บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1...

24
บบบบบ 1 บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ (Introduction to Geographic Information System: GIS) 1.1 บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร (Geographic Information System: GIS) รรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรร รรรรรรรรร รรรรรรร รรรรร รรรรรร รรรรรรรรรรรร รรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรร รรรรรรรร ร รรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรร GIS รรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรร ร รรรร รรรรรรรรรรรรร (primary data) รรรรรรรรรรรรรรรรรรร (secondary data) รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร 1.2 บบบบบบบบบบบบบ GIS รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรร 4 รรรร รรร รรรรรรรรรรรรรรรรร (Data/Information) รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรร ร (Hardware) รรรรรรร (software) รรร

Transcript of บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1...

Page 1: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

บทท่ี 1ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร

(Introduction to Geographic Information System: GIS)

1.1 ความหมายของระบบสารสนเทศภมูศิาสตรระบบสารสนเทศภมูศิาสตร (Geographic Information

System: GIS) หมายถึง เครื่องมอืที่ใชระบบคอมพวิเตอร เพื่อใชในการนําเขา จดัเก็บ จดัเตรยีม ดัดแปลง แกไข จดัการ และวเิคราะห พรอมทัง้แสดงผลขอมูลเชงิพื้นที่ ตามวตัถปุระสงคตาง ๆ ท่ีไดกําหนดไว ดังนัน้ GIS จงึเปนเครื่องมอืที่มีประโยชนเพื่อใชในการจดัการ และบรหิารการใชทรพัยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม และสามารถติดตามการเปล่ียนแปลงขอมูลดานพื้นที่ ใหเปนไปอยางมีประสทิธภิาพ เน่ืองจากเปนระบบท่ีเกี่ยวของกับระบบการไหลเวยีนของขอมูล และการผสานขอมูลจากแหลงขอมูลตาง ๆ เชน ขอมูลปฐมภมูิ(primary data) หรอืขอมูลทติุยภมู ิ(secondary data) เพื่อใหเปนขาวสารท่ีมคีณุคา1.2 องคประกอบของ GIS

ระบบสารสนเทศภมูศิาสตร มอีงคประกอบที่สาํคัญหลายอยาง แตละอยางลวนเปนองคประกอบที่สาํคัญทัง้สิน้ แตท่ีสาํคัญประกอบดวย 4 สวน คือ ขอมูลและสารสนเทศ(Data/Information) เครื่องคอมพวิเตอรและอุปกรณตาง ๆ (Hardware) โปรแกรม (software) และ

Page 2: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

บุคลากร (User/People) ดังภาพท่ี 1.1

ภาพที่ 1 .1 องคประกอบระบบสารสนเทศภมูศิาสตร1-1

Yongyut Trisurat, Ph.D.บทที่ 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร

Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System)

Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand

Email: [email protected]

1.2.1 ขอมูล (Data/Information)ขอมูลท่ีจะนําเขาสูระบบสารสนเทศทางภมูศิาสตร ควร

เปนขอมูลเฉพาะเรื่อง (theme) และเปนขอมูลท่ีสามารถนํามาใชในการตอบคําถามตาง ๆ ไดตรงตามวตัถุประสงค เปนขอมูลท่ีมคีวามถกูตองและเชื่อถือได และเปนปจจุบนัมากท่ีสดุ อนึ่ง ขอมูลหรอืสารสนเทศสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ ขอมูลที่มลัีกษณะเชงิพื้นท่ี (spatial data) และขอมูลอธบิายพื้นท่ี (non-spatial data or attribute data)

ขอมูลเชงิพื้นท่ี เปนขอมูลที่แสดงตําแหนงท่ีตัง้ทางภมูิศาสตร (geo-referenced data) ของ

SOFTWARE

USER/PEOPLE

HARDWARE

DATA/INFORMATION

Page 3: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

รูปลักษณของพื้นที่ (graphic feature) ซึ่งม ี2 แบบ คือ ขอมูลที่แสดงทิศทาง (vector data) และ ขอมูลท่ีแสดงเปนตารางกรดิ (raster data) ขอมูลท่ีมทีิศทาง ประกอบดวยลักษณะ 3 อยาง คือ

