บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf ·...

59
บทที2 เอกสารและการศึกษาที่เกี่ยวของ ในการศึกษาการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาล วัดศรีปงเมือง จังหวัดเชียงใหม ผูศึกษาไดศึกษาเอกสาร และการศึกษาที่เกี่ยวของดังนี1. ความสําคัญและความหมายของการดูแลชวยเหลือนักเรียน 2. กรอบแนวคิดระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน 3. วินัยและการปฏิบัติตนทั่วไปของระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียน เทศบาลวัดศรีปงเมือง 4. งานปกครอง และงานแนะแนว 5. การศึกษาที่เกี่ยวของ ความสําคัญและความหมายของการดูแลชวยเหลือนักเรียน ในสวนของความสําคัญของการดูแลชวยเหลือนักเรียนนั้น ผูบริหาร คณะครู บุคลากร รวมทั้งผูปกครองนักเรียนตองตระหนักวา ปจจุบันนี้ปญหาตาง ทางสังคมจะเกิดขึ้นมากกับ กลุมนักเรียนที่เปนเด็กวัยรุปญหาและสาเหตุอาจมาจากครอบครัว ไดแก ครอบครัวแตกแยก ครอบครัวยากจน ครอบครัวที่ผูปกครองขาดการเอาใจใสดูแล และครอบครัวที่ผูปกครองเลี้ยงดู อยางเขมงวดกวดขันมากจนเกินไป หรืออาจมีสาเหตุมาจากสังคมสิ่งแวดลอมรอบขาง และ การคบเพื่อนที่ไมดี เปนตน ซึ่งสาเหตุเหลานี้กอใหเกิดผลกระทบตอนักเรียนตามมา เมื่อโรงเรียน รับภาระที่ตองดูแลนักเรียนดานความเปนอยูตาง มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเขาใจใน หลักการปกครองนักเรียน หลักการดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางถูกตอง ตามที่กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 1) กลาววา การพัฒนานักเรียนใหเปนบุคคลที่มี คุณภาพทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรมและมีวิถีชีวิตที่เปนสุข ตามที่สังคมมุงหวังไว โดยผานกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากดําเนินการดวยการสงเสริม สนับสนุนนักเรียนแลว การปองกันและการชวยเหลือแกปญหาตาง ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนก็เปน สิ ่งสําคัญประการหนึ่งของการพัฒนา เนื่องจากสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งดานการสื่อสาร เทคโนโลยีตาง ซึ่งนอกจากสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางมากทั้งดานการสื่อสาร

Transcript of บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf ·...

Page 1: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

บทที่ 2

เอกสารและการศึกษาที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาล วัดศรีปงเมือง จังหวดัเชียงใหม ผูศึกษาไดศึกษาเอกสาร และการศึกษาที่เกี่ยวของดังนี้ 1. ความสําคัญและความหมายของการดแูลชวยเหลือนกัเรียน

2. กรอบแนวคิดระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน 3. วินัยและการปฏิบัติตนท่ัวไปของระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียน เทศบาลวัดศรีปงเมือง

4. งานปกครอง และงานแนะแนว 5. การศึกษาท่ีเกี่ยวของ ความสําคัญและความหมายของการดูแลชวยเหลือนักเรียน

ในสวนของความสําคัญของการดูแลชวยเหลือนักเรียนนั้น ผูบริหาร คณะครู บุคลากร รวมท้ังผูปกครองนักเรียนตองตระหนกัวา ปจจุบันนี้ปญหาตาง ๆ ทางสังคมจะเกิดข้ึนมากกับ กลุมนักเรียนท่ีเปนเดก็วยัรุน ปญหาและสาเหตุอาจมาจากครอบครัว ไดแก ครอบครัวแตกแยก ครอบครัวยากจน ครอบครัวท่ีผูปกครองขาดการเอาใจใสดูแล และครอบครัวท่ีผูปกครองเล้ียงดูอยางเขมงวดกวดขันมากจนเกินไป หรืออาจมีสาเหตุมาจากสังคมส่ิงแวดลอมรอบขาง และ การคบเพื่อนท่ีไมด ี เปนตน ซ่ึงสาเหตุเหลานี้กอใหเกดิผลกระทบตอนกัเรียนตามมา เม่ือโรงเรียนรับภาระท่ีตองดูแลนักเรียนดานความเปนอยูตาง ๆ มีความจําเปนอยางยิง่ท่ีจะตองเขาใจใน หลักการปกครองนักเรียน หลักการดแูลชวยเหลือนักเรียนอยางถูกตอง

ตามท่ีกรมสุขภาพจิต (2544, หนา 1) กลาววา การพัฒนานักเรียนใหเปนบุคคลท่ีมีคุณภาพท้ังดานรางกาย จติใจ สติปญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรมและมีวิถีชีวิตท่ีเปนสุขตามท่ีสังคมมุงหวังไว โดยผานกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากดําเนินการดวยการสงเสริม สนับสนุนนักเรียนแลว การปองกันและการชวยเหลือแกปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนกับนกัเรียนก็เปน ส่ิงสําคัญประการหนึ่งของการพัฒนา เนื่องจากสภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไปท้ังดานการส่ือสาร เทคโนโลยีตาง ๆ ซ่ึงนอกจากสภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไปอยางมากท้ังดานการส่ือสาร

Page 2: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

7

เทคโนโลยีตาง ๆ สงผลกระทบตอผูคนในเชิงบวกแลว ในเชิงลบก็มีปรากฏเชนกัน เปนตนวา ปญหาดานเศรษฐกิจ ปญหาการระบาดของสารเสพติด ปญหาการแขงขันในรูปแบบตาง ๆ ปญหาครอบครัว ซ่ึงกอใหเกิดความทุกข ความวติกกังวล ความเครียด มีการปรับตัวท่ีไมเหมาะสม หรืออ่ืน ๆ ท่ีเปนผลเสียตอสุขภาพจิตและสุขภาพกายของทุกคนท่ีเกี่ยวของ ดังนั้น ภาพความสําเร็จท่ีเกดิจากการพัฒนานักเรียนใหเปนไปตามท่ีมุงหวังไวนัน้ จําเปนตองอาศัยความรวมมือจากผูเกี่ยวของ ทุกฝายทุกคนโดยเฉพาะบุคลากรครูทุกคนในโรงเรียน ซ่ึงมีครูท่ีปรึกษาเปนหลักสําคัญ ในการดําเนินการตาง ๆ เพื่อการดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางใกลชิดดวยความรักและความเมตตา ท่ีมีตอศิษย และความภาคภูมิใจในบทบาทที่มีสวนสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชน ใหเจริญเติบโตงอกงามเปนบุคคลท่ีมีคุณคาของสังคมตอไป

การชวยเหลือนักเรียนเปนขบวนการท่ีตองคิดติดตอกนัไปเปนระยะเวลานาน ในขณะท่ีศึกษานักเรียน นักเรียนจะไดเขาใจตัวเองดีข้ึน และสามารถชวยตัวเองไดในท่ีสุด ดังท่ี ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน (2534, หนา 25) กลาววาโรงเรียนเปนศูนยเยาวชนท่ีนกัเรียนมาอยูรวมกนัทุกวันท่ีโรงเรียนเปดทําการสอนและอยูรวมกันวันละหลายช่ัวโมง บางช่ัวโมงอยูในหองเรียน และบางช่ัวโมงอยูนอกหองเรียนซ่ึงหมายถึงในสนามเลน บริเวณโรงอาหาร ในหองสมุดและบริเวณอ่ืน ๆ ท่ีเปนสถานท่ีของโรงเรียน การปะทะสัมพันธกันและกันระหวางนักเรียนกับนกัเรียน นักเรียนกับครูอาจารยอยูในความถ่ีท่ีสูงท่ีสําคัญคือ นักเรียนมีความแตกตางกันเปนรายบุคคลมาจากครอบครัวและส่ิงแวดลอมท่ีแตกตางกนั สุขภาพกายและสุขภาพจติตางกัน เพศและวยัตางกนั โอกาสที่จะกระทบกระท่ังกนัและกนัจนถึงข้ันแตกสามัคคีและทะเลาะววิาทระหวางบุคคลและระหวางกลุม อาจขยายรวมไปถึงระหวางโรงเรียนมีมาก เนื่องจากนักเรียนมีจํานวนเพิ่มข้ึนตามจํานวนประชากรที่เพิ่มข้ึน ในโรงเรียนหนึง่ ๆ นักเรียนอาจมีไดสูงระหวางสองพันถึงสามพันคน ซ่ึงเปนโรงเรียนขนาดใหญ ปญหาการกระทบกระท่ัง บาดหมางระหวางนักเรียนมีมากข้ึนดวย ต้ังแตเร่ืองเล็กนอยไปถึงเร่ืองใหญท่ีนาเปนหวงและนาตกใจ เชน การไมต้ังใจเรียน หนีเรียน แตงตัวไมสุภาพ รวมตัวกันเปนแกง แสดงทาทีไมเหมาะสมในสถานที่ตาง ๆ พกพาอาวุธ ยกพวกเขาตอยทํารายกนั รับนองดวยวิธีพิสดาร แสดงความรักตอกนัระหวางหญิงชายท่ีไมเหมาะสม ส่ิงเหลานี้เปนเร่ืองของการทําผิดวินยันกัเรียนท้ังส้ิน ผูบริหารพึงทําความเขาใจและ หาวิธีการควบคุมความประพฤติและระเบียบวนิัยนกัเรียนใหเกิดประสิทธิภาพ

ขณะท่ี มหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2541, หนา 46) กลาววา การชวยเหลือนักเรียน มีสวนเกีย่วของในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน ดังนั้นตองทําความเขาใจคุณภาพชีวิต คือ

Page 3: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

8

ชีวิตท่ีมีคุณภาพ เปนชีวติท่ีไมสรางความทุกข ความเดือดรอนใหกับตนเองและผูอ่ืนท้ังในดานรางกายและจิตใจ ไมทําใหคุณงามความดขีองตนเองและผูอ่ืนเสียหายหรือทําลายไปกับท้ังตองเปนชีวิตซ่ึงกอใหเกิดประโยชนตอตนเอง ผูอ่ืน ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และมวลมนุษยชาติ ตองเปนชีวิตท่ีมีอาชีพเปนหลักฐาน มีความรับผิดชอบ เสียสละ เพื่อสวนรวม เปนชีวิตท่ีสรางความสุขความเจริญและสันติสุขเพื่อมวลมนุษยชาติ ชีวิตจะเปนเชนนีไ้ดก็ตอเม่ือเจาของชีวิตเปน ผูกอปรดวยปญญา ศีลธรรม คุณธรรม มีความสมบูรณดวยสุขภาพกายและสุขภาพจิต สามารถปรับตัวใหเขากับส่ิงแวดลอมได มีอาชีพท่ีเหมาะสม สามารถเลี้ยงตนเอง และครอบครัวได สามารถพัฒนาไดเต็มขีดความสามารถของตน มีความพอใจในสภาพท่ีตนเปนและทําได สามารถนําตนเองได คิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และเปนไปในทางท่ีชอบ

การดําเนนิงานระบบการดแูลชวยเหลือนกัเรียนมีจุดมุงหมายเพื่อใหนกัเรียนไดรับ การดูแลชวยเหลือ จากครูประจําช้ันและคณะครูอยางท่ัวถึงโดยมีผูปกครอง ชุมชน หนวยงาน และองคกรท่ีเกี่ยวของเขามามีสวนรวม ดังนั้นความหมายของระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนจึงครอบคลุมเกี่ยวกับงานปกครองและงานแนะแนว เนือ่งจากงานท้ังสองดานเปนการการควบคุมความประพฤติและระเบียบวนิัยนกัเรียน ดงัท่ี ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน (2534, หนา 26) กลาววา เปนภาระหนาท่ีของครูอาจารย ซ่ึงหมายถึงบุคลากรในโรงเรียนนับต้ังแตผูเปนหัวหนาสถานศึกษาลงมาจนถึงบุคลากรฝายตาง ๆ ท่ีเปนครูอาจารยของแตละโรงเรียนซ่ึงเปนท่ีเขาใจวาการบริหารภารกิจนี้เปน การกระทํารวมกัน ดวยจุดหมายสําคัญคือ ใหนกัเรียนเชื่อฟงและกําหนดวาเคร่ืองมือสําคัญท่ีใช ในการบริหารคือ ตัวระเบียบ และการฝาฝนระเบียบยอมหมายถึงการลงโทษ นอกจากนีย้ังเกี่ยวเนื่องกับงานแนะแนวในหลายดาน คือ การดูแลนักเรียนนั้นจําเปนตองทําการเกบ็รวบรวมขอมูล ถือเปนกระบวนการหนึ่งท่ีจําเปนในการดําเนินการงานดูแลชวยเหลือ ซ่ึงนับวาเปนบริการพื้นฐานท่ีสําคัญในบริการ ครูหรือผูแนะแนวจะรูจักนักเรียนแตละคนไดนั้นจําเปนตองอาศัยขอมูลท่ีถูกตองและหลากหลายชัดเจน จึงตองอาศัยความรวมมือจากคณะครูทุกคน และผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับนกัเรียนทุกคนเชนเดียวกนั นอกจากนี้ กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 1) ไดกลาวถึงบทบาทของครูวา ครูควรการทํางานอยางมีระบบท่ีมีกระบวนการทํางาน มีหลักฐานการปฏิบัติงาน มีเทคนิค วิธีการ หรือการใชเคร่ืองมือตาง ๆ เพื่อการดูแลชวยเหลือนกัเรียนแลว ความสําเร็จของ การงานยอมเกดิข้ึนอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ผลดียอมเกิดข้ึนกับทุกคนท้ังทางตรงและทางออม ไมวาจะเปนครู นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน หรือสังคม ดวยเหตุนี้ กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 2) ไดกลาววาบทบาทหนาท่ีของครูในการพัฒนานักเรียน คือ การมีความรักเอ้ืออาทรเอาใจใสดแูลผูเรียนอยางสมํ่าเสมอ การมีมนุษยสัมพนัธ และสุขภาพจิตท่ีดี พรอมท่ีจะแนะนําและรวมกัน

Page 4: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

9

แกปญหาของผูเรียนแสดงใหเห็นวาครูตองพัฒนาตนเองใหเปนครูมืออาชีพ คือนอกจากจะทําหนาท่ีครูผูมีความรู ความสามารถในการจดัการเรียนการสอนใหนกัเรียนแลวยังตองทําหนาท่ีอ่ืน ๆ ท่ีเปนการสนบัสนุนหรือพฒันาใหนักเรียนมีคุณภาพท้ัง ดี เกง มีสุข ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐาน ดานผลผลิต

สวนของความหมายของระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนนั้น กรมสุขภาพจติ (2544, หนา 5) กลาววา เปนกระบวนการดําเนินงานดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางมีข้ันตอน พรอมดวยวิธีการและเคร่ืองมือการทํางานท่ีชัดเจนโดยมีครูท่ีปรึกษาเปนบุคลากรหลักในการดําเนินการ และ มีการประสานความรวมมืออยางใกลชิดกับครูท่ีเกี่ยวของ หรือบุคคลภายนอกรวมท้ังการสนับสนุนสงเสริมจากโรงเรียน

โดย กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 5) ยังไดใหความหมายของการดูแลชวยเหลือวาหมายถึง การสงเสริม การปองกันและการแกไขปญหา โดยมีวิธีการและเคร่ืองมือสําหรับ ครูประจําช้ันหรือครูท่ีปรึกษาท่ีเกีย่วของเพื่อใชในการดาํเนินงานพัฒนานักเรียนใหมีคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงคและปลอดภยัจากสารเสพติด

ดังนั้นอาจสรุปไดวา การดูแลชวยเหลือนกัเรียนนัน้มีความเก่ียวเนื่องกบัการปกครองนักเรียน เพราะเปนงานสงเสริม พัฒนาควบคุม และแกไขความประพฤติของนักเรียนใหอยูในระเบียบวินยั กอใหเกดิความสงบเรียบรอยในการอยูรวมกัน เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียน การสอนใหบรรลุเปาหมายของหลักสูตร และเพื่อการคุมครอง ดูแล รักษา รวมท้ังใหการอบรมศีลธรรม จรรยา มารยาทอันดแีกนกัเรียน นอกจากนัน้มีการดูแลท้ังในการเก็บขอมูลของนักเรียนเพื่อใชเปนฐานในการใหบริการใหคําแนะนําชวยเหลือนกัเรียนเปนรายบุคคลได ซ่ึงรวมถึง งานแนะแนวนักเรียนดวย กรอบแนวคิดระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

เพื่อใหนักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจติท่ีดี ปลอดจากส่ิงเสพติดใหโทษน้ัน การดแูลชวยเหลือนักเรียนถือเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งท่ีจะชวยใหนกัเรียนเปนบุคคลท่ีมีคุณลักษณะ ท่ีสังคมพึงประสงค ท้ังนี้ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนจึงเปนระบบท่ีสามารถดําเนินการไดโดยอาศัยความรวมมือกบัผูมีสวนรวมทุกฝาย ดังท่ี กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 2) กลาววา ความสําคัญท่ีจะมีระบบการดแูลชวยเหลือนักเรียนเพื่อใหมีกระบวนการทํางานเปนระบบมีความชัดเจน การประสานความรวมมือของผูท่ีเกี่ยวของท้ังในและนอกโรงเรียน รวมท้ังวิธีการ กจิกรรมและเครื่องมือตาง ๆ ท่ีมีคุณภาพในการดูแลชวยเหลือนักเรียน อันจะสงผลใหระบบการดแูลชวยเหลือนกัเรียนประสบ

Page 5: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

10

ความสําเร็จโดยมีความแนวคิดหลักในการดําเนินงานโดย กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 2-3) มีหลักแนวคิดในการดําเนินงาน คือ 1. มนุษยทุกคนมีศักยภาพท่ีจะเรียนรูและพัฒนาตนไดตลอดชีวิต เพยีงแตใชเวลาและวิธีการที่แตกตางกัน เนื่องจากแตละคนมีความเปนปจเจกบุคคล ดังนั้นการยึดนักเรียนเปนสําคัญ ในการพัฒนา เพื่อดูแลชวยเหลือท้ังดานการปองกันแกไขปญหา หรือการสงเสริมจึงเปนส่ิงจําเปน

2. ความสําเร็จของงาน ตองอาศัยการมีสวนรวม ท้ังการรวมใจ รวมคิด รวมทํา ของ ทุกคนท่ีมีสวนเกี่ยวของ ไมวาจะเปนบุคลากรของโรงเรียนในทุกระดับ ผูปกครองหรือชุมชน

และดังท่ี แสงเทียน กศน. (2540, หนา 22) ไดกลาววา กระบวนการชวยเหลือคน จะมุงพิจารณาจากสาเหตุเปนสําคัญ จากนั้นจึงดาํเนินการใหความชวยเหลือตามสภาพปญหานั้น ๆ โดยมีเปาหมายสําคัญคือ ชวยใหคนชวยตนเองได เพื่อใหแตละคนรูจักและเขาใจตนเองอยางแทจริง รูจักและเขาใจสภาพแวดลอมรอบตน สามารถคิดและตัดสินใจเลือกไดอยางถูกตองเหมาะสม และสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมและสถานการณตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงคลายกับ กรมสุขภาพจติ (2544, หนา 3) ไดกลาววา ประโยชนจากระบบดแูลชวยเหลือนักเรียน คือ (1) นกัเรียนไดรับการดูแลชวยเหลืออยางท่ัวถึงและตรงตามสภาพปญหา (2) สัมพนัธภาพระหวางครูกับนักเรียนเปนไปดวยดี และอบอุน (3) นักเรียนรูจกัตนเองและควบคุมตนเองได (4) นกัเรียนเรียนรูอยางมีความสุข (5) นกัเรียนพัฒนาความฉลาดทางอารมณ

ดังนั้นระบบดแูลชวยเหลือนกัเรียนจึงมีวัตถุประสงคตามท่ีกรมสุขภาพจิต (2544, หนา 3) ระบุไว ดังนี้

1. เพื่อใหการดําเนินงานดแูลชวยเหลือนกัเรียนของโรงเรียน เปนไปอยางมีระบบและ มีประสิทธิภาพ

2. เพื่อใหโรงเรียน ผูปกครอง หนวยงานท่ีเกี่ยวของ หรือชุมชน มีการทาํงานรวมกนัโดยผานกระบวนการทํางานท่ีชัดเจนพรอมดวยเอกสาร หลักฐานการปฏิบัติงาน สามารถตรวจสอบหรือ รับการประเมินได โดยในการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนจําเปนตองมีปจจยัตาง ๆ ท่ีมีสวนเกี่ยวของเพ่ืออํานวยใหการดาํเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงคได ดังนั้น กรมสุขภาพจติ (2544, หนา 3) จึงไดกําหนดปจจยัท่ีมีผลตอประสิทธิภาพของการดําเนนิงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ไว 5 ประการ ดังนี ้

Page 6: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

11

1. ผูบริหารโรงเรียน รวมท้ังผูชวยผูบริหารโรงเรียนทุกฝายตระหนักถึงความสําคัญ ของการดูแลชวยเหลือนักเรียน และใหการสนับสนุนการดําเนินงาน หรือรวมกิจกรรมตาม ความเหมาะสมอยางสมํ่าเสมอ

2. ครูทุกคนและผูเกี่ยวของจําเปนตองมีความตระหนัก ในความสําคัญของระบบ การดูแลชวยเหลือนักเรียน และมีทัศนคตท่ีิดีตอนักเรียน มีความสุขท่ีจะพัฒนานักเรียนในทุกดาน

3. คุณธรรมการทํางานหรือคณะทํางาน คณะทํางานทุกคณะตองมีการประสานงานกันอยางใกลชิด และมีการประชุมในแตละคณะ อยางสมํ่าเสมอตามท่ีกําหนด

4. ครูท่ีปรึกษาเปนบุคลากรหลักสําคัญในการดําเนนิงานโดยตองไดรับความรวมมือ จากครูทุกคนในโรงเรียน รวมท้ังการสนับสนุนในเร่ืองตาง ๆ จากโรงเรียน

5. การอบรมใหความรูและทักษะ รวมท้ังการเผยแพรขอมูล การใหความรูแก ครูท่ีปรึกษา / ครูประจําช้ัน ผูท่ีเกี่ยวของเพื่อเอ้ือประโยชนตอการดูแลชวยเหลือนกัเรียนเปนส่ิงจําเปน โดยเฉพาะเร่ืองทักษะการปรึกษาเบ้ืองตนและแนวทางการแกไขปญหาตาง ๆ ของนักเรียน โรงเรียนควรดําเนนิการอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ

ดังนั้นจะเห็นไดวาการดําเนนิงานระบบดแูลชวยเหลือนักเรียนจะตองอาศัยความรวมมือกับผูท่ีเกี่ยวของทุกฝายไมวาจะเปนครูท่ีปรึกษา ครูปกครอง ครูแนะแนว ผูบริหาร ผูปกครอง องคกร ท้ังภาครัฐและเอกชนไดรวมมือกนัดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางเปนกระบวนการ มีเอกสาร หลักฐาน รวมท้ัง มีการประเมินคุณภาพของระบบการดูแลชวยเหลือนกัเรียน เพื่อชวยใหนกัเรียนปลอดภัยจากความเส่ียงจากสภาพสังคมปจจุบันในทุกทาง และเพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูในโรงเรียนไดอยางมีความสุข

แนวทางการดาํเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ในการดําเนินงานระบบดแูลชวยเหลือนักเรียนนั้น ครูและบุคลากรในโรงเรียนทุกฝาย

