บทที่ 3 - research-system.siam.edu · น้ํา (Pressure Management Area หรือ...

26
21 บทที3 วิธีดําเนินการศึกษา การประปานครหลวงไดดําเนินโครงการปรับปรุงระบบประปาเพื่อลดน้ําสูญเสีย โดย ทําการศึกษาและจัดทําแผนการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบูรณาการงานดานบริหาร จัดการลดน้ําสูญเสียใหมีเสถียรภาพและยั่งยืนดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารตาม แนวนโยบายเรงรัดดําเนินงานเพื่อลดน้ําสูญเสียโดยรวมของการประปานครหลวงใหเหลือไมเกิน รอยละ 30 ภายในป 2349 และควบคุมมิใหมีน้ําสูญเสียเกินระดับอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืนตอไป โดยนําเทคโนโลยีระบบพื้นที่เฝาระวัง (District Metering Area หรือ DMA) และพื้นที่จัดการแรงดัน น้ํา (Pressure Management Area หรือ PMA) มาใชงาน เพื่อใหการเฝาระวังและตรวจวัดแรงดันน้ํา เปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การออกแบบและจัดตั้งพื้นที่เฝาระวัง (DMA) และพื้นที่จัดการแรงดันน้ํา (PMA) ที่จะ กลาวถึงในหัวขอตอไป สามารถสรุปขอบเขตและความรับผิดชอบการปฏิบัติงานระหวางการ ประปา และ ผูขายไดดังตารางขางลางนีตารางที3.1 ขอบเขตการดําเนินงานออกแบบและจัดตั้ง DMA/PMA

Transcript of บทที่ 3 - research-system.siam.edu · น้ํา (Pressure Management Area หรือ...

21  

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการศึกษา

การประปานครหลวงไดดําเนินโครงการปรับปรุงระบบประปาเพ่ือลดนํ้าสูญเสีย โดย

ทําการศึกษาและจัดทําแผนการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือบูรณาการงานดานบริหาร

จัดการลดน้ําสูญเสียใหมีเสถียรภาพและยั่งยืนดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือสารตาม

แนวนโยบายเรงรัดดําเนินงานเพื่อลดน้ําสูญเสียโดยรวมของการประปานครหลวงใหเหลือไมเกิน

รอยละ 30 ภายในป2349 และควบคุมมิใหมีน้ําสูญเสียเกินระดับอยางมีเสถียรภาพและย่ังยืนตอไป

โดยนําเทคโนโลยีระบบพื้นท่ีเฝาระวัง (District Metering Area หรือ DMA) และพ้ืนท่ีจัดการแรงดัน

น้ํา (Pressure Management Area หรือ PMA) มาใชงาน เพื่อใหการเฝาระวังและตรวจวัดแรงดันน้ํา

เปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

การออกแบบและจัดต้ังพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) และพ้ืนท่ีจัดการแรงดันน้ํา (PMA) ท่ีจะ

กลาวถึงในหัวขอตอไป สามารถสรุปขอบเขตและความรับผิดชอบการปฏิบัติงานระหวางการ

ประปา และ ผูขายไดดังตารางขางลางนี้

ตารางท่ี 3.1 ขอบเขตการดําเนินงานออกแบบและจัดต้ัง DMA/PMA

22  

หมายเหตุ A = ผูดําเนินการ S = ผูสนับสนุน

3.1 แนวทางและกระบวนงานในการออกแบบและจัดต้ัง DMA/PMA

3.1.1 แนวทางในการออกแบบและจัดตั้ง DMA/PMA

กรรมวิธีและแนวทางในการออกแบบและจัดต้ังพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) และพ้ืนท่ีจัดการ

แรงดันน้ํา (PMA) จะทําตามคําแนะนําและมาตรฐานของ International Water Association(IWA)

และเทคนิคการปฏิบัติท่ีดีท่ีสุด การออกแบบ และการวางแผน DMA/PMA จะมีพื้นฐานมาจากการ

ใชงานแผนท่ีGIS

และการวิเคราะหโครงขายทอประปา (Network Analysis) ดังแสดงในรูปท่ี 3.1

ภาพท่ี 3.1 แนวทางการออกแบบและจัดต้ัง DMA/PMA

23  

3.1.2 กระบวนงานในการออกแบบและจัดตั้ง DMA/PMA

กระบวนงานหรือข้ันตอนการปฏิบัติตามแนวทางการออกแบบและจัดต้ัง DMA/PMA มี

ดังตอไปนี้

• จัดเตรียมขอมูลแผนท่ีระบบ GIS

• การออกแบบ DMA/PMA เบ้ืองตน

• เร่ิมสํารวจและตรวจสอบพื้นท่ี DMA บางพื้นท่ี

• ตรวจสอบขอมูลสําหรับสรางโครงขายจําลองระบบทอประปาเพื่อใชในการออกแบบ

DMA/PMA เบ้ืองตน (Model Mock-up)

• ขอมูลเพียงพอในการออกแบบ DMA/PMA โดยใชการวิเคราะหโครงขายหรือไม

• สํารวจเสนทอและนําเขาขอมูลเสนทอเทาท่ีจําเปนลงบนซอฟทแวรวิเคราะหโครงขายทอ

ประปา AQUIS เพื่อใชในการออกแบบ DMA/PMA

• สรางแบบจําลองระบบทอจายน้ําระดับพื้นท่ีสาขา

• วัดแรงดันน้ําในพื้นท่ี

• ปรับแตงแบบจําลองโครงขาย

• วิเคราะหแบบจําลองโครงขายทอประปาสําหรับออกแบบ DMA/PMA

• การออกแบบ DMA/PMA โดยแบบจําลองโครงขายระบบทอ

• สํารวจและตรวจสอบพื้นท่ี DMA ท้ังหมด

• ทดสอบ Zero test

• ผลการตรวจสอบ

• รายงานสรุปผลการออกแบบ

• จัดทําแบบกอสราง

24  

3.1.3 วิธีการปฏิบัติงานในระบบ DMA/PMA

วิธีการปฏิบัติงานในระบบ DMA/PMA มีดังนี้

3.1.3.1 จัดเตรียมขอมูลแผนท่ีระบบ GIS

ในการออกแบบ DMA/PMA จําเปนตองไดรับขอมูล GIS และขอมูลอ่ืนๆ จากการประปา

นครหลวง ในระยะเร่ิมตนของโครงการจะสงประสานงานเพ่ือขอขอมูลท่ีจําเปนท้ังหมดจากการ

ประปานครหลวงซ่ึงประกอบดวย รายละเอียดท้ังหมดที่สัมพันธกับการวางแผน และการออกแบบ

DMA/PMA

ท้ังนี้ขอมูลท่ีจําเปนขางตนจะตองมีความสมบูรณครบ พรอมดวยขอมูลท่ีเกี่ยวกับระบบ

Network และอุปกรณเชน ระดับความสูง ชนิดทอ ขนาดทอ จุดตอทอ ประตูน้ําท่ีถูกปดเปนตน

สําหรับทอสงน้ําทอจายน้ําและทอบริการ รวมไปถึงขอมูลของระบบ network จําเปนท่ีจะตองมี

