี เอติคไลเปสและอนิเทสตินัลไลเปส กเ็ข้าท าปฏิกริยิา โดยท าให้มกีารแตกตัวของโมเลกุลของไตรกลเีซอไรด์ออกเป็นไดกลีเซอไรด์และโมโนกลเีซอไรด์กอ่น และมกีารแตกตวัต่อไปจนได้กลี-เซอรอลและกรดไขมนัอสิระ ประมาณรอ้ยละ 40–50 ของไขมนัที่รบัประทานเข้าไปถูกย่อยจนเป็นกลเีซอรอลและกรดไขมนัอสิระเพื่อการดูดซมึ สว่นที่เหลอืถูกย่อยเป็นบางสว่น และถูกดูดซมึในรปูของโมโนกลเีซอไรด์ประมาณร้อยละ 40–50ในรปูของไดกลเีซอไรด์ประมาณรอ้ยละ 10

  • 103

    5.4.2 ปัจจยัท่ีมีผลต่อการย่อยไขมนั ปัจจยัทีม่ผีลต่อการย่อยไขมนั ได้แก ่

    5.4.2.1 อายุ เดก็และคนสงูอายุจะมกีารย่อยไขมนัไมด่เีทา่ที่ควร

    5.4.2.2 ความร้อนในการปรงุอาหาร ไขมันที่ถูกความร้อนสูงเกนิไปขณะปรุงอาหาร (สูงกว่า 250 องศา

    เซลเซยีส) ท าใหไ้ขมนัมกีารเปลี่ยนแปลงทางเคมที าใหย้่อยยากขึน้ 5.4.2.3 ชนิดของไขมนั

    ไขมันที่มจีุดหลอมเหลวต ่าถูกย่อยง่ายกว่าไขมนัที่มจีุดหลอมเหลวสูง เชน่ ไขมนัววัซึ่งมจีดุหลอมเหลวที ่ 45 องศาเซลเซียส ถูกย่อยได้รอ้ยละ 93 ในขณะที่เนยซึ่งมีจดุหลอมเหลวที่ 32 องศาเซลเซยีส ถูกย่อยได้รอ้ยละ 97 ไขมนัทีม่โีมเลกลุสัน้ถูกย่อยงา่ยกว่าไขมนัทีม่โีมเลกลุยาวและไขมนัทีม่คีวามไมอ่ิม่ตัวคอืมกีรดไขมนัชนิดไมอ่ิม่ตวัอยู่ถูกย่อยงา่ยกว่าไขมนัทีอ่ ิม่ตวั 5.5 การดูดซึมไขมนั

    การดูดซมึไขมนัเขา้สูร่า่งกายอธบิายได้ดงัต่อไปนี้

    5.5.1 การดูดซึมไขมนั ไขมนัเมือ่ผ่านกระบวนการย่อยมาแล้วอยู่ในรปูของกรดไขมนั กลีเซอรอล โมโนกลี

    เซอรไ์รด์ ไดกลเีซอไรด์ มโีคเลสเตอรอลและฟอสโฟไลปิดอยู่บ้าง ตามปรมิาณทีร่บัประทานเข้าไป ไขมนัทีถู่กย่อยแล้วเหล่านี้ถูกดูดซึมทีล่ าไส้เลก็ โดยดูดซมึผ่านเยื่อบุของล าไส้ (intestinal mucosa) ด้วยความช่วยเหลือของน ้ าดี โมโนกลีเซอไรด์เมื่อถูกดูดซึมเข้าไปในผนังล าไ ส ้ บางสว่นถูกย่อยโดยเอนไซมใ์นผนังล าไสอ้กีครัง้หนึ่งได้เป็นกลเีซอรอลกบักรดไขมนั

    ไขมนัพวกฟอสโฟไลปิดบางชนิดอาจถูกดูดซมึโดยตรงโดยไม่ต้องมกีารย่อย เช่น เลซิติน แต่บางชนิดถูกย่อยออกเป็นโคลีน (choline) ก่อนจงึถูกดูดซึม ส าหรบัโคเลสเตอรอลเอสเทอรเ์มือ่ถูกย่อยออกเป็นโคเลสเตอรอลอสิระถูกดูดซมึเขา้สู่ผนังล าไสเ้ลก็ โดยอาศยัน ้าดเีข้าชว่ยเช่นเดยีวกนั หลงัจากดูดซมึแล้วกร็วมตวักบัโปรตีน เช่นเดยีวกบัไตรกลีเซอรไ์รด์และฟอส-โฟไลปิดเป็นไคโลไมตรอนขนสง่ไปตามระบบน ้าเหลอืง

    5.5.2 ปัจจยัท่ีมีผลต่อการดูดซึมโคเลสเตอรอล 5.5.2.1ปริมาณของโคเลสเตอรอลท่ีรบัประทานในแต่ละครัง้

