บทที่ 1 บทนําarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/print0151tf_ch1.pdfบทท 1...

9
บทที1 บทนํา ดนตรีเปนสุนทรียศาสตรแขนงหนึ่งซึ่งสื่อสารผานการรับรูโดยการฟง ดนตรีมีบทบาท และ ความสําคัญอยางยิ่งตอมนุษยมาทุกยุคทุกสมัย ตั้งแตโบราณกาลมีการสื่อสารที่มากไปกวาการ พูดคุยสนทนา การเขียนอักษร การรองรําทําเพลง เตนรําเพื่อการบูชาเทพเจา เพื่อสรางสัญลักษณ หรือเอกลักษณประจํากลุมสังคม เพื่อการระบายความอัดอั้น ความไมสบายใจ หรือเพื่อความ บันเทิง เปนตน ดนตรีในยุคปจจุบันไดมีการพัฒนา และเติบโตจากดนตรีในยุคโบราณทั้งในเชิงเทคนิค วิธีการบรรเลง เครื่องดนตรี เนื้อหา ความหลากหลายของการจัดประเภทดนตรี รวมไปถึงบทบาท หนาที่ในเชิงพานิช หากแตสิ่งหนึ่งที่ดนตรียังคงไวจนถึงปจจุบันคือการสื่อสารเกี่ยวกับอารมณ ความรูสึกของมนุษยโดยตรง จึงเห็นไดวาไมวายุคสมัย หรือแมกระทั่งองคประกอบของดนตรีจะ เปลี่ยนแปลงไปอยางไร สิ่งหนึ่งที่ทําหนาทีระบาย ผอนคลาย และปลอบประโลมจิตใจมนุษยตลอด มาก็คือศาสตรแหงดนตรีนั่นเอง ที่มา และความสําคัญของโครงการ ดนตรีมีหลายประเภทบางประเภทมีเนื้อหาสาระที่ลึกซึ้ง ละเอียดออน ผูฟงจําเปนที่จะตอง ศึกษาอยางจริงจังในการเขาถึง แตดนตรีบางประเภทไมตองอาศัยความรูความเขาใจมากนักก็ สามารถเขาถึง และสนุกสนานไปกับดนตรีได ขาพเจาเปนผูหนึ่งซึ่งมีความผูกพันใกลชิดกับดนตรีมาเปนเวลานาน ในฐานะนักศึกษา ศิลปะ และนักดนตรี การไดฝกฝน ฝกคิด และทําความเขาใจกับดนตรีโดยละเอียดนั้น ทําให ขาพเจาเห็นความสัมพันธของดนตรี และทัศนศิลป ไดพบวาการจัดองคประกอบที่ซับซอนของ ศาสตรแหงเสียงดนตรีนี้มีความคลายคลึงกับการจัดองคประกอบดวยทัศนธาตุทางศิลปะอยูมาก ไมวาจะเปนเรื่องของ จังหวะ (Rhythm) เสียง (Tone) ทํานอง (Melody) และเสียงประสาน (Harmony)

Transcript of บทที่ 1 บทนําarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/print0151tf_ch1.pdfบทท 1...

บทที่ 1 บทนํา

ดนตรีเปนสุนทรียศาสตรแขนงหนึง่ซึง่สื่อสารผานการรับรูโดยการฟง ดนตรีมีบทบาท และ

ความสาํคัญอยางยิ่งตอมนษุยมาทุกยุคทกุสมัย ต้ังแตโบราณกาลมกีารสื่อสารที่มากไปกวาการ

พูดคุยสนทนา การเขียนอักษร การรองรําทําเพลง เตนรําเพื่อการบูชาเทพเจา เพื่อสรางสัญลักษณ

หรือเอกลักษณประจํากลุมสังคม เพื่อการระบายความอัดอั้น ความไมสบายใจ หรือเพื่อความ

บันเทงิ เปนตน

ดนตรีในยุคปจจุบันไดมีการพัฒนา และเติบโตจากดนตรใีนยุคโบราณทั้งในเชิงเทคนคิ

วิธีการบรรเลง เครื่องดนตรี เนื้อหา ความหลากหลายของการจัดประเภทดนตรี รวมไปถึงบทบาท

หนาที่ในเชงิพานิช หากแตส่ิงหนึ่งที่ดนตรยีังคงไวจนถึงปจจุบันคือการสื่อสารเกี่ยวกับอารมณ