-ขอมูลจุด (point) เชน ท่ีตัง้หมูบาน โรงเรยีน เปนตน-ขอมูลเสน (arc or line) เชน ถนน แมน้ํา ทอประปา

เปนตน-ขอมูลพื้นท่ี หรอืเสนรอบรูป (polygon) เชน พื้นท่ีปาไม

ตัวเมอืง เปนตน

ขอมูลจุด ขอมูลเสน ขอมูลพื้นที่ภาพที่ 1.2 ลักษณะขอมูลท่ีแสดงทิศทาง (vector data)ขอมูลท่ีมลัีกษณะเปนกรดิ (raster data) จะเปนลักษณะ

ตารางสีเ่หล่ียมเล็ก ๆ (grid cell or pixel)เทากันและตอเน่ืองกัน ซึ่งสามารถอางอิงคาพกิัดทางภมูิศาสตรได ขนาดของตารางกรดิ หรอืความละเอียด (resolution) ในการเก็บขอมูล จะใหญหรอืเล็กขึ้นอยูกับการจดัแบงจาํนวนแถว (row) และจาํนวนคอลัมน (column) ตัวอยางขอมูลท่ีจดัเก็บโดยใชตารางกรดิ เชน ภาพถายดาวเทียม Landsat หรอื

Page 4: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

ขอมูลระดับคาความสงู (digital elevation model: DEM) เปนตน ดังภาพที่ 1.3

1-2 Yongyut Trisurat, Ph.D.

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University

(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand

Email: [email protected]

ภาพที่ 1.3 ขอมูลตารางกรดิ (raster data)ฐานขอมูล (database) เปนโครงสรางของสารสนเทศ (information) ท่ีประกอบดวยขอมูลเชงิพื้นที่ (spatial data) และขอมูลอธบิาย (non-spatial data) ท่ีมคีวามสมัพนัธกัน ซึ่งการจดัการหรอืการเรยีกใชฐานขอมูล จะถกูควบคมุโดยโปรแกรม GIS ดังภาพท่ี 1.4ภาพที่ 1.4 ตารางฐานขอมูลในระบบ GIS1.2.2 เครื่องคอมพวิเตอร และอุปกรณตาง ๆเครื่องคอมพวิเตอร รวมกันเรยีกวา ระบบฮารดแวร (hardware) จะประกอบดวย คอมพวิเตอรอุปกรณการนําเขา เชน digitizer scanner อุปกรณอานขอมูล เก็บรกัษาขอมูล และแสดงผลขอมูล เชน

Page 5: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

printer plotter เปนตน ซึ่งอุปกรณแตละชนิดจะมหีนาท่ีและคณุภาพแตกตางกันออกไป1.2.3 โปรแกรม หรอืระบบซอฟแวร (software)Software หมายถึง โปรแกรมที่ใชในการจดัการระบบ และสัง่งานตาง ๆ เพื่อใหระบบฮารดแวรทํางาน หรอืเรยีกใชขอมูลท่ีจดัเก็บในระบบฐานขอมูล ทํางานตามวตัถปุระสงค โดยทัว่ไปชุดคําสัง่1-4 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]หรอืโปรแกรมของสารสนเทศทางภมูศิาสตร จะประกอบดวย หนวยนําเขาขอมูล หนวยเก็บขอมูลและการจดัการขอมูล หนวยวเิคราะห แสดงผลหนวยแปลงขอมูล และหนวยโตตอบกับผูใช1.2.4 บุคลากร (human resources)บุคลากร จะประกอบดวยผูใชระบบ (analyst) และผูใชสารสนเทศ (user) ผูใชระบบหรอืผูชาํนาญการ GIS จะตองมคีวามชาํนาญในหนาท่ี และไดรบัการฝกฝนมาแลวเปนอยางดี พรอมที่จะทํางานไดเต็มความสามารถ โดยทัว่ไปผูใชระบบจะเปนผูเลือกระบบฮารดแวร และระบบซอฟแวรเพื่อใหตรงตามวตัถปุระสงค และสนองตอบความตองการของหนวยงาน สวนผูใชสารสนเทศ (user)