    โดยทัว่ ๆ ไป ร่างกายดูดซึมโคเลสเตอรอลประมาณร้อยละ 50 ของที่รบัประทานเขา้ไป แต่ถ้ามกีารรบัประทานในปรมิาณมากขึน้ การดูดซมึลดลง

  • 104

    5.5.2.2 ความบ่อยในการรบัประทาน ถ้ารบัประทานอาหารทีม่โีคเลสเตอรอลเขา้ไปบ่อยๆ ท าใหม้กีารดูดซมึดขี ึน้ 5.5.2.3 ชนิดของไขมนัท่ีรบัประทานเข้าไป ถ้าไขมันที่ร ับประทาน เข้าไป เป็นไขมันชนิดอิ่มตัวช่วย ให้การดูดซึม

    โคเลสเตอรอลเป็นไปได้ดกีวา่ 5.5.2.4 อายุ ในเดก็และคนสงูอายุมกีารดูดซมึไมด่เีทา่หนุ่มสาว

    5.5.3 ปัจจยัท่ีมีผลต่อการดูดซึมไขมนั การย่อย ถึงแม้วา่ไขมนัทีร่บัประทานเขา้ไปนัน้ถูกย่อยจนเกอืบหมด แต่การ

    ย่อยและการดูดซึมของไขมนัเป็นไปอย่างช้าๆ โดยมกีารดูดซึมเกดิขึ้นหลังจาก 6–8 ชัว่โมง หลงัการรบัประทานอาหาร ซึ่งถ้ามกีารรบัประทานไขมนัเข้าไปมากๆ ท าใหล้ าไสเ้ล็กดูดซึมไม่ทนั ไขมนักผ็่านไปสูล่ าไสใ้หญ่และถูกขบัถ่ายออกไปกบัอุจจาระ

    อายุ พบว่า ในเด็กที่ม ีอายุต ่ ากว่า 7 ขวบและผู้สูงอายุมีการดูดซึมของไขมนัได้ไมด่เีทา่ทีค่วร

    ตวัอมีลัซไิฟเออร์ (emulsifing agent) พบว่า การรบัประทานอมีลัซไิฟเออร์เขา้ไปมาก ๆ เชน่ เลซติิน ชว่ยในการย่อยไขมนัชนิดที่ย่อยยากและช่วยให้การดูดซึมเป็นไปได้เรว็ขึน้

    กรดไขมนัโดยทัว่ๆไป ที่ประกอบด้วยกรดไขมนัโมเลกุลสัน้ถูกดูดซึมได้เรว็กว่าไขมนัที่มกีรดไขมนัโมเลกลุยาว นอกจากนี้ไขมนัที่กรดไขมนัมจี านวนคารบ์อนเลขคี่ถูกดูดซมึช้ากว่าไขมนัทีก่รดไขมนัมจี านวนคาร์บอนเลขคู่และกรดไขมนัที่ไม่อิม่ตวัถูกดูดซึมได้ดีกว่ากรดไขมนัทีอ่ ิม่ตวั

    การที่ไขมันถูกความร้อนมากเกินไป โดยทัว่ๆ ไป อุณหภูมิในการปรุงอาหารประมาณ 205–210 องศาเซลเซียส แต่ถ้าสูงกว่า 250 องศาเซลเซียสท าให้ไขมันสลายตวั ท าใหย้่อยยากและมผีลใหก้ารดูดซมึเป็นไปไมไ่ด้ดดี้วย

    น ้าดเีป็นสว่นทีจ่ าเป็นอย่างยิ่งต่อการดูดซมึ ถ้าขาดน ้าด ี ทัง้การย่อยและการดูดซมึลดลงอย่างมาก

    5.5.4 การดูดซึมท่ีผิดปกติของไขมนั การดูดซมึไขมนัทีผ่ดิปกตอิาจเกดิขึน้ได้ในหลายกรณี ดงันี้ 5.4.1.1 เกิดจากความผิดปกติของน ้ าดีและเอนไซม์แพนครมีเอติคไลเปส

    ความผดิปกตขิองตวัใดตวัหนึ่งของทัง้สองนี้ ท าใหไ้ขมนัมกีารย่อยและการดูดซมึผดิปกตไิด้ 5.4.1.2 เกดิจากเซลล์ของเยื่อบุล าไส้เล็กมีการผิดปกติ ท าให้การดูดซึม