ความรูสึกของมนุษยโดยตรง จึงเห็นไดวาไมวายุคสมัย หรือแมกระทั่งองคประกอบของดนตรีจะ

เปลี่ยนแปลงไปอยางไร ส่ิงหนึ่งที่ทาํหนาที ่ระบาย ผอนคลาย และปลอบประโลมจิตใจมนุษยตลอด

มาก็คือศาสตรแหงดนตรีนัน่เอง ที่มา และความสําคัญของโครงการ

ดนตรีมีหลายประเภทบางประเภทมีเนื้อหาสาระที่ลึกซึง้ ละเอียดออน ผูฟงจาํเปนที่จะตอง

ศึกษาอยางจรงิจังในการเขาถึง แตดนตรีบางประเภทไมตองอาศัยความรูความเขาใจมากนักก็

สามารถเขาถงึ และสนุกสนานไปกับดนตรีได

ขาพเจาเปนผูหนึง่ซึ่งมีความผูกพนัใกลชดิกับดนตรีมาเปนเวลานาน ในฐานะนักศกึษา

ศิลปะ และนกัดนตรี การไดฝกฝน ฝกคิด และทาํความเขาใจกับดนตรโีดยละเอียดนัน้ ทําให

ขาพเจาเหน็ความสัมพนัธของดนตรี และทัศนศิลป ไดพบวาการจัดองคประกอบที่ซับซอนของ

ศาสตรแหงเสยีงดนตรีนีม้ีความคลายคลึงกับการจัดองคประกอบดวยทัศนธาตุทางศิลปะอยูมาก

ไมวาจะเปนเรือ่งของ จงัหวะ (Rhythm) เสียง (Tone) ทาํนอง (Melody) และเสยีงประสาน (Harmony)

2

และดวยเพราะความรู ความเขาใจ ตลอดจนความสามารถทางดนตรีซึ่งเปนการสัง่สมมา

ต้ังแตวัยเยาวนั้น ทาํใหขาพเจาไดมีโอกาสถายทอดประสบการณในรูปแบบของการเรียนการสอน

ดนตรีแกลูกศิษย ไดประพนัธดนตรี และทาํการแสดงดนตรีอยางสม่าํเสมอ ขาพเจาพบความ

แตกตางทีน่าสนใจระหวางการบรรเลงดนตรีเพื่อการบันทกึเสียงในหองบันทึกเสยีง (Studio

Recording) กับการแสดงดนตรีสด (Live) นั่นก็คือสัดสวนของการใชเหตุผล และการใชอารมณใน

การบรรเลง กลาวคือ การบรรเลงดนตรีเพือ่การบันทึกเสยีงนั้นจะใหความสําคัญกับเร่ืองความเปน

เหตุเปนผล ความถูกผิด ความเปนระเบียบขององคประกอบดนตรีกอนที่จะสงผลไปยังสวนของ

อารมณ ความรูสึก แตในการแสดงดนตรีสดนั้น กลับใหความสาํคัญกับอารมณ ความรูสึกของทั้งผู

บรรเลง และผูชมเปนประการแรกมากกวาการคํานงึถงึความเปนระเบยีบขององคประกอบดนตรี

ดังนัน้ในบทเพลงเพลงเดียวกัน ศิลปนผูบรรเลง (ไมวาจะเปนศิลปนเดีย่ว หรือศิลปนกลุม) ถา

เปรียบเทยีบการฟงผลงานเพลงจากอัลบ้ัมของเขาแลวมาฟงการแสดงสดของเขา แมวาเปนบท

เพลงเดยีวกนัก็สามารถรับรูไดวามีความแตกตางอยางชดัเจนทัง้ในเรื่องขององคประกอบดนตรี

และอารมณ ความรูสึก

ในฐานะผูฟงคนหนึ่ง ขาพเจารูสึกประทับใจ ชื่นชอบการแสดงดนตรีสดเปนอยางยิง่ และ

ในขณะที่ขาพเจาเปนผูบรรเลงดนตรีในการแสดงสดนั้น ส่ิงหนึ่งที่ขาพเจาสังเกตเหน็วาขาดไมได

และเปนสิ่งที่สําคัญเทียบเทากับคุณภาพของเสียงดนตรีก็คือ สี และแสง ทั้งนี้เพราะสี และแสงเปน

ส่ิงที่ชวยสรางบรรยากาศในการมองเหน็ของผูชมตอ จงัหวะการกระพริบของแสงไฟสรางความ

ต่ืนเตน เราใจผสมผสานกับจังหวะของดนตรี หรือโทนสทีี่เสริมอารมณใหกับผูบรรเลง และผูชมใน