ตองรวมมือกนั รวมถึงผูปกครองนักเรียน ชุมชน หนวยงานและองคการท่ีเกี่ยวของ ท้ังนี้เพื่อใหนักเรียนไดรับการดูแลชวยเหลือ ซ่ึง กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 4) ไดระบุกลยุทธในการพัฒนาเยาวชนวา โรงเรียนสามารถจัดยุทธศาสตรการพัฒนาเยาวชนออกเปน 2 สวน คือ สวนท่ีเกี่ยวของกับโรงเรียนและสวนท่ีเกีย่วของกับชุมชน โดยในสวนของโรงเรียน มีกลยุทธท่ีสําคัญตามลักษณะของกลุมเปาหมาย 3 กลุม คือ

1. ในเดก็ท่ัวไปท่ีไมมีปญหา ทําอยางไรที่จะพัฒนาเด็กเหลานี้ใหมีความม่ันคง และ มีชีวิตท่ีเปนสุข โดยในอนาคตไมตองตกเปนเหยื่อหรือมีปญหาจากอิทธิพลเพ่ือน อิทธิพลโฆษณา และอิทธิพลของส่ิงแวดลอมดานลบตาง ๆ ท่ีอยูรอบตัว

Page 7: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

12

2. ในเดก็กลุมเส่ียงท่ีมีแนวโนมจะมีปญหา คือเด็กท่ีมีความเส่ียง เชน ครอบครัวแตกแยก มาอยูหอพกั อยูในชุมชนท่ีมีปญหามาก การเรียนไมดี หรือเร่ิมมีพฤติกรรมเส่ียง เชน เก็บตัว ไมสนใจเรียน ทําตัวเดนดัง ในกรณีเชนนี้การพัฒนาจะอยูท่ีครูประจําช้ันจะสามารถคัดกรองเด็กวาใครเปนกลุมเส่ียง และมีวิธีการพื้นฐานในการชวยเหลือเด็ก เชน จากกจิกรรมในหองเรียน กจิกรรมเสริมหลักสูตร การหาเพื่อนสนิท การพบปะเดก็เปนรายบุคคลและการพบปะผูปกครอง เพื่อใหปจจัยเส่ียงลดลงจนเปนปกติหรือกระท่ังเปนเด็กท่ีม่ันคงเปนสุขตอไป

3. ในเดก็ท่ีมีปญหาแลว เชน ใชสารเสพติด หนีโรงเรียน มีเพศสัมพนัธกอนวยัอันควร ในกรณีเชนนี้ การแกไขเปนเร่ืองสําคัญ และมักมีความซับซอนเกินกวาท่ีครูประจําช้ันจะดําเนนิการไดตามลําพัง เด็กควรไดรับการสงตอใหครูแนะแนวท่ีมีทักษะในการแกไขปญหาเด็กหรือสงตอไปในระบบใหบริการที่มีผูเช่ียวชาญ เชน ผูใหคําปรึกษา จติแพทย นักจติวิทยา เพื่อใหการชวยเหลือ

ดวยเหตุนี้จะเห็นวาครูประจาํช้ันหรือครูท่ีปรึกษา กับงานปกครอง และงานแนะแนว ถือเปนบุคคล/งานท่ีมีสวนเกีย่วของโดยตรงกบัระบบดแูลชวยเหลือนกัเรียน ท้ังนี้เพือ่เปน การตรวจสอบและหาวิธีท่ีเหมาะสมในการปองกันและแกไขพฤติกรรมเส่ียงตาง ๆ ของนักเรียน

ตามท่ี กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 6) ไดเสนอแผนภูมิแสดงถึงกระบวนการดําเนนิงานตามระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียน เพื่อใหเห็นถึงความรับผิดชอบของครูประจําช้ันหรือครูท่ีปรึกษาตลอดกระบวนการโดยมีการประสานงานหรือรับการสนับสนุนจากผูบริหาร ครูท่ีเกี่ยวของและผูปกครอง ตามแผนภูมิท่ี 1 ดังนี ้

Page 8: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

13

พฤติกรรม

แผนภูมิท่ี 1 กระบวนการดาํเนินงานตามระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียนของครูท่ีปรึกษา

ดีข้ึน ภายใน ไมดีข้ึน

ภายนอก ท่ีมา : กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 6)

2. คัดกรองนักเรียน

กลุมปกติ กลุมเส่ียง / กลุมมีปญหา

1. รูจักนักเรียนเปนรายบุคคล

4. ปองกัน / ชวยเหลือ 3. พัฒนาสงเสริม

5. สงตอ

Page 9: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

14

องคประกอบของระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน สํานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (http://mhtech.dmh.moph.go.th/2002/topic_body.php อางอิงวันท่ี 14 กรกฎาคม 2550) กลาววาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน เปนกระบวนการดําเนนิงานท่ีมีองคประกอบสําคัญ 5 ประการ คือ

1. การรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล 2. การคัดกรองนักเรียน 3. การสงเสริมนักเรียน 4. การปองกนัและแกไขปญหา 5. การสงตอ แตละองคประกอบของระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนดังกลาว มีความสําคัญ มีวิธีการ

และเคร่ืองมือท่ีแตกตางกันไป แตมีความสัมพันธเกี่ยวเนือ่งกันซ่ึงเอ้ือใหการดแูลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเปนระบบท่ีมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 7-9 ) ไดแสดงถึงกระบวนการดําเนินงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ซ่ึงมีวิธีการและเคร่ืองมือตัวอยางท่ีสรุปเปนตารางได ดังนี ้

Page 10: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

15

ตารางท่ี 1 ตัวอยางวิธีการและเคร่ืองมือดําเนินงาน

กระบวนการดําเนินงาน วิธีการ เคร่ืองมือ

1. การรูจักนักเรียนเปน รายบุคคล

1.1 ดานความสามารถ - การเรียน - ความสามารถอ่ืน ๆ

1.2 ดานสุขภาพ - รางกาย - จิตใจ – พฤติกรรม

1.3 ดานครอบครัว - เศรษฐกจิ - การคุมครองนักเรียน

1.4 ดานอ่ืน ๆ

ศึกษาขอมูลจาก 1) ระเบียนสะสม 2) แบบประเมินพฤติกรรม เด็ก (The Strengths and

Difficulties Questionnaire, SDQ) หรือ

3) อ่ืน ๆ เชน - แบบประเมินความฉลาด

ทางอารมณ (Emotion Quotient, E.Q) - การสัมภาษณนกัเรียน - การสังเกตพฤติกรรม นักเรียน - การเยีย่มบานนักเรียน ฯลฯ

1) ระเบียนสะสม 2) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) หรือ 3) อ่ืน ๆ เชน - แบบประเมินความฉลาดทาง อารมณ (E.Q.) - แบบสัมภาษณนกัเรียน - แบบสัมภาษณผูปกครองและ การเยี่ยมบานนักเรียน - แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ ดวยตนเอง

2. การคัดกรองนักเรียน

2.1 กลุมปกติ

2.2 กลุมเส่ียง

2.3 กลุมมีปญหา

วิเคราะหขอมูลจาก 1) ระเบียนสะสม 2) แบบประเมินพฤตกิรรม เด็ก (SDQ) หรือ 3) แหลงขอมูลอ่ืน ๆ

1) เกณฑการคัดกรองนักเรียน แบบสรุปผลการคัดกรองและ 2) ชวยเหลือนกัเรียนเปนรายบุคคล 3) แบบสรุปผลการคัดกรอง นักเรียนเปนหองเรียน

Page 11: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

16

ตารางท่ี 1 (ตอ)

กระบวนการดําเนินงาน วิธีการ เคร่ืองมือ

3. การสงเสริมนักเรียน (สําหรับนักเรียน ทุกกลุม)

จัดกิจกรรมตอไปนี ้ 1) กิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) 2) ประชุมผูปกครองช้ันเรียน (Classroom meeting) 3) กิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีครูพิจารณา

วาเหมาะสมในการสงเสริมนักเรียนใหมีคุณภาพมากข้ึน

1) แนวทางการจัดกิจกรรมโฮมรูม ของโรงเรียน 2) แนวทางการจัดกิจกรรมประชุม ผูปกครองช้ันเรียนของโรงเรียน 3) แบบบันทึก/สรุปประเมินผล การดําเนินกิจกรรม -โฮมรูม - ประชุมผูปกครองช้ันเรียน - อ่ืน ๆ

4. การปองกันและแกไข ปญหา (จําเปนอยางมากสําหรับนักเรียนกลุมเส่ียง / มีปญหา)

1) ใหการปรึกษาเบ้ืองตน 2) ประสานงานกับครูและ ผูเกี่ยวของอ่ืน ๆ เพื่อ การจัดกจิกรรมสําหรับ การปองกนัและ การชวยเหลือแกไขปญหา ของนักเรียน 2.1 กิจกรรมในหองเรียน 2.2 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2.3 กิจกรรมเพื่อนชวยเพือ่น (Buddy) 2.4 กิจกรรมซอมเสริม 2.5 กิจกรรมส่ือสารกับ ผูปกครอง

1) แนวทางการจัดกจิกรรมเพื่อ การปองกันและแกไขปญหา ของนักเรียน 5 กิจกรรม 2) แบบบันทึกสรุปผลการคัดกรอง และชวยเหลือนักเรียนเปน รายบุคคล 3) แบบบันทึกรายงานผลการดูแล ชวยเหลือนักเรียน

Page 12: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

17

ตารางท่ี 1 (ตอ)

กระบวนการดําเนินงาน วิธีการ เคร่ืองมือ

5. สงตอ 5.1 สงตอภายใน 5.2 สงตอภายนอก

1) บันทึกการสงนักเรียน ไปยังครูท่ีเกีย่วของใน การชวยเหลือนักเรียนตอไป เชน ครูแนะแนว ฝายปกครอง ครูประจําวิชา ครูพยาบาล เปนตน ซ่ึงเปนการสงตอภายใน

2) บันทึกการสงนักเรียนไปยังผูเช่ียวชาญภายนอกโดยครูแนะแนวหรือฝายปกครองเปนผูดําเนนิการ

1) แบบบันทึกการสงตอ ของโรงเรียน 2) แบบรายงานแจงผล การชวยเหลือนักเรียน

ท่ีมา : กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 7-9) ท้ังนี้โรงเรียนสามารถพิจารณาเลือกใชวิธีการ และเคร่ืองมืออ่ืน ๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจาก ท่ีระบุเพื่อการดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนตามความเหมาะสมของสภาพโรงเรียน

นอกจากนี้ กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 16-37) ไดระบุข้ันตอนสําหรับสถานศึกษา ในการนําแผนการดําเนนิงานของระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนประกอบดวยกิจกรรมตาง ๆ แนะนําไปปฏิบัติอยางตอเนือ่งเปนเวลา 1 รอบป ซ่ึงมีความสําคัญตอประสิทธิภาพของระบบ การดูแลชวยเหลือนักเรียน โดยมีกิจกรรม ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี ้

กิจกรรมท่ี 1 การแตงต้ังคณะกรรมการ กิจกรรมท่ี 2 การวิเคราะหสภาพความพรอมพื้นฐานของโรงเรียนและจดัทําแผน ปฏิบัติงาน กิจกรรมท่ี 3 การสรางความตระหนักและความเขาใจกบับุคลากร กิจกรรมท่ี 4 การดําเนนิการตามระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียน กิจกรรมท่ี 5 การประเมินเพื่อทบทวน กิจกรรมท่ี 6 การประเมินเพื่อพัฒนาและสรุปรายงาน

Page 13: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

18

กิจกรรมท่ี 1 แตงต้ังคณะกรรมการ 1. วัตถุประสงค 1.1 เพื่อใหไดคณะกรรมการตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียน 1.2 เพื่อใหไดผูรับผิดชอบการดําเนินงานระบบการดแูลชวยเหลือนักเรียน

2. วิธีดําเนนิการ ผูบริหารและผูเกี่ยวของรับผิดชอบการดูแลชวยเหลือนักเรียน โดยดําเนินการแตงต้ังคณะกรรมการ ดังนี ้ 2.1 ประชุมหารือเพื่อกําหนดโครงสรางบุคลากรในระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียน 2.2 แตงต้ังคณะกรรมการอํานวยการ (ทีมนํา) คณะกรรมการประสานงาน (ทีมประสาน) และคณะกรรมการดําเนนิงาน (ทีมทํา) 2.3 กําหนดบทบาท หนาท่ีของคณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการประสานงาน และคณะกรรมการดําเนนิงานในการดูแลชวยเหลือนักเรียน

3. คณะกรรมการระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน คณะกรรมการระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนท้ัง 3 คณะ ไดแก 3.1 โครงสรางบุคลากรในระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน 3.2 การประสานการทํางาน 3.3 องคประกอบของบุคลากรในแตละคณะกรรมการและบทบาทหนาท่ี โดยท่ี กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 18-19) ไดระบุหนาท่ีในรูปของตาราง ดังนี ้

Page 14: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

19

ตารางท่ี 2 องคประกอบของบุคลากรในแตละคณะกรรมการและบทบาทหนาท่ี

คณะกรรมการ บุคลากร บทบาทหนาท่ี

คณะกรรมการ อํานวยการ (ทีมนํา)

1. ผูอํานวยการโรงเรียน ประธาน 2. ผูชวยผูอํานวยการโรงเรยีน กรรมการ 3. หัวหนาระดบัช้ัน กรรมการ 4. หัวหนาแผนงานโรงเรียน กรรมการ 5. ผูแทนผูปกครอง / ชุมชน กรรมการ 6. หัวหนางานแนะแนว กรรมการ 7. ผูชวยผูอํานวยการ กรรมการ ฝายปกครอง และเลขานุการ

1. กําหนดนโยบายวัตถุประสงค ในการดําเนินงานระบบการดูแล ชวยเหลือนกัเรียน 2. แตงต้ังคณะกรรมการอยางนอย ภาคเรียนละ 2 ครั้ง 3. นิเทศ ติดตาม กํากับ การดูแล ชวยเหลือนกัเรียนของโรงเรียน และระดับช้ัน 4. อื่น ๆ ท่ีโรงเรียนกําหนดเพิม่เติม

คณะกรรมการ ประสานงาน (ทีมประสาน)

1. ผูชวยผูอํานวยการฝายปกครอง ประธาน 2. หัวหนาระดบัช้ันทุกช้ัน กรรมการ 3. หัวหนางาน กรรมการ พยาบาล – อนามัย 4. ครูงานแผนงาน สารสนเทศ กรรมการ 5. บุคลากรอ่ืน ๆ กรรมการ 6. หัวหนางานแนะแนวหรือ กรรมการ โรงเรียนพิจารณาบุคคล และเลขานุการ ตามความเหมาะสม

1. ปฏิบัติงานในฐานะเปนบุคลากรหลัก ในการดําเนินงานระบบการดูแล ชวยเหลือนักเรียน 2. ประสานงาน ระหวางคณะกรรมการ อํานวยการ(ทีมนํา)และคณะกรรมการ ดําเนินงาน(ทีมทํา)และหนวยงาน อื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของ 3. จัดเอกสาร เครื่องมือท่ีใชในการ ดําเนินงานและรับผิดชอบจัดประชุม ช้ีแจงและการฝกอบรมใหความรู แกบุคลากร 4. จัดการประชุมปรึกษาหารือ คณะกรรมการในการดูแลชวยเหลอื นักเรียนรวมกันอยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง 5. รายงานสรุปผลการดําเนินงาน 6. อื่น ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

Page 15: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

20

ตารางท่ี 2 (ตอ)

คณะกรรมการ บุคลากร บทบาทหนาท่ี

คณะกรรมการดําเนินงาน (ทีมทํา) แยกเปน 6 คณะตามระดับช้ัน(หากระดับ ช้ันใดมีจํานวนครูมากใหจัดแบงเปน กลุมยอยได)

1. หัวหนาระดบัช้ัน ประธาน 2. รองหวัหนาระดับช้ัน รองประธาน ทุกช้ัน 3. ครูท่ีปรึกษาในระดับช้ัน กรรมการ 4. ครูประจําวิชาในระดับช้ัน กรรมการ 5. ครูแนะแนว 6. โรงเรียนพิจารณาบุคคล กรรมการ ตามความเหมาะสม

1. ประสานงานผูเกี่ยวของประชุมช้ีแจง ทําความเขาใจกับคณะกรรมการ ดําเนินงานในระดับช้ันของตน 2. บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงาน ประเมินผลและจัดทํารายงาน ตามระดับช้ัน 3. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับความตองการของ ครูท่ีปรึกษาเพ่ือประโยชนตอการดูแล ชวยเหลือนกัเรียนและนําเสนอ ทีมประสาน 4. ประชุมรวมกันอยางนอยสปัดาหละ 1 ครั้ง 5. ปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีในงานประจํา ของตน 6. อื่น ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

ท่ีมา : กรมสุขภาพจิต (2544, หนา 18-19)

โดยท่ีคณะกรรมการ บุคลากร และบทบาทหนาท่ี โรงเรียนปรับเปล่ียนไดตาม ความเหมาะสมของโครงสรางคณะกรรมการในระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน การประสาน การทํางาน

บทบาทหนาท่ีของบุคลากรในคณะกรรมการดําเนินงาน กรมสุขภาพจติ (2544, หนา 20-21) ไดกลาวถึงบทบาทและหนาท่ีของบุคลากร

ในการดําเนินงานระบบดแูลชวยเหลือนักเรียน ไวดังนี ้1. หัวหนาระดับ มีบทบาทและหนาท่ี ดังนี้

1.1 ติดตามกํากับการดูแลชวยเหลือนกัเรียนของครูท่ีปรึกษา 1.2 ประสานงานผูเกี่ยวของในการดูแลชวยเหลือนักเรียน

Page 16: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

21

1.3 จัดประชุมในระดับ เพือ่ประสิทธิภาพในการดูแลชวยเหลือนักเรียน 1.4 จัดประชุมกลุมเพื่อการปรึกษารายกรณ ี 1.5 บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงานและจัดทํารายงานประเมินผลระดับช้ัน สงผูบริหาร 1.6 อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

2. ครูท่ีปรึกษา มีบทบาทและหนาท่ี ดังนี ้ 2.1 ดําเนินการดูแลชวยเหลือนักเรียน ท้ังการสงเสริม ปองกันปญหา และการชวยเหลือ แกไขปญหาในดานความสามารถ ดานสุขภาพ ดานครอบครัวหรืออ่ืน ๆ 2.2 ดําเนินการดูแลชวยเหลือนักเรียน ตามแนวทางที่กําหนด คือ การรูจักนกัเรียนเปนรายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การสงเสริมนักเรียน การปองกันและชวยเหลือนักเรียน และการสงตอนักเรียน 2.3 รวมประชุมกลุมปรึกษาปญหารายกรณ ี 2.4 บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงาน และประเมินผลรายงานสงหัวหนาระดับ 2.5 อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

3. ครูประจําวชิาและครูอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ มีบทบาทและหนาท่ี ดังนี ้ 3.1 ใหขอมูลเกี่ยวกับนกัเรียนแกครูท่ีปรึกษา 3.2 ใหความรวมมือกับครูท่ีปรึกษาในการดูแลชวยเหลือนักเรียนรวมกนั 3.3 รวมประชุมกลุมปรึกษาปญหารายกรณี ในกรณีท่ีเกีย่วของกับการดูแลชวยเหลือ 3.4 บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงาน สรุปผลและรายงานสงหัวหนาระดับ 3.5 อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

4. ครูแนะแนว มีบทบาทและหนาท่ี ดังนี ้ 4.1 จัดกิจกรรมคาบแนะแนวเพ่ือพัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน 4.2 สนับสนุนและเปนแกนหลักใหกับครูท่ีปรึกษาในการดูแลชวยเหลือนักเรียน 4.3 ใหการปรึกษานกัเรียนท่ีมีปญหาในกรณีท่ีครูท่ีปรึกษาไมสามารถแกไขหรือ ยากตอการชวยเหลือ 4.4 รวมประชุมกลุมปรึกษาปญหารายกรณ ี 4.5 ในกรณีท่ีนักเรียนมีปญหายากตอการชวยเหลือของครูแนะแนวใหสงตอผูเช่ียวชาญภายนอกและติดตามผลการชวยเหลือนั้น

Page 17: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

22

4.6 บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงานและประเมินผลรายงานสงผูบริหารหรือ หัวหนาระดับ 4.7 อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

กิจกรรมท่ี 2 การวิเคราะหสภาพความพรอมพื้นฐานของโรงเรียนและจดัทําแผน ปฏิบัติงาน

1. วัตถุประสงค 1.1 เพื่อใหทราบสภาพพื้นฐานของโรงเรียนท่ีเกีย่วของกบัระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนเพ่ือใชเปนขอมูลสําหรับวางแผนดําเนินงาน 1.2 เพื่อใหไดแผนปฏิบัติงานระบบการดแูลชวยเหลือนกัเรียนของโรงเรียนตลอด ปการศึกษา

2. วิธีการดําเนินการ 2.1 วิเคราะหสภาพพื้นฐานของโรงเรียนโดยใชแบบประเมินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน เพื่อศึกษาจุดแข็ง จดุออนในดานตาง ๆ ของโรงเรียนท่ีมีผลตอการชวยเหลือนักเรียนและขอเสนอแนะของครูรวมท้ังผูเกี่ยวของในโรงเรียนเกี่ยวกับการดําเนนิงานตามระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน 2.2 วิเคราะหขอมูลท่ีไดเพื่อใชเปนแนวทางในการจดัทําโครงการแผนปฏิบัติงานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนและการจัดกิจกรรมหรือโครงการเพ่ือสนับสนุน ใหระบบการดแูลชวยเหลือนกัเรียนท่ีมีประสิทธิภาพมากข้ึน

กิจกรรมท่ี 3 การสรางความตระหนักและความเขาใจกบับุคลากร 1. วัตถุประสงค 1.1 เพื่อใหบุคลากรทุกคนในโรงเรียนตระหนกัถึงความสําคัญและเหน็คุณคาของระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน โดยมีครูท่ีปรึกษาเปนบุคลากรหลักในการดูแลชวยเหลือนักเรียน 1.2 เพื่อใหบุคลากรทุกคนในโรงเรียนมีความเขาใจในบทบาทภาระหนาท่ีของ การดูแลชวยเหลือนักเรียน 1.3 เพื่อใหบุคลากรทุกคนในโรงเรียนเขาใจข้ันตอน วิธีการดําเนนิงานและ มีการประสานความรวมมือกบัผูเกี่ยวของในโรงเรียนในการดูแลชวยเหลือนักเรียน

Page 18: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

23

2. วิธีดําเนนิการ 2.1 ประชุมช้ีแจงและสรางความเขาใจใหกับบุคลากรในโรงเรียนดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อใหเกิดทัศนคติท่ีดีตอระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน มีความยนิดรีวมมือรวมใจในการทํางานเพื่อชวยเหลือนักเรียน 2.2 ฝกอบรมบุคลากร โดยเฉพาะครูท่ีปรึกษาใหมีความรู ความสามารถเทคนิคหรือทักษะตางๆ ในการดูแลชวยเหลือนักเรียนเบื้องตน 2.3 ประชาสัมพันธงานการดูแลชวยเหลือนกัเรียนใหกับบุคลากรและหนวยงาน ท่ีเกี่ยวของทราบอยางตอเนือ่ง 2.4 ประเมินผลการสรางความรู ความเขาใจ ใหกับบุคลากรในการดูแลชวยเหลือนักเรียน และนําผลการประเมินเปนขอมูลในการพัฒนาบุคลากรตอไป