ความถูกตองดวยขอมูล GIS ท่ีเก็บมาจะถูกจัดเตรียมเพื่อความมุงหมายดังนี้

• วิเคราะหและควบคุม ขอมูล GIS

• ปรับแกขอมูล GIS

• เอกสารประกอบการปรับปรุง และ แนะนําปรับปรุงขอมูล GIS

ขอมูลจะถูกตรวจสอบดวยเคร่ืองมือพิเศษ (ในโปรแกรม) เพื่อตรวจหาขอมูลท่ีซํ้ากันของ

ท้ังเสนทอ และจุดแสดงวัตถุ (Object) การทับซอนกันของวัตถุและความผิดพลาดของขอมูลของ

วัตถุท่ีไมพบ การปรับแกทําข้ึนเพื่อใหขอมูลสามารถนําไปใชสําหรับการสรางแบบจําลองโครงขาย

(network model) และการออกแบบ DMA/PMA

3.1.3.2 การออกแบบ DMA เบ้ืองตน

ขอมูลพื้นฐานตาง ๆ ท่ีนํามาพิจารณาในการเลือกแบง DMA ไดแกแมน้ํา ถนนอาคาร ทอ

และประตูน้ํา ซ่ึงโดยท่ัวไปจะชวยในการแบงพื้นท่ี DMA ออกไปไดประมาณ 40-30% ของ DMA

ท้ังหมด และจะทําการสํารวจพื้นท่ี DMA เหลานี้กอน และขณะเดียวกันก็จะสรางแบบจําลองเพ่ือ

จัดต้ัง DMA ท่ีเหลือท้ังหมด ไปพรอมๆกัน ซ่ึงจะทําใหชวยลดระยะเวลาในการออกแบบและจัดต้ัง

DMA/PMA ลงได

25  

3.1.3.3 การเร่ิมสํารวจและตรวจสอบพื้นท่ี DMA บางพื้นท่ี

จากผลการออกแบบรางระบบพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) ตามข้ันตอนขอ 3.3.2 จะดําเนินการ

สํารวจตรวจสอบสภาพพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) ท่ีไดออกแบบไวในภาคสนาม โดยการสํารวจจะ

พิจารณาตามรายละเอียดดังนี้

• สํารวจขอบเขตของพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) ท่ีออกแบบ

• สํารวจและทดสอบการใชงานของประตูนํ้าท่ีกําหนดใหเปนประตูนํ้ากั้นขอบเขต

• สํารวจและทดสอบการใชงานของหัวดับเพลิงท่ีจะทําการติดต้ังอุปกรณบันทึกแรงดันนํ้าท้ัง

ในพื้นท่ีและรอบนอกพ้ืนท่ีออกแบบ

• สํารวจตําแหนงท่ีตองติดต้ังประตูน้ํากั้นขอบเขตเพิ่มเติม

• สํารวจตําแหนงติดต้ังมาตรวัดน้ําเขาท่ีเฝาระวัง (DMA)

3.1.3.4 การตรวจสอบขอมูลสําหรับสรางโครงขายจําลองระบบทอประปาเพื่อใชใน

การออกแบบ DMA/PMA เบ้ืองตน

ในการเตรียมขอมูลสําหรับสรางแบบจําลอง จะทําการรวบรวมขอมูลดังตอไปนี้

• ขอมูลเสนทอท่ีเปน GIS ซ่ึงจะมีรายละเอียดของเสนผานศูนยกลางของทอ ความหยาบของ

ผนังดานในของทอรายการของทอท่ีใชท้ังระบบ

• ขอมูลการใชน้ําของประชากร (Billing) ขอมูลนี้จะไดจากใบแจงหนี้และจะทําการบันทึก

ลงไปในแผนท่ี GIS ซ่ึงจะทําการแบงแยกขอมูลใหเหมาะสมในแตละราย

• ขอมูลความสูงของระดับการวางทอซ่ึงจะวัดจากระดับน้ําทะเลเพ่ือเปนการแสดงถึงภูมิ

ประเทศไดอยางถูกตอง

• ตรวจสอบขอมูลสําหรับสรางโครงขายจําลองระบบทอประปาเพื่อใชในการออกแบบ

DMA/PMA เบ้ืองตน วาขอมูลเพียงพอหรือไมถาไมเพียงพอ จะทําการสํารวจเสนทอเปน

จุดๆไปเทาท่ีจําเปนและนําเขาขอมูลมายังโปรแกรม AQUIS (ดูรายละเอียดในขอ 4เกณฑ

การออกแบบ)

3.1.3.5 การตรวจสอบความเพียงพอของขอมูลในการออกแบบ DMA/PMA โดยใช

การวิเคราะหโครงขาย

26  

ขอมูลท่ีตรวจสอบในหัวขอ 3.1.3.4 แลวหากเพียงพอท่ีจะสามารถสรางแบบจําลอง

โครงขายระบบทอประปาไดใหดําเนินการตอในหัวขอท่ี 3.1.3.7 แตหากวาไมเพียงพอก็จะตอง

สํารวจหาขอมูลเพิ่มเติม ตามหัวขอ 3.1.3.6

3.1.3.6 การสํารวจเสนทอและนําเขาขอมูลเสนทอเทาท่ีจําเปนลงบนซอฟทแวร

วเิคราะหโครงขายทอประปา (AQUIS) เพื่อใชในการออกแบบ

หากขอมูลในการออกแบบ DMA/PMA โดยใชการวิเคราะหโครงขายไมเพียงพอทีมงานฯ

จะทําการสํารวจขอมูลในพื้นท่ีเพิ่มเติมเทาท่ีจําเปน และนําเขาขอมูลท่ีไดมาปรับปรุงแบบจําลอง

โครงขายทอประปาลงบน ซอฟทแวรAQUIS เพื่อใชในการออกแบบ DMA/PMAตอไป

หมายเหตุ: ในการสํารวจเสนทอและนําเขาขอมูลเสนทอเขาสูซอฟทแวร AQUIS ในกระบวนงาน

ออกแบบและจัดต้ังพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) และพ้ืนท่ีจัดการควบคุมแรงดันน้ํา(PMA) นี้จะไมรวมถึง

การสํารวจเสนทอและนําเขาขอมูลของเสนทอหลักท่ีการประปานครหลวงไดดําเนินการอยูแลวใน

3.1.3.7 การสรางแบบจําลองโครงขายระบบทอจายน้ําระดับพื้นท่ีสํานักงานประปา

สาขาบางบัวทอง

• การสรางแบบจําลองของโครงขายทอจายน้ําของสาขาจะสราง โดยใชขอมูลจากแผนท่ี GIS

และขอมูลของเคร่ืองสูบน้ํา, ประตูน้ําและถังพักน้ํา

• ซอฟตแวรสําเร็จรูปท่ีนํามาใชสรางแบบจําลอง คือ AQUIS ซ่ึงใช Model Manager เปนตัว

เชื่อมโยง (interface) ระหวางแผนท่ีGIS กับ AQUIS

• ขอมูลของทอท่ีนํามาใชสรางแบบจําลองจะใชทอประปาท่ีมีขนาดตั้งแต 100 ม.ม. ข้ึนไป

ของสาขาท้ังนี้เพื่อความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการออกแบบ

3.1.3.8 การวัดแรงดันน้ําในพื้นท่ี

เพื่อเปนการตรวจสอบความถูกตองของแบบจําลอง จะตองมีการวัดแรงดันน้ําในพื้นท่ีเพื่อ

เปรียบเทียบกับแรงดันน้ําและอัตราการไหลของน้ําท่ีคาดการณโดยแบบจําลอง คาแรงดันน้ําใน