การฟงแตละทอนของเพลง

สี และแสงจึงจัดเปนสิ่งสาํคญัสาํหรับการแสดงดนตรีสดไมนอยไปกวาเรื่องของเนื้อดนตรี

เลย ประกอบกับสี และแสงเปนเรื่องของการรับรูดวยประสาทสมัผัสทางตา ทีเ่กิดขึ้นในพื้นที่วาง

รอบ ๆตัวซึ่งปกคลุมไปดวยความมืด ทาํงานรวมกับการรับรูดวยโสตสัมผัส ทีก่อใหเกิดแรงบันดาล

ใจตอการนํามาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะ หรือกลาวไดวาเปนอิทธพิลที่ไดรับซึ่งสงผลตอการ

สรางสรรคผลงานดังนี ้

- สี และแสงจากการแสดงดนตรีสด (Live Music)

- ผลงานศิลปะ

3

สี และแสงจากการแสดงดนตรีสด (Live Music)

ในการแสดงดนตรีสด นอกจากเสียงแลว สี และแสงคือส่ิงสําคัญอีกประการหนึง่ มหีนาที่

ในการทําใหการแสดงดนตรีเกิดความสมบูรณสูงสุดตอผูชม ความจัด ความสด ตลอดจนความ

ระยิบระยับของสี และแสงไมเพียงเปนการสรางความนาสนใจแกนกัดนตรี และความงามทีน่าตืน่-

ตา ต่ืนใจบนเวทีการแสดงเทานั้น หากแตมีบทบาทสาํคัญที่ชวยสรางบรรยากาศ โอบลอมผูชมให

เกิดความรูสึกรวม และคลอยตามไปกบัการสื่อสารจากผูบรรเลงดนตรีมาสูผูชมอยางเปนหนึง่

เดียวกนั (ภาพประกอบที่ 1-3)

ผลงานศิลปะที่ขาพเจาตองการจะนําเสนอนี้จะมุงเนนไปที่ความสนกุสนานของดนตรีเปน

หลัก ดังนัน้การเลือกใชสีจึงเปนไปในดานการใชสีที่ตางวรรณะกัน เพือ่ใหเกิดความสนุกสนาน และ

ระยิบระยับเปนสวนใหญ

ภาพประกอบที่ 1

ภาพประกอบที่ 2 ภาพประกอบที่ 3

ภาพประกอบที่ 1-3 แสดงภาพบรรยากาศของสี และแสงจากการแสดงดนตรีสด

4

ผลงานศิลปะ

นอกเหนือจากเรื่องราวของดนตรี การแสดงดนตรีสด สี และแสง ดังทีก่ลาวมาแลว ยังมี

เร่ืองของผลงานศิลปกรรมที่เกี่ยวของตอการสรางสรรคของขาพเจาดวย ซึ่งไดแกผลงานของตนเอง

ในชุดที่ผานมารวมไปถงึผลงานศิลปะในรูปแบบนามธรรมของ เพยีท มองเดรียน (Piet Mondrian)

วิคเตอร วาซาเรลี่ (Victor Vasarely) และ วาสซิล่ี คานดินสกี ้(Wassily Kandinsky)

ผลงานในชุดทีผ่านมาของขาพเจาเปนการสรางสรรคและการทดลองตาง ๆที่มุงตรงสูเร่ือง

ของสี ขาพเจาไดทําการทดลองพัฒนาใหสีทํางานรวมกับแสง และรูปทรงสามมิติ ดวยผลงาน 2 ชุด

จากการศึกษาในกระบวนวิชา Printmaking Studio 2 และ Printmaking Project

- ชุดแรก คือ ผลงานสรางสรรคในลักษณะสามมิติติดผนงั เปนเรื่องราวเกี่ยวกับ

‘บานของฉัน’ ซึ่งแสดงสาระภายในบานสวนตัว ที่จนิตนาการขึ้นจากความตองการ

ของขาพเจา (ภาพประกอบที่ 4)

- ชุดที่สอง ‘ทวงทํานองแหงสสัีนของขาพเจา’ ผลงานสรางสรรคในลักษณะศิลปะ

อินสตอลเลชัน่ (Installation) เปนการทดลองที่ใชทัศนธาตหุลากหลายมาทาํงาน

รวมกับแสง และเสียงบนรูปทรงสี่เหลี่ยมซึง่ยังมีส่ิงที่ตองพัฒนาปรับปรุง และคนหา

ความสัมพันธรวมกัน (ภาพประกอบที่ 5)