กิจกรรมท่ี 4 การดําเนนิการตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน 1. วัตถุประสงค 1.1 เพื่อใหครูไดดําเนินการดูแลชวยเหลือนักเรียนตามระบบการดแูลชวยเหลือนักเรียนท่ีกําหนดไว 1.2 เพื่อใหนักเรียนไดรับการดูแลชวยเหลือจากครูท่ีปรึกษาอยางท่ัวถึงและทันการ

2. วิธีดําเนนิการ 2.1 ครูท่ีปรึกษาดําเนนิการดูแลชวยเหลือนักเรียนตามระบบการดแูลชวยเหลือนักเรียน ซ่ึงประกอบดวยการรูจกันักเรียนเปนรายบุคคลท้ังดานความสามารถ สุขภาพและ ดานครอบครัว การคัดกรองนักเรียนแบงนกัเรียนเปน 2 กลุม กลุมปกติและกลุมเส่ียง/มีปญหา จัดกิจกรรมสงเสริมนักเรียน เชน กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมประชุมผูปกครองนักเรียน มีการปองกันและแกปญหานักเรียน เชน กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมการจับคูนักเรียน และการสงนักเรียนไปยังครูอ่ืน ๆ เชน ครูแนะแนวหรือฝายปกครอง

2.2 บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงานและควรบันทึกทุกข้ันตอน 2.3 สรุปผลการปฏิบัติงาน รายงานหัวหนาระดับ

กิจกรรมท่ี 5 ประเมินเพื่อทบทวน 1. วัตถุประสงค 1.1 เพื่อทราบผลการดําเนินงาน ปญหาและอุปสรรคท่ีมีในแตละระดบัและนําขอมูลไปใชในการทบทวนและปรับปรุงระหวางการดําเนนิงาน

Page 19: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

24

2. วิธีดําเนนิการ 2.1 ดําเนินการประเมินแตละระดับช้ัน โดยผูท่ีไดรับคําส่ังแตงต้ังหรือผูแทนครู ในแตละระดบัซ่ึงไดรับการอบรมหรือมีความรูทักษะในการประเมินใหเปนผูประเมินดําเนนิการประเมินสลับระหวางระดับช้ัน 2.2 นําผลดังกลาวมาปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนนิงานใหดีข้ึน 2.3 ดําเนินการประเมินคุณภาพระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนการดาํเนินงาน ของครูในแตละระดับ ภาคเรียนละ 1 คร้ัง 2.4 ผูทําหนาท่ีประเมินจดัทํารายงานการประเมินคุณภาพของแตละระดับ สงคณะกรรมการประสานงาน เพื่อรายงานผูบริหารโรงเรียนตอไป

กิจกรรมท่ี 6 การประเมินเพื่อพัฒนาและสรุปรายงาน 1. วัตถุประสงค

1.1 เพื่อใหไดรายงานสรุปการดําเนินงานการดูแลชวยเหลือนักเรียนในแตละ ภาคเรียนและปการศึกษา 1.2 เพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุง พัฒนาระบบ วิธีการดาํเนินงานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน 2. วิธีดําเนนิการ 2.1 ครูท่ีปรึกษาแตละคนจัดทํารายงานการดําเนินงานเสนอหัวหนาระดับ (ประธานคณะกรรมการดําเนนิงาน) ทุกส้ินภาคเรียน 2.2 คณะกรรมการดําเนนิงานแตละระดับจัดทํารายงานสรุปเปนระดับเสนอคณะกรรมการประสานงาน 2.3 คณะกรรมการการประสานงานสรุปผลการวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากหัวหนาระดับจากการประเมินเพื่อทบทวนของแตละระดับมาจดัทํารายงานเปนภาพรวมของโรงเรียนเสนอคณะกรรมการอํานวยการ 2.4 คณะกรรมการอํานวยการประชุมพิจารณา รายงานคณะกรรมการประสานงานในขอ 3 เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียน และเผยแพรประสัมพันธการดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนใหผูเกี่ยวของทราบนอกจากนี้ตองนิเทศ กาํกบั ติดตาม การดําเนนิงานของคณะกรรมการประสานงาน และคณะกรรมการดําเนินงานทุกระดับ อยางตอเนื่อง รวมท้ังมีการประชุมติดตามผลอยางสมํ่าเสมออยางนอยภาคเรียนละ 2 คร้ัง

Page 20: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

25

สามารถสรุปถึงกิจกรรมการดําเนินการระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนวา สถานศึกษา เปนสถาบันท่ีประกอบดวยบุคคลท่ีมีความรับผิดชอบท่ีจะทําใหการดาํเนินงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนประสบผลสําเร็จ ซ่ึงประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน และบุคลากรอ่ืน ๆ ดังนั้นทุกคนท่ีมีสวนรวมจึงมีบทบาทในการดําเนนิงานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ซ่ึงทุกฝายจะตองมีบทบาทและหนาท่ีในการดําเนนิการกนัอยางจริงจังและตอเนื่อง ท้ังนี้เพื่อนกัเรียนจะไดเปนคนเกง คนดีของสังคมตอไป วินัยและการปฏิบัตตินท่ัวไปของระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง

เนื่องดวยโรงเรียนเทศบาลวดัศรีปงเมือง (โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง, 2549ก, หนา 2) ไดแบงหนาท่ีความรับผิดชอบในการดูแลชวยเหลือนักเรียนใน 12 ดานดวยกนั ตามคูมือนักเรียนและผูปกครอง ปการศึกษา 2549 ประกอบดวย 1. ปองกันและแกไขพฤติกรรรมนักเรียน 2. จัดเวรยามประจําวนั 3. รณรงคปองกันยาเสพติด 4. สารวัตรนักเรียน 5. งานวินยัและลงโทษ 6. การปกครองสายช้ันการคัดเลือกนักเรียนดีเดน 7. งานสภานกัเรียน 8. งานสงเสริมประชาธิปไตย 9. การอบรมจริยธรรม ศีลธรรม 10. กิจกรรมวนัสําคัญและงานประเพณ ี 11. ขอมูลสารสนเทศการปกครอง 12. เยี่ยมบานนักเรียน

ตามท่ีโรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมืองไดจดัทําคูมือนักเรียนและผูปกครอง ปการศึกษา 2549 (โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง, 2549ก, หนา 12-51) ประกอบดวยระเบียบของโรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง หลายประการ ดังนี ้ 1. ระเบียบวาดวยการกระทําความเคารพของนักเรียน ต้ังแตการพบครู-อาจารย ในบริเวณโรงเรียน การทําความเคารพในหองเรียน การทาํความเคารพนอกบริเวณโรงเรียน ท้ังนี้

Page 21: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

26

เพื่อเปนการแสดงถึงการเปนผูไดรับการอบรมส่ังสอนมาอยางดี ถือเปนส่ิงจําเปนท่ีนักเรียนตองถือปฏิบัติใหเปนกิจนิสัย

2. ระเบียบวาดวยการปฏิบัติในการรับประทานอาหาร เพื่อมารยาทไทย และสุขนิสัยท่ีดีแสดงถึงความเปนระเบียบเรียบรอยและสุขภาพท่ีดี เชน การเดินแถวเรียงหนึ่งเขารับประทานอาหารตามลําดับกอนหลัง เม่ือรับประทานเสร็จใหนําเศษอาหารท่ีเหลือไปเกล่ียท้ิงในถังท่ีทางโรงเรียนจดัวางไว ใหคัดแยกขยะกอนท้ิงและลางใหสะอาด นําไปเกบ็ ณ สถานท่ีจดัเก็บใหเรียบรอยดวยตนเอง เปนตน

3. ระเบียบวาดวยการปฏิบัติกิจกรรมหนาเสาธง เพื่อแสดงความเคารพตอชาติ ศาสนา องคพระมหากษัตริย เพื่อสรางระเบียบวนิัยใหนกัเรียน และเพื่อใหการอบรม รวมถึงการช้ีแจงประชาสัมพันธขาวสารของโรงเรียน เชน มีสัญญาณกร่ิงเขาแถว เขาแถวตอนลึกเรียงลําดับจากตํ่าไปหาสูง หลังจากปฏิบัติกิจกรรมหนาเสาธงแลวหามนกัเรียนซ้ือขนม ดื่มน้ําหรือปฏิบัติภารกิจ ท่ีไมจําเปนอ่ืน ๆ ตองข้ึนหองเรียนทันที เปนตน

4. ระเบียบวาดวยการปฏิบัติท่ัวไป เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติในการอยูรวมกนัอยางมีความสุข มีทักษะในการดําเนินชีวิตอยางเปนระบบ และประสบผลสําเร็จในการเรียนการศึกษาตามเจตนารมณของตนและผูปกครองนักเรียน ประกอบดวย 4.1 การมาโรงเรียน นกัเรียนทุกคนตองมาถึงโรงเรียนกอนการปฏิบัติกิจกรรม หนาเสาธง กอนเวลา 07.50 น. 4.2 การมาสาย 4.2.1 ใหยนืเขาแถว ณ จุดท่ีครูเวรส่ัง ปฏิบัติกิจกรรมหนาเสาธง 4.2.2 บันทึกเหตุผลการมาสายตอหนาครูเวร 4.2.3 ขออนุญาตข้ึนหองเรียน 4.2.4 ในกรณมีาสายเม่ือเร่ิมคาบเรียนท่ี 1 ไปแลวใหขออนุญาตครูเวร ข้ึนหองเรียน ขออนุญาตอาจารยประจําวชิาเขาช้ันเรียน ครูเวรบันทึกเหตุผลการมาสาย 4.3 การขาดเรียน 4.3.1 กรณีไมมาโรงเรียน ใหปฏิบัติดังนี ้ (1) สงใบลาตอครูประจําช้ัน ในกรณีท่ีรูเหตุผลของการลาลวงหนา อยางนอย 1 วนั กรณจีําเปน หรือไมทราบสาเหตุลางหนาใหสงใบลายอนหลัง โดยตองสงในวันแรกของการมาเรียน

Page 22: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

27

(2) กรณีมีความจําเปนตองลา 3-5 วัน ใหสงใบลาท่ีฝายปกครองพรอมหลักฐานประกอบใบลา (3) กรณีมีความจําเปนตองลาเกิน 6 วัน ใหสงใบลาตอหัวหนาสถานศึกษาของโรงเรียน (ครูใหญ อาจารยใหญ หรือผูอํานวยการ) พรอมท้ังหลักฐาน 4.4 การออกนอกบริเวณโรงเรียนในระหวางเวลาเรียนใหปฏิบัติดังนี ้ 4.4.1 ติดตอฝายปกครองหรือครูเวร เพื่อขออนุญาตออกนอกโรงเรียนโดยครูเวร หรือฝายปกครองเปนผูอนุญาต 4.4.2 เขียนขออนุญาตออกนอกในสมุดขออนุญาต ออกนอกโรงเรียน โดยครูเวร หรือฝายปกครองเปนผูอนุญาต 4.4.3 กรณีท่ีมีผูปกครองมารับ (บันทึกช่ือ-นามสกุล เลขท่ีบัตรประจําตัวประชาชนของผูปกครองท่ีมารับนักเรียน) เหตุผลท่ีขออนุญาต สถานท่ี เวลาไป - กลับ เบอรโทรศัพทในสมุดขออนญุาต นําไปใหฝายปกครอง, ครูเวร, ครูประจําวิชา เซ็นรับทราบ พรอมรับบัตรอนุญาตออกนอกโรงเรียน 4.4.4 เม่ือกลับมาถึงโรงเรียน ใหคืนบัตรขออนุญาตออกนอกโรงเรียนตอผูท่ีตนขออนุญาตและกลับเขาเรียนตามปกติ 4.4.5 กรณีท่ีขอกลับกอนเวลาเลิกเรียนใหทําตามข้ันตอน 4.4.1 – 4.4.4 แตตองใหผูปกครองมารับและลงช่ือเปนผูขออนุญาตนํานักเรียนกลับไป 4.5 การมาติดตอขอพบนักเรียน 4.5.1 ใหผูปกครองหรือผูมาติดตอ ติดตอขอพบนักเรียนกับฝายปกครอง หรือครูเวร และนั่งรอ ณ สถานท่ีทางฝายปกครองหรือครูเวรจัดให 4.5.2 หามผูปกครองหรือผูมาติดตอข้ึนไปพบนักเรียน ณ หองเรียนโดยพลการ 4.5.3 ใหฝายปกครองหรือครูเวรที่ไดรับการติดตอขอพบนักเรียนแจงตอนักเรียนลงมาพบ ณ สถานท่ีจัดไวให 4.5.4 กอนออกหองเรียน มาพบผูมาติดตอนักเรียนตองขออนุญาตออกหองเรียนจากครูผูสอนทุกคร้ัง 4.6 การติดตอกับทางโรงเรียน 4.6.1 กรณีท่ีเปนนักเรียนของโรงเรียน หากมาติดตอในเวลาราชการตองสวมใสชุดนักเรียนมาติดตอเทานั้น

Page 23: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

28

4.6.2 กรณีท่ีเปนผูปกครองตองติดตอกับฝายธุรการกอนจะไปติดตอฝายท่ีตนเองประสงคจะติดตอดวย 4.7 การเดินเรียนเปล่ียนหองเรียน 4.7.1 ใหนกัเรียนเดนิเปนแถวใหเรียบรอยเมื่อหมดคาบเรียน โดยมีหวัหนาควบคุมดูแลความเรียบรอย 4.7.2 กรณีท่ีหองเรียนอยูคนละอาคารหรือตองไปเรียนวิชาพลศึกษาท่ี สนามอเนกประสงค ตองสวมรองเทาเดินไปดวยทุกคร้ัง

5. ระเบียบวาดวยคณะกรรมการสภานักเรียน เพื่อเปนการสงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันเปนระบอบการปกครองของชาติ และเพื่อใหนกัเรียนไดเรียนรู มีประสบการณ และมีสวนรวมในการจดัการศึกษา รวมท้ังประกอบกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียน

6. ระเบียบวาดวยการควบคุมความประพฤติของนักเรียน ท้ังนี้ตามประกาศคณะปฏิวัติ และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการลงโทษนักเรียนหรือนกัศึกษา และวาดวยการสงเสริมและคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชนโดยสถานศึกษา ไดแยกเปนหมวด ดงันี้ หมวดความผิดและเกณฑการตัดสินคะแนนของความผิด หมวดโทษและเกณฑการลงโทษผูประพฤติผิด และหมวดลักษณะ เปาหมายของการลงโทษและวิธีดําเนินการ

7. ระเบียบวาดวยการแตงกายของนักเรียน ทางโรงเรียนไดยึดตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการแตงกายเพ่ือใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย ท้ังนี้ครอบคลุมถึง ทรงผม เคร่ืองแตงกาย (เคร่ืองแบบลูกเสือสํารอง ลูกเสือ-เนตรนารี, เคร่ืองแบบในเวลาเรียนปกติ, เคร่ืองแบบพลศึกษา) ตามกําหนดทั้งชายและหญิง

งานฝายปกครองของโรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมืองไดรับความรวมมือกบัทุกฝายภายในโรงเรียนเพื่อรวมชวยปองกนั แกไข และพัฒนานักเรียนใหมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม ดังท่ี คูมือนักเรียนและผูปกครอง ปการศึกษา 2549 (โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง, 2549ก, หนา 52) ไดแสดงเปนแผนภูมิ ดังนี ้

Page 24: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

29

แผนภูมิท่ี 2 โครงสรางฝายปกครองโรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง ผูอํานวยการโรงเรียน หัวหนาฝายปกครอง รองหวัหนาฝายปกครอง หัวหนางานปกครอง หัวหนางานปกครอง หัวหนางานปกครอง ชวงช้ันท่ี 1 ชวงช้ันท่ี 2 ชวงช้ันท่ี 3 คณะกรรมการปกครองชวงช้ัน คณะกรรมการปกครองชวงช้ัน คณะกรรมการปกครองชวงช้ัน

ครูประจําช้ันชวงช้ันท่ี 1 ครูประจําช้ันชวงช้ันท่ี 2 ครูประจําช้ันชวงช้ันท่ี 3

ท่ีมา : โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง 2549 (2549ก, หนา 52)

ท้ังนี้เพื่อเปนการทบทวนระเบียบของโรงเรียนและเปนการย้ําเตือนถึงความเอาใจใสนักเรียนของทางโรงเรียนเปนระยะ ซ่ึงฝายปกครองจึงไดออกสารจากฝายปกครอง ภาคเรียนท่ี 1/2549 โดยโรงเรียนเทศบาลวดัศรีปงเมือง (2549ก) ไดแจงขอความรวมมือจากผูปกครองในการกํากับดแูลและติดตามนกัเรียนในความปกครอง ดังตอไปนี ้

1. ใหนกัเรียนปฏิบัติตามระเบียบของฝายปกครองโรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง (คูมือนักเรียนและผูปกครอง) หรือตามประกาศของทางโรงเรียนอยางเครงครัด

2. โรงเรียนไมอนุญาตใหนกัเรียนต้ังแตระดับประถมศึกษาปท่ี 1 – มัธยมศึกษาปท่ี 3 ไมอนุญาตใหนักเรียนเลนเกมตามรานเกมตาง ๆ ในชวงวันจนัทร- ศุกร เพื่อใหนกัเรียนไดมีโอกาสใชเวลาวางใหเปนประโยชน เชน ทําการบาน อานหนังสือ หรือชวยผูปกครองทํางานบาน

Page 25: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

30

3. โรงเรียนไมอนุญาตใหนกัเรียนท่ีไมมีใบขับข่ีรถยนตหรือรถจักรยานยนตขับข่ีรถ มาโรงเรียน

4. โรงเรียนไมอนุญาตใหนกัเรียนนําเคร่ืองมือส่ือสารทุกชนิด เชน โทรศัพทมือถือ วิทยุ เอ็มพีสาม ฯลฯ มาใชในโรงเรียน 5. การหารายไดพิเศษระหวางเปดภาคเรียน การใหบุตรหลานในความดูแลไปทํางานตามรานอาหารหรือในสถานท่ีตาง ๆ ผูปกครองควรใหการดูแลอยางใกลชิด ควรที่จะตรวจสอบความปลอดภยั ความเหมาะสมกับวัย

6. การเท่ียวหรือคบเพื่อน ผูปกครองควรใหคําปรึกษาและคอยสอดสองดูแล ถาเห็นวาไมถูกตองควรวากลาวตักเตือนหรือหาม ในกรณีท่ีสอไปในทางท่ีไมเหมาะสม โดยเฉพาะการเท่ียวกลางคืนไมควรเกิน 21.00 น. การคบเพื่อนตางเพศ การเลนเกม การรวมกลุมของวัยรุนท่ีมีลักษณะผิดปกติ มีโอกาสประพฤติตนไปในทางท่ีเส่ือมเสีย

7. การรวมกิจกรรมกับทางโรงเรียน ทางโรงเรียนจะมีหนังสือแจงไปยงัผูปกครอง เพื่อขออนุญาตหรือแจงทางโทรศัพท กรณีเรงดวนใหผูปกครองรับทราบทุกคร้ัง หากมีการแอบอางขอใหทางผูปกครองตรวจสอบกับทางโรงเรียน จากครูเวรประจําวัน หรือทางโทรศัพท

8. นักเรียนท่ีฝาฝนหรือประพฤติตนไมเปนไปตามระเบียบของฝายปกครอง โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปงเมือง ฝายปกครองจะดําเนินการตามระเบียบของทางโรงเรียน

สรุปไดวา โรงเรียนเทศบาลวดัศรีปงเมืองมีการใหนกัเรียนปฏิบัติตามระเบียบ ใหนกัเรียนไดมีโอกาสใชเวลาวางใหเปนประโยชน ไมอนุญาตใหนกัเรียนขับข่ีรถยนตหรือรถจักรยานยนตมาโรงเรียน ไมอนุญาตใหนักเรียนนําเคร่ืองมือส่ือสารทุกชนิด การใหบุตรหลาน ในความดูแลไปทํางานตามรานอาหารหรือในสถานท่ีตาง ๆ ผูปกครองควรใหการดูแลอยางใกลชิด การเท่ียวหรือคบเพ่ือนผูปกครองควรใหคําปรึกษาและคอยสอดสองดูแล การรวมกจิกรรมกับทางโรงเรียนจะมีหนังสือแจงไปยังผูปกครอง และการฝาฝนหรือประพฤติตนไมเปนไปตามระเบียบจะตองมีการดาํเนินการตามระเบียบของทางโรงเรียน

Page 26: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

31

งานปกครอง และงานแนะแนว งานปกครอง

ในการปกครองนักเรียนนั้นเบ้ืองตนตองทําความเขาใจในความหมายของวินัยกอน เพื่อเปนพืน้ฐานหรือเปนนยิามท่ีเขาใจสําหรับการชวยเหลือนักเรียน ดงัท่ี Sheviskov (อางใน ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน, 2534, หนา 26) อธิบายวา วนิัย หมายถึงกฎเกณฑท้ังในและนอกหองเรียนซ่ึงโรงเรียนวางไว สําหรับดาํเนินการควบคุมนักเรียนใหปฏิบัติตน เรียบรอย การฝาฝนวนิยั จะไดรับโทษ ขณะท่ี Ausudel (อางใน ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน, 2534, หนา 26) กลาววา วินยั หมายถึง มาตรฐานภายนอก (External Standard) ท่ีควบคุมความประพฤติของบุคคลและหมายรวมท้ังมาตรฐานภายใน (Internal Standard) ท่ีเรียกวา วินัยในตนเอง (Self Discipline) สําหรับหมอมหลวงปน มาลากุล (อางใน ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน 2534, หนา 26) นิยามวา วินัย คือ การเช่ือฟงครูอาจารยตลอดจนประกาศคําส่ังของโรงเรียน สวน สุดใจ เหลาสุนทร (อางใน ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน, 2534, หนา 26) อธิบายวา วนิัยคือการงดเวนไมกระทําความผิดหรือ ความช่ัวตาง ๆ โดยเกรงกลัวการลงโทษภายนอก นอกจากนี้ ประดินันท อุปรมัย (อางใน ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน, 2534, หนา 27) ลงความเห็นวา วินยัคือ ระเบียบหรือกฎเกณฑท่ีสรางข้ึนเพื่อใหคนปฏิบัติตาม ท้ังนี้เพื่อความเปนระเบียบและทําใหสังคมสงบสุข โดยเฉพาะสังคมในโรงเรียน

สาเหตุท่ีนักเรียนทําผิดวินัย เนื่องจากสภาพแวดลอมและส่ือในยุคปจจุบันท่ีลอลวงความคิดของนกัเรียนใหแสดง

พฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคตาง ๆ ออกมา ดังท่ี ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน (2534, หนา 29) กลาววา เหตุตอไปนี้สําคัญ คือ การผิดปกติทางดานรางกาย จติใจ อารมณและสังคม การขาดแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธ์ิ การขาดความสนใจในวิชาและกิจกรรมบางอยาง การสอนของครูไมเปนท่ีนาสนใจ ความขัดแยงระหวางคานิยมท่ีบุคคลในสังคมปฏิบัติอยูจริงในชีวิตประจําวันและคานยิมท่ีครูบอก ความขัดแยงระหวางเพื่อนนกัเรียนในวัยเดยีวกัน ความขัดแยงระหวางนักเรียนกับบิดามารดา ความขัดแยงระหวางบานกับโรงเรียน ความขัดแยงระหวางครูกับนักเรียน การมีปญหาสวนตัว บางประการ การรับประทานอาหารชนิดทุพโภชนาการ การมีปญหาดานสุขภาพรางกาย การมีปญหาดานความอดอยาก การมีปญหาดานความอยากเดนอยากดัง การขาดความอดทนอยางรุนแรง การมคีวามเครียดเกบ็กด ท้ังยังตองการเปนคนสําคัญกวาท่ีตนกําลังเปนอยูในปจจุบัน การขาดความรักและความเขาใจ การมีนสัิยการเรียนไมดีและเรียนออน การมีปญหาดานเช้ือชาติและผิว การควบคุมความประพฤติของนกัเรียนนั้นมีจดุมุงหมายท่ีจะใหนักเรียนคุนเคยกับ การประพฤตปิฏิบัติตนท่ีดี เพื่อจะใหเปนนิสัยในการปฏิบัติตนตอไปในภายหนา เคร่ืองมือสําคัญ