    เป็นไปไมไ่ด้ด ี

  • 105

    5.4.1.3 เกดิจากโปรตีนและการสร้างไลโปโปรตนี ความบกพรอ่งต่างๆ เช่น รา่งกายมภีาวการณ์ขาดโปรตนีท าใหไ้ขมนัทีถู่กดูดซมึเขา้ไปในล าไสเ้ลก็ไม่สรา้งไคโลไมครอนได้ ซึ่งมผีลต่อการดูดซมึกรดไขมนัโมเลกุลยาว แต่กรดไขมนัโมเลกลุสัน้ยงัคงผ่านเส้นเลอืดด าไปยังตบัได้เพราะไมต่้องอาศยัโปรตนี 5.6 การขนส่งไขมนั

    เมือ่กรดไขมนั กลเีซอรอล โมโนกลเีซอไรด์และไดกลเีซอไรด์ ถูกดูดซมึผ่านเยื่อบุของล าไสเ้ลก็เขา้มาแล้ว กรดไขมนัโมเลกุลยาวจบักลเีซอรอล โมโนกลีเซอไรด์ หรอืไดกลเีซอไรด์ เกดิเป็นไตรกลีเซอไรด์ใหม่และไตรกลเีซอไรด์ใหม่นี้จบักบัโปรตีนเป็นไลโปโปรตีน ที่เรยีกว่าไคโลไมครอน การที่ไขมนัจบัตัวกบัโปรตีนเป็นไคโลไมครอนนี้ กเ็พื่อให้สะดวกในการขนส่งไขมนัที่ถูกดูดซึมมาแล้วไปยังอวยัวะต่างๆ ไคโลไมครอนนี้ผ่านทางระบบน ้าเหลอืงผนังล าไสไ้ปยังท่อน ้ าเหลืองใหญ่ แล้วจึงผ่านเข้าสู่กระแสโลหิตที่เส้นโลหติด าใหญ่ชื่อ สับเคลเวยีนเวน (subclavian vein) เพื่อขนสง่ต่อไปยงัเซลล์ต่างๆ ทัว่รา่งกาย ไคโลไมครอนนี้มลีกัษณะสขีาวขุน่ ดังนัน้หลงัจากรบัประทานไขมนัเขา้ไปประมาณ 2-8 ชัว่โมง ถ้าเจาะเลอืดดูซีร ัม่ (serum) เหน็วา่มลีกัษณะขาวขุน่แต่หลงัจาก 10-12 ชัว่โมงไปแล้ว ไขมนัในเลือดถูกอวยัวะและเนื้อเยื่อต่างๆ ใชไ้ปหมด ซรีัม่กลบัใสตามเดมิ

    กรดไขมนัโมเลกลุสัน้ ซึ่งมปีระมาณร้อยละ 30 ไมม่กีารรวมตวักบักลเีซอรอล โมโนกลี-เซอไรด์ หรอืไดกลเีซอไรด์เกดิขึน้ แต่ถูกขนสง่ไปยงัตับในลักษณะของกรดไขมนั โดยผ่านเส้นเลอืดด าทีไ่ปยงัตบั (portal vein)

    การขนส่งไขมนัทุกชนิดไปยังสว่นต่าง ๆ ของร่างกายต้องอาศยัโปรตีน ไม่วา่เป็นการขนสง่ไขมนัจากล าไสเ้ลก็หรอืการขนส่งไขมนัจากตบัไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยที่ไขมนัจบักบัโปรตนีเป็นไลโปโปรตนีเพื่อใหส้ะดวกในการขนสง่ ไลโปโปรตีนทีท่ าหน้าที่ขนส่งไขมนัในรา่งกาย แบ่งออกได้ 4 ชนิด ตามความหนาแน่นและชนิดของไขมนัทีเ่ป็นองคป์ระกอบ

    1. ไคโลไมครอน ไคโลไมครอนท าหน้าทีข่นสง่ไขมนัหลงัจากทีม่กีารย่อยและการดูดซึมแล้ว จาก

    ล าไส้เล็กไปยังสว่นต่างๆ ของรา่งกาย ไคโลไมครอนประกอบด้วยไตรกลีเซอไรด์เป็นสว่นใหญ่ถึงประมาณร้อยละ 85 มโีคเลสเตอรอลและฟอสโฟไลปิดปนอยู่เพียงเล็กน้อย มโีปรตีนเป็นองคป์ระกอบอยู่ ประมาณรอ้ยละ 2

  • 106

    2.ไลโปโปรตีนท่ีมีความหนาแน่นต ่ามาก (very low density lipoprotein : VLDL)

    ไลโปโปรตีนที่ม ีความหนาแน่นต ่ ามากท าหน้ าที่ขนส่งไตรกลี เซอไรด์เชน่เดียวกบัไคโลไมครอน แต่เป็นไตรกลีเซอไรด์จากตับไมใ่ชล่ าไสเ้ล็ก ไลโปโปรตีนชนิดนี้จงึประกอบด้วยไตรกลีเซอไรด์เป็นส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 50 ที่เหลือเป็นโคเลสเตอรอล ฟอสโฟไลปิดและโปรตนี