พื้นท่ีอาจไดมาจากระบบ SCADA หรือการวัดจริงในพ้ืนท่ี

3.1.3.9 การปรับแตงแบบจําลองโครงขาย

27  

วัตถุประสงคของการปรับแตงแบบจําลองก็เพื่อเปรียบเทียบคาท่ีสํารวจและเก็บขอมูลได

จากภาคสนามกับคาประมาณการท่ีไดจากการสรางแบบจําลอง ซ่ึงข้ันตอนการปรับแตง

ประกอบดวยกิจกรรมดังตอไปนี้

• เปรียบเทียบขอมูลจากภาคสนามกับผลท่ีไดจากแบบจําลอง

• ปรับแตงแบบจําลอง

• จําแนกและบันทึกความผิดปกติ

• ทบทวนและปรับปรุงแบบจําลองดวยขอมูลจริงจากภาคสนาม

3.1.3.10 การออกแบบ DMA โดยแบบจําลองโครงขายระบบทอ

เง่ือนไขในการออกแบบพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) จะพิจารณาจากหลักเกณฑดังนี้

• จํานวนของ DMA ท้ังหมด

• คาแรงดันน้ําเฉล่ีย

• จํานวนผูใชน้ําใน DMA

การออกแบบพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA)

แนวทางการออกแบบพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) โดยท่ัวไป จะข้ึนอยูกับขอมูล GIS

เคร่ืองมือและอุปกรณรวมถึงเทคนิคท่ีมีอยูซ่ึงการออกแบบจะยึดหลักเกณฑหรือเง่ือนไขใน

การออกแบบ และผลจากการวิเคราะหดานชลศาสตรของแบบจําลอง ท่ีสรางข้ึนจากขอมูล

GIS และขอมูลดานโครงสรางระบบทอ วัสดุท่ีใชความยาวเสนทอ ชนิดของผูใชน้ํา และ

ปริมาณการใชน้ําขอมูลดานชลศาสตรในแตละพื้นท่ีสาขาและสถานการณการจายน้ําท่ี

ตางกัน การที่ใชGIS และแบบจําลองทําใหได DMA ท่ีดีท่ีสุด

ข้ันตอนในการออกแบบมีดังนี้

• เสนแบงตามธรรมชาติ เชน แมน้ําถนน

• โครงสรางระบบโครงขายทอ

• การใชน้ํา

• การวิเคราะหโครงขาย

เสนแบงตามธรรมชาติ: โดยการพิจารณาเสนแบงตามธรรมชาติท่ีมีอยูแลว เชน แมน้ําคลอง ถนน

สายหลัก ทางรถไฟ ในแผนท่ีGIS จะสามารถออกแบบ พื้นท่ีเฝาระวังไดบางสวน

28  

โครงสรางระบบโครงขายทอ : หลังจากพิจารณาจากเสนแบงตามธรรมชาติแลว ก็ใหพิจารณาจาก

ระบบโครงขายทอในแผนท่ีGIS ซ่ึงจะสามารถพิจารณาเร่ืองจํานวนทอท่ีจะเขาและออกจากพ้ืนท่ี

เฝาระวัง และระดับแรงดันน้ําในพื้นท่ีเฝาระวัง ตองพิจารณาตําแหนงของประตูน้ําประกอบดวย

การใชน้ํา: พิจารณาตรวจสอบจํานวนของมาตรผูใชน้ํา และประเภทของผูใชน้ําในแตละ DMA ท่ีจะ

ออกแบบ

การวิเคราะหโครงขาย : การวิเคราะหโครงขายจะชวยสนับสนุนใหการออกแบบ DMA เหมาะสม

ข้ึน

เม่ือทําการออกแบบพื้นท่ีเฝาระวังไดท้ังหมด โดยใชแผนท่ี GIS และแบบจําลองวิเคราะห

โครงขายแลวจึงจะทําการสํารวจและตรวจสอบพ้ืนท่ีเฝาระวังท้ังหมดหลังจากนั้นจะทํารายงานการ

ออกแบบพ้ืนท่ีเฝาระวัง ซ่ึงจะมีเนื้อหาประกอบดวยแผนการจัดต้ัง DMA งานท่ีตองแกไขและ

เปล่ียนแปลงกับระบบโครงขายทอจายน้ําเดิม ตําแหนงติดต้ังมาตรวัดน้ําและจุดควบคุมแรงดันน้ํา

ตัวอยาง การออกแบบ DMA

ภาพท่ี 3.2 ตัวอยางการออกแบบ DMA

29  

3.1.3.11 ทดสอบ Pressure Zero Test

ในการทดสอบพื้นท่ีเฝาระวังเพื่อสํารวจและตรวจสอบกอนการติดต้ังมาตรวัดน้ําจริงคือ

การทดสอบ Pressure Zero Test ซ่ึงมีรายละเอียดและวิธีการดังนี้ ทําการปดการจายน้ําทุกเสนทอท่ี

เขาสูพื้นท่ีเฝาระวัง แลววัดแรงดันน้ําหลายจุดโดยกระจายวัดใหท่ัวพื้นท่ีเฝาระวัง

แรงดันนํ้าท่ีจุดวัดทุกตัวท่ีติดต้ังภายในพ้ืนท่ีเฝาระวังจะตองมีคาเปนศูนยหลังจากทท่ีทําการ

ปดการจายน้ําครบทุกเสนทอแลวตอจากนั้นใหเปดการจายน้ําเขาเฉพาะจาก เสนท่ีท่ีคาดไววาจะ

ติดต้ังมาตรวัดน้ําของพื้นท่ีเฝาระวัง จากน้ันใหอานคาแรงดันน้ําอีกคร้ังหนึ่ง ซ่ึงมีคาเทากันหรือ

ใกลเคียงกับแรงดันน้ําปกติของพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) นั้น ซ่ึงจะตองประเมินดวยวาเปนคาท่ี

สามารถยอมรับไดตามเง่ือนไขการออกแบบหรือไม และจะทําการเก็บขอมูลแรงดันน้ําขณะทําการ

ทดสอบ Pressure Zero Test ของแตละพื้นท่ีเฝาระวัง และนําเสนอในรูปกราฟประกอบรายงานผล

การทดสอบคาแรงดันน้ําท่ีเปนศูนย และคาแรงดันน้ําปกติของพ้ืนท่ีเฝาระวังใหกับ การประปานคร

หลวง

ในกรณีท่ีทําการทดสบ Zero Test แลวไมผาน จะตองทําการออกแบบใหมหรือทําการ

สํารวจแนวทอและประตูน้ําแลวทดสอบใหมอีกคร้ังหนึ่ง

3.1.3.12 ผลการตรวจสอบ

ในกรณีท่ีทําการทดสบ Zero Test แลวไมผาน จะตองทําการออกแบบใหมหรือทําการ

สํารวจแนวทอและประตูน้ําแลวทดสอบใหมอีกคร้ังหนึ่ง

• ขณะปดประตูน้ํากั้นขอบเขต แรงดันนํ้าในพื้นท่ีเฝาระวังท่ีทดสอบมีคาลดตํ่าลงกวาเดิมมาก

• น้ําประปาไมไหลหรือไหลออนในบางพื้นท่ี

• เม่ือปดประตูน้ําท่ีจุดติดต้ังมาตรวัดนํ้าเขาแลวแรงดันภายในพ้ืนท่ีออกแบบไมตกลงเทากับ