Page 27: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

32

ในการที่จะชวยสรางนิสัยท่ีดท่ีีถูกใหเกิดข้ึนแกตัวนักเรียนก็คือการใชวนิยัในโรงเรียน ดังท่ี พนัส หันนาคินทร (2530, หนา 154) กลาววา วนิัยในโรงเรียนมีความหมายถึงการรูจกัปกครองตนเอง การกระทําตามระเบียบหรือขอบังคับตาง ๆ เกิดข้ึนโดยความสมัครใจของผูปฏิบัติคือนักเรียนท่ีไดมองเห็นคุณคาแลววา การปฏิบัติตนตามกฎขอบังคับท่ีโรงเรียนสรางข้ึนไว และตัวเองก็เห็นพองดวยนั้นเปนส่ิงท่ีจะธํารงไวซ่ึงความสงบเรียบรอยอันจะนํามาซ่ึงความสุขและความเสมอภาคแกสมาชิกทุกคนในสังคม ดังนั้นจึงกลาวไดวาวนิัยในโรงเรียนควรจะมีลักษณะดังนี้ คือ

1. การทําดีของนักเรียนเปนไปเพราะความเห็นดเีห็นงามท่ีจะไดจากการกระทําไมใชเพราะอํานาจภายนอกคอยบังคับใหกระทําดี การเช่ือฟงคําส่ังและระเบียบเกดิข้ึนจากการเขาใจเหตุผลของการกระทําตามระเบียบ ไมใชเพราะกลัวอํานาจของบุคคลท่ีออกระเบียบนัน้

2. การออกคําส่ังใหนักเรียนปฏิบัติตามไดพิจารณาอยางรอบคอบแลววาจะเปนสวนชวยใหนกัเรียนรูจกัประพฤติด ี

3. การปฏิบัติตอผูกระทําผิดวินัยเปนไปตามลักษณะพ้ืนฐานสวนตัวของผูกระทําผิด เปนราย ๆ ไป

4. กิจกรรมท้ังหลายของนักเรียนท้ังในและนอกหองเรียน เปนสวนชวยใหนกัเรียน ไดสรางความเจริญไปในวิถีทางอันเปนท่ียอมรับกันในสังคม

กลาวโดยสรุป การทําดขีองนักเรียนเกดิจากการเหน็ความดีท่ีไดกระทํา ตองรอบคอบ ในการออกคําส่ัง การปฏิบัติตอผูกระทําผิดตองช้ีเฉพาะรายและการจัดกิจกรรมท่ีเปนท่ียอมรับ ของสังคม

หลักการกําหนดวนิัยนักเรียน เม่ือวินยัเปนเคร่ืองมือสําหรับครูอาจารยในการควบคุมความประพฤตินักเรียนท้ังในและ

นอกหองเรียนไดโรงเรียนจําเปนตองมีและใชวินยัชุดใดชุดหนึ่ง กรณีท่ีโรงเรียนสามารถกําหนดวินัยเองได ดังท่ี ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน (2534, หนา 27-28) ไดสรุปวา วินัยนักเรียนอยูภายใตหลักตอไปนี ้

1. หลักเสริมสรางพัฒนาบุคลิกภาพ (Personality Development Principle) ผูบริหารโรงเรียนและคณะครูอาจารยท่ีรวมกนักําหนดวินยันักเรียน เพื่อใชในการควบคุมความประพฤตินักเรียน

2. หลักกฎหมาย (Law Principle) ผูบริหารโรงเรียนและคณะครูอาจารยท่ีเกีย่วของกบั การกําหนดวนิัยนกัเรียน ตองตระหนกัวา วินัยท่ีกําหนดข้ึนนั้นตองสอดคลองกับกฎหมาย

Page 28: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

33

บานเมือง ไมมีลักษณะใด ๆ ขัดแยงกับกฎหมาย และเปนการสนับสนุนใหนักเรียนเคารพกฎหมายของบานเมืองดวย

3. หลักปฏิบัติจริงได (Practicality Principle) ผูบริหารโรงเรียนและคณะครูอาจารย ท่ีกําหนดวนิัยใหนกัเรียนปฏิบัติพึงตระหนกัในการนําไปใชปฏิบัติไดจริงจังมิใชเปนอุดมการณ

4. หลักการเขารวม (Participation Principle) ผูบริหารโรงเรียนและคณะครูอาจารย พึงตระหนักวา การเขารวมในการกําหนดวินัยนักเรียนนัน้ จําเปนตองใหนกัเรียนเขารวมดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาซ่ึงมีอายุและเหตุผลพอรวมแสดงความคิดเห็นได

5. หลักปองกนั (Prevention Principle) ผูบริหารโรงเรียนและครูอาจารยท่ีกําหนดวินัยนักเรียน พึงตระหนักวา วินัยท่ีกําหนดนั้นจําเปนตองใหมีลักษณะเปนการปองกนัยิ่งกวา การแกไข ซ่ึงหมายถึงการปองกันการกระทําผิดวินยัของนักเรียน

6. หลักการลงโทษ (Punishment Principle) วินยัท่ีไมมีบทกําหนดโทษไวดวยนัน้ จะไมมีความศกัดิ์สิทธ์ิ ซ่ึงหมายความวานกัเรียนไมเกดิความยําเกรง เพราะผิดวนิัยกไ็มตองรับโทษ จําเปนตองกําหนดโทษไวแตละกรณีอยางชัดเจน และโทษท่ีกําหนดจะตองไมขัดกบักฎหมายบานเมือง

7. หลักประโยชน (Utilization Principle) การใชวนิัยในการบริหารโรงเรียนจะกอใหเกิดประโยชนข้ึนแกนกัเรียนเปนสวนรวม มิใชเกดิประโยชนแกนักเรียนหรือครูอาจารย คนใดคนหน่ึงโดยเฉพาะ

8. หลักการพฒันาการของเด็ก (Child Development Principle) การกาํหนดวินยันักเรียนจําเปนตองมีความเหมาะสมกับวยัของนักเรียนแตละระดับ ซ่ึงหมายถึงระดับอนุบาลหรือระดับประถมหรือระดับมัธยม

9. หลักเรียบงาย (Simplicity Principle) ภาษาท่ีใชในการเขียนวนิัยนัน้ตองใหเรียบงาย พอท่ีนักเรียนจะทําความเขาใจได กรณีท่ีมีคํายากนกัเรียนยังไมเคยพบเห็นใหมีการอธิบายไวเปนอภิธานศัพทวนิัยนกัเรียนดวย

10. หลักการเปนปจจุบัน (Updating Principle) วินยัจะใชไดผลดีตอเม่ือ มีความเหมาะสมกับสภาพสังคมของนักเรียนท่ีเปล่ียนแปลงไป ดังนัน้วินยันกัเรียนท่ีกําหนดไว คร้ังหนึ่งแลว จําเปนท่ีจะตองนํามาทบทวนเพ่ือปรับเปล่ียนใหเปนปจจบัุนทันสมัยอยูเสมอ

นอกจากนี้ พนสั หันนาคินทร (2530, หนา 155) กลาววา โรงเรียนจําเปนตองมีระเบียบและวนิัยเพื่อเปนเคร่ืองควบคุมความประพฤติของนักเรียนดังนี ้

Page 29: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

34

1. วินัยชวยสรางและรักษาไวซ่ึงสภาพการณอันจําเปนตอความเจริญกาวหนาของโรงเรียน

2. วินัยเปนเคร่ืองเตรียมตัวนักเรียนสําหรับการดําเนนิชีวิตในภายภาคหนา เม่ือนกัเรียนเติบโตเปนผูใหญมีเสรีภาพเต็มท่ี เม่ือเปนผูใหญนั้นจะตองผูกพันอยูกบัความรูจักรับผิดชอบอยางใกลชิดดวยการสรางใหนักเรียนรูจักรับผิดชอบในฐานะเปนพลเมืองดนีั้น โรงเรียนมีความจําเปน ท่ีจะตองฝกหดัและอบรมใหนักเรียนรูจกัรับผิดชอบตอหนาท่ีเปนอยางดี ท้ังนี้โดยการแสดงตัวอยางใหนกัเรียนเหน็วาความรับผิดชอบในการงานท่ีไดรับมอบหมายเปนความจําเปนและเปนคุณธรรมอันสูงยิ่งของความเปนพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย

3. ช้ีใหนกัเรียนเห็นคุณคาของการรูจักปกครองตนเองเปนส่ิงท่ีครูจะตองเอาใจใสปลูกฝงอยูเสมอจนกลายเปนอุปนิสัยติดตัวไปในภายหนา

วิธีการควบคุมความประพฤติและระเบียบวินัยนกัเรียน มิไดมีวิธีใดวิธีเดียวท่ีดีท่ีสุด ผูบริหารโรงเรียนยังจําเปนตองศึกษาหลาย ๆ วิธี พิจารณา

ท่ีใชกันอยูในโรงเรียนท่ัวไป พอสรุปไดสองวิธีใหญ ๆ ดังนี ้1. การควบคุมความประพฤติและระเบียบวินยัท่ีใชวิธีการลงโทษ

ธีรยุทธ เสนียวงศ ณ อยุธยา (อางใน ธีรวฒิุ ประทุมนพรตัน, 2534, หนา 33-34) ไดสรุปวาวิธีการลงโทษแบบนี้ยังไมคอยไดผลดีนัก เพราะยุติพฤตกิรรมนักเรียนไดเพียงขณะเดยีวเทานั้น เม่ือหยุดลงโทษพฤติกรรมท่ีผิดวยัจะเกิดข้ึนอีกซํ้ายังทําใหเดก็เกิดความคับของใจทางอารมณได หรือไมก็แสดงพฤติกรรมกาวราวออกมา อยางไรก็ตาม วิธีการที่จะทําใหเกิดผลดีท่ีสุดนั้น Morphet (อางใน ธีรวฒิุ ประทุมนพรัตน, 2534, หนา 33-35) ไดแนะนําวา การควบคุมความประพฤติและระเบียบวนิัยนักเรียนชนิดท่ีมีการลงโทษนี้ จะไดผลดีตอเม่ือปฏิบัติตามหลักการดังตอไปนี ้ 1. หลักความกระจางชัด (Clarification Principle) ตามหลักนี้ ผูบริหารโรงเรียน พึงพิจารณาปญหาท่ีนักเรียนทําผิดวินยั ใหเห็นกระจางชัดกอนดําเนินการใด ๆ ท่ีเกีย่วกับ การลงโทษ 2. หลักเมตตา (Kindness Principle) ตามหลักนี้ ผูบริหารโรงเรียนจําเปนตอง แผเมตตาเขาประกอบ การลงโทษทางวินยันั้นมีจุดประสงคเพื่อใหเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมหรือเปล่ียนนสัิยท่ีไมพึงปรารถนาเปนนิสัยท่ีพึงปรารถนา นักเรียนเปล่ียนไดบางแลวพึงเขาใจและใหเวลาสําหรับการเปล่ียนแปลง การลงโทษทางวินยัจําเปนตองนําเมตตามาพิจารณาดวย

Page 30: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

35

3. หลักสาเหตุ (Cause Principle) ตามหลักนี้ ผูบริหารโรงเรียนพึงมองหาสาเหตุ ท่ีเด็กทําผิดวินยั และพิจารณาแกไขเฉพาะสาเหตุท่ีเกีย่วของกับโรงเรียนเทานั้น 4. หลักความรวมมือ (Cooperation Principle) ตามหลักนี้ ผูบริหารโรงเรียน พึงขอความรวมมือจากผูปกครองและชุมชนเขามารวมในการแกปญหากอนมีการลงโทษทางวินยัแกนกัเรียน ถามีความจําเปนซ่ึงหมายความวา ถาปญหาทางวินยัเกดิข้ึนในโรงเรียน โรงเรียน จึงเปนผูรับผิดชอบแกไขฝายเดียว ถาปญหาเกิดในครอบครัว ครอบครัวควรมีสวนเกีย่วของ ในการแกไขและถาเกิดในชุมชน ชุมชนควรมีสวนรวมในการแกไขกบัโรงเรียน 5. หลักประนปีระนอม (Compromise Principle) ตามหลักนี้ผูบริหารโรงเรียน ควรใชความประนีประนอม ถาครูอาจารยกับนักเรียน ขัดแยงกันเกี่ยวกับการแตงกาย และทรงผม ตลอดจนการสูบบุหร่ีตามถนนหนทาง ซ่ึงเปนท่ีเขาใจวาหลักนี้มุงใหเดินทางเขาหากันคนละคร่ึง 6. หลักยกยองชมเชย (Admiration Principle) ตามหลักนี้ ผูบริหารโรงเรียนพึงใหคํายกยองแกนกัเรียนท่ีใหความรวมมือกับการแกไขปญหาความประพฤติผิดระเบียบวินัยท้ังนี้เพื่อใหเกิดความรวมมืออีกตอไป 7. หลักความเหมาะสม (Appropriateness Principle) ตามหลักนี้ผูบริหารโรงเรียนควรคํานึงถึงความเหมาะสมของความผิดท่ีนักเรียนทํา กบัโทษท่ีนักเรียนไดรับ จําเปนตองใหเหมาะสม 8. หลักอธิบายใหเขาใจ (Explanation Principle) ตามหลักนี้ผูบริหารโรงเรียนจําเปนตองอธิบายใหนักเรียนท่ีทําผิดวินยันักเรียนทราบวาเขาไดทําอะไรผิด ท้ังใหเขาใจลักษณะโทษท่ีเขาจะไดรับกอนการลงโทษ ซ่ึงเช่ือวา ความรวมมือในการแกปญหาความผิดวินยันกัเรียนสามารถหวังไดสูงข้ึน 9. หลักเหตุผล (Reason Principle) ตามหลักนี้ผูบริหารโรงเรียนพึงใชความคิดและเหตุผลแหงความผิดของนักเรียนอยางรอบคอบ และตัดสินใจลงโทษตองกระทําเม่ือมีเหตุผลสําคัญ นักเรียนมีเจตนากระทําความผิดเพราะจะชวยใหนกัเรียนท่ีทําผิดยอมรับและใหความรวมมือแกปญหาความผิดวินยัมากกวา 10. หลักปลอดอคติ (Biaslessness Principle) ตามหลักนี้ผูบริหารโรงเรียน พึงนั่งพิจารณาความผิดของนกัเรียนในเขตปลอดอคติ เพราะจะชวยใหเกิดความยุติธรรม ความเหมาะสม ความรูสึกด ี และการใหความรวมมือแกปญหาความประพฤติระเบียบวินยั จะสูงกวา

Page 31: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

36

11. หลักความสงบ (Calm Principle) ตามหลักนี้ผูบริหารโรงเรียนจําเปนตองระลึกไวเสมอวา การลงโทษนักเรียนนัน้ตองไมกระทําในเวลาที่มีอารมณโกรธ เพราะสีหนาทาทางและหางเสียงของตนเองในขณะน้ัน จะทําใหผูรับการลงโทษรูสึกวารุนแรงกวาขณะท่ีมีอารมณสงบ 12. หลักไรความเหีย้มโหด (Terriblelessness Principle) ตามหลักนี้ผูบริหารโรงเรียนจําเปนตองระลึกไวเสมอวา การลงโทษตองไมเหี้ยมโหดทารุณ

2. การควบคุมความประพฤติและระเบียบวนิัยท่ีไมใชวิธีการลงโทษ การลงโทษเปนอีกวิธีการหนึ่งซ่ึงทําใหการปฏิบัติมีความเปนแนวทางเดียวกนั ในสวนของ Gorton (อางใน ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน 2534, หนา 36-38) ไดเสนอแนวคิดตามหลักการลงโทษ สงเสริมสนับสนุนวิธีการท่ีไมตองลงโทษเปนตนวาวิธีการดังตอไปนี ้ 1. วิธีชักจงูแนะนํา (Persuasion and Exhortation) หมายถึง ความพยายามพูดจา ชักจูงและแนะนําของผูบริหารโรงเรียน หรือครูอาจารยท่ีนักเรียนไววางใจ ใหเขาใจวานักเรียน ยังมีโอกาสที่จะทําถูกและไดผลดีกวาท่ีไดกระทําไปแลวมากเพียงแต “เรา” ซ่ึงหมายถึงครูอาจารย ผูชักจูงแนะนํากับนักเรียนชวยกันมองหาวิธีประพฤติท่ีถูกตองเหมาะสมเพื่อใชในโอกาสตอไปเทานั้น 2. วิธีใหคําปรึกษาหารือ (Counseling) หมายถึง ความพยายามของผูใหคําปรึกษา หารือท่ีจะใหนักเรียนท่ีทําผิดวินยั รูจักตนเอง เขาใจตนเอง และนําตนเองไดไปสูความประพฤติ ท่ีไมผิดวินยันกัเรียน วิธีนี้ชวยใหเด็กมีศักยภาพ คือคิดหาวิธีการชวยตนเองไดถูกตองเหมาะสมนับเปนวิธีการที่ถาวรและไดผลดีมาก การใชวิธีนี้ไดผลมากนอยเพียงใดข้ึนอยูกับทักษะของ ผูใหคําปรึกษาหารือและความไววางใจของนักเรียนท่ีมีตอผูใหคําปรึกษาหารือเอง นักเรียนควรมองบทบาทของผูบริหารวา เปนผูแนะแนวยิง่กวาเปนผูรักษาระเบียบวนิยัหรือครูฝายปกครอง 3. วิธีซอมเสริมปรับปรุงปญหาการเรียนออน (Remedial Learning) วิธีนี้เปน ความพยายามของผูบริหารโรงเรียนและครูอาจารยในการชวยนกัเรียนท่ีเรียนออนใหเรียนดีข้ึน ท้ังนี้เพราะมีความเชื่อวา การเรียนออนเปนสาเหตุหนึ่งของการทําผิดวินัยนักเรียน ถาขจัดปญหาการเรียนออนได นักเรียนจะเลิกทําผิดวินยันักเรียน วิธีนี้ชวยใหนักเรียนไมหนีโรงเรียน ไมยติุ ทําการบาน ไมหนีหองเรียน กลานั่งเรียนกับเพื่อนและครูผูสอน เลิกลอเลียนนินทาครูอาจารย และหนัมาประพฤติตามระเบียบวนิัยของโรงเรียนตอไป 4. วิธีเปล่ียนแปลงส่ิงแวดลอมใหนกัเรียน (Changing Environment) ซ่ึงหมายถึงความพยายามของผูบริหารโรงเรียนและครูอาจารยในการปรับเปล่ียนส่ิงแวดลอมรายรอบตัว

Page 32: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

37

นักเรียนท่ีมีอิทธิพลใหนักเรียนกระทําความผิด ใหเปนส่ิงแวดลอมท่ีพงึปรารถนาส่ิงแวดลอมดังกลาวหมายรวมท้ัง หองเรียน ระเบียบของหองเรียน กฎและนโยบายของโรงเรียน ครูและ วิธีสอนของครู ตารางสอน การจัดท่ีนั่งใหนักเรียนในช้ัน 5. วิธีอภิปรายกลุม (Group Discussion) หมายถึง การจัดสถานการณใหนักเรียน ไดนั่งลอมวงกนัอภิปรายเปนกลุมในหวัขอท่ีกําหนดให เปนตนวา จําเปนอยางไรที่เราตองปฏิบัติตามระเบียบวนิัยของโรงเรียนและของกระทรวงศึกษาธิการ จําเปนอยางไรท่ีตนตองประพฤติดี มาตรฐานของการประพฤติดนีั้นมีอยางไรบาง มีตัวอยางจริง ๆ บางหรือไมท่ีคนประพฤติดีแลวไดรับผลดี การอภิปรายกลุมนี้ถาไดจัดทําในรูปแบบของโฮมรูมซ่ึงกระทําติดตอกันไปท้ังป ทุกปไมซํ้าซอนกัน มีหัวขอโฮมรูมท่ีออกแบบโดยเฉพาะ มีผูจัดโฮมรูมท่ีไดรับการฝกอบรมอยางดี จะสามารถชวยขจัดปญหาความประพฤติผิดระเบียบวินยัไดดีมาก 6. วิธีเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึง การเรงความถ่ีของพฤติกรรมใหแสดงออกมากขึ้น และกระทําซํ้าหลังจากท่ีไดรับการเสริมแรงใหเกิดความพึงพอใจมาแลวจะชวยใหนกัเรียนแสดงพฤติกรรมไปทางท่ีปรารถนาและงดเวนพฤติกรรมผิดวินัยท่ีไมพึงประสงค เปนวิธีการควบคุมความประพฤตินักเรียนท่ีไดผลดีมากสําหรับนักเรียนท่ีมีอายุนอยโดยเฉพาะ ในระดบัประถมศึกษา 7. วิธีใหเบ้ียอรรถกร (Talon Economy) เปนวิธีเสริมแรงชนิดหนึ่ง ดวยการใหส่ิงของเปนตัวเสริมแรง เปนตนวา ใหเหรียญ หรือใหดาว หรือใหเปนคะแนน เม่ือนักเรียนไดรับไวมากจะนําไปแลกเปล่ียนอยางอ่ืนท่ีพึงปรารถนาไดเชน ตุกตาหรือของเลนอยางอ่ืนนับเปนวิธี ท่ีสรางเง่ือนไขใหแสดงพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาออกมา เชน แตงกายถูกระเบียบโรงเรียน พูดจาสุภาพเรียบรอย ทําการบานสมํ่าเสมอ ชวยเหลือเอ้ือเฟอคนอ่ืน ๆ รักษาช่ือเสียงของโรงเรียนและหมูคณะและอ่ืน ๆ ท่ีกําหนดใหเพื่อแสดงพฤติกรรมดี ละเวนการแสดงพฤติกรรมผิดวินัยนกัเรียน 8. การใหรางวัลทางวาจา (Verbal Reward) หมายถึงการยกยองชมเชยท่ีประสมประสานการพยักหนา เอามือแตะไหล ยิ้มแยม เม่ือพบวานักเรียนแสดงพฤติกรรมดีท้ังนี้เพื่อใหเกดิความพึงพอใจและกระทําซํ้า เปนการเรงพฤติกรรมท่ีปรารถนาใหเกดิข้ึนกับนกัเรียนเปนการลดพฤติกรรมท่ีไมพึงปรารถนาหรือพฤติกรรมผิดระเบียบนกัเรียนลงมา

ประเภทของวนิัยท่ีใชภายในโรงเรียน วินยัมีหลายประเภทเปนส่ิงสําคัญอยางยิ่งในการพัฒนาบุคลคลใหมีความรูความสามารถเพื่อประพฤติปฏิบัติตนอยูรวมกันในสังคมสวนรวมไดอยางปกติสุข

Page 33: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

38

โดยท่ี พนัส หันนาคินทร (2530, หนา 198-120) ไดระบุถึงวินัยท่ีใชกนัอยูในโรงเรียนแตกตางกันออกเปน 3 ประเภทคือ