    3. ไลโปโปรตีนท่ีมีความหนาแน่นต า่ (low density lipoprotein : LDL) ไลโปโปรตีนที่มคีวามหนาแน่นต ่าท าหน้าที่ขนสง่ไขมนัจากตับ ประกอบด้วย

    โคเลสเตอรอลเป็นสว่นใหญ่คอืประมาณร้อยละ 45 และที่เหลือเป็นไตรกลเีซอไรด์ ฟอสโฟไลปิดและโปรตนี

    4. ไลโปโปรตีนท่ีมีความหนาแน่นสูง (high density lipoprotein : HDL) ไลโปโปรตีนที่ม ีความหนาแน่นสูงประกอบไปด้วยโปรตีนเป็นส่วนใหญ่

    ประมาณรอ้ยละ 50 โคเลสเตอรอล ฟอสโฟไลปิดบ้างและมไีตรกลเีซอไรด์ยู่เพยีงเลก็น้อย ถ้าร่างกายเกดิภาวะที่ไม่สามารถสงัเคราะห์ไลโปโปรตีนเหล่านี้ ไม่วา่ด้วยสาเหตุใดก็

    ตาม ท าให้เกิดการคัง่ของไขมนัในตับได้ ตัวอย่างเช่น ในเด็กที่ ขาดโปรตีนอย่างรุนแรงเกิดภาวะที่เรยีกว่า แฟตตีลิเวอร์ (fatty liver) คือ มีไขมันคัง่ที่ตับ เนื่องจากขาดโปรตีนที่ไปขนสง่ไขมนัจากตบัไปสูส่ว่นต่างๆ ของรา่งกาย 5.7 เมตาโบลิซึมของไขมนั ไขมันเป็นแหล่งพลังงานที่ส าคัญของเซลล์ชนิดหนึ่งดังได้กล่าวแล้ว ไขมนัที่มาจากอาหารหรอืที่สะสมไว้ในเซลล์ มกัอยู่ในรปูของไตรกลีเซอไรด์และฟอสโฟไลปิดกรดไขมนัอสิระมีอยู่บ้างในกระแสโลหิต ซึ่ งมัก เกาะติดอยู่ กับซีรัม่ อัลบูมิน (serum albumin) ไขมันที่รบัประทานเข้าไปและผ่านไปยงัเซลล์ต่างๆ ในรปูของไตรกลเีซอไรด์ หรอืฟอสโฟไลปิดกต็าม เมือ่เซลล์น าไปสลายให้เกดิพลงังานต้องมเีอนไซม์ภายในเซลล์ย่อยไขมนัออกเป็นกรดไขมนักบักลีเซอรอลที่ได้ถูกน าไปเข้าขบวนการไกลโคไลซสิ เพื่อให้ได้พลงังานออกมา ส่วนกรดไขมนัถูกน าไปผลาญด้วยขบวนการเบตา-ออกซเิดชนั (-oxidation) เพื่อใหไ้ด้อะซีตลีโคเอน็ไซมเ์อ (acetyl CoA) ซึ่งเป็นสารเคมหีน่วยเล็กๆ ที่น าไปสลายเป็นพลงังานหรอืน าไปสร้างสิง่ต่างๆ ในรา่งกายได้ เชน่ น าไปสรา้งเป็นกลูโคสหรอืกรดอะมโินได้ โดยปกตแิล้วรา่งกายใชค้าร์โบไฮเดรตและไขมนั มาเผาผลาญให้พลงังาน แต่ในกรณีที่รา่งกายขาดคารโ์บไฮเดรตหรอืไม่ใชค้ารโ์บไฮเดรตเป็นแหล่งพลงังานได้ รา่งกายกม็กีารใชไ้ขมนัเพียงอย่างเดียว ซึ่งมขี้อเสยีคอืเกดิอะซีตีลโคเอนไซมเ์อมากเกนิไป ท าใหเ้กดิการสรา้งสารตัว