Page 6: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

คือ นักวางแผน หรอืผูมอํีานาจตัดสนิใจ (decision-maker) เพื่อนําขอมูลมาใชในการแกไขปญหาตาง ๆนอกจากองคประกอบที่สาํคัญทัง้ 4 สวนแลว องคกรท่ีรองรบั (organization) ก็นับวามีความสาํคัญตอการดําเนินงานระบบสารสนเทศภมูศิาสตร ทัง้น้ีเพราะองคกรที่เหมาะสม และมวีตัถุ-ประสงคที่สอดคลองกับระบบงานสารสนเทศภมูศิาสตร จะสามารถรองรบัและใหการสนับสนุนการนําระบบสารสนเทศภมูศิาสตร เขามาใชในแผนงานขององคกรไดอยางมปีระสทิธภิาพ โดยไดรบัการสนับสนุนงบประมาณ อุปกรณ และบุคลากรท่ีเหมาะสมกับหนาที่1.3 GIS สามารถทําอะไรไดบางGIS เปนระบบสารสนเทศท่ีรวบรวมขอมูลเชงิพื้นท่ี (spatial data) และขอมูลอธบิายตาง ๆ(attribute data) ดังนัน้ จงึมปีระสทิธภิาพในการวเิคราะห และตอบคําถามเกี่ยวกับความสมัพนัธดานพื้นท่ีไดหลายประการ ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 5 ประเภท คือ1.3.1 Location What is at … ? มอีะไรอยูท่ีไหนคําถามแรกท่ี GIS สามารถตอบได คือ มอีะไรอยูที่ไหน หากผูถามรูตําแหนงที่แนนอน เชนทราบชื่อหมูบาน ตําบล หรอือําเภอ แตตองการรูวาที่ตําแหนงนัน้ ๆ ที่รายละเอียดขอมูลอะไรบาง1.3.2 Condition Where is it? สิง่ท่ีอยากทราบอยูท่ีไหนคําถามน้ีจะตรงกันขามกับคําถามแรก และตองมกีารวเิคราะหขอมูล ยกตัวอยางเชน เราตองการ

Page 7: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

ทราบวาบรเิวณใด มดีินที่เหมาะสมตอการปลกูพชื อยูใกลแหลงน้ํา และไมอยูในเขตปาอนุรกัษ เปนตน1-5 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected] Trends What has changed since … ? ในชวงระยะท่ีผานมามอีะไรเปล่ียนแปลงบางคําถามท่ีสามเปนการวเิคราะหการเปล่ียนแปลงในระยะชวงเวลาใดเวลาหน่ึง ซึ่งคําถามน้ีจะเกี่ยวของกับคําถามที่หน่ึงและคําถามท่ีสอง วาตองการทราบการเปล่ียนแปลงของอะไร และสิง่ที่ไดเปล่ียนแปลงอยูท่ีไหน มขีนาดเทาไร เปนตน1.3.4 Patterns What spatial patterns exist? ความสมัพนัธดานพื้นท่ีเปนอยางไรคําถามน้ีคอนขางจะซบัซอนกวาคําถามท่ี 1-3 ตัวอยางของคําถามน้ี เชน เราอยากทราบวาปจจยัอะไรเปนสาเหตขุองการเกิดโรคทองรวงของคนท่ีอาศัยอยูเชงิเขา หรอืเชื้อโรคมาจากแหลงใด การตอบคําถามดังกลาว จาํเปนตองแสดงที่ตัง้แหลงมลพษิตาง ๆ ท่ีอยูใกลเคียง หรอือยูเหนือลําธาร ซึ่งลักษณะการกระจาย และตําแหนงท่ีตัง้ของสถานท่ีดังกลาว ทําใหเราทราบถึงความสมัพนัธของปญหาดังกลาวเปนตน1.3.5 Modeling What if … ? จะมอีะไรเกิดขึน้หาก