1. วินัยเฉียบขาดแบบทหาร (Absolute Authority) คือการใชความกลัวเปนเคร่ืองมือ นักเรียนทําความดีเพราะจะถูกลงโทษ นักเรียนกลายเปนเคร่ืองจักรท่ีทําตามแบบแผน แตการบังคับนักเรียนใหอยูในกรอบแบบทหารเปนการผิดหลักการประชาธิปไตย เปนการไมยอมรับในคุณคาของความเปนคน ซ่ึงครูเองก็ไมเขาใจเบ้ืองหลังของการกระทํานัน้ ๆ บางคราวเราทําโทษนักเรียนเพราะประพฤติผิดวินยัไป แตแลวก็ตองมาเสียใจเพราะปรากฏวาส่ิงท่ีนักเรียนทําไปนั้นทําไปดวยเจตนาอันดี ดงันั้นวนิัยท่ีดีจงึนาจะเปนวนิยัท่ีเกดิจากความรูจักรับผิดชอบช่ัวดีในสวนตัวของนักเรียนเอง

2. วินัยแบบดาํเนินงานใหสอดคลองกับความสนใจของนักเรียน เม่ือนักเรียนไดกระทํา ส่ิงท่ีตัวสนใจแลวปญหาเร่ืองวินยัก็จะไมเกดิ เชน นักเรียนชอบเดนิลัดสนามเพราะเปนทางใกลท่ีสุด ถาโรงเรียนส่ังหามพรอมกับประกาศโทษนักเรียนยอมจะไมชอบใจ การฝาฝนวินัยอาจจะมีข้ึนไดถาครูเผลอ การกระทําตามวนิัยจะเกดิข้ึนกต็อเม่ือนักเรียนรูวาครูกําลังมองอยู แตถาครูรูวาทางนั้นเปนสะดวกท่ีสุดสําหรับเดนิไปโรงอาหาร ครูก็จัดทําทางถาวรใหและพยายามใหเสียความงามของสนามนอยท่ีสุด วิธีนี้ปญหาทางวนิยัก็จะไมเกิด

3. วินัยท่ีเกิดข้ึนจากการรูจักความรับผิดชอบและเกยีรติของตนเอง คือ การใหนกัเรียน มีความประพฤติดี คนเราจะประพฤติดกีต็อเม่ือเรามีคุณธรรมประจําใจ นับถือเกยีรติของตนเอง นับถือในตัวเองวาเปนคนดี ก็จะไมพยายามทําส่ิงท่ีเสียหายตอเกยีรติยศและช่ือเสียงของตน การพยายามสรางใหนักเรียนนับถือในเกียรติของตัวเองและรูจักรับผิดชอบตอการท่ีจะรักษาเกยีรตินั้นไว คือ จุดหมายของการสรางวินัย ในการท่ีจะกอใหเกิดความรูสึกรักเกียรติข้ึนในตัวของนักเรียน ครูจะตองยอมรับนับถือในเกยีรติของตัวเองและรูจักรับผิดชอบตอการท่ีจะรักษาเกยีรติ นั้นไว คือจุดหมายของการสรางวินัย

ในการทีจ่ะกอใหเกิดความรูสึกรักเกยีรติข้ึนในตัวของนักเรียน ครูจะตองยอมรับ นับถือในเกยีรติของนักเรียนเสียกอน ครูยอมรับความสนใจและความสามารถของนักเรียนวา เปนส่ิงท่ีจะตองเอาใจใสและพยายามชวยเหลือใหแสดงออกไปในทางที่ดีภายใตการนําของครู

4. วิธีดําเนนิการปองกันการกระทําผิดทางวินัย (Protective Measures) วิธีการตาง ๆ ท่ีโรงเรียนอาจจะใชเพื่อดําเนนิการปองกันการกระทําผิดทางวินยั มีดังนี้

Page 34: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

39

1. การสงเสริมใหเกิดความจูงใจในบทเรียน ถาครูสามารถสรางความรูสึกใหเกดิข้ึนในหมูนักเรียนไดวาหนาท่ีและความรับผิดชอบของนักเรียนคือเรียนและบทเรียนท่ีครูสอนก็เปนเร่ืองท่ีนาสนใจ ไมนาเบ่ือหนาย เม่ือเปนเชนนี้ปญหาเร่ืองวินัยก็จะเบาลง

2. การสรางความรักโรงเรียนใหเกิดข้ึนในหมูนักเรียน โรงเรียนอาจใชวิธีการตาง ๆ เชน การประชุม ซ่ึงเปนการสรางอารมณรวมใหเกิดข้ึนไดงายท่ีสุด การหาช่ือเสียงมาสูโรงเรียนดวยวิธีการตาง ๆ เชน การกีฬา การแสดงของนักเรียน เปนตน โรงเรียนควรหาโอกาสท่ีจะช้ีแจงใหนกัเรียนเกดิความภมิูใจในโรงเรียนของตัวใหมากยิ่งข้ึน เชน บางโรงเรียนมีปายแสดงวานักเรียนเกาของโรงเรียนเคยทําช่ือเสียงอะไรไวบาง มีตูหรือหองสําหรับเก็บถวยรางวัลท่ีไดจากการแขงขันกฬีา เหลานี้เปนการกอใหเกิดความภูมิใจข้ึนในตัวของนักเรียนในการท่ีไดเขามาเปนสมาชิกของโรงเรียนนั้น

3. การรักษาความสัมพันธอันดีระหวางคณะครูดวยกัน นักเรียนยอมจะถือเอาครูเปนตัวอยางและเปนจดุศูนยกลางของชีวิตในโรงเรียน ถาคณะครูแตกแยกความสามัคคีกันจนลวงรูไปถึงนักเรียน ความนับถือของนักเรียนท่ีมีตอครูก็มักจะเส่ือมลง และมีไมนอยท่ีครูท่ีขาดจรรยาบรรณครูนาํเพื่อนครูดวยกันไปนินทาหรือติเตียนใหนักเรียนฟง เม่ือนักเรียนขาดความนับถือในตัวครูแลว การจะวากลาวตักเตือน การอบรมส่ังสอนก็เปนไปไดโดยยาก ปญหาทางวินยั ก็ยอมจะเกิดข้ึนเปนเงาตามตัว

4. พยายามขจดัส่ิงยั่วยุท่ีจะกอใหเกดิความผิดทางวินยั ส่ิงยั่วยุท่ีกลาวถึงนี้หมายรวมท้ังทางกายภาพคือส่ิงแวดลอมภายนอกและส่ิงยัว่ยภุายในไดแกความรูสึกทางอารมณ เปนตน

5. การใหรางวัลความประพฤติดี ตรงขามกับการลงโทษ การใหรางวัลเปนการยใุหนักเรียนทําดี รางวัลท่ีใหอาจเปนไปในรูปตาง ๆ ท่ีนิยมกันก็มีการใหเคร่ืองหมาย เชน โลห ประกาศนยีบัตรชมเชย เหรียญเคร่ืองประดับ บางทีก็เปนไปในรูปใหสิทธิพิเศษ หรือการรับเขาเปนสมาชิกของสมาคมผูมีเกียรติ เหลานี้เปนตน

6. ความรวมมือระหวางบานกับโรงเรียน ยอมเปนประจกัษกันดีอยูแลววา การที่โรงเรียนไดรับความรวมมือจากทางบานนัน้ทําใหการควบคุมดูแลความประพฤติของนักเรียนเปนไปอยางไดผลดียิ่ง นักเรียนหมดโอกาสท่ีจะหลอกลวงท้ังทางบานและโรงเรียนในเม่ือทางบานและทางโรงเรียนติดตอถึงกนั และใหความรวมมือซ่ึงกนัและกนั

7. การช้ีแจงตกัเตือนเปนรายบุคคลหรือเปนหมู เปนการทําใหนกัเรียนรูวาอะไรควรอะไรไมควร หรือในการปฏิบัติตัวของนกัเรียนยังมีขอบกพรองอะไรอยูบาง การชี้แจงหรือตักเตือนเปนรายบุคคลอาจเปนไปในรูปการใหคําปรึกษา (Counseling) ในดานการเขาสังคม และการปฏิบัติ

Page 35: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

40

ตนในสังคมในบางคร้ังเราจะรูสึกวาการกระทําผิดวินยัของนักเรียนเกดิจากความไมรูวาควรจะปฏิบัติตนอยางไรก็มี ดังนัน้การประชุมช้ีแจงหรือตักเตือนเปนรายบุคคลจึงใหผลในทางปองกันความผิดพลาดที่อาจเกิดข้ึนได

8. การจัดกจิกรรมนักเรียน (Student Activities) กิจกรรมนักเรียนนอกจากจะมีคุณคาทางการใหการศกึษาแกนักเรียนแลว ยังเปนการหาทางใหนกัเรียนไดระบายกําลังงานสวน ท่ีเหลือใหออกไปในรูปเปนประโยชน (Productive) ถานักเรียนมีเร่ืองจะตองคิดจะตองทําอยูเสมอแลว เวลาวางท่ีจะใชไปในทางท่ีไมพึงปรารถนาก็จะหมดไป กิจกรรมบางประเภท เชน การกฬีา นอกจากจะเปนการใหนักเรียนไดใชกําลังงานไปในทางที่เปนประโยชนแกตนเองแลว ยังเปนเคร่ืองสงเสริมน้ําใจรักโรงเรียนข้ึนเองสวนหน่ึงดวย

ดังนั้นอาจกลาวไดวา วนิัย หมายถึงกฎเกณฑ ระเบียบ หรือมาตรฐานท้ังภายในและภายนอกท่ีกําหนดขึ้นเพื่อใหนักเรียนปฏิบัติตาม คือ เช่ือฟงครูอาจารย ไมกลาฝาฝนเพราะกลัว การลงโทษ ท้ังนี้เพื่อใหเกดิความสงบเรียบรอยข้ึนในสังคมโรงเรียน

งานแนะแนว ในงานแนะแนวนัน้ ครูพึงมีความสัมพันธอันดีกับนกัเรียนกอน เพื่อใหนักเรียน เกิดความคุนเคย ความไววางใจในการเขาหาและปรึกษาปญหาตาง ๆ ได ดังนั้นนักเรียนจะเกดิ การเรียนรู หรือบรรลุเปาหมายของการเรียนไดก็ข้ึนอยูกบัการเอาใจใสของครูตอความแตกตาง ของเด็กแตละคนอยูเสมอ ดงัท่ี Downing (อางใน รววีรรณ ชินะตระกูล, 2539, หนา 25) กลาววา การแนะแนว หมายถึง กระบวนการทีจ่ัดข้ึนโดยกลุมบุคคลซ่ึงไดรับการฝกอบรมเปนพิเศษ เพื่อชวยเหลือบุคคลในการปรับตัวและสงเสริมใหบุคคลไดพัฒนาตนเองในทุกดาน สวน Jones (อางใน รวีวรรณ ชินะตระกูล, 2539, หนา 25) ไดใหความหมายของการแนะแนววา เปนการชวยเหลือใหบุคคลรูจักตัดสินในเกี่ยวกับตนเองไดวา เขาตองการอะไร จะทําอยางไรและจะทําใหจุดมุงหมายของเขาสมบูรณไดอยางไร ตลอดจนสามารถแกปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตไดดีดวยและ Carmichael (อางใน รววีรรณ ชินะตระกูล, 2539, หนา 25) กลาววาการแนะแนว หมายถึง การที่รูจักตนเอง ภายใตเง่ือนไขของการไดรับการศึกษาอบรมมาเปนอยางดี ดังนั้นบุคคลท่ีมีการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพจะเปนประโยชนใหกับตนเองและสังคม ก็คือ บุคคลท่ีมีการแนะแนว ในตนเองนั่นเอง จากความหมายน้ีเนนใหเห็นส่ิงสําคัญอีกประการหนึ่งคือ คนท่ีมีการแนะแนว ในตนเองมิใชวาเปนคุณสมบัติเพียงรูหนังสือเทานั้น แตตองเรียนรูส่ิงตาง ๆ อีกมากมาย เพื่อชวยนําตนเองไดเปนอยางด ี

Page 36: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

41

โดยท่ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2539, หนา 353) ไดนยิาม กจิกรรมแนะแนววาหมายถึง การดําเนินงานหรือการจัดกจิกรรมท่ีเกี่ยวกับการแนะแนวใหแกนกัเรียนในชวงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร เพื่อชวยใหนักเรียนรูจักและเขาใจตนเอง สภาพแวดลอมสามารถพัฒนาตนเองและปรับตัวเขากับสังคมและสถานการณตาง ๆ ได

ดังนั้น อาจสรุปไดวา การแนะแนว เปนกระบวนการชวยเหลือบุคคลใหเขาใจตนเอง เพราะการเขาใจตนเองนัน้ จะสงผลกระทบไปถึงการดําเนินชีวิตของนกัเรียนในอนาคต การรูจักและเขาใจตนเองจะชวยใหนกัเรียนสามารถตัดสินใจในการเลือกเรียนตอ เลือกประกอบอาชีพหรือรูจักปรับตัวท่ีจะอยูในสังคมและรูจักดําเนนิชีวิตของตนใหดแีละมีคุณภาพดยีิ่งข้ึน

งานแนะแนวถือเปนกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท้ังนี้ เพื่อเปนการชวยเหลือและใหความดูแลนกัเรียน ดังท่ี สมศักดิ์ สินธุระเวชญ (2544, หนา 51) กลาววา กิจกรรม หมายถึงการปฏิบัติดวยตนเอง คือ เปนชุดของการปฏิบัติการตาง ๆ ท่ีมีการเตรียมการ หรือวางแผนไวเรียบรอยแลว ผูปฏิบัติบังเกิดผลตามท่ีคาดหวังไว ลักษณะของกิจกรรมท่ีด ีตองนําไปสูการเรียนรูของผูเรียน การพฒันาการจัดการตนเองของผูเรียน รูวิธีการคิด เรียนรูการแกปญหา เพิ่มประสบการณการเรียนรู สรางองคความรูและมีความสุขในชีวิต สวนชอลัดดา ขวัญเมือง (2541, หนา 16-17) กลาวถึง จุดมุงหมายของการจัดกจิกรรมแนะแนวในช้ันเรียนวา การจัดกจิกรรมแนะแนวในช้ันเรียนนั้นควรจัดใหสอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรมัธยมศึกษาในแตละระดับและตองสอดคลองกับจุดมุงหมายของการแนะแนวดวย ดังนั้นการจัดกจิกรรมแนะแนวโดยท่ัวไป มีจุดมุงหมายดังนี้

1. เพื่อใหนักเรียนไดทราบขอมูลเกี่ยวกับตัวเองท่ีตรงกับสภาพความเปนจริง ท้ังในดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคม ความตองการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจตลอดจนคานยิมท่ียึดถือ

2. เพื่อใหนักเรียนไดทราบขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาตอในสถานศึกษาตาง ๆ เชน สถานท่ีของสถาบันท่ีจะศึกษาตอ ระเบียบการรับสมัคร รวมท้ังโอกาสท่ีจะเขาไปศึกษาตอ ในสถาบันนั้น ๆ

3. เพื่อใหนักเรียนไดทราบขอมูลเกี่ยวกับโลกกวางทางอาชีพ การแบงหมวดหมูของอาชีพ ลักษณะของอาชีพท่ีเหมาะสมกับบุคลิกภาพของแตละคน และขอมูลเกี่ยวกับอาชีพตามท่ีตองการ

4. เพื่อใหนักเรียนสามารถนําขอมูลท่ีไดมาพิจารณาเลือกตัดสินใจ เกี่ยวกับแนวทาง ในการศึกษาตอและการประกอบอาชีพไดเหมาะสมกับบุคลิกภาพของตนมากท่ีสุด

Page 37: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

42

5. เพื่อใหนักเรียนไดเพิม่พูนประสบการณ เกีย่วกับการศึกษาตอหรือการประกอบอาชีพตามท่ีตนสนใจในรายละเอียดลึกซ้ึงยิ่งข้ึน เพื่อชวยใหเกิดความมั่นใจในการวางแผนเลือกทางเดินของชีวิตในอนาคต ถาพบวาไมเหมาะสมจะไดเปล่ียนแปลงเปาหมายไดทันทวงที ชวยใหประสบความสําเร็จในการดาํเนินชีวิต

6. เพื่อชวยใหครูแนะแนวไดมีโอกาสพบปะกับนกัเรียนในช้ันเรียนอยางท่ัวถึงทุกคน ชวยใหมีสัมพนัธภาพท่ีดีตอกัน ทําใหครูแนะแนวไดทราบขอมูลเกี่ยวกบันักเรียนท่ีแทจริง อันจะสงผลตอความสําเร็จในการจัดบริการแนะแนวอ่ืน ๆ ตอไป

ขณะท่ี พนม ล้ิมอารีย (2539, หนา 13) ไดกลาวถึง ความมุงหมายของการแนะแนวสามารถจําแนกออกไดเปน 2 ประเภท คือ

1. ความมุงหมายท่ัวไป 2. ความมุงหมายเฉพาะ ความมุงหมายท่ัวไป หมายถึง ความมุงหมายของการแนะแนวโดยสวนรวมนั่นคือ การแนะแนววาจะจดั ณ สถานท่ีใดก็ตามยอมจะมีความมุงหมายท่ัวไป

1. เพื่อปองกนัปญหา (Prevention) นั่นคือ การแนะแนวมุงจะปองกันไมใหนักเรียนเกิดปญหาหรือความยุงยากในการดําเนินชีวิตของตนเพราะปญหาและความยุงยากตาง ๆ นั้น สามารถปองกันไดและการปลอยใหนกัเรียนเกิดปญหาข้ึนมาแลวคอยตามแกไขชวยเหลือ ในภายหลังนัน้ทําไดยากและตองใชเวลานานในบางกรณีอาจจะแกไขไมไดอีกดวย

2. เพื่อแกไขปญหา (Creation) นั่นคือการแนะแนวมุงจะใหความชวยเหลือนักเรียน ในการแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนกับตน เพราะถาปลอยใหนักเรียนประสบกับปญหาโดยไมใหความชวยเหลือแลว นักเรียนยอมจะไมสามารถดํารงตนอยูในสังคมอยางปรกติสุขไดและ ในบางคร้ังอาจจะมีการปรับตัวท่ีผิด ๆ ทําใหเกิดปญหาเพิม่มากยิ่งข้ึน

ความมุงหมายเฉพาะ หมายถึง ความมุงหมายของการแนะแนวท่ีสถานศึกษา ซ่ึงจัดใหมีการบริการแนะแนวเปนผูกําหนดข้ึนมา

1. เพื่อชวยใหนักเรียนแตละคนไดรูจักตนเองอยางถองแท (Self Understanding) คือ การชวยใหนักเรียนรูถึงความตองการ ความคิด ความสามารถ ความถนัด และขอจํากัด ตาง ๆ ของตน

2. เพื่อชวยใหนักเรียนรูจักปรับตัว (Self Adjustment)ใหเหมาะสมกับตนเองและสภาพแวดลอม

Page 38: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

43

โดยท่ี รววีรรณ ชินะตระกูล (2539, หนา 27-28) ไดระบุประเภทของการแนะแนว 3 ประเภท ไดแก

1. แนะแนวทางการศึกษา (Educational Guidance) 2. แนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) 3. แนะแนวสวนตัวและสังคม (Personal Social Guidance)

1. การแนะแนวทางการศึกษา เปนกระบวนการท่ีชวยเหลือนักเรียนหรือบุคคล ในทางดานการศึกษา เพื่อใหนักเรียนรูจกั เขาใจและเลือกศึกษาไดอยางเหมาะสมตามเอกัตภาพและความสามารถของนักเรียน

2. การแนะแนวอาชีพ เปนกระบวนการอยางหนึ่งท่ีมุงเนนชวยเหลือใหบุคคล มีความสามารถในการเลือกประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสมกับความถนัด ความสามารถและ ความสนใจของตน ตลอดจนการชวยเตรียมบุคคล เพื่อการประกอบอาชีพ การชวยใหบุคคล มีเจตคติท่ีดีตออาชีพและชวยใหบุคคลสามารถพัฒนาอาชีพของตน

3. การแนะแนวสวนตัวและสังคม เปนกระบวนการท่ีชวยใหบุคคลไดพัฒนาทางดานสวนตัวและสังคมใหมีความเปนอยู มีความเจริญทางกาย ทางใจ มีอารมณท่ีม่ันคง สามารถปรับตัวเขากับสังคมได อยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางเปนสุข เปนบุคคลท่ีมีประสบการณตอตนเอง และสังคม เชน

1. มีบุคลิกภาพท่ีดี การเสริมสรางลักษณะบุคลิกภาพท่ีดี 2. การสรางเสริมสุขภาพจิตและการปรับอารมณใหเหมาะสม เม่ือมีปญหาหรือเหตุการณสะเทือนใจ

3. การปรับตัวไดดีในสังคมและปรับตัวเขากับส่ิงแวดลอมได 4. มีความสามารถเปนผูนําและผูตาม 5. มีสุขภาพอนามัยท่ีสมบูรณและแข็งแรง 6. มีชีวิตครอบครัวท่ีมีความสุข

7. มีการวางแผนชีวิตในอนาคตไดอยางเหมาะสม นอกจากนี้ ลักขณา สริวัฒน (2543, หนา 21-22) ไดกลาวถึง ความจําเปนท่ีตองจัดใหมี

การบริการแนะแนวอาจเน่ืองมาจากสาเหตุสําคัญ ดังนี้ 1. นักเรียนมีปญหาเกี่ยวกับการเรียน เชน เรียนไมเขาใจ เรียนออน เลือกวิชาไมถูก

ไมเขาใจวิธีการเรียนท่ีดี สอบตก ปญหาเหลานี้เปนปญหาท่ีนักเรียนจาํนวนไมนอยตองการ ความชวยเหลือจากทางโรงเรียน

Page 39: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

44

2. ความตองการท่ีจะเรียนใหสูง ความตองการของประชาชนชาวไทยในปจจุบัน นิยมสงบุตรเขารับการศึกษา เม่ือจบจากช้ันประถมศึกษาแลวกน็ิยมใหเรียนตอในช้ันมัธยมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษาเพื่อใหไดมาซ่ึงปริญญา ความนยิมสงบุตรหลานใหเรียนสูงตอข้ึนนี้เองจําเปนตองอาศัยบริการแนะแนวของโรงเรียน เพื่อท่ีจะไดตัดสินใจในการเลือกไดถูกตองเหมาะสมกับความถนัดตามธรรมชาติของตน ตามความสนใจและตามความสามารถ

3. สภาพเศรษฐกิจเปล่ียนไป ภาวะทางเศรษฐกจิ รายไดไมพอกับรายจาย บิดามารดาตองออกไปหารายไดนอกบานเปนเวลานาน ๆ เด็กขาดการดูแลเอาใจใส ขาดการอบรมจาก ทางบาน

4. ความเจริญทางดานวตัถุ ความเจริญเติบโตของสังคมในประเทศไทยในขณะนี้ โนมเอียงไปในทางดานวัตถุ บูชาวัตถุมากยิ่งข้ึน คนมีเงินไดรับการยกยองนับถือวาเปนผูมีเกียรติ นอกจากนี้เยาวชนไทยถูกมอมเมาดวย Internet หากโรงเรียนตระหนกัในขอนี้โรงเรียน จัดระบบงานดแูลชวยเหลือนกัเรียนท่ีดี มีประสิทธิภาพกย็อมชวยปองกนัปญหานี้ไดในระดับหนึ่ง

5. การเพิ่มของประชากรอยางรวดเร็ว เปนผลใหตองแยงทรัพยากรกนั ยิง่ในเมืองใหญ ๆ ประชากรอาศัยกันอยางหนาแนน แออัด