ศูนยซ่ึง หมายถึงวายังมีแนวทอประปาท่ีตกจากการสํารวจบางทอจายน้ําเขาพื้นท่ี

3.1.3.13 รายงานสรุปผลการออกแบบ

ผลการทดสอบระบบพื้นท่ีเฝาระวังท่ีแลวเสร็จสมบูรณจะไดนําเสนอรายงานสรุปผลการ

ออกแบบตอบริษัทท่ีปรึกษา และ การประปานครหลวงเพ่ือตรวจสอบและอนุมัติผลการออกแบบ

โดยเนื้อหารายงานประกอบดวย

• แบบแปลนพ้ืนท่ีเฝาระวังท่ีออกแบบ

30  

• แบบแปลนแสดงรายละเอียดตําแหนงติดต้ังมาตรวัดน้ํา

• แบบแปลนแสดงรายละเอียดตําแหนงประตูน้ํากั้นขอบเขตเดิม และท่ีใหมติดต้ัง

• แบบแปลนแสดงตําแหนงการติดต้ังอุปกรณบันทึกแรงดันท่ีหัวดับเพลิง

• ขอมูลผูใชนํ้าและปริมาณการใชน้ําในพื้นท่ีออกแบบ

• ผลการวิเคราะหพื้นท่ีโดยการใชแบบจําลองโครงขายทอประปา

• แผนภูมิแสดงแรงดันนํ้าในพื้นท่ีปดการจายนํ้าเขาพื้นท่ี

• แบบแสดงการติดต้ังมาตรวัดนํ้าและอุปกรณท่ีเกี่ยวของ

3.2 เกณฑการออกแบบ

3.2.1 เกณฑการออกแบบพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA)

การออกแบบพื้นท่ีเฝาระวังในเบ้ืองตนจะถูกกําหนดขอบเขตโดยการศึกษาโครงขายของ

ระบบทอประปาจากระบบแผนท่ี GIS ของการประปานครหลวงมีหลักเกณฑดังนี้

• จํานวนผูใชน้ําในแตละ DMA (ประมาณ 1,000 – 3,000 ราย)

• คาแรงดันน้ําเฉล่ียในแตละ DMA กอนและหลังการจัดต้ังไมควรแตกตางกันมาก

• จํานวนมาตรวัดน้ําควรมีไมเกิน 4 จุด

แลวนําขอมูลท่ีไดไปทดสอบโดยการใชแบบจําลองโครงขายท่ีไดรับการปรับแกความ

คลาดเคล่ือนแลว แตอยางไรก็ตามยังควรท่ีจะมีการตรวจสอบทางชลศาสตรในภาคสนามกอนจะมี

การจัดต้ังพื้นท่ีเฝาระวังอยางถาวรตอไป ซ่ึงรายละเอียดของการใชแบบจําลองโครงขายเพื่อการ

ออกแบบพื้นท่ีเฝาระวังมีดังแสดงในหัวขอตอไป

งานจัดทําโมเดลและวิเคราะหโครงขายทอประปา (Network Analysis) ในระดับทอจายใช

โมเดลนี้ในการวิเคราะหโครงขายทอจายน้ําของสํานักงานประปาสาขา เพื่อชวยในการออกแบบ

พื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) และพื้นท่ีควบคุมแรงดันน้ํา (PMA) ใหเหมาะสมท่ีสุดนอกจากนั้นแลวยัง

สามารถนําเอาโมเดลมาใชในการบริหารจัดการน้ําสูญเสียและจัดการแรงดันน้ําอยางเหมาะสมใน

แตละพื้นท่ีสํานักงานประปาสาขา

สําหรับข้ันตอนในการจัดทําโมเดลและวิเคราะหโครงขายทอประปา มีดังนี้

• การเก็บรวบรวมขอมูล

31  

• จัดเตรียมแผนท่ี GIS

• สรางโมเดล

• การเก็บขอมูลภาคสนาม

• การปรับแตงโมเดล

• โมเดลแลวเสร็จพรอมรายละเอียด

• การวิเคราะหโครงขาย

การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิเคราะหโครงขายทอประปา ขอมูลแผนที่ GIS และขอมูล

ตาง ๆ ท่ีจําเปนตองไดรับจากการประปานครหลวงเพื่อใหการเก็บรวบรวมขอมูลครบถวน ในชวง

เร่ิมตนโครงการ

ขอมูลท่ีจําเปนในการสรางแบบจําลองโครงขาย(Network Model) ดังนี้

• ระบบโครงขายทอสงน้ํา, ทอจายน้ําและทอบริการ (Pipe & Equipment GIS)

• ขอมูลผูใชน้ํา (CIS in GIS)

• มาตรวัดน้ําสาขาหลักพรอมคาท่ีตรวจวัด (Master meters and Measurement data)

• ขอมูล ท่ีต้ัง อัตราการไหล แรงดัน ของโรงสูบจาย พรอมคาระดับอางอิง

• ขอมูลอัตราน้ําสูญเสียของแตละสาขา

• ขอมูลระดับความสูงของพื้นท่ีสาขา

ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับโครงขาย ( Network ) อาจจะอยูในรูปแบบของเอกสาร, แผนท่ี หรือ

ตารางก็ได ในสวนท่ีเกี่ยวของกับสาขา จะตองมีมาตรวัดน้ําหลักท่ีสามารถวัดน้ําบนทอทุกเสน ท่ีสง

จากทอประธานเขามายังสาขา หากมาตรวัดน้ําดังกลาวมีการติดต้ังระบบ SCADA อยูแลวใหมีการ

ตรวจสอบขอมูลดังกลาวดวย

การจัดเตรียมแผนที่ GIS ขอมูลจะถูกตรวจสอบดวยเคร่ืองมือพิเศษ (ในโปรแกรม) เพื่อ

ตรวจหาขอมูลท่ีซํ้ากันของท้ังเสนทอ และจุดแสดงวัตถุ (Object) การทับซอนกันของวัตถุและความ

ผิดพลาดของขอมูลของวัตถุท่ีไมพบ กาปรับแกทําข้ึนเพื่อใหขอมูลสามารถนําไปใชสําหรับการ

สรางโครงขาย (Network Model)

32  

ขอมูลท่ีสําคัญ :

ขอมูลเสนทอ ใน GIS : เม่ือทําการปรับปรุงขอมูลถาพบปญหา (เชน ขาดชนิดทอ,วัสดุ,

หรือ เสนผานศูนยกลาง, หรือ จุดตอ) จะทําการแกไขดวยประสบการณของทางบริษัทไทยแดนวอ

เตอรขอมูลท่ีปรับปรุง และแกไขท้ังหมดจะจัดทําเปนรายงาน และสงทางใหกับกองแผนท่ีและแบบ

พิมพของการประปานครหลวงเพ่ือทําการปรับปรุงในภายหลัง ในสวนของปญหาที่ไมสามารถ

แกไขโดยใชประสบการณและเปนขอมูลสําคัญตอการสราง แบบจําลอง และออกแบบ DMA จะสง

รายงานใหทีมงานออกแบบและจัดต้ังDMA/PMA เพื่อทําการตรวจสอบรวมกับการปะปานครหลวง

เพิ่มเติม บริเวณท่ีมีการขาดหายของขอมูลเสนทอใน GIS จะสงรายงานใหทีมงานฯ เพื่อทําการหา as

built drawing และทําการวาดลงบน GIS ถาปญหาไมสามารถแกไขไดภายใน 1 สัปดาหกอนเร่ิม

สราง แบบจําลอง จะทําเคร่ืองหมาย “ไมม่ันใจ” เม่ือมีการใชขอมูล GIS นั้นในการสราง แบบจําลอง

บริเวณท่ีมีเคร่ืองหมาย “ไมม่ันใจ” จะแสดงผลบนแบบจําลอง ถา แบบจําลอง ไมสามารถให

ผลลัพธตามขอกําหนดไดจะมีการอธิบายในรายงาน การสรางแบบจําลองโครงขาย และใหเหตุผล

วาเปนการขาดขอมูล GIS

ขอมูลการใชน้ําใน GIS: การสรางแบบจําลองจะใชขอมูลผูใชน้ําเดือนลาสุดท่ีมีการสราง

แบบจําลอง ความสมบูรณของขอมูลท่ียอมรับไดอยูท่ี 80% ของขอมูลผูใชน้ําท่ีมีตําแหนงอยูใน GIS

ในจํานวนนี้จะตองมีผูใชน้ํารายใหญอยางนอย 100 รายท่ีมีตําแหนงอยูใน GIS หากเปนไปไมได

ทางบริษัทไทยแดนวอเตอรจะทําการลงตําแหนงเอง ถาขอมูลมีความสมบูรณนอยกวา 80% ของ

ขอมูลผูใชน้ําท่ีมีตําแหนงอยูใน GIS ผูใชนํ้าท่ีไมมีตําแหนงจะถูกกําหนดตําแหนงดวยขอมูล Block

ใน CIS หรือ วิธีการอ่ืนๆ ความตองการใชน้ําท่ีหายไปจะถูกกระจายไปยังผูใชน้ําทีมีตําแหนง GIS

อยางท่ัวถึง ระดับการขาดหายของขอมูลผูใชน้ําใน GIS และความตองการใชน้ําจะสงเปนรายงาน

ตําแหนงและการวัดคาปริมาณนํ้าของมาตรวัดน้ําสาขา :

• ตองการมาตรวัดน้ําแบบ Ultrasonic ท้ังหมดท่ีอยูใน SCADA

• มาตรวัดน้ําแบบ Ultrasonic ท้ังหมดท่ีไมอยูใน SCADA แตมี Logger จะตองมีการเก็บ

ขอมูล

• มาตรวัดน้ําแบบ Mechanical จะตองมีการอานคาบางสวนตองทําการปด

33  

ขอมูลโรงสูบ โรงกรอง คาอัตราการไหล คาแรงดัน :

• โรงกรองตองการตําแหนงและการวางทอตอใน GIS และตองการปริมาณและแรงดันน้ําท่ี

ดานสูบจาย เปนอยางนอย

• โรงสูบตองการตําแหนงและการวางทอตอใน GIS และตองการปริมาณนํ้าและแรงดันท่ี

ดานสูบจายเปนอยางนอย

• ขอมูลการวัดปริมาณและแรงดันน้ําท่ีสามารถใชประโยชนไดใน SCADA จะตองมี

ตําแหนงและมีการวัดคา

Branch leakage level in percentage: เปอรเซ็นตน้ําสูญเสียในสาขา: ขอมูลท่ีมีลาสุดใน 1

เดือนการปรับแกจะทําเปนเอกสารสงไปยังการประปาเพ่ือใหการปะปาสามารถปรับปรุงขอมูลแผน

ท่ี GIS ได

การสรางแบบจําลองแบบจําลองของโครงขายทอประปา (Network model) จะถูกสราง

และพัฒนาเปนแบบจําลองของแตละสาขา (ทอจายน้ํา) ซ่ึงสาขาสามารถ นําแบบจําลองนี้ไปใชใน

งานประจําของสาขาในอนาคตได เชน การกําหนดขนาดทอท่ีเหมาะสมกับระบบ, การทํางานเคร่ือง

สูบน้ําท่ีเหมาะสม เปนตน

ข้ันตอนในการสรางแบบจําลอง มีดังนี้

• การสราง แบบจําลอง (Model building)

• การสมดุลของน้ําและการกระจายนํ้าตามความตองการ (Water Balance and distribution)

รายละเอียดของแตละข้ันตอน มีดังนี้

1. การสรางแบบจําลอง (Model Building ) แบบจําลองของระบบทอจายน้ํา (Distribution

network model) สรางจากพ้ืนฐานของขอมูล เสนทอ, ปม, และถังเก็บน้ํา การสรางแบบจําลองของ

สาขาโดยใชซอฟตแวร AQUIS นั้น จะใชซอฟตแวรทางดานการเช่ือมโยงระบบสารสนเทศ

ภูมิศาสตร (Model Manager) ซ่ึงเปนตัวเช่ือมโยง (Interface) ระหวาง GIS และ ซอฟตแวรAQUIS

ขอมูลท่ีจะใชในการสรางโมเดลของระบบทอจายน้ํา (Distribution Model) จะประกอบไปดวยทอ

ประธานท้ังหมด และทอจายน้ําท่ีมีขนาดต้ังแต100 มม. ข้ึนไปของสาขาน้ัน

2. การสมดุลของน้ําและการกระจายนํ้าตามความตองการ (Water Balance and distribution

of demands )การกระจายนํ้าตามความตองการในแบบจําลองจะข้ึนอยูกับพื้นฐานดังนี้

34  

• วัดปริมาณนํ้าท่ีเขา-ออกสาขาในชวงเวลา 3 วัน

• บันทึกใบแจงคานํ้าประปาของผูใชน้ําของการปะปา

ซอฟตแวรAQUIS จะถูกใชเพื่อกําหนดความสัมพันธของลักษณะความตองการใชน้ําใน

ชวงเวลา 1 วัน กับความตองการใชน้ําท้ังหมดท่ีมีอยูในโมเดล ความตองการใชน้ําจะมาจากขอมูล

ผูใชน้ําแบบท่ีอยูอาศัย และ อุตสาหกรรม ซ่ึงถาเปนไปไดจะไดความถูกตอง และแนนอนของความ

ตองการใชน้ําในโมเดล

หลังจากสรางแบบจําลองไดแลว จะตองตรวจสอบความถูกตองของขอมูลท่ีเกิดจากการ

คาดการณโดยโมเดล AQUIS เชน ขอมูลชนิดของทอถูกตองหรือไม, ทอตอถึงกันหรือมีการปด

วาลว เปนตน หากตรวจพบก็จะแกไขใหถูกตองนอกจากนั้นแลว ยังจะจําลองสถานการณท่ีตางๆ

กัน เชน ความตองการใชน้ําท่ีแตกตางกันตามฤดูหรือช่ัวโมง เพื่อใหโมเดล AQUIS คาดการณผลท่ี

จะเกิดกับอัตราการไหลในทอ, อัตราสูบจายของปมและแรงดันน้ํา เมือไดผลลัพธจากการคาดการณ

โดยแบบจําลองแลว จะนํามาประเมินผล และปรับปรุงแกไขแบบจําลอง

แบบจําลองท่ีเสร็จแลวจะพรอมสําหรับการปรับแตง (Calibration) โดยขอมูลท่ีวัดจริงใน

สนาม โมเดลจะใชสําหรับกําหนดตําแหนงท่ีจะวัดในสนามดวย

3. การเก็บขอมูลภาคสนาม วัตถุประสงคของการเก็บขอมูลภาคสนาม เพื่อใหแนใจวา คาท่ี

คาดการณโดยแบบจําลอง เชน แรงดันน้ําและอัตราการไหล เปน ตรงกับคาทีวัดไดจริงในภาคสนาม

ขอมูลท่ีวัดจริงในภาคสนาม จะไดมาจากการบันทึกขอมูลในพื้นท่ีนั้นและจากการทดสอบใน

ภาคสนาม ในการสํารวจจะดําเนินการท้ังหมด 3 วัน และขอมูลท่ีสํารวจนั้นจะแสดงดวยคาอยาง