Page 8: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

คําถามน้ีจะเกี่ยวของกับการคาดการณวาจะมอีะไรเกิดขึ้นหากปจจยัอิสระ (independencefactor) ซึ่งเปนตัวกําหนดการเปล่ียนแปลงไป ยกตัวอยางเชน จะเกิดอะไรขึ้นหากมกีารตัดถนนเขาไปในพื้นท่ีปาสมบูรณ การตอบคําถามเหลาน้ีบางครัง้ตองการขอมูลอ่ืนเพิม่เติม หรอืใชวธิกีารทางสถิติในการวเิคราะห เปนตน1.4 GIS ทําอะไรไมไดบางGIS เปนเพยีงเครื่องมอื (tool) ท่ีชวยใหการวเิคราะหขอมูลเชงิพื้นที่ สามารถทําไดรวดเรว็ และมปีระสทิธภิาพ แตอยางไรก็ตาม GIS ไมสามารถทําอะไรไดทุกอยาง เชน1.4.1 GIS ไมสามารถปรบัปรุงคณุภาพของขอมูลดิบ (raw data) ใหมคีวามถกูตอง หรอืแมนยาํขึ้นได ยกตัวอยางเชน ไดนําขอมูลแผนที่ดิน มาตราสวน 1:100,000 ถึงแมวา GIS สามารถพมิพแผนที่มาตราสวน 1:50,000 แตความแมนยาํของขอมูลยงัคงเดิม1.4.2 GIS ไมสามารถระบุความผิดพลาดของขอมูลได ยกตัวอยางเชน เจาหนาท่ี GIS ไดนําเขาขอมูลดินทราย แตไดกําหนดขอมูลดังกลาวผิดพลาดเปนดินรวนปนทราย GIS ไมสามารถบอกไดวาพื้นท่ีดังกลาวใหรายละเอียดขอมูลผิด1-6 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University

Page 9: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected] GIS ไมสามารถเปรยีบเทียบคณุภาพของขอมูล แตละชัน้ขอมูลหรอืขอมูลแตละแหลงวาขอมูลชุดใด หรอืหนวยงานใดผลิตขอมูลท่ีมคีณุภาพมากนอยกวากัน1.4.4 GIS ไมสามารถระบุไดวาแบบจาํลองในการวเิคราะห หรอืเง่ือนไขตาง ๆ ท่ีนักวเิคราะหGIS หรอืผูมอํีานาจตัดสนิใจไดเลือกไปนัน้ ถกูตองหรอืไม เพราะ GIS เปนเพยีงเครื่องมอื ท่ีนํามาใชในการวเิคราะหขอมูลเทานัน้1.4.5 GIS ไมทราบมาตรฐานหรอืรูปแบบแผนที่ท่ีเปนสากล ยกตัวอยางเชน ขอมูล GIS ชุดเดียวกัน แตถาใหนักวเิคราะห GIS 2 ทาน มาจดัทําแผนท่ี จะไดแผนท่ีไมเหมอืนกัน ความสวยงามแตกตางกัน ขึ้นอยูกับประสบการณและความรูของผูผลิตแผนท่ีเปนหลัก1.4.6 GIS ไมสามารถทดแทนความรู ความสามารถ ของผูเชีย่วชาญได ยกตัวอยางเชนการวเิคราะหหาพื้นที่ท่ีเหมาะสมตอการใชประโยชนท่ีดิน ยงัมีความจาํเปนจะตองมผีูเชีย่วชาญเรื่องดินและการวางแผนใชท่ีดิน เปนผูกําหนดปจจยัหรอืเง่ือนไขตาง ๆ นักวเิคราะห GIS ถึงแมวาจะมีประสบการณในการใชโปรแกรม หรอืมขีอมูลเชงิพื้นที่และขอมูลอธบิายครบถวน ไมสามารถ