ดังนั้นในการจดับริการแนะแนวข้ึนในโรงเรียนนั้น ถาโรงเรียนสามารถใหบริการ แกนกัเรียนไดผลดี มีประสิทธิภาพจะเกิดประโยชนตอตัวนักเรียน และโรงเรียนอยางมาก ดังท่ี พนม ล้ิมอารีย (2533, หนา 14) ไดระบุถึงประโยชนของการจัดบริการแนะแนวโรงเรียน ดังตอไปนี ้

1. ชวยใหนกัเรียนไดรูจกัและเขาใจตนเองอยางถองแท 2. ชวยใหคณะครูไดรูจักนักเรียนของแตละคนอยางลึกซ้ึง 3. ชวยใหบิดามารดาและผูปกครองของนักเรียนรูจักและเขาใจเดก็ของตนดีข้ึน

4. ชวยใหสังคมและประเทศชาติไดประชากรที่มีคุณภาพ ขณะท่ี สมศักดิ์ สินธุระเวชญ (2544, หนา 51) กลาววา บทบาทของผูสอน มีหนาท่ี

บริหารและจดัการใหกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนไปตามจดุประสงคของการจัดกจิกรรม 1. จูงใจและกระตุนใหผูเรียนมีความตองการท่ีจะเขารวมกิจกรรม 2. เปนพี่เล้ียงใหคําปรึกษา ใหกําลังใจ และเสริมแรงทางบวก 3. เปนผูสนับสนุนในการจดับรรยากาศการปฏิบัติกิจกรรม การเตรียมเอกสาร

ส่ืออุปกรณ และเคร่ืองมือตาง ๆ 4. เปนผูประเมินผล เพื่อใหไดขอมูลท่ีนําไปสูการปรับปรุงแกไข และการพัฒนา

Page 40: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

45

ขณะท่ี ชอลัดดา ขวัญเมือง (2541, หนา 46-49) ไดระบุคุณลักษณะของครูแนะแนววา ครูแนะแนวซ่ึงทําหนาท่ีท้ังแนะแนวและจัดกิจกรรมเพ่ือใหเกดิการเรียนรูจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีคุณลักษณะของครูท่ีดีและนักแนะแนวท่ีดีควบคูกนั จะเหน็วาครูแนะแนวท่ีดนีั้นควรมีคุณลักษณะท่ีสําคัญ 4 ประการคือ

1. มีความรูดี ครูแนะแนวจะตองมีความรูท้ังในเนื้อหาวชิาท่ีจะจดักิจกรรมและวิชาการใหม ๆ ตลอดจนขาวคราวเหตุการณบานเมืองท่ีทันตอเหตุการณ เพื่อจะไดใหขอมูลท้ังดานการศึกษา อาชีพ และสวนตัวแกนักเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ครูแนะแนวจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีความรูเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษา แผนการศึกษาแหงชาติ หลักสูตรมัธยมศึกษา หลักการแนะแนว การจัดบริการแนะแนว หลักการจัดกจิกรรม การวดัและประเมินผลโดยเฉพาะมีความรูเกีย่วกับการจัดกิจกรรมแนะแนวในรูปแบบตาง ๆ ตามท่ีมีผูคิดคนอยูตลอดเวลา มีความรอบรูทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม ๆ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม การเปล่ียนแปลงทางดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมของชุมชนและประเทศ เพื่อจะไดนํามาใชใหเกดิประโยชนตอกระบวนการจัดกิจกรรมแนะแนวในช้ันเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. มีเทคนิคและทักษะในการจัดกิจกรรมแนะแนว ท่ีชวยใหเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายท่ีไดวางไว มุงปลูกฝงวิธีการที่จะทําใหนกัเรียนเขาใจหลักการของเนื้อหาและวเิคราะหเนื้อหาตาง ๆ เพื่อหาขอสรุปสืบเนื่องท่ีจะเกิดและการนําไปใชโดยเนนใหมีการปฏิบัติจริง ตองศึกษาและฝกฝนการใชเทคนิคตาง ๆ เพื่อจัดกจิกรรมใหชํานาญ เพื่อใหนกัเรียนไดเรียนรูและเกิดทักษะในกระบวนการตาง ๆ เชน กระบวนการเขาสังคม กระบวนการกลุม กระบวนการยอยขอมูล กระบวนการจัดการ กระบวนการคิด กระบวนการแกปญหา กระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการฝกทักษะ กระบวนการพฒันาคานิยม กระบวนการเรียนรู และกระบวนการเสนอรายงาน

3. มีบุคลิกภาพดี ครูแนะแนวท่ีจะประสบความสําเร็จในการจัดกิจกรรมแนะแนวน้ันจะตองมีบุคลิกภาพท่ีดีท้ังทางดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญา เปนตัวอยางท่ีดี แกนกัเรียนได ทําใหนกัเรียนมีความเคารพและศรัทธาตอครูแนะแนว ซ่ึงจะสงผลตอความสําเร็จ ในการจดักิจกรรมแนะแนว

4. มีคานิยมท่ีพึงประสงค นอกจากครูแนะแนวจะตองเปนผูท่ีมีความรูดี มีเทคนิค และทักษะ รวมท้ังมีบุคลิกภาพท่ีดีแลว ครูแนะแนวจะตองเปนผูท่ีมีคานิยมท่ีพึงประสงค เพื่อเปนแบบอยางท่ีดใีนการดําเนินชีวิตของนักเรียน นั่นคือ สอนใหเห็นดวยการปฏิบัติจริงท้ังในและ

Page 41: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

46

นอกหองเรียนโดยประพฤติปฏิบัติใหเปนกิจนิสัยเชนเดยีวกับท่ีสอนนักเรียน นักเรียนจึงจะเหน็คุณคาและประโยชนของกจิกรรมแนะแนวอยางแทจริง

ประโยชนของการจัดกจิกรรมแนะแนว กิจกรรมแนะแนวมีประโยชนโดยตรงตอการดูแลชวยเหลือนักเรียน ดังท่ี

ชอลัดดา ขวญัเมือง (2541, หนา 20-21) กลาวถึงประโยชนในการจดักิจกรรมแนะแนวใหแกนักเรียน ดังนี ้

1. ชวยใหนกัเรียนไดรับขอมูลท่ีมีคุณคาจากครูแนะแนว ท้ังทางดานการศึกษา อาชีพและสวนตัว เพื่อประกอบการตัดสินใจไดอยางเหมาะสมกับตน ชวยใหเกิดความม่ันใจในการท่ีจะกระทําตามท่ีไดตัดสินใจมากข้ึน

2. ชวยใหนกัเรียนมีสัมพันธภาพท่ีดกีับครู กลาท่ีจะปรึกษาหารือกับครูแนะแนว เม่ือมีปญหาเกดิข้ึน

3. ชวยใหนกัเรียนไดปรับปรุงพฤติกรรมของตนเอง ใหมีลักษณะท่ีพึงประสงคมากข้ึน เพื่อจะไดดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

4. ชวยใหนกัเรียนมีเจตคติท่ีดี ตอครู ตอเพื่อน ตอโรงเรียน และตอสังคม 5. ชวยใหนกัเรียนมีความเขาใจในตนเองอยางแทจริง ยอมรับตนเองตามสภาพ ท่ีเปนจริง อันจะสงผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพท่ีดีตอไป

6. ชวยใหครูแนะแนวไดมีโอกาสพบปะกบันักเรียนเปนกลุมอยางใกลชิดและท่ัวถึง ทําใหประหยดัเวลาในการใหขอมูลแกนกัเรียน

7. ชวยใหครูแนะแนวไดมีโอกาสใหขอมูล ท้ังทางดานการศึกษา อาชีพ และสวนตัวทันตอเหตุการณ

8. ชวยใหครูแนะแนวไดมีโอกาสใชเทคนคิตาง ๆ ในการรวบรวมขอมูลเด็ก เปนรายบุคคลอยางรวดเร็วและครบถวนทุกคน

9. ชวยใหครูแนะแนวไดทราบถึงความตองการ ความสนใจ ความสามารถ และ ความถนัดของนักเรียนแตละคนอยางถูกตอง อันจะเปนประโยชนตอการจัดแผนการเรียนและ การจัดบริการแนะแนวอ่ืน ๆ ตอไป

10. ชวยใหครูแนะแนวไดรูจกันักเรียนท่ีมีปญหาในดานตาง ๆ เพื่อจะไดแกไขปญหา ไดทันทวงทีกอนท่ีจะสายเกนิไป

11. ชวยใหการจัดบริการแนะแนวทุกบริการประสบความสําเร็จตามจดุมุงหมาย เพราะนักเรียนเห็นคุณคาของบริการแนะแนวท่ีมีตอตนเอง

Page 42: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

47

12. ชวยใหกระบวนการเรียนการสอนวิชาตาง ๆ ดําเนินไปดวยดแีละมีประสิทธิภาพ เพราะไมตองเสียเวลาในการปรับพฤติกรรมของนักเรียนท่ีมีปญหา ท้ังในดานพฤติกรรมและ การเรียนสามารถทุมเทเวลาในการสอนวิชาการตามท่ีรับผิดชอบไดเต็มท่ี

13. ชวยลดปญหาความประพฤติของนักเรียน ทําใหไมมีปญหาเกี่ยวกบัการผิดระเบียบวินัยและกฎขอบังคับของโรงเรียน ชวยใหการปกครองนกัเรียนดําเนนิไปไดดวยด ี

14. ชวยใหการจัดแผนการเรียนและการจดักิจกรรมของโรงเรียน ประสบผลสําเร็จ ตามเปาหมายสอดคลองกับความตองการของนักเรียน

15. ชวยใหเกดิสัมพันธภาพที่ดีระหวางครูแนะแนวกับผูปกครอง ชวยใหผูปกครอง มีเจตคติท่ีดีตอโรงเรียนและกระบวนการเรียนการสอนของครู ทําใหเกิดความรวมมือซ่ึงกันและกนัในการที่จะพฒันาบุคลิกภาพของนักเรียน

16. ชวยใหชุมชนไดรับความสนใจจากนักเรียน นักเรียนเห็นคุณคาของชุมชน ไมทอดท้ิงชุมชนและพรอมท่ีจะพัฒนาชุมชนของตนใหเจริญกาวหนาตอไป

17. ชวยใหประเทศชาติมีพลเมืองท่ีดี มีคุณสมบัติตามท่ีหลักสูตรตองการ คือชวยเหลือตนเองไดและรูจักเสียสละท่ีจะชวยเหลือสังคมตามความสามารถของตน

ขณะท่ีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2539, หนา 354) ไดกลาวถึง ความสําคัญของกิจกรรมแนะแนววา มี 3 ประการ คือ

1. กิจกรรมแนะแนวชวยพฒันาความเขาใจตนเองของเด็กแตละคนในดานความสามารถ ความสนใจ ความถนัด บุคลิกภาพ ความสําเร็จ เปนตน ชวยใหเด็กรูจักตนเอง รูจักคุณคา ของตนเอง รูวาตนมีความถนัด ความสามารถอะไร มีจุดเดนจุดดอยตรงไหน ชวยเสริมสรางบุคลิกภาพท่ีพงึปรารถนาซ่ึงนําไปสูการมีชีวิตท่ีดใีนสังคม ขจัดปญหาและอุปสรรคซ่ึงอาจเกิดข้ึน ขัดขวางพัฒนาการดานตาง ๆ และชวยปองกันปญหาตาง ๆ ท้ังในโรงเรียนและในสังคมท่ีแวดลอมเด็กแตละคน

2. กิจกรรมแนะแนวชวยใหครูเขาใจเด็ก และยอมรับความแตกตางระหวางบุคคลของเด็กท่ีอยูในความรับผิดชอบ กอใหเกิดความสัมพันธอันดตีอกัน ซ่ึงนําไปสูบรรยากาศและสภาพ ท่ีเอ้ืออํานวยตอการเรียนการสอนท่ีดี

3. กิจกรรมแนะแนวชวยใหการเรียนการสอนสัมฤทธ์ิผลมากข้ึน กลาวคือ กิจกรรม การเรียนการสอนเปนกจิกรรมที่ครูและเด็กกระทํารวมกันโดยมีเดก็เปนศูนยกลางของความสนใจและกิจกรรมแนะแนวชวยใหครูเขาใจธรรมชาติและความตองการของเด็กท่ีตนสอน ชวยใหครู

Page 43: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

48

สามารถวางแผนการสอนใหสอดคลองกับความตองการของเด็ก เขาใจและใชวิธีสอนท่ีเหมาะสมกับความแตกตางของเด็กแตละคน

ดังนั้น งานแนะแนวช้ีใหเห็นถึงการจัดกิจกรรมท่ีมีภารกิจตางกันระหวางครูผูสอนกับ ครูแนะแนว ดงัท่ี สุโท เจริญสุข (อางใน ชอลัดดา ขวญัเมือง, 2541, หนา 45) ไดแสดงไว ในแผนภูมิท่ี 3 ดังนี ้ แผนภูมิท่ี 3 ภารกิจท่ีแตกตางระหวางครูผูสอนกับครูแนะแนว ครูผูสอน ครูแนะแนว

ท่ีมา : สุโท เจริญสุข (อางใน ชอลัดดา ขวัญเมือง, 2541, หนา 45)

จากแผนภูมิท่ี 3 สามารถอธิบายไดวา ครูผูสอนทําใหผูเรียนเกดิการเรียนรูทางดานวิชาการตาง ๆ ดวยวิธีการสอนท่ีเหมาะสมกับนักเรียน เปนผูท่ีมีความรูในรายวิชาท่ีสอนตามหลักสูตรเปนอยางดี คอยดูแลเอาใจใสผูเรียน มีการวัดผลโดยการใหเกรด ควบคุมใหอยูในระเบียบวินัยและกฎเกณฑของโรงเรียน สวนครูแนะแนวนัน้จะทําหนาท่ีแนะแนวเนนการชวยเหลือพัฒนาตัวนักเรียน เปนผูท่ีมีความรอบรูในดานวชิาการและประสบการณชีวติอยางกวางขวาง ใหกําลังใจนักเรียน มีน้ําใจในการชวยแกไขปญหา รวมท้ังใหสิทธิและเสรีภาพในการตัดสินใจแกนักเรียน

สอนเนนวิชาการ ความรูความจํา แนะแนวเนนการชวยเหลือ พัฒนาบุคคล

มีความรู

คิด A - E

ดูแลศิษย

มีวินัย

เดนเน้ือหาตามหลักสูตร

เชิดชูศิษย

ใชกฎเกณฑ

คิดชวยแก

รอบรู

แผเสรี

มีนํ้าใจ

ใหประสบการณชีวิต

Page 44: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

49

อาจกลาวไดวาครูมีหนาท่ีสอนควบคูไปกบัการแนะแนว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักเรียนแตละคนไดคนพบความเปนตัวของตัวเองสามารถพัฒนาความสนใจ และศักยภาพของตนไดอยางเต็มท่ี ความสําเร็จในดานการสอนและการแนะแนว ข้ึนอยูกบัสัมพันธภาพที่ดีของครู กับนักเรียนในช้ันเรียนภายใตบรรยากาศท่ีเต็มไปดวยความรัก ความอบอุน ความเขาใจ ความปลอดภยั และการใหกําลังใจในระหวางการเรียนการสอน ครูสามารถนําทักษะทางดาน การแนะแนวมาใชใหเปนประโยชนเพื่อพฒันาศักยภาพตามธรรมชาติของผูเรียน

จากการจดับริการนักเรียนในงานแนะแนวทําใหเหน็วาบทบาทของผูบริหารโรงเรียน ก็มีสวนสําคัญในสถานศึกษา เพราะเปนหวัหนาผูบังคับบัญชาในสถานศึกษา ดังท่ี รวีวรรณ ชินะตระกูล (2539, หนา 45-47) กลาวถึงบทบาทของผูบริหารกับงานแนะแนว ดังนี้ บริหารงานใหดําเนินไปตามนโยบาย ตามวัตถุประสงคของการจัดการศึกษา การวางแผนจัดการใหการสงเสริมสนับสนุนใหผูใตบังคับบัญชาไดปฏิบัติงานใหสําเร็จและมีประสิทธิภาพ ดวยภาระหนาท่ีของผูบริหารดังกลาวนีเ้อง ถางานใดไมกาวหนาไมเปนผล จึงมักจะถูกกลาวหาวาไมเอาไหน ไมใหการสนับสนุน ไมเหน็ความสําคัญในเร่ืองของการจัดการบริการแนะแนว ในสถานศึกษา ถากลาวกันถึงปญหาและอุปสรรคในเร่ืองนี้คร้ังใดกจ็ะไดยินวาการท่ีการจัดการบริการแนะแนวไมไดผลเพราะ ผูบริหารไมเห็นความสําคัญของการแนะแนว ในกรณีท่ีผูบริหารไมเห็นความสําคัญของการแนะแนว สถานศึกษาก็อาจขาดสวนสําคัญท่ีสุดของกระบวนการเรียนการสอนไป ท้ังนี้อาจมีสาเหตุมาจากหลายประการ

ประการแรก เนื่องจากไมไดศึกษาเร่ืองของการแนะแนวมาอยางจริงจัง รูบาง ก็ขาด การวิเคราะหเช่ือมโยง และไมไดศึกษาเพิม่เติมในวิธีการตาง ๆ ดวยตนเอง เม่ือมองอยางผิวเผิน ก็ยอมเห็นวาไมมีความจําเปนแตอยางใด ถามีปรากฏในหลักสูตรก็จัดไปอยางนั้น เพื่อใหใคร ๆ รูวามีการจัด ถาไมมีในหลักสูตรก็ไมจําเปนตองอะไร ซ่ึงถือวาไมผิดก็นาจะพอใจแลว

ประการท่ีสอง กรมตนสังกดัไมมีนโยบายท่ีแนนอนใหปฏิบัติและเหน็วาการปฏิบัติตามนโยบายของกรมตนสังกัดเปนส่ิงท่ีถูกตองท่ีสุด แมเหน็วามีความสําคัญแตไมไดนําไปปฏิบัติ

ประการท่ีสาม ผูบริหารมักไมบริหารทางวชิาการอยางจริงจัง ปลอยใหเปนเร่ือง ของผูชวยฝายวิชาการดําเนนิงาน สวนตนเองนั้นไปบริหารทางดานอ่ืน โดยเฉพาะดาน การประชาสัมพันธโรงเรียน

ประการท่ีส่ี ขาดอัตรากําลัง กลาวคือ ไมมีครูแนะแนวโดยเฉพาะ ตลอดจนขาดครู ท่ีมีคุณสมบัติท่ีจะใหบริการแนะแนวได

Page 45: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

50

นอกจากนี้ รววีรรณ ชินะตระกูล (2539, หนา 63-66) ยงัใหความสําคัญกับการจัดบุคลากรแนะแนว ไดกลาวไวดังนี้ หนาท่ีของผูบริหาร/ครูใหญในการจัดบริการแนะแนว คือ

1. เปนประธานในการจัดโครงการแนะแนวของโรงเรียนและแบงงานใหแกคณะครู ไดชวยกนัทํางานตามความเหมาะสมและความถนัดของแตละคน

2. สงเสริมใหคณะครูในโรงเรียนรูจักรวมมือในการจดัโครงการแนะแนว 3. ช้ีแจงใหคณะครูและนักเรียนเขาใจความสําคัญของการแนะแนว 4. จัดหาคณะกรรมการแนะแนว

5. ทําหนาท่ีประสานความเขาใจอันดีระหวางโรงเรียนกบัผูปกครองของนักเรียนชุมชนในทองถ่ิน เพือ่ใหผูปกครองไดเขาใจถึงวตัถุประสงคของโครงการแนะแนวของโรงเรียน

6. เปนท่ีปรึกษาของผูรวมงานท้ังในท่ีประชุมและท่ีเปนสวนตัวเกีย่วกับปญหาแนะแนวในโรงเรียน

7. จัดใหมีการอบรมครูประจําการในเร่ืองของการแนะแนว อาจเชิญวทิยากรมาบรรยายหรือสงครูเขารับการอบรม

8. พยายามจัดตารางสอนใหผูทําหนาท่ีแนะแนวไดมีเวลาใหคําปรึกษาแกนกัเรียนหรือทํางานแนะแนวไดอยางเต็มท่ี

9. จัดหางบประมาณสําหรับใชจายในโครงการแนะแนว 10. คัดเลือกบุคลากรท่ีทําหนาท่ีเปน Counselor โดยกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับวุฒิและคุณลักษณะตาง ๆ

11. ชวยเหลือในการประเมินผลงานของโครงการแนะแนว

หนาท่ีครูประจําช้ันหรือครูท่ีปรึกษา 1. หนาท่ีเกีย่วกับการเรียนของนักเรียน/นกัศึกษา 1.1 ช้ีใหเหน็ความสําคัญของการมาเรียนโดยสมํ่าเสมอ 1.2 ชวยใหผูเรียนมีเจตคติท่ีดีตอการเรียน ตอวิชาท่ีเรียน ตอครูและตอเพื่อนดวยกัน 1.3 ช้ีใหเหน็คุณคาทางการศึกษา 1.4 สงเสริมใหผูเรียนมีผลการเรียนดีข้ึน

2. หนาท่ีรับผิดชอบในการชวยปรับปรุงพัฒนาบุคลิกภาพ 2.1 จัดกิจกรรมใหผูเรียนตระหนกัและเหน็ความสําคัญในการเปนสมาชิกท่ีดี ของโรงเรียน บาน ชุมชน และประเทศชาติ

Page 46: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

51

2.2 จัดกิจกรรมใหผูเรียนรูจกัทํางานรวมกนัเปนหมูคณะ รูจักการเปนผูนํา และผูตามท่ีดีในสังคมประชาธิปไตย และอื่น ๆ

3. หนาท่ีในการปฐมนิเทศนกัเรียนใหม 3.1 กฎเกณฑและระเบียบตาง ๆ ของโรงเรียน 3.2 หลักเกณฑการใหคะแนนในการเรียนการสอน 3.3 ลักษณะของวิชาตาง ๆ ตลอดจนเนื้อหาท่ีจะตองเรียน 3.4 อาคารเรียนและหองตาง ๆ ภายในอาคารน้ัน ๆ 3.5 กิจกรรมเสริมหลักสูตรตาง ๆ ท่ีจัดในโรงเรียน 3.6 คณะบุคลากรในโรงเรียนไดแกครูและอาจารย เจาหนาท่ี ตลอดจนภารโรง 3.7 ขนบธรรมเนียมประเพณีของโรงเรียน

4. หนาท่ีในการใหคําปรึกษาหรือการแนะแนวสวนตัวครูประจําช้ัน หรือครูท่ีปรึกษา 4.1 การวิเคราะหตนเอง 4.2 การมีมารยาทท่ีด ี 4.3 การเปนนกักีฬาท่ีด ี 4.4 การมีเจตคติท่ีดีตอส่ิงตาง ๆ 4.5 การเปนสมาชิกท่ีดีของหมูคณะ 4.6 การทําตนใหมีบุคลิกภาพท่ีด ี 4.7 หลักธรรมตาง ๆ ในการดํารงชีวิต

5. เม่ือพบปญหาอ่ืน ๆ ของผูเรียนท่ีตนไมสามารถแกไขควรสงตอไปยงับุคคล ท่ีหนาท่ีเกีย่วของ เชน ผูบริหาร ครูแนะแนว จิตแพทย เปนตน 6. รับนโยบายของผูบริหารหรือคณะกรรมการแนะแนวปฏิบัติตอนักเรียน