ทั้ง2ชุดผลงานนี้เปนฐานที่ดีในการตอยอดสูผลงานชุดโครงงานวทิยานพินธ ซึง่ขาพเจาจะ

ขอกลาวถงึรายละเอียดในกระบวนการคิด และการแกปญหาไวในสวนของหวัขอการวิเคราะห

พัฒนาการสรางสรรค

ดังนัน้ ในการสรางสรรคผลงานชุดวทิยานิพนธนี้ขาพเจาจึงตองการที่จะปรับปรุงแกไข

ปญหาที่ผานมา สรางความสมดุล และความสัมพนัธใหมในความรูสึกของขาพเจา เพื่อใหรูปทรง

แสง และสี ไดทํางานรวมกันประสาน “ทวงทํานองแหงสสัีน” ตอทั้งตัวผลงานเอง และผูชมที่เขามา

อยูในบรรยากาศแหงสีสันนี ้

5

ภาพประกอบที่ 4 บานของฉัน (Imagination of My Colours Home), 2548

สื่อผสม, แมพิมพตะแกรงไหม, แผนอะคลิลิค, หลอดไฟ

60” x 104”

ภาพประกอบที่ 5 ทวงทํานองแหงสีสันของขาพเจา(My colours melodies), 2549

สื่อผสม, แผนอะคลิลิค, สีสเปรย, หลอดไฟ, ดนตรี

อินสตอลเลชั่น ณ หองนิทรรศการ คณะวิจิตรศิลป

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, กันยายน 2549

6

ผลงานศิลปกรรมของเพียท มองเดรียน (Piet Mondrian) ศิลปนชาวดัตช ผูซึ่งใชรูปทรง

เรขาคณิต และสีแบนเรียบในการจัดองคประกอบภาพ ดวยรูปส่ีเหลีย่มหรือโครงสรางสี่เหลี่ยมกับ

เสนทึบหนาประกอบรวมกับสีเหลือง แดง น้ําเงิน ดํา และขาว ดวยความคิดที่วาจิตกรรมโดย

ตัวมันเอง คือความเปนจริงที่จริงกวาสิง่ใด ๆไมตองการรูปทรง แสดงมิติลวงตา หรือส่ิงใด ๆในโลก

ธรรมชาติมาชวยในการแสดงออก

(จิระพัฒน พติรปรีชา, 2545 : 429)

ขาพเจาไดรับแรงบันดาลใจจากผลงานนามธรรมของศิลปนทานนี้ในเร่ืองของการใช

โครงสราง รูปทรงเรขาคณิต สีเรียบแบน และเสนดําซึง่ทศันธาตทุางศิลปะนี้สามารถปรับใชเปน

สัญลักษณแทนคาแสดงความหมายในเนื้อหา ผลงานสรางสรรคของขาพเจาไดชัดเจน

(ภาพประกอบที่ 6-7)

ภาพประกอบที่ 6 Piet Mondrian, Composition with Red,Yellow,

Blue and Black, 1933

Oil on canvas, 80 x 80 cm

(Susanne Deicher, 2004 : 73)

ภาพประกอบที่ 7 Piet Mondrian, Composition with Yellow, Blue,

and Red ,1937-42

Oil on canvas, 72.5 x 69 cm

(Susanne Deicher, 2004 : 82)

7

ผลงานศิลปะนามธรรมของวิคเตอร วาซาเรลี่ (Victor Vasarely) เปนลักษณะผลงานที่

ประกอบขึ้นจากรูปรางเรขาคณิตเปนจํานวนมาก และสสัีนตาง ๆมากมาย (ภาพประกอบที ่8-9)

ถูกกาํหนดใหอยูในตําแหนงที่สามารถแสดงการเคลื่อนไหวแบบลวงตาได

(จิระพัฒน พิตรปรีชา, 2545 : 278)

ผลงานจิตรกรรมของ วาซาเรลี่ เปนดังขอมูลพื้นฐานที่สําคัญใหขาพเจาไดศึกษาการใชสี

รวมกับรูปทรงเรขาคณิต เพือ่ปรับเขาสูการสราง การประสานกันของทัศนธาตุที่จะสงผลใหสีได

แสดงตัวอยางชัดเจน ทั้งดานมิติ และความระยิบระยับในงานสรางสรรคของขาพเจา

ภาพประกอบที ่8 Victor Vasarely, Vega 200, 1968 Acrylic on canvas, 200 x 200 cm.

(Magdalena Holzhey, 2005 : 74)

ภาพประกอบที่ 9 Victor Vasarely, Lapidary II, 1965 Silk screen, 160 x 150 cm.