Page 10: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

ดําเนินการวเิคราะหดังกลาวใหไดผล ท่ีเปนที่ถกูตองตามหลักวชิาการได เพราะไมไดมคีวามรูในเรื่องนัน้ ๆ1.5 ระบบคาพกัิดทางภมูศิาสตร (Geo-referenced Coordinate System)เน่ืองจาก GIS เปนระบบสารสนเทศท่ีรวบรวมขอมูลเชงิพื้นท่ี จากแหลงขอมูลและมาตราสวนตาง ๆ ดังนัน้ ระบบคาพกิัดทางภมูศิาสตร จงึเปนสิง่ท่ีจาํเปน ทัง้น้ีเพราะหากขอมูลดังกลาวใชระบบอางอิงที่แตกตางกัน จะทําใหไมสามารถซอนทับ หรอืซอนทับไดแตมตํีาแหนงท่ีผิดพลาด หรอืการเชื่อมตอขอมูลแผนที่ท่ีอยูใกลเคียงกัน ไมสามารถดําเนินการได ระบบคาพกิัดทางภมูศิาสตร สามารถแบงออกเปน 2 ระบบใหญ ๆ คือ Spherical Coordinate System และ Map Projection1.5.1 Spherical Coordinate System เปนระบบคาพกิัดท่ีอางอิงเสนรุง (latitude) และเสนแวง(longitude) โดยตัง้อยูบนพื้นฐานวาโลกมลัีกษณะกลม ซึ่งเปนภาพ 3 มติิ เสนแวง (longitude ormeridians) จะลากจากขัว้โลกเหนือมายงัขัว้โลกใต เสนแวง 0 องศา (Prime Meridian) จะลากผานเมอืง1-7 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]

Page 11: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

Greenwich ประเทศอังกฤษ ทางทิศตะวนัออก จะมคีา 0-180 องศา สวนทางทิศตะวนัตกของเสน PrimeMeridian จะมคีา 0 - (-180) องศา เสนรุง บางครัง้เรยีกวา parallels เน่ืองจากจะมรีะยะหางที่เทากันตลอดเสนรุงท่ีลากผานเสนศูนยสตูร (equartor) จะมคีา 0 องศา เสนรุงท่ีอยูทางทิศเหนือของเสนศูนยสตูร จะมีคาจาก 0-90 องศา ถึงขัว้โลกเหนือ และเสนรุงที่อยูทางทิศใตของเสนศูนยสตูร จะมคีาจาก 0 - (-90)องศา ถึงขัว้โลกใต ดังนัน้ คาพกิัดหนึ่ง ๆ ของระบบเสนรุง เสนแวงจะมเีพยีงตําแหนงเดียวบนพื้นโลกดังภาพท่ี 1.5ภาพที่ 1.5 Spherical Coordinate System1.5.2 Cortesian Coordinate System or Planar Coordinate System เปนระบบคาพกิัดทางภมูศิาสตรที่แปลงคา (projection) เสนรุง เสนแวง ท่ีเปนรูป 3 มติิ ใหเปนแผนที่ในลักษณะพื้นราบ 2 มติิโดยคา x แทนคาระยะทางจากจุดอางอิงสมมุติ ในแนวแกนนอน (horizontal axis) และ y แทนคาระยะทางจากจุดอางอิงสมมุติ ในแนวแกนตัง้ (vertical axis) ดังภาพที่ 1.620oN 30oE0olatitude (equator)0o longitude (prime meridian)1-8 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University

Page 12: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]ภาพที่ 1.6 Planar Coordinate Systemคาพกิัด Planar Coordinate System มหีลายระบบดวยกัน เชน Mercator, Transvers Mercator,Albers Equal-Area Conic, Lambert Conformal Conic, State Plane Coordinate System, และ UniversalTranvers Mercator (UTM) ซึ่งระบบการแปลงคา (projection system) แตละระบบหรอืแตละโซน จะใหผลท่ีแตกตางกัน สาํหรบัประเทศไทย และประเทศอ่ืน ๆ โดยมากจะใชระบบ UTM ซึ่งไดแบงโลกออกเปน 60 สวน สวนละ 6 องศา โซนท่ี 1 ตัง้อยูระหวางเสนแวงที่ 180° West - 174° West สวนประเทศไทยตัง้อยู 2 โซน คือ โซน 47 (96° East - 102° East) และ โซน 48 (102° East - 108° East)หรอืตัง้อยูในภมูภิาค 1830 Everest ในกลุมประเทศเดียวกับอินเดีย พมา ปากีสถาน อัฟกานิสถาน1.5.3 คณุลักษณะของ Spheriacal Coordinate System และ Planar Coordinate SystemSpheriacal Coordinate System• เปนคาพกิัดจรงิ โดยอางอิงจากผิวโลก พบเพยีงตําแหนงเดียว• เสนแนวตัง้ (เสนแวง) ไมขนานกัน แตจะบรรจบกันท่ีขัว้โลกเสนแนวนอน (เสนรุง) จะขนานกันบนพื้นโลก• ทิศเหนือของแผนท่ี (cartographic north) แตกตางจากทิศเหนือของขัว้โลก (pole)• หนวยเปน องศา ลิปดา และวลิิปดา

Page 13: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

• คาพกิัดระบุเปน เสนรุง (latitude) เสนแวง (longitude)Planar Coordinate System (UTM)• เปนคาพกิัดจรงิ อางอิงจากจุดสมมุติ พบหลายตําแหนงบนพื้นโลก• พื้นท่ีแตละตารางกรดิมขีนาดเทากัน เพราะพจิารณาในแนวราบy > 0x > 0ABReferenceY<0X<01-9 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]• โลกถกูแบงออกเปน 60 สวน ขนาดเทากัน สวนละ 6° latititudeแตละสวนจะมเีสนแนวตัง้สมมุติ• คาท่ีไดจะมคีวามถกูตองมากในบรเิวณ เสนแวง +/- 60° เหนือและใต• หนวยเปนเมตร แตคาความถกูตองอาจเปนเซน็ติเมตร สามารถคํานวณหาพื้นที่ได• คาพกิัดระบุเปน x, y1.6 การทํางานของระบบสารสนเทศภมูศิาสตร (GIS Operation System)

Page 14: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

การทํางานของระบบสารสนเทศภมูศิาสตร ประกอบดวย 5 ขัน้ตอนหลัก คือ 1) การวเิคราะหปญหาหรอืการกําหนดวตัถปุระสงค 2) การจดัเตรยีมฐานขอมูล 3) การวเิคราะหขอมูล และ 4) การแสดงผลขอมูล ดังภาพที่ 1.7ภาพที่ 1.7 ขัน้ตอนการดําเนินงานดาน GIS1.6.1 การกําหนดวตัถปุระสงค (Determine Objective)วตัถปุระสงค(Objective)การจดัเตรยีมขอมูล(Data Preparation)ขอมูลอธบิาย(Attribute Data)ขอมูลเชงิพนืที(Spatial Data)การนําเขาขอมูล(Data Input)การปรบัแกขอมูล(Data Update)การวเิคราะหขอมูล(Data Analysis)การแสดงผล(Output)1-10 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand

Page 15: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

Email: [email protected]การกําหนดวตัถปุระสงค เปนขัน้ตอนแรกและสาํคัญที่สดุในการดําเนินงานที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภมูศิาสตร ทัง้น้ี นักวเิคราะห GIS ตองทราบวตัถปุระสงคที่ชดัเจนกอนการดําเนินงานในขัน้ตอนตาง ๆ วาตองการแกปญหาอะไร ปญหาดังกลาวสามารถตอบไดโดย GIS หรอืไม และผลที่คาดวาจะไดรบัจากการวเิคราะหคืออะไร และใครจะเปนผูนําผลการวิเคราะหไปใชในขัน้ตอนตอไป1.6.2 การจดัเตรยีมขอมูล (Database Preparation)1) การนําเขาขอมูล (Data Input) สามารถแบงไดออกเปน 2 ประเภท คือ การนําเขาขอมูลเชงิพื้นที่ (spatial data) และขอมูลทัว่ไป การนําเขาขอมูลเชงิพื้นท่ี เปนการแปลงขอมูลเชงิพื้นที่ ใหเปนขอมูลเชงิตัวเลข (digital data) ซึ่งสามารถนําเขาไดหลายวธิ ีเชน digitizing table, คียบอรด (computerkeyboard) สแกนเนอร (scanner) นําเขาขอมูลแผนฟลม (file importation) และแปลงคาพกิัดทางภมูศิาสตรที่จดัเก็บจากเครื่อง Global Positioning System (GPS) ทัง้น้ี โปรแกรม (software) ท่ีใชในการนําเขามหีลายโปรแกรม เชน ArcInfo, ArcView, SPAN, ERDAS เปนตน สวนการนําเขาฐานขอมูลท่ีมีความสมัพนัธกับขอมูลเชงิพื้นท่ี สามารถนําเขาโดยโปรแกรม spreadsheet หรอืโปรแกรมทัว่ไป เชนExcel, Lotus, FoxPro, Word, หรอืโปรแกรม GIS2) การจดัเก็บขอมูลพื้นท่ีในระบบ GIS (Cartographic Representation) ขอมูลพื้นท่ีที่