สามารถสรุปไดวา ในฐานะผูบริหารควรใหความสําคัญตอการจัดบุคลากรในการแนะแนว มีความจําเปนท่ีจะทําใหโครงการแนะแนวของสถานศึกษาประสบความสําเร็จสมความมุงหมาย แตโครงการแนะแนวจะสําเร็จหรือลมเหลวก็ข้ึนอยูกับผูบริหาร คณะครูและอาจารยของแตละสถานศึกษา ถาหากคณะครูและอาจารยดปีระกอบดวยครูใหญหรืออาจารยใหญ ท่ีมีความเขาใจ ในงานแนะแนว บริหารแนะแนวท่ีจัดข้ึนเพื่อชวยเหลือผูเรียนก็จะประสบผลสําเร็จ ผูบริหารควรจะสํารวจดูตัวบุคคลในสถานศึกษาของตนวาใครมีความรูความสามารถอยางไร เพื่อจะไดมอบหมายหนาท่ีใหรับผิดชอบตามความถนัด ความสามารถหรือตามวุฒิท่ีไดศึกษาอบรมมา ถาหากสํารวจแลวปรากฎวายังขาดบุคคลท่ีตองการก็จะหาทางขอบรรจุแตงต้ังเพิ่มเติมหรืออาจจะใหคณะครูท่ีมี

Page 47: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

52

บุคลิกภาพหรือคุณลักษณะท่ีเหมาะสมมาชวยงานแนะแนวในโครงการแนะแนว หรืออาจจะ สงบุคลากรของตนไปเขารับการศึกษาตอหรืออบรมเกี่ยวกับการแนะแนว โครงการแนะแนว จะประสบผลดีไดยอมตองอาศัยการรูจักแบงงานของผูบริหารใหกับบุคลากรภายในสถานศึกษา ของตนตามความเหมาะสมตอไป

บริการเก็บรวบรวมขอมูลนักเรียนเปนรายบุคคล ในการติดตามนักเรียนจําเปนตองมีการบนัทึกและเก็บขอมูลนักเรียนไวเปนรายบุคคลท้ังนี้เพื่อการตรวจสอบและสังเกตพัฒนาการการเปล่ียนแปลงของพฤติกรรม และเปนการทําใหทราบถึงสาเหตุท่ีกอใหพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปได ดังท่ี พนม ล้ิมอารีย (2539, หนา 98) ไดกลาวถึงความสําคัญในการเยี่ยมบานนักเรียน ดังนี้ การเยี่ยมบานเปนกลวิธีอีกชนิดหนึ่งท่ีครู และผูแนะแนวควรจะไดปฏิบัติ ในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนรายบุคคล พฤติกรรมท่ีผิดปกติ ของนักเรียนท่ีแสดงออกท่ีโรงเรียนอาจจะมีสาเหตุมาจากทางบานกไ็ด

สวน ลักขณา สริวัฒน (2543, หนา 202-203) ไดกลาวถึง ความจําเปนในการศึกษารายละเอียดท่ีเกี่ยวกับตัวนักเรียนวา ครูตองมีความรูความเขาใจอยูเสมอวานักเรียนมีความแตกตางกัน ไมวาจะเปนดานสติปญญา อารมณ และสังคม ดวยเหตุนีจ้ึงมีความจําเปนตอการเก็บรวบรวมขอมูล ซ่ึงไดแก

1. บุคคลแตละคนยอมมีลักษณะเฉพาะของตนซ่ึงเปนของตนเองไมเหมือนคนอ่ืน ท้ังรางกายและจิตใจ

2. บุคคลแตละคนยอมมีพัฒนาการไปตามลักษณะโดยเฉพาะของตนอยางตอเนื่องกันไปตามธรรมชาติ การอบรมเล้ียงดู และการอบรมส่ังสอน

3. บุคคลแตละคนยอมมีกระบวนการแหงการเปลี่ยนแปลงของตน ตามประสบการณ ท่ีตนเคยประสบมา และตามแนวหรือแบบแผนของตนท่ีวางไวสําหรับอนาคต

รายละเอียดท่ีควรศึกษาและเก็บรวบรวม เชน ขอมูลสวนตัวและภูมิหลังเกี่ยวกับครอบครัวนักเรียน ขอมูลเกีย่วกับสุขภาพอนามัยของเดก็ท้ังทางดานรางกายและจิตใจ ขอมูลเกี่ยวกับประวัติในโรงเรียนหรือผลสัมฤทธ์ิในการเรียน ขอมูลเกี่ยวกับความถนัด ความสนใจ เจตคติ และคานิยมตาง ๆ ขอมูลเกี่ยวกับประสบการณในการทํางานและกิจการตาง ๆ ภายนอกโรงเรียน และขอมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางดานสภาพอารมณและสังคม

ขณะท่ี พนม ล้ิมอารีย (2539, หนา 98) เหน็วาการเยี่ยมบานถือเปนการไดมาซ่ึงขอมูลของนักเรียนอีกวิธีหนึ่ง จึงไดใหความหมายในการเยีย่มบาน วาหมายถึง การที่ครูหรือผูปกครอง ไปพบปะกับบิดามารดาหรือผูปกครองของนักเรียนท่ีบาน เพื่อสรางความคุนเคยและมีสัมพันธภาพ

Page 48: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

53

ท่ีดีตอกัน ท้ังยังชวยใหครูและผูแนะแนวไดเหน็สภาพความเปนอยูของนักเรียน ตลอดจนเจตคติของผูปกครองท่ีมีตอครู โรงเรียนและนักเรียนอีกดวย

ความมุงหมายของการเยี่ยมบาน 1. เพื่อเสริมสรางความเขาใจอันดีตอกันระหวางโรงเรียนกับทางบาน 2. เพื่อชวยใหครูและผูแนะแนวไดเห็นสภาพที่แทจริงเกีย่วกับบานและส่ิงแวดลอม

ทางบานของเด็ก 3. เพื่อชวยใหครูและผูแนะแนวไดรูถึงเจตคติของผูปกครอง ท่ีมีตอครู โรงเรียน

และนักเรียน 4. เพื่อชวยใหครูและผูแนะแนวไดรูถึงสัมพันธภาพระหวางบิดามารดา หรือผูปกครอง

กับเด็กในสภาพท่ีเปนจริง 5. เพื่อเพิ่มเติมขอมูลบางประการเกีย่วกับตัวเดก็ซ่ึงไมสามารถจะหาไดดวยวิธีการอ่ืน ๆ ดังนั้นอาจสรุปไดวา ความสําคัญของการเยี่ยมบาน จะชวยใหครูไดเหน็ส่ิงแวดลอม

ทางบานของนกัเรียนดวยตนเอง ครูไดเหน็เด็กพรอมกับบิดามารดา ไดเห็นความสัมพนัธระหวางเด็กกับบิดามารดาและพี่นองคนอ่ืน ๆ ในบาน ครูไดทราบวาเดก็มีความรูสึกอยางไรที่โรงเรียน มีพฤติกรรมอยางไรที่บาน มีความถนัดและความสนใจเก่ียวกับอะไรบาง บิดามารดามีการปกครองบุตรหลานของตนอยางไร ครูและบิดามารดาไดมีโอกาสแลกเปล่ียนความรูและความคิดเห็นตาง ๆ ซ่ึงกันและกัน ทําใหครูไดเขาใจถึงส่ิงท่ีมีอิทธิพลตอความเจริญงอกงาม และพัฒนาการของเด็ก นอกจากนี้ยังชวยใหครูกับผูปกครองของนักเรียนมีความสัมพันธกันดีข้ึน ผูปกครองเขาใจ ความตองการของโรงเรียน และตระหนักวาโรงเรียนมิไดทอดท้ิงบุตรหลานของตน แตไดให ความเอาใจใสเปนอยางดี ทําใหผูปกครองมีเจตคติท่ีดีตอทางโรงเรียน และใหความรวมมือ ในกจิการตาง ๆ ท่ีโรงเรียนตองการ

นอกจากนี้ พนม ล้ิมอารีย (2539, หนา 103) ยังไดกลาวถึง การเก็บขอมูลนักเรียนเปนรายบุคคลไวอีกประเภทหนึ่ง คือ การตรวจสุขภาพและระเบียนสุขภาพ (Health Examination and Health Record) วาเปนการเก็บขอมูลเปนรายบุคคล การตรวจสุขภาพและระเบียนสุขภาพ เพื่อชวยใหรูจกัและเขาใจนกัเรียนไดอยางถูกตอง เพราะพฤติกรรมท่ีผิดปกติและปญหาตาง ๆ ของนักเรียนในบางคร้ังอาจจะมีสาเหตุมาจากดานสุขภาพก็ได และไดใหความหมายของการตรวจสุขภาพ (Health Examination) ไวดังนี้ การตรวจดูสุขภาพรางกายวาอยูในสภาพปกติหรืออยูในสภาวะท่ีจะทําใหบุคคลท่ีไดรับการตรวจสุขภาพเปนสุขหรือไม มีอวยัวะสวนใดท่ีผิดปกติควรจะไดรับการชวยเหลือและมีโรคประจําตัวหรือเปนโรคติดตอใด ๆ บางหรือไม

Page 49: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

54

สําหรับการตรวจสุขภาพนักเรียนเปนรายบุคคลยอมมีจุดมุงหมายท้ังนีต้ามท่ี พนม ล้ิมอารีย (2539, หนา 103) ไดระบุความมุงหมายของการตรวจสุขภาพวา

1. เพื่อคนหาและแกไขขอบกพรองและสวนท่ีควรปรับปรุงใหดีข้ึน 2. เพื่อใชเปนแนวทางในการชวยเหลือนักเรียนเลือกกิจกรรมท่ีเหมาะสมกบัสภาพ

รางกายของตน 3. เพื่อคนหาโรคติดตอซ่ึงอาจจะกําลังเกิดกับนักเรียนและใหความชวยเหลือทันที

ถาหากพบ 4. เพื่อใชเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขนิสัยของนักเรียนใหดีข้ึน

นอกจากนี้ พนม ล้ิมอารีย (2539, หนา 174-175) ยังไดกลาวถึงการใหคําปรึกษาวา เปนกระบวนการใหความชวยเหลือโดยบุคคลท่ีไดรับการฝกฝนอบรมทางดานการใหความชวยเหลือทางจิตวิทยา โดยเฉพาะใหแกผูท่ีมีปญหาซ่ึงมาขอรับการชวยเหลือ เพือ่ชวยใหผูมาขอรับคําปรึกษาเกิดความเขาใจตนเองและส่ิงแวดลอม รูจกัปรับปรุงแกไขตนเอง สามารถปรับตัวไดดีข้ึนและสามารถนําตนเองไดในท่ีสุด โดยมีความมุงหมายของบริการใหคําปรึกษา

1. เพื่อชวยใหนักเรียนไดสํารวจตนเอง รูจกัและเขาใจตนเองอยางถูกตอง เกิดความสํานกึในหนาท่ีและความรับผิดชอบ

2. เพื่อชวยใหนักเรียนไดระบายความขุนเคือง ความไมสบายใจ ความอัดอ้ันตันใจและความไมพอใจของตนออกมา

3. เพื่อชวยใหนักเรียนไดมองเห็นลูทางในการแกปญหาและตัดสินใจไดดวยตนเอง รับผิดชอบตอตนเองดีข้ึน

4. เพื่อชวยใหนักเรียนยอมรับและกลาเผชญิกับสภาพความเปนจริงท่ีเกดิข้ึนกับตน สามารถเผชิญกับความยุงยากตาง ๆ ในชีวติของตนได สามารถรับรูขอบกพรองของตน

5. เพื่อชวยใหนักเรียนสามารถปรับตนเองและขจัดขอบกพรองตาง ๆ ของตนเอง ไดรูวิธีการปรับปรุงแกไขท่ีเหมาะสมกับสถานการณ

6. เพื่อชวยใหนักเรียนมีความรู ความชํานาญ มีทักษะในการเลือก การตัดสินใจ และการแกปญหา ซ่ึงอาจจะเกดิข้ึนในโอกาสตอไปอีกได

7. เพื่อสงเสริมใหนกัเรียนเกิดเจตคตแิละอุปนิสัยท่ีดีท้ังในดานการศึกษาอาชีพ สวนตัวและสังคม

8. เพื่อเปนการสรางสัมพันธภาพท่ีดีกับนกัเรียนใหเกิดความคุนเคย เปนกันเอง มีความไววางใจรูสึกมีท่ีพึ่งและมีความอบอุนใจ

Page 50: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

55

9. เพื่อชวยใหนักเรียนสามารถพัฒนาพฤติกรรมและบุคลิกภาพของตนเองใหเปน ท่ีพึงปรารถนาของสังคม

10. เพื่อชวยใหนักเรียนสามารถใชวิจารณญาณของตนในการแกปญหาขัดแยงระหวางความตองการของตนกับขอบเขตของศีลธรรมจรรยาไดดีข้ึน

11. เพื่อชวยใหนักเรียนไดรูจักการเลือกอยางฉลาด อันจะทําใหสามารถพัฒนาตนเองใหบรรลุความสําเร็จสูงสุดในชีวิต

12. เพื่อชวยปองกันและลดความรุนแรงของปญหาท่ีเกดิกับนกัเรียนใหลดนอยลงหรือหมดส้ินไป

การใหคําปรึกษา นอกจากนี้ยังมีบริการใหคําปรึกษา ซ่ึงถือเปนการใหบริการในสวนของงานดูแล

ชวยเหลือนักเรียนอีกทางหนึ่ง การใหคําปรึกษาจะชวยเหลือบุคคลท่ีประสบปญหาหรือผูท่ีมี ความตองการในส่ิงใดส่ิงหนึ่ง โดยชวยใหนักเรียนบรรลุเปาหมายตามท่ีตองการ โดยท่ี พัชรี สวนแกว (2536, หนา 22-24) ไดกลาวถึงประโยชนของการใหคําปรึกษาไวดังนี ้

1. ชวยใหบุคคลรูจักใชความคิด ใชสติปญญาท่ีมีอยูท้ังหมดนําไปใชในการติดสินใจแสวงหาแนวทางแกไขปญหา ไมใชอารมณในการแกไขปญหา 2. ชวยใหบุคคลเกิดความกระจางข้ึนในใจ มองเห็นลูทางในการแกไขปญหา

3. ชวยใหบุคคลมีความรูสึกวาตนเองไมโดดเดีย่ว เม่ือเกิดปญหาข้ึนแลวยังมีผูยินด ี เต็มใจและคอยใหความชวยเหลืออยูเสมอ

4. ชวยใหบุคคลรูจักความอดทน เสียสละ ยอมรับสภาวการณท่ีแทจริง ยินดีเผชิญตอปญหาท่ีหลีกเล่ียงไมได ไมตีโพยตีพายหรือเกิดความทอแทใจ

5. ชวยทําใหบุคคลสามารถรูจักและเขาใจตนเองไดอยางถูกตอง 6. ชวยทําใหบุคคลสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมได และดําเนนิชีวิต

อยางเปนสุข 7. ชวยใหบุคคลไดมีการพฒันาการและเจริญงอกงามไปถึงขีดสูงสุด พรอมท้ัง ยังไดแยกประเภทของการใหคําปรึกษา ออกเปน 4 ประเภท ดังนี ้

1. การใหคําปรึกษาในภาวะวิกฤติ ภาวะวกิฤติ หมายถึง สภาพการณซ่ึงผูรับคําปรึกษาเผชิญกับความคับของใจเกีย่วกับเปาหมายที่สําคัญของชีวิต หรือพบกบัอุปสรรคอยางรุนแรง ในวิถีชีวิต และเขาไมรูจกัวิธีการที่เหมาะสมในการเผชิญกับความกดดันหรือความทุกขเหลานั้น

Page 51: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

56

2. การใหคําปรึกษาเพื่อสงเสริมการปรับเปล่ียนแกไขใหเหมาะสม เปนกระบวนการชวยใหผูขอรับคําปรึกษาทําความกระจางในส่ิงท่ีเปนกังวล โดยเร่ิมจากการทําความเขาใจและยอมรับตนเองตามความเปนจริง ตอมาจึงเปนการเปล่ียนแผนการดําเนนิงานท่ีจะแกไขส่ิงท่ีเปนกังวล และดําเนินงานตามแผนท่ีวางไวใหลุลวงดวยความรับผิดชอบ

3. การใหคําปรึกษาเพื่อปองกันปญหา เปนโครงการซ่ึงเกี่ยวของกับส่ิงหนึ่งส่ิงใด โดยเฉพาะเร่ือง เชน โครงการสรางความเขาใจท่ีถูกตองเก่ียวกับการอบรมเล้ียงดูเดก็ โครงการสรางความตระหนักรูเกีย่วกบัการจัดกจิกรรมการเรียนรูใหกับเดก็

4. การใหคําปรึกษาเพื่อสงเสริมพัฒนาการ เปนกระบวนการท่ีเกดิข้ึนอยางตอเนื่องตลอดชีวิตของบุคคล การใหคําปรึกษาประเภทนี้มุงเนนการใหความชวยเหลือแกผูขอรับคําปรึกษา เพื่อสงเสริมใหเขามีความเจริญงอกงามอยางสมวัย ตามขั้นพัฒนาการทุก ๆ ข้ันตอน ตลอดช่ัวชีวติของนักเรียน

นอกจากนี้ นันทิพา อุทัยสุข และประภาพรรณ สุวรรณศุข (2541, หนา 144) ไดแบงประเภทของการใหคําปรึกษาเปน 2 ประเภท คือ การใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล และการใหคําปรึกษาเปนกลุม

1. การใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล เปนกระบวนการชวยเหลือบุคคลโดยมีการพบปะเปนการสวนตัวระหวางผูใหคําปรึกษาและผูรับคําปรึกษา

2. การใหคําปรึกษาเปนกลุม เปนกระบวนการชวยเหลือสมาชิกในกลุมใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสบความพึงพอใจในชีวิต ซ่ึงเหมาะสําหรับผูเรียนท่ีตองการการยอมรับจากเพ่ือนสมาชิกหรือตองการเรียนรูการทํางานของสมาชิกในกลุมเพื่อนํามาปรับปรุง ตนเองในดานการเรียนและการทํางาน ความสัมพันธในกลุมจึงเปนส่ิงสําคัญ จํานวนสมาชิก ในกลุมท่ีเหมาะสมอาจเปน 6-10 คน และประโยชนท่ีไดนั้นคือ ผูเรียนท่ีเขากลุมจะไมรูสึกวา ตนอยูโดดเดีย่วอีกตอไป เพราะเขาไดมีโอกาสแสดงตัวถายทอดความคิดเห็นของเขาเองและเขาใจความคิดของผูอ่ืน ผูใหคําปรึกษาจึงควรจัดสมาชิกในกลุมซ่ึงมีปญหาหรือความตองการตรงกัน เพื่อจะไดไปถึงวัตถุประสงคเดียวกัน

สรุปวาการใหคําปรึกษาเปนรายบุคคลและรายกลุมเปนกระบวนการชวยเหลือบุคคล และเปนกระบวนการชวยเหลือสมาชิกซ่ึงมีปญหาหรือความตองการตรงกัน เพื่อจะไดไปถึงวัตถุประสงคเดียวกัน

Page 52: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

57

การศึกษาท่ีเก่ียวของ จากการศึกษางานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ไดมีผูศึกษาไวหลายเร่ืองดังนี้

พูนชัย มหาวงศนันท (2540) ไดศึกษาความตองการของนักเรียนโรงเรียนดงเจนวิทยาคมในการมีสวนรวมงานปกครองนักเรียน พบวา นกัเรียนมีความตองการใหครู-อาจารย เปนแบบอยางท่ีดีแกนักเรียน ควรใหนักเรียนไดช้ีแจงเหตผุลในการทําความผิด ครู-อาจารย ควรรับฟงเหตุผลของนักเรียน มีการยกยองชมเชยนกัเรียน การตกแตงบริเวณโรงเรียนใหสะอาด สวยงาม รมร่ืน จะมีสวนชวยใหนักเรียนมีวินัยในตนเองได สวนนักเรียนไมเห็นดวยคือ เร่ืองกฎระเบียบตาง ๆ ท่ีโรงเรียนกําหนด นักเรียนไมไดมีสวนรวม การลงโทษดวยการเฆ่ียนตี และลงโทษนกัเรียนดวยความโกรธ ครู-อาจารยใชอารมณ สวนการลงโทษนักเรียนดวยการยายโรงเรียน ถาไมจําเปนไมควรท่ีจะยายนกัเรียนออกจากโรงเรียนนอกจากในกรณีท่ีรายแรง

ตอมา เกษม ดวงงาม (2542) ไดศึกษาการบริหารงานปกครองนักเรียนหลากหลายชนเผาในโรงเรียนศึกษาสงเคราะหแมจนั จังหวดัเชียงราย พบวา ความเห็นและขอเสนอเพือ่การพัฒนางานปกครองนักเรียนโรงเรียนในแตละดาน คือ ดานการวางแผนการปกครองนักเรียน คณะครูอาจารย คณะกรรมการนักเรียน และผูปกครองนักเรียน เหน็วา การกําหนดกฎ ระเบียบ ขอบังคับควรใหครูอาจารยและนกัเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเหน็และทําแผนงานรวมกนั ดานการสงเสริมและพัฒนาระเบียบวนิัย คุณธรรม จริยธรรม ควรมีการยกยอง ชมเชย และใหรางวัล หรือเกียรติบัตรแกนกัเรียนผูปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของโรงเรียนและควรใหคณะครู อาจารย คณะกรรมการนักเรียนประพฤติตนใหเปนแบบอยางท่ีดใีนการรักษาวินยั ดานการแกไขพฤติกรรมไมพึงประสงคของนักเรียน เม่ือมีความจําเปนในการลงโทษนักเรียน ควรเลือกวิธีการท่ีเหมาะสมกบัความผิด และใหครูประจําช้ัน ครูประจําเรือนนอน ครูท่ีปรึกษา และครูแนะแนวมีสวนรวมในการแกไขพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของนักเรียน ดานการสงเสริมประชาธิปไตย ควรสนับสนุนใหนักเรียนรวมกันคิดจัดกิจกรรมตาง ๆ โดยมีครูเปนท่ีปรึกษาและจัดตูรับความคิดเห็นแกครู และนักเรียน ตามจุดตาง ๆ ของโรงเรียน และดานการประเมินผลงานปกครองนักเรียน ควรจดัใหผูปกครองนักเรียนและชุมชนใกลเคียงไดแสดงความคิดเห็น เพื่อนําผลการประเมินมาวิเคราะหใหงานปกครองไปปรับใชตอไป

ขณะเดียวกนั ชูศักดิ์ ทองนาค (2542) ไดศึกษาการปรับปรุงงานปกครองนักเรียนโรงเรียนบานใหมหนองบัว อําเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม พบวา การปรับปรุงงานปกครองนักเรียนในงาน 4 ดานคือ งานพฤติกรรมท่ัวไป พบวาครูสวนใหญควรใชการยกยอง ชมเชย

Page 53: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

58

สงเสริมพฤติกรรมท่ีดีของนักเรียน มีการแนะนําอบรมส่ังสอนเกี่ยวกับความประพฤติ ใชวิธีการลงโทษโดยการทําทัณฑบน เม่ือมีการประพฤติผิดซํ้าหลาย ๆ คร้ังและควรมีการกํากบั และสังเกตพฤติกรรมหลังจากการลงโทษ งานระเบียบวินยั พบวา การจัดทํากฎ ระเบียบ ขอบังคับ ควรจัดทําโดยคณะกรรมการโรงเรียนและฝายปกครองจะเปนผูควบคุมและลงโทษนักเรียนท่ีกระทําผิด งานมาสายและขาดเรียน พบวา ครูควรตักเตือนนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมดังกลาว โดยขอความรวมมือจากผูปกครอง และมีการลงโทษเพ่ือใหเลิกพฤติกรรมขางตน สวนงานปองกันและแกไข การประพฤติผิดระเบียบวินยั ครูควรดูแล ตักเตือนนกัเรียนเปนประจําโดยมีการประชุมช้ีแจง ใหนกัเรียน ผูปกครองไดรับทราบถึงกฎ ระเบียบ และบทลงโทษ สวนในการจดักิจกรรมการเรียนการสอนควรสอดแทรกจิกรรมสงเสริมความมีระเบียบวินัย และส่ิงสําคัญครูควรทําตัวเปนแบบอยางท่ีด ี