(Magdalena Holzhey, 2005 : 57)

8

ผลงานศิลปะนามธรรมของ วาสซิล่ี คานดินสกี้ (Wassily Kandinsky) ศิลปนสรางสรรค

ผลงานจิตรกรรมที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับดนตรี (ภาพประกอบที ่10-11) ดวยการใชทัศนธาตุอัน

หลากหลายโดยเฉพาะเสนและสีอยางมีอิสระ และทรงพลังในการแสดงนามธรรมของอารมณดนตรี

ขอความที่ชัดเจนสวนหนึง่เกีย่วกับ คานดินสกี้ ซึ่งสามารถอางไดถงึความคิดเกี่ยวกับการสรางสรรค

ในเรื่องของดนตรี

เสียงจากบทเพลงของ วากเนอร ไดกระทบโสตประสาทของ คานดนิสกี้ ใหกระตุน

มโนภาพเกีย่วกับเสนและสีใหบังเกิดขึ้นอยางนาอัศจรรย และนี่คือทีม่าของการแสดงขอคิดเกี่ยวกับ

สี... โครงสรางดนตรีที่เปรียบไดกับองคประกอบศิลปของภาพเขียน จนเชื่อวาจิตรกรรมสามารถ

พัฒนาไปสูการแสดงพลังความรูสึกไดดุจดนตรี

(จิระพัฒน พติรปรีชา, 2545 : 136)

ขาพเจาสนใจในการใชทัศนธาตุที่ซับซอนของ คานดินสกี้ ซึ่งใหอิทธิพลตอขาพเจาในการประพันธ

ดนตรีสรางภาวะความรูสึกทีท่ําใหรับรูไดถึงการสอดประสาน และขัดแยงกนัของทวงทํานอง ซึ่งจะ

สงผลตอพัฒนาการการใชสีสันของขาพเจา

ภาพประกอบที่ 10 Wassily Kandinsky, Composition VI, 1915,

Oil on canvas, 195 x 300 cm.

(Hajo Duchting,2000 : 50)

ภาพประกอบที่ 11 Wassily Kandinsky, Composition VII, 1915,

Oil on canvas, 200 x 300 cm.

(Hajo Duchting,2000 : 52)

9

จากผลงานศิลปกรรมที่เกีย่วของดังที่กลาวมาแลวขางตน รวมกับที่มาแหงความบนัดาลใจ

นํามาซึง่จินตนาการที่ตองการแสดงออกในเรื่องของส ีและแสงทีพ่ัฒนาใหอยูในรูปทรงเรขาคณิต

เปนแทงของส ีและแสงซึ่งมคีวามสดจัดของสี โดยผนวกกับแนวความคิดที่จะนําไปสูการสรางสรรค

ตอไป

วัตถุประสงคของโครงการ

1. เพื่อนาํเสนอผลงานศิลปะทีแ่สดง อารมณ ความรูสึกสนกุสนานของส ีและแสง ซึ่งไดรับแรง

บันดาลใจจากเสียงดนตร ี

2. เพื่อศึกษาการใชสี การแปรคาของเสียงดนตรีออกมาเปนสี การจัดการกับสี และแสง

เทคนิควธิีการ รวมไปถึงการจัดการกับวัสดุ เพื่อใหไดมาซึ่งผลงานศิลปะที่มีความ

สนุกสนาน ความระยิบระยับของสี และแสง

ขอบเขตของการสรางสรรค ขาพเจากําหนดการสรางสรรคข้ึนในพืน้ทีห่องขนาดกวาง 5เมตร ยาว 9เมตร สูง 4เมตร

สําหรับการนาํเสนอผลงานเรื่อง ‘ทวงทาํนองแหงสีสัน’ (Rhythmic Colours) ในลักษณะของ

ศิลปะจัดวาง (Installation) ซึ่งมีรูปทรงสีเ่หลี่ยม และสามเหลี่ยมขนาดตาง ๆจํานวน 47 ชิน้ แสดง

รายละเอียดของเนื้อหาดวยกรรมวิธีการพมิพ เลเซอร ปร๊ินท (Laser Print) ประกอบลงบนดานแต

ละดานของรูปทรงสี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยมซึ่งมกีารติดตั้งหลอดไฟภายในทุกชิน้งาน เพื่อใหสี และ

แสงรวมกนัทาํหนาที่บรรเลง “ทวงทาํนองแหงสีสัน” ที่ขาพเจาไดสรางสรรคข้ึน