Page 16: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

แสดงทิศทาง (vector data) ประกอบดวยขอมูล 3 ประเภท คือ จุด ลายเสน และพื้นที่ รายละเอียดตามที่กลาวมาแลวขางตน ซึ่งขอมูลดังกลาวจะถกูจดัเก็บโดยอางอิงจากคาพกิัดทางภมูศิาสตร ทัง้น้ี รหสัของขอมูลอาจเรยีงตามลําดับของการนําเขา หรอืเรยีงตามคารหสัท่ีถูกกําหนดโดยผูใชระบบ (User ID)ยกเวนขอมูลกรดิที่จดัเก็บตามตําแหนงของแนวตัง้ (column) และแนวนอน (row) ดังภาพท่ี 1.81-11 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]ขอมูลจุด (Points) Point Number x,y coordinates1 1 2,43 2 3,22 3 5,34 4 6,2ขอมูลเสน (lines or arcs) Line Number x,y coordinates1 1 1,5 3,6 6,5 7,62 1,1 3,3 6,2 7,32ขอมูลพื้นท่ี (Polygons) Polygon Number x,y coordinates1 1 2,4 2,5 3,6 4,5 3,42,42 2 3,2 3,3 4,3 5,4 6,25,1 4,1 4,2 3,2ขอมูลตารางกรดิ (Grid Cells) Pixcel Row Column

Page 17: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

n2 1 1 12 1 23 1 3… … …n1*n2 n1 n20 n1ภาพที่ 1.8 ลักษณะการจดัเก็บขอมูลประเภทตาง ๆ ในระบบ GIS1-12 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]) ความสมัพนัธทางพื้นท่ี (Spatial Topology) ขอมูลพื้นท่ีแสดงทิศทาง (vector data)โดยทัว่ไปจะมรีะบบการจดัเก็บขอมูลเฉพาะของขอมูลแตละลักษณะ (each graphic object) ซึ่งลักษณะความสมัพนัธของขอมูลพื้นที่และระบบการจดัเก็บน้ีเรยีกวา ความสมัพนัธทางพื้นที่ (spatial topology)โดยการจดัเก็บขอมูลดังกลาวใชเน้ือท่ีนอย (minimize size) วิเคราะหขอมูลไดรวดเรว็ (fast analysis)และหลังจากไดสราง topology เรยีบรอยแลว ขอมูลตาง ๆ สามารถนํามาวเิคราะหเชงิพื้นท่ีได ทัง้นี้หลักเกณฑในการจดัเก็บขอมูลมดัีงน้ีจุด (point) แสดงดวยคาพกิัด x,yเสน (arcs) แตละเสนจะเชื่อมตอกันโดย nodesพื้นท่ี (polygon) ประกอบดวยเสนที่เชื่อมตอกันมายงัจุดเดิมP1 L2 P2

Page 18: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

Point LocationL4 A L2 P1 ………. x1, y1P2 ………. x2, y2L4 P3 ………. x3, y3P4 P3 P4 ………. x4, y4Polygon definition Line definitionA ……. ประกอบดวย L1, L2, L3, L4 L1 ………. P1, P2L2 ………. P2, P3L3 ………. P3, P4L4 ………. P4, P1ภาพที่ 1.9 ความสมัพนัธทาง Topology4) การจดัเก็บและเรยีกคนตารางฐานขอมูล (Database) ฐานขอมูลที่ใชอธบิายขอมูลพื้นท่ี(attributes) จะถกูจดัเก็บในรูปแบบที่สมัพนัธกับขอมูลเชงิพื้นท่ี เปนขอมูลท่ีถกูตอง และงายตอการปรบัแกและเรยีกใช ดังภาพท่ี 1.8 ทัง้น้ี ขอมูลแตละเรื่องควรแยกเก็บเปนคนละแฟมขอมูล (file)1-13 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]และแยกจากขอมูลแผนท่ี แตตองมรีายละเอียดในรายการใด รายการหน่ึง (field) ท่ีมคีาและคณุลักษณะ(ตัวเลขหรอืตัวอักษร) ท่ีเหมอืนกัน เพื่อใชในเชื่อมตอฐานขอมูลเขากับขอมูลพื้นที่ หรอืเชื่อมตารางฐานขอมูลหน่ึง กับอีกตารางฐานขอมูลหนึ่งGIS

Page 19: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

Spatial Data Non-Spatial Dataภาพที่ 1.10 ความสมัพนัธระหวางขอมูลเชงิพื้นท่ี และตารางฐานขอมูล1.6.3 การวเิคราะหขอมูล (Data Analysis)ระบบสารสนเทศภมูศิาสตร (GIS) มคีวามสามารถในการนําขอมูลเชงิพื้นที่หลาย ๆ ชัน้ขอมูล(layers) มาซอนทับกัน (overlay) เพื่อทําการวเิคราะห และกําหนดเง่ือนไขตาง ๆ โดยใชคอมพวิเตอรตามวตัถปุระสงค หรอืตามแบบจาํลอง (model) ตาง ๆ ซึ่งอาจเปนการเรยีกคนขอมูลอยางงาย หรอืซบัซอน เชน โมเดลทางสถิติ หรอืโมเดลทางคณิตศาสตร เปนตน ทัง้น้ี เนื่องจากชัน้ขอมูลตาง ๆ ถกูจดัเก็บโดยอางอิงคาพกิัดทางภมูศิาสตร และมกีารจดัเก็บอยางมีระบบ และประมวลผลโดยใชเครื่องคอมพวิเตอร ผลท่ีไดรบัจากการวเิคราะห จะเปนชัน้ขอมูลอีกลักษณะหน่ึง ที่แตกตางไปจากชัน้ขอมูลเดิม ดังภาพท่ี 1.111-14 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]วธิกีารทํางานของระบบx-y coordinates แผนที่ตาง ๆวเิคราะหอยางงายวเิคราะหโดยใชโมเดล

Page 20: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

ทางคณิตศาสตรภาพที่ 1.11 การวเิคราะหขอมูล GIS1.6.4 การแสดงผล (Data Display)ผลท่ีไดรบัจาการวเิคราะหขอมูล สามารถนําเสนอหรอืแสดงผลไดทัง้บนจอคอมพวิเตอร(monitor) ผลิตออกเปนเอกสาร (แผนที่และตาราง) โดยใชเครื่องพมิพ หรอื plotter หรอืสามารถแปลงขอมูลเหลานัน้ไปสูระบบการทํางานในโปรแกรมอ่ืน ๆ ในรูปแบบของแผนท่ี (map) แผนภมู ิ(chart)หรอืตาราง (table) รายละเอียดจะกลาวถึงในบทตอไปการใชที่ดินถนนแมน้ําน้ําใตดินการซอนทับMap Overlay1-15 Yongyut Trisurat, Ph.D.บทท่ี 1 ความรูเบื้องตนระบบสารสนเทศภมูศิาสตร Faculty of Forestry, Kasetsart University(Introduction to Geographic Information System) Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900, ThailandEmail: [email protected]แบบฝกหัด1. GIS หมายถึงอะไร อธบิาย2. ลักษณะขอมูล vector data และขอมูล raster data ตางกันอยางไร อธบิาย

Page 21: บทที่ 1web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/doc/บทที่... · Web viewบทท 1 ความร เบ องต นระบบสารสนเทศภ ม

3. จงแยกประเภทขอมูลตามรูปขางลางน้ีออกเปน theme ตาง ๆ และระบุประเภทของรูปลักษณของพื้นท่ี (graphic features) ใหถกูตองทะเลนอยบอ2บอ1 ทะเลหลวงทางหลวง421บอ4บอ3Layer Feature Type (รูปลักษณของขอมูล)……………………………. …………………………………..……………………………. …………………………………..……………………………. ………………………………….……………………………. ………………………………….……………………………. ………………………………….5. คาพกิัด E550000 N2350000 ของระบบ UTM จะมอียูกี่ตําแหนงบนพื้นโลก6. ระยะทางระหวางจุด E550000 N2350000 และ E850000 N2350000 กับ E550000 N50000 และE850000 N50000 ของระบบ UTM มรีะยะเทากันหรอืไม เพราะเหตใุด