  • 107

    หนึ่ งคือ คีโตนบอดี ข ึ้นมา ซึ่งถ้ามีสารนี้คัง่ในกระแสโลหิตร่างกายมีอาการผิดปกติ และนอกจากนี้ เซลล์สมองไมใ่ชไ้ขมนัเพื่อใหเ้กดิพลงังานได้ ต้องใชแ้ต่กลูโคสเทา่นัน้ เมือ่รา่งกายมพีลังงานเหลือใชถู้กเกบ็ไวใ้นรปูของไตรกลีเซอไรด์ในเซลล์ไขมนั โดยอาจเป็นไตรกลเีซอไรด์จากไคโลไมครอนหรอืกรดไขมนัในกระแสโลหติร่างกายมกีระบวนการที่ก าจดัไขมนัให้ออกไปจากกระแสโลหติ ดังนัน้ ไขมันทีม่ากเกนิต้องการของเซลล์ต่างๆ ทีเ่อาไปเผาผลาญให้เกดิพลังงานหรอืเพื่อสงัเคราะห์สารใหม่ถูกเกบ็ไว้ในเซลล์ไขมันและอาจต้องมีการสลายตัวของคาร์โบไฮเดรต เพื่อให้ได้กลีเซอรอลมาจับกับกรดไขมันเป็นไตรกลีเซอไรด์ นอกจากนี้ ในการสลายของคาร์โบไฮเดรตกไ็ด้มาซึ่งอะซีตีลโคเอน็ไซม์เอ ดังนัน้ ร่างกายจึงสะสมไวใ้นรปูของไขมนัได้เชน่กนั เมือ่รา่งกายได้รบัพลังงานไมเ่พียงพอ รา่งกายกม็กีารสลายเอาไตรกลเีซอไรด์ทีส่ะสมไว้ในเซลล์ไขมนันี้ออกมาใช ้ โดยสลายเป็นกรดไขมนัและจบักบัแอลบูมนิในกระแสโลหติ ขนสง่ไปยงัเซลล์ต่างๆ ของรา่งกาย เพื่อเผาผลาญใหไ้ด้พลงังานออกมาใชภ้ายในเซลล์ ภาวะการสลายเอาพลังงานจากเซลล์ไขมนัมาใช้นี้เกดิในคนที่อดอาหาร ได้รบัพลังงานเข้าไปไม่เพียงพอให้รา่งกายใช้ หรอืในคนที่เป็นเบาหวานซึ่งไมส่ามารถใช้กลูโคสได้ รา่งกายกระตุ้นให้มกีารสลายของไขมนัเกดิขึน้ ไขมนัสะสมในร่างกาย ส่วนใหญ่สะสมอยู่ใต้ผิวหนังบรเิวณแขน ขาและทัว่ร่างกาย เนื้อเยื่อที่เกบ็ไขมันไว้มากนอกเหนือไปจากไขมันใต้ผิวหนังคือ เนื้อเยื่อระหว่างกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อรอบๆ หวัใจ ไต ตับ รงัไขแ่ละเนื้อเยื่อระหว่างอวยัวะต่างๆ แม้วา่ไขมนัทีร่บัประทานมีสว่นประกอบของกรดไขมนัมากกว่า 20 ชนิดกต็าม แต่ไขมนัสะสมในรา่งกายสว่นมากเป็นไตรกลเีซอไรด์ของกรดปาล์มมติคิ กรดโอลอีคิและมกีรดไขมนัอืน่ๆ อยู่บ้าง ไขมันเป็นสารอาหารที่ถูกย่อยและดูดซึมเกอืบทัง้หมดมีไขมนัปรมิาณเล็กน้อยที่ถูกขบัถ่ายออกไปกบัอุจจาระและการขบัถ่ายไขมนัที่ถูกดูดซึมแล้วออกจากร่างกายนัน้เรยีกได้ว่า ไม่มเีลย ไขมนัที่ถูกดูดซึมแล้วถูกน าไปใช้ได้ดังกล่าวแล้วในเรื่อง เมตาโบลิซึม ส่วนไขมนัที่เหลือถูกสะสมไวใ้นรา่งกาย ดังนัน้คนที่รบัประทานอาหารทีใ่หพ้ลงังานมากเกนิไปกส็ะสมไขมนัไวใ้นรา่งกายและอว้นขึ้นเรื่อยๆ วธิที ีก่ าจดัไขมนัออกไปจากร่างกายคอื พยายามให้รา่งกายใช้พลังงานสว่นที่รบัประทานมากเกนิพอออกไปใหห้มด โดยการออกก าลงักาย ซึ่งการออกก าลังกายนี้ ไม่ได้หมายความถึงเฉพาะการออกไปยืนกระโดดโลดเต้น หรือบรหิารตามท่าต่างๆ เท่านัน้ แต่การท างาน การไม่อยู่นิ่งๆ ไม่คอยให้คนหยบิจบัอะไรให้และการท างานบ้านต่างๆ กเ็ป็นการชว่ยใหร้า่งกายได้เคลื่อนไหวใชพ้ลงังานทัง้สิน้

  • 108

    5.8 ผลของการได้รบัไขมนัมากหรือน้อยเกินไป สารอาหารต่างๆ ทีต่่างกายจ าเป็นต้องได้รบันัน้มปีรมิาณหนึ่งซึ่งเป็นปรมิาณที่เหมาะสมกบัความต้องการของร่างกาย เป็นปรมิาณที่ท าให้ร่างกายอยู่ในสภาพที่ปกติ แต่ถ้าได้รบัในปรมิาณมากหรอืน้อยเกนิไปท าใหร้า่งกายเกดิภาวะทีผ่ดิปกตไิด้ สารอาหารไขมนักเ็ชน่เดยีวกนั

