KAAG 483 ประมวลรายวิชา KA-59up file3 31 ส.ค. 2559...

3
1 ประมวลรายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร 1. ชื่อหลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรการเกษตร) มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี 2. รหัสรายวิชา : KAAG 483-Agricultural Biotechnology จํานวนหนวยกิต : 3(3-0) credits 3. ประเภทวิชา : เลือก วิชาบังคับกอ: - 4. การเปดสอน : ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2559 5. ผูประสานงานรายวิชา : สุรวุฒน อยูยงเวชช (PhD., Assist. Prof.) 6. คําอธิบายรายวิชา เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแลว นักศึกษาสามารถเขาใจ และอธิบายกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพัฒนา การจัดการและ การผลิ ผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมตอเหตุการณ การปรับปรุงพันธุพืชและผลิตภัณฑจากพืช โดยอาศัย ความรูพื้นฐาน ทางพันธุกรรมของพืช การปรับปรุงพันธุพืชดวยวิธีทางวิศวกรรมพันธุศาสตร ในพืชสําคัญทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ชีวภาพกับพลังงานทางเลือก สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยีการผลิตสัตวบกและสัตวน้ํา 7. วัตถุประสงครายวิชา 7.1 อธิบายจุดประสงค ความสําคัญของเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร 7.2 อธิบายความสัมพันธและใชประโยชนของเทคโนโลยีชีวภาพในการเกษตรแขนงตางๆ ได 7.3 อธิบายเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพในสวนที่สนใจได 7.4 สามารถวิเคราะหและสังเคราะห ปจจัย ผลกระทบ ปญหา และปรับปรุงเทคโนโลยีชีวภาพในทางการเกษตรได 8. เคาโครงรายวิชา บรรยาย: พุธ 09:00-12:00 หอง: < 2218 > สัปดาห วันทีหัวขอ ผูแนะนํา 1 17 .. 2559 แนะนําการศึกษาทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร จุดประสงคของการศึกษาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร ความสําคัญของเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร ความสัมพันธของเทคโนโลยีชีวภาพกับการทําเกษตรกรรม ผศ. สุรวุฒน 2 24 .. 2559 การประยุกตใช bio-film กับการเกษตร รายละเอียดการประยุกตใช bio-film ในทางการเกษตร . จีรั 3 31 .. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตวน้ํา 1 Crustacean neuroendocrinology and endocrine manipulation of the commercially important crustaceans to increase production ผศ. ยสวันต 4 7 .. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตวน้ํา 2 Biotechnology for shrimp diseases prevention and therapy ผศ. จรูญโรจน 5 14 .. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพสําหรับสัตวบก Hybridoma Technology Animal Diagnosis . ปณัฐ

Transcript of KAAG 483 ประมวลรายวิชา KA-59up file3 31 ส.ค. 2559...

Page 1: KAAG 483 ประมวลรายวิชา KA-59up file3 31 ส.ค. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตว น้ํา1 • Crustacean

1

ประมวลรายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร 1. ชื่อหลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรการเกษตร)

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุร ี

2. รหัสรายวิชา : KAAG 483-Agricultural Biotechnology จํานวนหนวยกิต : 3(3-0) credits

3. ประเภทวิชา : เลือก วิชาบังคับกอน : -

4. การเปดสอน : ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2559

5. ผูประสานงานรายวิชา : สุรวุฒน อยูยงเวชช (PhD., Assist. Prof.)

6. คําอธิบายรายวิชา เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแลว นักศึกษาสามารถเขาใจ และอธิบายกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพัฒนา การจัดการและ

การผลติ ผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมตอเหตุการณ การปรับปรุงพันธุพืชและผลิตภัณฑจากพืช โดยอาศัย

ความรูพื้นฐาน ทางพันธุกรรมของพืช การปรับปรุงพันธุพืชดวยวิธีทางวิศวกรรมพันธุศาสตรในพืชสําคัญทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี

ชีวภาพกับพลังงานทางเลือก สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยีการผลิตสัตวบกและสัตวน้ํา

7. วัตถุประสงครายวิชา 7.1 อธิบายจุดประสงค ความสําคัญของเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร 7.2 อธิบายความสัมพันธและใชประโยชนของเทคโนโลยีชีวภาพในการเกษตรแขนงตางๆ ได 7.3 อธิบายเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพในสวนที่สนใจได 7.4 สามารถวิเคราะหและสังเคราะห ปจจัย ผลกระทบ ปญหา และปรับปรุงเทคโนโลยีชีวภาพในทางการเกษตรได

8. เคาโครงรายวิชา บรรยาย: พุธ 09:00-12:00 หอง: < 2218 >

สัปดาห วันที่ หัวขอ ผูแนะนํา

1 17 ส.ค. 2559

แนะนําการศึกษาทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

• จุดประสงคของการศึกษาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

• ความสําคัญของเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

• ความสัมพันธของเทคโนโลยีชีวภาพกับการทําเกษตรกรรม

ผศ. สุรวุฒน

2 24 ส.ค. 2559 การประยุกตใช bio-film กับการเกษตร

• รายละเอียดการประยุกตใช bio-film ในทางการเกษตร

อ. จีรัณ

3 31 ส.ค. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตวน้ํา 1

• Crustacean neuroendocrinology and endocrine manipulation of the commercially important crustaceans to increase production

ผศ. ยสวันต

4 7 ก.ย. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตวน้ํา 2

• Biotechnology for shrimp diseases prevention and therapy

ผศ. จรูญโรจน

5 14 ก.ย. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพสําหรับสัตวบก

• Hybridoma Technology

• Animal Diagnosis

รศ. ปณัฐ

Page 2: KAAG 483 ประมวลรายวิชา KA-59up file3 31 ส.ค. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตว น้ํา1 • Crustacean

2

6 21 ก.ย. 2559 การใชเครื่องหมายดีเอ็นเอในการจัดจําแนกพันธุพืช

• การหาความสัมพันธทางพันธุกรรมของพืช

• การตรวจสอบลักษณะการกระจายตัวของลูกผสม

• การตรวจสอบเครื่องหมายดีเอ็นเอจําเพาะ

อ. ปรัชญา

7 28 ก.ย. 2559 เชื้อ Mycorrhiza กับการปรับตัวทางการเกษตร

• ความสําคัญ/และการประยุกตใช MF ทางการเกษตร

ผศ. สุรวุฒน

8 5 ต.ค. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพอินทรีย (organic) กับการเกษตร

• เทคโนโลยชีีวภาพอินทรียทางการเกษตร

ผศ. สุรวุฒน

9 สอบกลางภาค 10-14 ต.ค. 59

10 19 ต.ค. 2559 การปรับปรุงพันธุพืชโดยการชักนําใหเกิดการกลายพันธุ

• การถายยีน และการตรวจสอบ ผศ. สุรวุฒน

11 26 ต.ค. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพทางพืชกับการปรับตัวของพืชในสภาวะปจจุบัน

• การปรับตัวของพืชในสภาวะอุณหภูมิไมปรกติ

•การประยุกตใชเทคโนโลยีชีวภาพและตัวอยางศึกษาของพืชเกษตรใน สภาวะอุณหภูมิไมปรกติ

ผศ. สุรวุฒน

12 2 พ.ย. 2559

พลังงานกับเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

• พลังงานกับเทคโนโลยีชีวภาพในปจจุบัน

• แนวโนมการพัฒนาพลังงานสูอนาคต

ผศ. สุรวุฒน

13 9 พ.ย. 2559

สิ่งแวดลอมกับเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

• การใชแนวระบบ Ecosystem กับการพัฒนาการเกษตร

• การประยุกตใชและตัวอยางศึกษาของระบบนี ้

ผศ. สุรวุฒน

14 16 พ.ย. 2559

พืชอาหารกับเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

• รูจักเทคโนโลยีชีวภาพกับพืชอาหาร

• พันธุวิศกรรมสามารถทําใหผลผลิตของพืชอาหารเพิ่มขึ้นจริงหรือไม

• ประโยชนและโทษของเทคโนโลยีชีวภาพพืชอาหาร

ผศ. สุรวุฒน

15 23 พ.ย. 2559 กฎ ระเบียบ ขอตกลง และจริยธรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ ผศ. สุรวุฒน

16 30 พ.ย. 2559 ประมวลรายหัวขอปลายภาค-นําเสนอผลงานหรือสงงาน ผศ. สุรวุฒน

17 สอบปลายภาค 6-16 ธ.ค. 59

ผูแนะนํา ผศ.ดร. จรูญโรจน โชติวิวัฒนกุล Email: [email protected] ดร. จีรัณ กิ่งแกว Email: [email protected] รศ.นสพ.ดร. ปณัฐ อนุรักษปรีดา Email: [email protected] ดร. ปรัชญา เตวิยะ Email: [email protected] ผศ.ดร. ยสวันต ตินิกุล Email: [email protected] ผศ.ดร. สุรวุฒน อยูยงเวชช Email: [email protected]

Page 3: KAAG 483 ประมวลรายวิชา KA-59up file3 31 ส.ค. 2559 เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตว น้ํา1 • Crustacean

3

9. สัดสวนคะแนนในการประเมินผล 1. การสอบกลางภาค 25 %

2. การสอบปลายภาค 25 %

3. แบบฝกหัด และหรือรายงาน (15) + การนําเสนอรายงาน (10) 25 %

4. ความคิดสรางสรรค การปฏิสัมพันธ และ Workshop 15 %

5. การเขาชั้นเรียน 10 %

รวม 100 %

10. เกณฑการวัดผลและประเมินผลสัมฤทธิ์ในการศึกษา: ตามเกณฑไมอิงกลุม A 80%-100% D+ 55%-59.9% B+ 75%-79.9% D 50%-54.9% B 70%-74.9% F <50% C+ 65%-69.9% C 60-64.9%

11. เอกสารอางอิง Lemaux P. G. 2008. Genetically Engineered Plants and Foods: A Scientist’s Analysis of the Issues (Part I) Annu. Rev. Plant Biol. 59:771–812 Bulley SM, Rassam M, Hoser D, Otto W, Schunemann N, Wright M, MacRae E, Gleave A and Laing W. 2009.

Gene expression studies in kiwifruit and gene over-expression in Arabidopsis indicates that GDP-L-galactose guanyltransferase is a major control point of vitamin C biosynthesis. Journal of Experimental Botany. 60: 765–778, etc.