นอย 1 ช่ัวโมง สําหรับมาตรวัดน้ําท่ีเปนระบบ Mechanic (W) ท่ีมีอัตราการไหลต่ํา สามารถท่ีจะทํา

การสํารวจโดยใชเวลาเพียง 2 วัน ถาเปนการอานแบบ Manual การสํารวจอัตราการไหล (Flow

Measurement) อยางนอย 93 เปอรเซ็นตของจุดน้ําเขา (Input) และจุดน้ําออก (Output) ระหวางสาขา

ณ เวลาเดียวกัน ท้ังนี้เพื่อใหไดสมดุลยน้ํา (Water Balance) ท่ีสมบูรณแบบ ขอมูลที่ตองการใชใน

การตรวจสอบผลการคาดการณจะถูกรวบรวมจากมาตรวัดน้ําหลักท่ีวัดน้ําท่ีสงจากทอประธานมายัง

สาขา สัมพันธกับสถานีสูบน้ํา และถังเก็บน้ําเปนตนประกอบดวย

• แรงดันน้ํา ( Pressure )

• อัตราการไหล ( Flow )

35  

• ระดับน้ําในถังพักน้ําa

• น้ําท่ีเขา และออกจากถังพักน้ํา

• ปริมาณนํ้าจากปม และแรงดัน

• การทํางานของวาลว

4. การปรับแตงแบบจําลองเพ่ือปรับแตงแบบจําลองใหสามารถพยากรณขอมูลตางๆ ให

ใกลเคียงท่ีวัดไดจริงในภาคสนามมากท่ีสุด

แบบแผนการปรับแตง (Calibration methodology) มีดังนี้

• เปรียบเทียบขอมูลจากภาคสนามกับผลจากโมเดล

• ปรับแตงโมเดล

• จําแนกและบันทึก

• พิจารณาตรวจสอบและปรับแตงโมเดล AQUIS ดวยขอมูลท่ีไดจากภาคสนาม

ในแตละกิจกรรมมีรายละเอียด ดังนี้

เปรียบเทียบขอมูลภาคสนามกับผลจากแบบจําลอง ขอมูลท่ีเก็บมาจากภาคสนามจะถูก

นํามาเปรียบเทียบผลจากโมเดลเพ่ือประเมินความแมนยําของแบบจําลอง

ภาพท่ี 3.3 ตัวอยางการเปรียบเทียบคาท่ีไดจากการคํานวณโมเดลกับคาท่ีวัดไดจริง

36  

การแสดงผลในรูปแบบของกราฟ และขอความท่ีมีอยูในซอฟตแวร AQUIS จะมีสวนชวย

ในกระบวนการปรับแตงนี้ การพบความผิดปกติตางๆ ขณะทําการเปรียบเทียบจะถูกจําแนกดวยการ

คํานวณ และการสังเกตและทําการบันทึกไวอยางเปนระเบียบ

การปรับแตงแบบจําลอง ( Calibrate the Model ) ระหวางทําการปรับแตง Model จะมีการ

ปรับแตง และพยายามทําการทดสอบ (simulation) เพื่อใหแนใจวา แบบจําลอง มีความแมนยําสูง

การปรับแตงแบบจําลอง จะข้ึนอยูกับ ความหยาบของผนังทอ, ขนาดเสนผาศูนยกลางทอ, สถานะ

วาลว (เปด/ปด) และการกระจายตัวของความตองการการใชน้ํา

มาตรฐานของความแมนยําในการปรับแตงอยูท่ีประมาณ 80% ของปริมาณขอมูลพื้นท่ี

ท้ังหมด จะมีคาความคลาดเคล่ือน (Tolerance level) อยูในระดับแรงดัน + หรือ – 1.3 เมตรของเฮด

น้ําท่ีจุดวัด

เม่ือเสร็จส้ินกระบวนการปรับแตง จะนําเสนอรายงานรายละเอียดตอการปะปาดังตอไปนี้

• รายละเอียดท้ังหมดของโมเดล

• วิธีการ และหลักการในการปรับแตง

• ขอมูลพื้นท่ีท่ีใชในโครงการ

• ผลของการตรวจพบ และคําแนะนํา

จําแนกและบันทึก การพบความผิดปกติตางๆ ขณะทําการเปรียบเทียบจะถูกจําแนกดวยการ

คํานวณและคอยสังเกตคาและทําการบันทึกไวอยางเปนระเบียบส่ิงผิดปกติท่ีเกี่ยวกับความไม

แนนอนของ มาตรวัดน้ํา, วาลวท่ีปด หรือจุดตอทอท่ีไมทราบโดยการทําการเก็บขอมูลพื้นท่ีท่ีมีอยู

พิจารณาตรวจสอบและปรับแตงโมเดล (AQUIS) ดวยขอมูลท่ีไดจากภาคสนามขอมูลท่ีได

จากภาคสนามท้ังหมด จะตองนํามาปรับแตงแบบจําลอง

หลังจากการปรับแตงโมเดลเสร็จส้ินดวยการใสรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติม เชน

• สวนประกอบในระบบที่มีการเคล่ือนไหว (Dynamic network elements) เชน วาลว, ปม,

ถังพักน้ํา) ในรูปแบบ รหัสสีท่ีเคล่ือนไหวได

• การกําหนดการลดแรงดัน (Pressure reduction assessment)

37  

แบบจําลองของโครงขายระบบทอจายน้ําท่ีปรับแตงแลว จะชวยใหเห็นภาพรวมของ

ลักษณะทางชลศาสตร (Hydraulic) ของแตละสาขา ซ่ึงจะชวยสนับสนุนการออกแบบและคํานวณ

ปริมาณนํ้าและแรงดันน้ําท่ีจายเขาแตละ DMA ได

แบบจําลองจะชวยในการประเมินแบบของ DMA ท่ีออกแบบไววาจะสามารถรองรับกับ

สถานการณท่ีแยท่ีสุดไดหรือไมเชน การใชสถานการณของเดือนท่ีมีการใชน้ํามากท่ีสุดของปท่ีแลว

มาทดสอบกับแบบจําลอง โดยคํานวณเปนเวลาหนึ่งสัปดาหเพื่อประเมินวา DMA ท่ีออกแบบไวจะ

สามารถรับสถานการณดังกลาวไดหรือไม

การเปล่ียนแปลงท้ังหมดท่ีเกิดข้ึนกับโครงขาย เนื่องจากการจัดต้ัง DMA/PMA เชน การปด

วาลว, การลดแรงดันน้ําดวย PRV, การปดการจายน้ําจากเสนทอบางเสน เปนตน จะถูกทดสอบใน

แบบจําลอง เพื่อดูผลลัพธของการจัดต้ัง DMA ตามแบบท่ีออกแบบไววาจะกระทบกับการจายน้ําใน

สาขาอยางไรบาง

สําหรับทุก DMA ท่ีออกแบบไวสามารถแสดงลักษณะทางชลศาสตรเพื่อนําไปวิเคราะห

และแสดงผลได

ปริมาณนํ้าท่ีเขาแตละ DMA สามารถคํานวณคาสูงสุดและตํ่าสุดในชวงเวลาตาง ๆ กันใน

สัปดาหได (การใชน้ําท่ีแตกตางกันในชวงวันทํางานกับวันหยุดตองนํามาวิเคราะหดวย) ก็จะ

สามารถชวยเลือกขนาดของมิเตอรท่ีเหมาะสมสําหรับ DMAได

แรงดันน้ําท่ีจุดวิกฤตตาง ๆ ในแตละ DMA จะถูกคํานวณท่ีคาสูงสุดและตํ่าสุดในแตละ

สัปดาห (การใชน้ําท่ีแตกตางกันระหวางวันทํางานและวันหยุดตองนํามาวิเคราะหดวย) เม่ือไดคา

แรงดันน้ําท่ีคํานวณไดแลว ก็จะสามารถตรวจสอบแรงดันน้ําท่ีจุดวิกฤต เปรียบเทียบกับเง่ือนไขใน

การออกแบบได

เคร่ืองมือหรือซอฟแวรท่ีใชสําหรับการจัดทําแบบจําลองโครงขายเพื่อการออกแบบพื้นท่ี

เฝาระวัง ประกอบดวย

• ซอฟตแวรดานชลศาสตร (AQUIS)

• ซอฟตแวรดานการเช่ือมโยงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Model Manager)

• ซอฟตแวรดานการเช่ือมโยงระบบ SCADA (Data Manager)

38  

3.2.2 เกณฑการออกแบบพื้นท่ีจัดการแรงดันน้ํา (DMA)

การออกแบบพื้นท่ีควบคุมแรงดันน้ํา (PMA) จากพ้ืนท่ีหรือกลุมพื้นท่ีเฝาระวัง (DMA) จะ

อางอิงตามหลักข้ันตอนการปฏิบัติของ IWA และการใชแบบจําลองโครงขายทอประปามา

ดําเนินการวิเคราะหหาพื้นท่ีจัดการแรงดันน้ําโดยการติดต้ังประตูน้ําลดแรงดัน (PCV)

3.2.2.1 การออกแบบ PMA โดยแบบจําลองโครงขายระบบทอ

เง่ือนไขการออกแบบพื้นท่ีควบคุมแรงดันน้ํา :

• แรงดันน้ําณ จุดจายน้ําจากทอประธานเขาพื้นท่ีออกแบบควบคุมแรงดันควรมีคา

กวา 13 เมตร โดยประมาณ และจุดท่ีมีแรงดันตํ่าท่ีสุดในพื้นท่ีออกแบบควรมีคาไม

ตํ่ากวาระดับแรงดันใหบริการที่การประปานครหลวงกําหนดไว

• กรณีบริเวณพ้ืนท่ีปลายทอจายนํ้าของแตละพื้นท่ีสํานักงานประปาสาขามีระดับ

แรงดันใหบริการไมเพียงพอจึงพิจารณาออกแบบพื้นท่ีควบคุมแรงดันบริเวณพื้นท่ี

ใกลสถานีสูบจายน้ําเพื่อควบคุมแรงดันน้ําท่ีตนทางในระบบทอจายนํ้าใหมีระดับ

ท่ีเหมาะสม เพื่อชดเชยแรงดันไปสูระบบทอท่ีปลายทางใหมีคาเพิ่มข้ึน

• ในกรณท่ีบางพ้ืนท่ีมีปริมาณน้ําสูญเสียสูงเนื่องจากมีการร่ัวไหลในระบบทอ

ประปาที่ชํารุดหรือหมดสภาพการใชงานแตยังไมสามารถจัดหางบประมาณเพ่ือ

ปรับปรุงหรือเปล่ียนทดแทนทอเดิมไดจึงตองดําเนินการจัดต้ังระบบพ้ืนท่ีควบคุม

แรงดันเปนการช่ัวคราวเพื่อควบคุมปริมาณนํ้าสูญเสียในพื้นท่ีดังกลาว

การออกแบบ PMA:

ในการเลือกพื้นท่ีเพื่อจัดการแรงดันน้ํา ทีมงานฯ จะใชขอมูล GIS ท่ีการประปานครหลวง

จัดเตรียมใหสรางแบบจําลองลักษณะทางภูมิประเทศของพ้ืนท่ีสาขา เพื่อเลือกพื้นท่ีจัดการแรงดัน

น้ําตลอดจนชวยในการกําหนดจุดติดต้ังประตูน้ําลดแรงดัน (PCV) ท่ีเหมาะสม

39  

ภาพท่ี 3.4 ตัวอยางของ PMA ท่ีออกแบบโดยการวิเคราะหโครงขายระบบทอ

3.2.2.2 ทดสอบแรงดันเบ้ืองตนในพื้นท่ี

ข้ันตอนนี้ทีมงานฯ จะดําเนินการติดต้ังอุปกรณบันทึกแรงดันในพื้นท่ีท่ีหัวดับเพลิงสําหรับ

ตรวจสอบสภาพแรงดันน้ํากอนการติดต้ังประตูน้ําลดแรงดัน เพื่อตรวจสอบคาแรงดันน้ําในพื้นท่ี

3.2.2.3 เลือกประตูน้ําลดแรงดัน

หลังจากการทดสอบวัดแรงดันน้ําในพื้นท่ีแลว มีคาเหมาะสมเพียงพอตอการติดต้ังประตูน้ํา

ลดแรงดัน คือ ควรมีอัตราสวนแรงดันระหวางแรงดันน้ําดานเขาตอแรงดันน้ําดานออกของประตูน้ํา

ลดแรงดันอยูท่ี 3:1 โดยประมาณแลว จึงจะดําเนินการเลือกประเภทของประตูน้ําลดแรงดันเพื่อ

ติดต้ังตอไป

3.2.2.4 ติดต้ังประตูน้ําลดแรงดัน

การติดต้ังประตูน้ําลดแรงดัน (PCV) จะดําเนินการไปพรอมๆกันกับการติดต้ังมาตรวัดและ

อุปกรณวัดแรงดันน้ําและระบบตรวจวัดและควบคุมภาคสนาม (RTU) ของพื้นท่ีเฝาระวัง

3.3 ขอจํากัดของระบบทอประปาในการออกแบบและจัดต้ัง DMA/PMA และแนวทาง

การแกไขปญหา

กรณีวางทอประธานใหมผานพื้นท่ีออกแบบ

40  

• ออกแบบพื้นท่ี DMA และติดต้ังมาตรวัดน้ําท่ีจุดรับนํ้าจากทอประธานใหมแตจะ

ทําการทดสอบและสงมอบงานนั้นตามระบบทอประปาท่ีมีอยูเดิม

• ภายหลังท่ีทอประธานใหมแลวเสร็จใหทางการปะปายกเลิกแนวทอจายน้ําเดิม

กรณีท่ีพื้นท่ีออกแบบมีคาแรงดันน้ําเฉล่ียตํ่าใหทางการปะปาพิจารณา

• เพิ่มแรงดันน้ําท่ีทอประธาน หรือ

• เพิ่มขนาดทอจายน้ําหรือ

• วางทอใหม

หรือพิจารณาออกแบบปรับปรุง

• ขนาดพื้นท่ีเฝาระวัง

• จํานวนผูใชน้ํา

• เพิ่มจํานวนมาตรวัดน้ําเขาพื้นท่ี

ซ่ึงจะแตกตางจากเกณฑข้ันท่ีกําหนดไวในหัวขอกอน

3.4 กรรมวิธีและแนวทางในการปฏิบัติงานภาคสนาม

พื้นท่ีเฝาระวังท่ีไดรับการออกแบบและตรวจสอบ โดยการใชแบบจําลองโครงขายท่ีไดรับ

การปรับแกความคลาดเคล่ือนแลว ก็ยังควรท่ีจะมีการสํารวจและตรวจสอบทางชลศาสตรใน

ภาคสนามดังรายการขางลางกอนจะมีการจัดต้ังระบบพื้นท่ีเฝาระวังอยางถาวรตอไป

3.4.1 การทดสอบแรงดันเทากับศูนย (Zero Pressure Test)

การทดสอบพื้นท่ีเฝาระวังท่ีออกแบบกอนการติดต้ังมาตรวัดน้ําจริง คือ การทดสอบ Zero

Pressure Test หรือการทดสอบความถูกตองของพื้นท่ีเฝาระวัง เพื่อตรวจสอบวามีน้ําผานเขาพื้นท่ี

หรือไมหลังจากปดเสนทอจายน้ําเขาพื้นท่ีซ่ึงมีรายละเอียดและวิธีการดังนี้ จะทําการปดการจายน้ํา

ทุกเสนทอท่ีเขาสูพื้นท่ีเฝาระวัง แลววัดแรงดันน้ําหลายจุดกระจายวัดใหท่ัวพื้นท่ีทดสอบ แรงดันน้ํา

ท่ีจุดวัดทุกตัวท่ีติดต้ังภายในพื้นท่ีเฝาระวังจะตองมีคาเปนศูนยหลังจากท่ีทําการปดการจายน้ําครบ

ทุกเสนทอแลว ตอจากนั้นใหเปดการจายน้ําเขาเฉพาะจาก เสนท่ีท่ีคาดไววาจะติดต้ังมาตรวัดน้ําของ

พื้นท่ีเฝาระวัง จากนั้นใหอานคาแรงดันน้ําอีกคร้ังหนึ่ง ซ่ึงมีคาเทากันหรือใกลเคียงกับแรงดันน้ํา

41  

ปกติของพื้นท่ีเฝาระวังนั้น ซ่ึงจะตองประเมินดวยวาเปนคาท่ีสามารถยอมรับไดตามเง่ือนไขการ

ออกแบบหรือไมทีมงานฯ จะทําการเก็บขอมูลแรงดันน้ําขณะทําการทดสอบ Zero Pressure Test

ของแตละพื้นท่ีเฝาระวัง และนําเสนอในรูปกราฟประกอบ รายงานผลการทดสอบคาแรงดันน้ําท่ี

เปนศูนยและคาแรงดันน้ําปกติของพื้นท่ีเฝาระวังใหกับการปะปา

ในกรณีท่ีทําการทดสอบ Zero Pressure Test ไมผานตามเกณฑท่ีกําหนด จะตองทําการ

ออกแบบใหมหรือทําการสํารวจแนวทอและประตูน้ําแลวดําเนินการทดสอบใหมอีกคร้ังหนึ่ง

ข้ันตอนการทดสอบ

1. ตรวจสอบภาคสนาม

• สํารวจตําแหนง และการใชงานไดของหัวดับเพลิงในพ้ืนท่ี

• ตรวจสอบความสมบูรณของประตูน้ํากั้นขอบเขต

2. ติดต้ังอุปกรณบันทึกแรงดันน้ํา

• ติดต้ังอุปกรณบันทึกแรงดันน้ําท่ีหัวดับเพลิง

• ตําแหนงท่ีติดต้ังอุปกรณบันทึก คือบริเวณจุดติดต้ังมาตรวัดน้ําเขา,จุดแรงดันวิกฤต

บริเวณศูนยกลางของพ้ืนท่ีรวมในพื้นท่ีทั้งหมด 3 จุดเพื่อใหม่ันใจวาพื้นท่ีเฝาระวัง

นั้นถูกแยกออกจากกันโดยส้ินเชิง

• การบันทึกขอมูลแรงดันในอุปกรณบันทึกจะบันทึกขอมูลกอนการ Zero Pressure

Test ประมาณ 24 ชม. เก็บคาทุกๆ ชวงเวลา 1 นาที

3. การปดประตูน้ํากั้นขอบเขต

• ปดประตูน้ํากั้นขอบเขตในพ้ืนท่ีใหมีน้ําผานเขาจุดติดต้ังมาตรวัดน้ําตามจํานวนท่ี

ออกแบบ

• ตรวจสอบแรงดันน้ําหลังปดประตูนํ้ากั้นขอบเขตวามีแรงดันเปล่ียนแปลงมากนอย

เพียงใด

4. ปดประตูน้ําเขาพื้นท่ีเฝาระวัง (จุดติดต้ังมาตรวัดน้ําเขา)

• ปดประตูน้ําเขาพื้นท่ีบริเวณจุดท่ีจะติดต้ังมาตรวัด เปนเวลา 20 นาทีโดยประมาณ

42  

หลังจากท่ีการทดสอบแรงดันเทากับศูนย (Zero Pressure Test) เสร็จสมบูรณพื้นท่ีเฝาระวัง

จะยังคงถูกแยกเปนพื้นท่ีวิเคราะหทางชลศาสตรตอไป และจะติดต้ังอุปกรณบันทึกขอมูลแรงดัน

ตอไปอีกประมาณ 24 ชม.

3.4.2 การทดสอบการใชน้ําสูงสุด (Peaked Flow Demand Test)

การทดสอบการใชน้ําสูงสุดเปนข้ันตอนในการทดสอบตอจากการทดสอบ Zero Pressure

Test โดยปดประตูน้ํากั้นขอบเขตท้ังหมด แลวใหมีน้ําผานเขาพื้นท่ีออกแบบที่จุดติดต้ังมาตรวัดเปน

เวลา 20-30 นาทีโดยประมาณ และจากนั้นเปดน้ําท่ีหัวดับเพลิงในพ้ืนท่ีเปนเวลาประมาณ3-10 นาที

เพื่อทดสอบการเปล่ียนแปลงของแรงดันน้ําในกรณีท่ีมีความตองการใชน้ําสูงสุด

43  

3.4.3 Flow Chart ข้ันตอนการทดสอบ

ภาพท่ี 3.5 Flow Chart ข้ันตอนการทดสอบ

44  

3.5 สรุปผลการทํา step test

หลังจากท่ีทําการทดสอบแรงดันเทากับศูนย (Zero Pressure Test) เสร็จสมบูรณพื้นท่ีเฝา

ระวังจะยังคงถูกแยกเปนพืน้ท่ีวิเคราะหทางชลศาสตรตอไป

สรุปผลจากการทํา step test

ตารางท่ี 3.2 ผลการทํา step test

45  

ทําการสํารวจจากผลการทํา step test

ภาพท่ี 3.6 การสํารวจและทําสัญลักษณจุดร่ัว

ทําการสงจุดร่ัวเพื่อซอม

ภาพท่ี 3.7 การตัดบรรจบทอท่ีบริเวณท่ีมีทอแตก

46  

จากขอมูลของ DMA 340301 จากเดิมท่ี Night Flow ของ DMA อยูท่ี 70 คิว/ช่ัวโมง พอมี

ทอแตกในพ้ืนท่ี Night Flow ของกราฟข้ึนเปน 130 คิว/ช่ัวโมง แสดงใหเห็นวามีปริมาณนํ้าท่ีร่ัวของ

จากระบบสูงถึง 60 คิว/ช่ัวโมงดังนั้นเม่ือทําการสํารวจแลวทําการซอมแลวระดับ Night Flow ก็ตก

ลงมาอยูท่ี 70 คิว/ช่ัวโมง ซ่ึงมีปริมาณนอยกวากอนเขาสํารวจซ่ึงถือเปนผลสําเร็จของการสํารวจใน

DMA 340301 แสดงดังรูปท่ี 3.8

ภาพท่ี 3.8 กราฟ Night Flow