    5.8.1 การได้รบัไขมนัมากเกินไป การได้รบัไขมนัมากเกนิไปท าให้ได้รบัพลงังานมากเกนิไป ซึ่งเป็นสาเหตุใหม้กีาร

    สะสมไขมนัในรา่งกายท าใหอ้ว้นได้ (ภาพ 5.6) อนันี้เป็นผลทีเ่หน็ได้ชดัเจน ซึ่งพบวา่ภาวะของไขมนัในเลอืดสงูม ี 2 ชนิด

    5.8.1.1 ภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ไตรกลีเซอร์ไรด์นี้รา่งกายได้รบัโดยตรงจากการรบัประทานไขมนั หรอื

    อาจเนื่องจากการรบัประทานคาร์โบไฮเดรตและแอลกอฮอล์ ระดับไตรกลีเซอรไ์รด์ในเลอืดมกัสูงในคนอว้นซึ่งเกดิจากการไมส่มดุลของแคลอร ี

    ภาพท่ี 5.6 เดก็อว้น ทีม่า (Lea, 2002)

    5.8.1.2 ภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูง

    โคเลสเตอรอลในเลอืดมทีี่มา 2 ทางคอื จากอาหารที่บรโิภคและจากการสงัเคราะห์ภายในร่างกาย โดยปกติการสงัเคราะห์โคเลสเตอรอลในร่างกายมคีวามสมัพันธ์กบัการดูดซึมโคเลสเตอรอล และรา่งกายมกีารควบคุมการสงัเคราะห์โคเลสเตอรอลในร่างกายไมใ่หม้ปีรมิาณสูงเกนิไป แต่ในบางกรณีรา่งกายอาจมกีารสงัเคราะหโ์คเลสเตอรอลมากผิดปกต ิ

  • 109

    ท าให้เกดิภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูงได้ทัง้ ๆ ที่รบัประทานโคเลสเตอรอลเข้าไปน้อยการที่รา่งกายมภีาวะของไขมนัในเลอืดสงูนี้เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกดิโรคหวัใจขาดเลือดได้

    ภาพท่ี 5.7 L การลดขนาดไลโปโปรตนี

    ทีม่า (Lea, 2002)

    5.8.1.3 การได้รบัไขมนัน้อยเกินไป การได้รบัไขมนัน้อยเกนิไปท าให้รา่งกายได้รบัพลงังานน้อยเกนิไปด้วย ซึ่งท าให้

    ร่างกายมกีารสลายเอาไขมนัที่สะสมไว้ในร่างกายมาใช้ เป็นเหตุให้ร่างกายผอมลง และถ้าพลงังานทีไ่ด้รบัน้อยมาก รา่งกายกย็ิง่มกีารสลายเอาไขมนัมาใช้มากขึน้ การที่รา่งกายสลายเอาไขมนัมาใชน้ี้ท าให้เกดิภาวะเป็นกรดในเลือด ซึ่งถ้าเป็นกรดมากๆ อาจท าใหช้กัได้ นอกจากนี้การที่ได้รบัไขมนัน้อยเกนิไปท าให้พลงังานทีไ่ด้ไมเ่พียงพอกับพลังงานทีต่้องใชใ้นกจิกรรมต่างๆ ร่างกายใช้พลังงานจากโปรตีนที่รบัประทานเข้าไป ดังนั ้นแทนที่โปรตีนถูกน าไปซ่อมแซมเสรมิสรา้งสว่นทีส่กึหรอหรอืเพื่อการเจรญิเตบิโตกลับต้องน ามาถูกเผาผลาญเป็นพลังงาน ดงันัน้การรบัประทานโปรตีนเพียงพอแต่รบัประทานสารอาหารอื่น ๆ ไม่เพียงพอ กม็คี่าเท่ากบัการรบัประทานโปรตนีไมเ่พยีงพอเชน่กนัเพราะโปรตนีถูกดงึไปเผาผลาญเป็นพลงังาน

  • 110

    การรับประทานอาหารที่ให้พลังงานไม่เพียงพอกบัความต้องการของร่างกายท าให้รา่งกายพยายามลดการท ากจิกรรมต่างๆ ลง โดยแสดงออกในรูปการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย แล้วกต็้องนัง่พัก หรอืบางครัง้มคีวามรูส้กึว่ารา่งกายต้องการพักผ่อน นัน่เป็นเพราะวา่รา่งกายพยายามทีล่ดการใชพ้ลงังานลงใหส้มดุลกบัพลงังานทีไ่ด้รบัซึ่งเป็นการเอาชวีติรอดของรา่งกาย 5.9 ภาวะไขมนัในเลือดสูงกบัโรคหวัใจขาดเลือด โรคหวัใจขาดเลือด เป็นกลุ่มอาการของโรคหัวใจ เกิดขึ้นเนื่องจากหลอดเลือดหวัใจ (coronary artery) น าเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหวัใจไม่พอ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเกดิขึ้นจากภาวะหลอดเลือดแขง็ (atherosclerosis) ภาวะหลอดเลือดแขง็นี้เป็นภาวะที่หลอดเลือดแดงเสื่อมหน้าที่ โดยที่หลอดเลือดแดงขาดลักษณะความอ่อนนุ่มและการยืดหยุ่นตัว ความผิดปกติดงักล่าว เกดิขึ้นเนื่องจากมกีารคัง่ของไขมนัในผนังหลอดเลือดแดงขนาดกลางและขนาดใหญ่ ไขมนัที่คัง่ส่วนใหญ่เป็นโคเลสเตอรอลส่วนน้อยเป็นฟอสโฟไลปิดและไตรกลีเซอไรด์ ภาวะหลอดเลอืดแขง็นี้เป็นสาเหตุที่ส าคญัของการเป็นโรคหวัใจขาดเลอืด (ภาพที่ 5.8) และโรคหลอดเลอืดของสมอง จากการศกึษากนัอย่างกวา้งขวางถึงสาเหตุต่าง ๆ ที่กอ่ให้เกดิภาวะหลอดเลือดแขง็พบว่า ปัจจยัที่ช่วยให้เกิดภาวะหลอดเลือดแขง็นัน้อาจเป็นปัจจยัภายนอกร่างกาย หรอืปัจจยัภายในรา่งกายกไ็ด้

    ภาพท่ี 5.8 โรคหวัใจขาดเลอืด ทีม่า (Lea, 2002)

  • 111

    5.9.1 ปัจจยัภายนอกร่างกาย 5.9.1.1 ภาวะไขมนัในเลือดสูงกว่าปกติ

    เป็นที่ทราบกนัแน่ชดัแล้วว่า ไขมนัมสีว่นเกี่ยวข้องกบัการเกดิภาวะหลอดเลอืดแขง็ ไขมนัดงักล่าวนี้ได้แก ่ โคเลสเตอรอลและไตรกลเีซอไรด์

    5.9.1.2 การสูบบุหร่ีจดั อตัราการเป็นโรคหวัใจขาดเลือดในผู้ที่สูบบุหรีม่ากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่

    เลยถงึ 3 เทา่และการตายจากโรคหวัใจขาดเลอืดในผู้ทีส่บูบุหรี่กส็งูกวา่ผู้ทีไ่ม่สบูบุหรีถ่งึ 5 เทา่ 5.9.1.3 การขาดการออกก าลงักายท่ีสม า่เสมอ

    คนที่ออกก าลังกายสม ่าเสมอมโีอกาสเป็นโรคหวัใจขาดเลอืดน้อยกว่าคนที่ไม่ค่อยได้ออกก าลังกายและพบว่าคนที่มรีะดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงเนื่องจากการรบัประทานโคเลสเตอรอลมาก แต่มกีารออกก าลังกายอย่างหนักและสม ่าเสมอ ช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลลงได้ นอกจากนี้การออกก าลงักายเป็นประจ ายังชว่ยรกัษาน ้าหนักตัว

    5.9.1.4 ความตึงเครียดในจิตใจ ปัจจยัขอ้นี้มสีว่นท าให้โรคหวัใจขาดเลือดที่เป็นอยู่ทวคีวามรุนแรงขึ้น

    ได ้5.9.2 ปัจจยัภายในร่างกาย

    5.9.2.1 ความดนัโลหิตสูง ผู้ชายอายุ 40–49 ปี ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงพบว่าพวกนี้ ม ี

    โอกาสเป็นโรคหวัใจขาดเลือดมากกว่าคนที่อายุเท่ากันถึง 2.6 เท่า ทัง้นี้เนื่องจากความดันโลหติมผีลท าใหก้ล้ามเนื้อหวัใจขยายใหญ่ขึน้ จงึต้องการเลอืดมาเลี้ยงหวัใจมากขึน้

    5.9.2.2 โรคเบาหวาน ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมโีอกาสเป็นโรคหวัใจขาดเลอืดมากกว่าคนปกต ิ

    เนื่องจากระดบักลูโคสในเลอืดสงู 5.9.2.3 ความอ้วน

    คนอ้วนมีอตัราการตายจากโรคหัวใจขาดเลือดสูงกว่าปกติถึง 1.5 เทา่ เนื่องจากคนอว้นมกัมภีาวะไขมนัในเลอืดสงู

    ระดับของไขมนัในเลอืดมคีวามสมัพนัธก์บัโรคหวัใจขาดเลอืด โดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับของโคเลสเตอรอลในเลือด ถ้าระดับของโคเลสเตอรอลสงูกว่า 260 มลิลิกรมั ในเลือด 100 กรมั มโีอกาสเป็นโรคหวัใจขาดเลอืดสงูกวา่ผู้ทีม่รีะดบัโคเลสเตอรอลน้อยกวา่ 220 มลิลิกรมัในเลอืด 100 กรมั ถงึ 3–5 เทา่ ดังนัน้จงึได้มกีารก าหนดว่า ระดบัปกติของโคเลสเตอรอลในเลอืดไมค่วรเกนิ 300 มลิลกิรมัในเลอืด 100 กรมั

    เมือ่มโีคเลสเตอรอลในเลอืดสูง โคเลสเตอรอลตกตะกอนและติดอยู่ใต้ชัน้ในของผนังหลอด เลือดท าให้ตีบตันได้ ในสัตว์ทดลองพบว่า ถ้าให้กิน โคเลสเตอรอลแล้วท าให้

  • 112

    โคเลสเตอรอลในเลือดสูง และถ้าไม่ให้กนิโคเลสเตอรอลเลยแต่ให้กนิไขมนัอิม่ตัวแทนกท็ าให้โคเลสเตอรอลในเลอืดสงูได้เชน่กนั ทัง้นี้เนื่องจากรา่งกายสตัวแ์ละคนสงัเคราะห์โคเลสเตอรอลได้เอง ในตับโดยสงัเคราะห์จากคาร์โบไฮเดรต โปรตีนหรอืกรดไขมนั โดยที่ไขมนัอิม่ตัวถูกสงัเคราะหเ์ป็นโคเลสเตอรอลได้งา่ยที่สดุ

    การปฏบิตัตินเพื่อลดระดบัโคเลสเตอรอลในเลอืดท าได้โดย 1.จ ากดัจ านวนไขมนัทัง้หมดทีบ่รโิภค โดยไมใ่ห้เกนิรอ้ยละ 35 ของแคลอรทีี่ควร

    ได้รบั 2.จ ากดัจ านวนกรดไขมนัอิม่ตวัใหเ้หลอืเพยีง 1 ใน 3 ของไขมนัที่รบัประทาน โดย

    ให ้ 2 ใน 3 ของไขมนัทีร่บัประทานเป็นพวกกรดไขมนัไมอ่ิม่ตวั 3. จ ากดัจ านวนโคเลสเตอรอลทีร่บัประทานให้น้อยกวา่ 300 มลิลิกรมัต่อวนั โดย

    ทีค่วรรบัประทานเนื้อสตัว์ทีไ่มม่ไีขมนัติดอยู่ ใช้น ้ามนัพืชในการปรงุอาหารทุกครัง้ และควรงดเวน้การรบัประทานอาหารทีใ่หโ้คเลสเตอรอลมาก 5.10 บทบาทของไขมนัในการประกอบอาหาร

    ไขมนัมปีระโยชน์หลายอย่างในการประกอบอาหาร เชน่ ใชไ้ขมนัเป็นสือ่ความรอ้นชว่ยเพิ่มรสชาติให้อาหาร เป็นตวัหล่อลื่น ช่วยใหข้นมร่อน ฟู นุ่ม กรอบและเป็นอมิลัซิไฟเออร ์ (emulsifier)

    5.9.1 ปริมาณไขมนัในอาหารชนิดต่าง ๆ อาหารโดยทัว่ ๆ ไปจากสตัวม์ไีขมนัอยู่ในปรมิาณสูง แม้แต่เนื้อสตัว์ที่เหน็ว่าเป็นกล้ามเนื้อล้วนๆ กต็าม อาหารที่มไีขมนัอยู่น้อย ได้แก ่ อาหารพวกผกัต่างๆ และพวกพืชหวั เชน่ เผือก มนั สว่นอาหารจากพืชที่มไีขมนัมาก ได้แก่ เมลด็พืชบางชนิด เช่น เมล็ดทานตะวนัและถัว่เมล็ดแห้ง เช่น ถัว่เหลือง ถัว่ลิสง ส่วนไขมันสัตว์ต่างๆ นั ้นมีปรมิาณแตกต่างกนัตามชนิดของสตัว ์ อาหารต่างๆ ทีป่รุงขึน้มกัประกอบด้วยไขมนัเพื่อให้อาหารมรีสชาติ แต่ทัง้นี้ก็ข ึ้นอยู่กับความเคยชินและนิส