ในปเดยีวกัน เดช สุธรรมปวง (2542) ไดศึกษาการบริหารงานปกครองนักเรียน ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม พบวา การปฏิบัติงานไมเปนไปตามแผน ท่ีวางไว ครูเรือนนอนขาดการดูแลเอาใจใสตอการปฏิบัติงานอยางจริงจัง ขาดการอบรมคุณธรรม จริยธรรมอยางตอเนื่อง ไมมีคณะกรรมการสอบสวนลงโทษนักเรียน ครูไมใหความรวมมือ ในการแกไขปญหาพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมของนักเรียนอยางจริงจัง นกัเรียนไมกลาแสดงออกหรือแสดงความคิดเห็น การสงเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนยังมีนอย ไมมีคณะกรรมการประเมินผลงานปกครองนกัเรียน

สวน เจริญ กาละ (2542) ไดศึกษาการบริหารงานปกครองนักเรียนในโรงเรียน ดอกคําใตวิทยาคม จังหวดัพะเยา พบวา ครูอาจารยและนกัเรียน มีความคิดเห็นวาฝายปกครองปฏิบัติการจัดทําคูมือ กฎ ระเบียบ ขอบังคับของโรงเรียนแจกใหกับคณะครู นกัเรียนและผูปกครองรับทราบและถือเปนแนวปฏิบัติรวมกัน มีคณะกรรมการฝายปกครองรวมกันปฏิบัติการบริหารงานปกครอง สวนของการแกไขปญหาความประพฤติของนกัเรียนไดรวมกับครูท่ีปรึกษา หัวหนาระดบัและผูปกครองนักเรียน นอกจากนี้ครูท่ีปรึกษาไดควบคุมดูแลนักเรียน เอาใจใส อบรมคุณธรรมจริยธรรมในคาบโฮมรูม พรอมจัดใหมีการยกยอมชมเชยนักเรียนท่ีกระทําดีใหเปนแบบอยางแกนักเรียน สวนท่ีฝายปกครองควรกระทําคือ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบอยางสมํ่าเสมอและจัดใหมีการเขาคายคุณธรรม จริยธรรม รวมท้ังการเชิญวิทยากรมาใหความรูแกนกัเรียนและใชวิธีการเพื่อนชวยเพื่อนเขามาใหคําแนะนาํกันและกัน

Page 54: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

59

ขณะท่ี ญาณิศา มณีโชติ (2542) ไดศึกษาความคิดเห็นของผูบริหารโรงเรียนและ ครูแนะแนวตอการจัดบริการแนะแนวโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานกังาน การประถมศึกษาอําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม พบวา ผูบริหารและครูแนะแนวเหน็วา การจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนท่ีมีความจําเปนมาก คือ บริการใหคําปรึกษา บริการจัดวางตวับุคคล บริการสารสนเทศ บริการศึกษาและรวบรวมขอมูลนักเรียนเปนรายบุคคล และการติดตามประเมินผล ยังพบวามีปญหาและอุปสรรคมากในสวนของบทบาทของครูแนะแนว บทบาทของ ครูทุกคนในโรงเรียนและบทบาทของผูบริหารที่มีตอการแนะแนวในโรงเรียน

ตอมา ปรีชา มานวกุล (2543) ไดศึกษาสภาพและปญหาของบริการแนะแนว ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองลําพูน พบวา การจัดบริการแนะแนว บริการสํารวจขอมูลเปนรายบุคคล บริการดานสารสนเทศ บริการดานใหคําปรึกษา บริการดานจัดวางตัวบุคคล และบริการ ดานติดตามผล มีสภาพและปญหาปานกลางในทุกดาน โดยปญหาท่ีพบ คือ ขาดบุคลากร ดานการแนะแนว ครูมีกิจกรรมอ่ืนมากและทํางานไมตอเนื่อง นอกจากนี้ผูบริหาร ไมเห็นความสําคัญของการแนะแนว ขาดแคลนวสัดุอุปกรณ และหองบริการแนะแนวไมมีการจัด เปนสัดสวน

สําหรับ พงพุธ หมุดปน (2543) ไดศึกษาการบริหารงานแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเชียงของ จังหวดัเชียงราย พบวา โรงเรียนควรเก็บขอมูลของนักเรียนทุกคน คณะครูตองเห็นประโยชนของการแนะแนวและมีการยอมรับ กันและกัน สวนสภาพการดําเนินงานแนะแนวในภาพรวมพบวา การศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในข้ันการวางแผนแนะแนว การดําเนนิการตามแผน การนิเทศ ติดตามและ กํากับดแูล การประเมินผลและพัฒนางานยังมีการปฏิบัติปานกลาง สําหรับปญหาพบวา ขาดบุคลากรท่ีมีความรูเฉพาะดาน ขาดการวางแผนงาน และไมมีการปฏิบัติตามแผนงานอยางจริงจัง ขอเสนอแนะคือ ควรจัดใหมีครูท่ีมีความรูเฉพาะดาน ผูบริหารและครูควรใหความสําคัญ กับการแนะแนว ตองมีการดําเนินการอยางจริงจัง และควรจัดการอบรมเก่ียวกับการแนะแนว พรอมจัดประชุมวางแผนรวมกันเพื่อพัฒนางานแนะแนว

ขณะท่ี สนิท บุญเจริญ (2545) ไดศึกษาการปฏิบัติงานปกครองนักเรียนของโรงเรียนแมเจดียวิทยาคม จังหวดัเชียงราย พบวา ครูและนักเรียนสวนใหญเหน็วาผูบริหารโรงเรียนไดแตงต้ังคณะกรรมการฝายปกครองใหรับผิดชอบในการบริหารงานปกครอง นกัเรียนรวมกับครูท่ีปรึกษา/ประจําช้ัน จดับรรยากาศส่ิงแวดลอมในโรงเรียน ชวยใหนักเรียนมีความสุขเม่ือไดมาโรงเรียน จัดใหนักเรียนไดแสดงออกและใชเวลาวางใหเปนประโยชน มีการเชิญวิทยากรมาใหความรูและ

Page 55: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

60

จัดอบรมคุณธรรมและจริยธรรมใหแกนักเรียนทุกสัปดาห และไดดําเนนิการตามโครงการระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ในสวนท่ีครูและนกัเรียนเห็นวาไมไดปฏิบัติ คือ ใหนกัเรียนมีสวน ในการกําหนดวิธีการแกไขพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสม ใหนกัเรียนรุนพี่ชวยดูแลพฤติกรรม ท่ีไมเหมาะสมของนักเรียนรุนนอง แจงผลการขาดเรียนของนักเรียนใหผูปกครองทราบ ประเมินผลการปฏิบัติงานปกครองนักเรียนทุกภาคเรียนและแจงใหทุกฝายท่ีเกีย่วของทราบ

ปตอมา ณรงคชัย สาไพรวัลย (2546) ไดศึกษาการตดิตามผลการดําเนนิงานระบบ ดูแลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมหาชยัพิทยาคาร จังหวัดมหาสารคาม พบวา การปองกันและ การแกไขปญหา การคัดกรองนักเรียน การสงตอนักเรียน และการสงเสริมนักเรียน มีปญหา ปานกลาง ยกเวน การรูจกันกัเรียนเปนรายบุคคลมีปญหานอยท่ีสุด ไดเสนอแนะใหการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียนมีคณะกรรมการนิเทศติดตามอยางสมํ่าเสมอ ใหโรงเรียนพัฒนาระบบสารสนเทศ มีความพรอมดานเอกสาร ส่ือและอุปกรณในการดําเนินงาน มีการประชาสัมพันธ และควรจัดอบรมสัมมนาใหความรูแกครูเกีย่วกับการดําเนินงานระบบดแูลชวยเหลือนักเรียน ในสวนของความพึงพอใจของนักเรียนพบวาในภาพรวมนักเรียนพอใจในครูประจําช้ันท่ีเกีย่วของ ในดานนักเรียนและดานการดําเนินงานของโรงเรียนมาก

ในปเดยีวกัน เรืองยศ อุตรศาสตร (2546) ไดศึกษาการดาํเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของครูท่ีปรึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวดัขอนแกน พบวา สภาพปจจบัุน การดําเนนิงานระบบดแูลชวยเหลือนักเรียนของครูท่ีปรึกษาในภาพรวมมีมาก ลําดับไดคือ ดานการสงเสริมนักเรียน การปองการและแกไขปญหา การคัดกรองนักเรียน การสงตอ การรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล สวนปญหาในการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน พบวามีนอย ในทุกดาน ในสวนของความตองการในการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของครูท่ีปรึกษามีมาก เรียงคาเฉล่ียจากมากไปหานอยไดแก (1) ดานการรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล (2) ดานการสงเสริมนักเรียน (3) ดานการคัดกรองนักเรียน (4) ดานการปองกันและแกไขปญหา และ (5) ดานการสงตอ

ปตอมา กิตติภพ เกาแกกูล (2547) ไดศึกษาการพัฒนาครูท่ีปรึกษาในการดําเนินงานตามระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียนในโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย พบวา ครูท่ีปรึกษายังไมเขาใจระบบดแูลชวยเหลือนักเรียนท้ัง 5 ข้ันตอน คือ (1) ดานการรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล ขาดการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ (2) การคัดกรองนักเรียน ครูขาดความรูความเขาใจในกระบวนการคัดกรองนักเรียนกลุมปกติ กลุมเส่ียงและกลุมมีปญหา (3) การสงเสริมนักเรียน โรงเรียนใหมีกิจกรรมโฮมรูม พบวา ครูท่ีปรึกษาขาดเทคนิควธีิการการจัดกจิกรรมโฮมรูม

Page 56: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

61

(4) การปองกนัและชวยเหลือนักเรียน ควรมีการใหการปรึกษาเบ้ืองตนและปองกันแกไขดวยกิจกรรม (5) การสงตอนักเรียน ปญหาในความยากในการสงตอนักเรียนและพฤติกรรมของนักเรียนไมดีข้ึน นอกจากนี้ยังขาดการประสานงานท่ีดี ขาดการรายงานการปรับพฤติกรรมหลังการดําเนิน การแกไข สวนหลังการพัฒนา พบวา ในสวนของ (1) ดานการรูจักนกัเรียนเปนรายบุคคล ครูท่ีปรึกษาจดัทําขอมูลพื้นฐาน ประวติันกัเรียนในระเบียนสะสม (2) การคัดกรองนกัเรียน ไดมีการคัดกรองแยกกลุมนกัเรียนปกติ กลุมเส่ียงและกลุมมีปญหาทําใหสามารถชวยเหลือแกไขปญหานักเรียนไดตรงกับนักเรียน (3) การสงเสริมนักเรียน ครูท่ีปรึกษาจัดกจิกรรมโฮมรูม ทําใหนกัเรียนเขาใจตนเอง มีทักษะในการปรับตัวและการวางแผนดําเนนิชีวิต กจิกรรมเยี่ยมบานนักเรียน ครูท่ีปรึกษาและผูปกครองรวมมือกันเพื่อหาทางปองกนัชวยเหลือและแกไขปญหานกัเรียน (4) การปองกนัและชวยเหลือนักเรียน ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร นักเรียนไดแสดงออก มีการพัฒนาตามความถนัดและความสามารถ (5) การสงตอนกัเรียน ชวยแกปญหาและลดปญหาของนักเรียนลงได และผลทีมี่ตอครูท่ีปรึกษาจากการพัฒนาการดําเนินงานตามระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนทําใหครูมีความตระหนักและทํางานเปนระบบ นักเรียนไดรับการชวยเหลือและตรงกับปญหา

ขณะท่ี สุทธิศักดิ์ วรพัฒนผดุง (2547) ไดศึกษาการพัฒนาการดําเนินงานระบบ ดูแลชวยเหลือนักเรียนโรงเรียนสตึก อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย พบวา กลยุทธในการพัฒนา การดําเนนิงานตามระบบดแูลชวยเหลือนกัเรียน มีความเห็นวาในการประชุมปฏิบัติการเร่ืองพัฒนาการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนมีข้ันตอนการเตรียมการ ข้ันตอนการดําเนนิ การปฏิบัติการ การประเมินผลการประชุมไดเหมาะสมมาก แตการใหความรูมีความเหมาะสม ปานกลาง วงรอบที่ 1 พบวาผูรวมศึกษามีความรูความเขาใจและมีความสามารถในการพัฒนา การดําเนนิงานตามระบบดแูลชวยเหลือนกัเรียนท้ัง 5 ดาน ปานกลาง ในวงรอบท่ี 2 พบวามีมากข้ึน และผลการพฒันาการดําเนนิงานระบบดแูลชวยเหลือนกัเรียน พบวา ดานความรูความเขาใจและความสามารถเก่ียวกับระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน การรูจักนกัเรียนเปนรายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การสงเสริมนักเรียน การปองกันและแกไขปญหา การสงตอ มีมากในทุกดาน ในการดําเนินงานระบบดแูลชวยเหลือนักเรียน ทําใหบุคลากรมีความรูความเขาใจและมีสวนรวม ในการพัฒนาการดําเนนิงาน สงผลใหนักเรียนเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีข้ึน โรงเรียนมีการจัดการ ท่ีเปนระบบ มีสารสนเทศงานปกครอง สงเสริมการเรียนการสอน มีแผนในการดําเนนิการ สงผล ตอการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการทางการศึกษาใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน

Page 57: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

62

สําหรับเพ็ญวภิา พรหมสุวรรณ (2547) ไดประเมินโครงการระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพืน้ท่ีการศึกษาเชียงใหม เขต 3 พบวา ดานสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานไดผลดี โดยคณะกรรมการเห็นความสําคัญ ความจําเปน และประโยชนของระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ดานปจจัยพบวาปฏิบัติไดพอใช โดยโรงเรียนแตงต้ังคณะกรรมการและกําหนดบทบาทหนาท่ีของคณะกรรมการ และสวนใหญมีความรู ความเขาใจในระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน แตยังขาดงบประมาณในการเย่ียมบานนักเรียน ดานกระบวนการ พบวาการดําเนินงานดีพอใช โดยครูท่ีปรึกษาทําความรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล ทําการคัดกรองนักเรียน ดานผลผลิตพบวาปฏิบัติไดดี โดยระบบดแูลชวยเหลือนักเรียนสงผลใหความสัมพันธระหวางครูกับนักเรียนเปนไปดวยดี นกัเรียนไดรับการปองกันและแกไขปญหาได ดีข้ึน รวมถึงการสงเสริมใหแสดงออกตามสภาพของตนเอง ในกรอบ 5 ดาน คือดานการรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล และการคัดกรอง พบวา ครูท่ีปรึกษาไดทําความรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล เพื่อทําการคัดกรองไดผลดี มีการเยีย่มบานนักเรียน ดานการสงเสริมนักเรียน พบวาปฏิบัติไดดีนักเรียนไดรับคําแนะนําดานการเรียน กิจกรรมโฮมรูมท่ีเปนประโยชนตอนักเรียนและครูท่ีปรึกษาแนะนํานกัเรียนใหรูจกัปองกันตนเองจากภัยบุคคลและสังคมภายนอก สวนการปองกันและแกไขปญหา พบวาปฏิบัติไดผลดี นักเรียนรวมกจิกรรมเสริมหลักสูตร มีการใหคําแนะนําปญหาและ โทษของสารเสพติด การสงตอ พบวา ปฏิบัติไดพอใช โดยครูท่ีปรึกษามีการประสานงานติดตาม รับชวงเพื่อดแูลแกไขนักเรียนท่ีถูกสงตอ

สวน ภูเบศ พวงแกว (2547) ไดศึกษาแนวทางการบริหารงานปกครองของโรงเรียนเทคโนโลยีไทย- ญ่ีปุน- เยอรมัน พบวา ปญหางานปกครองนักเรียน ประกอบดวยปญหา ในดานตาง ๆ คือ คณะกรรมการดานบทบาทหนาท่ีของบุคลากรแตละฝาย ดานระเบียบวินยั ดานพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค และไดมีการปฏิบัติงานของคณาจารยฝายปกครอง สวนของ ความตองการในการบริหารงานปกครองของนักเรียน มีความตองการตอไปนี้ คือ การแตงต้ังคณะกรรมการ คุณสมบัติของคณะกรรมการ การกําหนดบทบาทและหนาท่ีคณะกรรมการ การปฏิบัติงาน การปองกันแกไขพฤติกรรมนักเรียน การสงเสริมใหนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม การจัดทําคูมือครูและนักเรียน การประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ และมีแนวทางการบริหารงานปกครองของโรงเรียนวา เปนแนวทางท่ีสรางข้ึนจากการประมวลความรูจากเอกสารงานวิจยัตาง ๆ และขอคําแนะนําจากผูบริหารโรงเรียน

Page 58: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

63

ตอมา กัลยา อาจฤทธ์ิ (2548) ไดศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจยัท่ีสงผลตอ การดําเนนิงานระบบการดแูลชวยเหลือนกัเรียน พบวา บุคลากรในสถานศึกษาและคณะผูปกครอง มีความคิดเหน็เกี่ยวกับปจจัยท่ีสงผลตอการดําเนินระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนในภาพรวมมาก เม่ือพิจารณางานเปนรายปจจัย พบวา ปจจยัดานผูบริหารสถานศึกษา ปจจัยดานบุคลากร ในสถานศึกษา ปจจัยดานครูท่ีปรึกษา ปจจยัดานการอบรมใหความรู ปจจัยดานคณะผูปกครองและผูเกี่ยวของ สงผลตอการดําเนินงานมาก และปจจัยดานคณะกรรมการหรือคณะทํางานสงผลตอ การดําเนนิงานปานกลาง สวนผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกบัปจจัยท่ีสงผลตอการดําเนนิระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน จําแนกตามสถานภาพในสถานศึกษา พบวา บุคลากรในสถานศึกษาและคณะผูปกครองมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยท่ีสงผลตอการดําเนินงานระบบ การดูแลชวยเหลือนักเรียนไมแตกตางกัน

ทํานองเดียวกนั ประภาศรี ศรีวงคพันธ (2549) ไดศึกษาการดําเนนิงานเก่ียวกับ ระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนประถมศกึษา ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเชียงใหม เขต 1 พบวา ดานการรูจักนกัเรียนเปนรายบุคคล ดานการคัดกรองนักเรียน โรงเรียน ทุกขนาดมีการดําเนินงานมาก ดานการสงเสริมและการพฒันานักเรียนโรงเรียนทุกขนาด มีการดําเนนิงานมาก ยกเวนโรงเรียนขนาดใหญพิเศษดําเนนิงานมากท่ีสุด งานดานปองกันและ การแกไขปญหา โรงเรียนทุกขนาดมีการดาํเนินงานมาก ยกเวนโรงเรียนขาดใหญพิเศษดําเนนิงานมากท่ีสุด ดานการสงตอนักเรียน โรงเรียนทุกขนาดมีการดําเนินงานปานกลาง ยกเวนโรงเรียนขนาดใหญพิเศษท่ีดําเนนิงานมาก ปญหาและขอเสนอแนะ คือ ครูมีภาระงานมาก ทําใหไมมีเวลา ในการเยี่ยมบานนักเรียนและขาดงบประมาณ ผูปกครองไมมีเวลามาพบครู เม่ือนักเรียนมีปญหาและไมเขาใจในระบบการดแูลชวยเหลือนกัเรียน ผูบริหารไมใหความสําคัญเทาท่ีควร ขาดการติดตามอยางตอเนื่อง โดยใหขอเสนอแนะคือ ควรมีการอบรมเพื่อพัฒนาครูทุกคนในสังกัด ควรมีการสนบัสนุนงบประมาณใหมากข้ึน ควรจัดงานระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียนใหเปนระบบและดําเนินงานอยางตอเนื่อง ควรมีเครือขายผูปกครอง และควรมีการช้ีแจงใหผูปกครองเขาใจถึงข้ันตอนการดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

สวน วฑิูร วงษแหวน (2549) ไดศึกษารูปแบบระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนหันคาราษฎรรังสฤษดิ์ สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาชัยนาท พบวา โดยรวมมีปญหาการดูแลชวยเหลือนักเรียนนอย เม่ือพิจารณาเปนดาน พบวา ปญหาดานการคัดกรองนักเรียนมีมาก รองลงมาคือ ปญหาดานการปองกันและแกไขปญหา สวนดานท่ีมีปญหานอยท่ีสุดคือ ดานการสงเสริม

Page 59: บทที่ 2 - Chiang Mai Universityarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/edadm0551st_ch2.pdf · 2009-03-03 · บทที่ 2 ... หว างโรงเร ียนมีมาก

64

นักเรียน รูปแบบระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียนหนัคาราษฎรรังสฤษฏ มีรูปแบบ ท่ีเพิ่มเติมจากระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียนคือ มีการรายงานผลการดูแลชวยเหลือนกัเรียน

นอกจากนี้ นกิร ทองทิพย (2550) ไดศึกษาการดําเนนิงานระบบดแูลชวยเหลือนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงดาว พบวา การดําเนินงานไดมีการสรางความสัมพันธระหวางครู กับนักเรียนในความดูแล แตนักเรียนส่ือสารดวยภาษาไทยไมได และไมสามารถเยี่ยมบานนักเรียน ท่ีอยูในถ่ินทุรกันดาร มีการวางแผนในการคัดกรองนักเรียน โดยแบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม คือ กลุมปกติ กลุมเส่ียง กลุมมีปญหา และกลุมท่ีมีความสามารถพิเศษ แตนกัเรียนมีพฤติกรรมไมชัดเจนจึงจัดกลุมไดยาก มีการจัดกิจกรรม บันทึก รายงาน กิจกรรมโฮมรูม และกิจกรรมในหอพัก และ มีการประชุมผูปกครอง แตขาดอุปกรณในการพัฒนานกัเรียน และครูไมมีเวลาใหกับนักเรียน มีการมอบหมายหนาท่ีใหนกัเรียนรับผิดชอบในหองเรียน มีการจัดทําแนวทางในการชวยเหลือนักเรียน แตนกัเรียนไมยอมรับการชวยเหลือจากครู นอกจากนี้ไดมีการสงตอใหฝายปกครอง ครูพยาบาลไดชวยแกไขพฤติกรรมนักเรียน

จากการศึกษาที่เกี่ยวของกับระบบดูแลชวยเหลือนกัเรียนแสดงใหเหน็ถึงความสําคัญ ของการดูแลชวยเหลือนักเรียนท่ีจะสงผลตอประสิทธิภาพของนักเรียนในโรงเรียนอยางมาก ท้ังการคัดกรองนักเรียน การรูจักนักเรียนเปนรายบุคคล การสงเสริมนักเรียน การปองกันและแกไขปรับปรุง และการสงตอนักเรียน แตมักพบปญหาเร่ืองบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถเฉพาะดาน และขาดการใหความสําคัญจากผูบริหารและคณะครู และโรงเรียนสวนใหญจะพัฒนาระบบดแูลชวยเหลือนักเรียนดวยวิธีการจัดฝกอบรม การประชุมช้ีแจงความเขาใจใหกับบุคลากรทุกฝายรวมท้ังผูปกครองนักเรียนเพื่อความรวมมือกันในการดูแลชวยเหลือนักเรียนใหมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด